Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาภาษาไทย

วิชาภาษาไทย

Published by pbi.abm_nfedc, 2021-05-18 06:20:17

Description: สาระความรู้พื้นฐาน วิชาภาษาไทย

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) สาระทักษะความรู้พ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบ้านแหลม สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั เพชรบุรี สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) สาระทักษะความรู้พ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบ้านแหลม จัดทำขึ้นเพ่ือให้ครูผู้สอนได้ ศึกษารายละเอียดของสาระนี้และนำไปจัดการเรยี นรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และ สง่ ผลตอ่ การบรรลจุ ุดหมายของหลักสูตร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) สาระทักษะความรู้พ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบ้านแหลม ประกอบด้วย (1) คำชแ้ี จงสาระ ทักษะความรู้พ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย (2) สาระทักษะความรู้พื้นฐาน วิชาภาษาไทย (3)ผังมโนทัศน์ (4) มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (5)รายวิชาบังคับและรายวิชาเลือก (6) คำอธิบายรายวชิ าบงั คับ และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า (7) คำอธบิ ายรายวิชาเลอื กและรายละเอยี ด คำอธิบายรายวชิ า (8) บรรณานุกรม และ (9) ภาคผนวก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2554) สาระทักษะการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม สำเร็จลงได้ด้วยดีเน่ืองจากได้รับการสนับสนุนจาก นางรชั นุช สละโวหาร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเพชรบุรี นายสหรัฐ พูลนาค รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดเพชรบุรี นางทองสุข รัตนประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ นางสาวสุธิกานต์ แย้มนิล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบ้านแหลม ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูอาสาสมัครกศน. ครูกศน.ตำบล และนักจัดการงานทั่วไป สังกัดศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ บ้านแหลม ตัวแทนผู้เรียนสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม ตัวแทนชุมชน ตัวแทนภาคีเครือข่ายหน่วยงาน ได้แก่ ที่ว่าการอำเภอบ้านแหลม สาธารณสุขอำเภอ บ้านแหลม พัฒนาชุมชนอำเภอบ้านแหลม เกษตรอำเภอบ้านแหลม เทศบาลตำบลบ้านแหลม องค์การ บรหิ ารส่วนตำบลบ้านแหลม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ /ปราชญ์ชาวบา้ น ผู้นำศาสนาอิสลาม ศูนย์การศึกษา นอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม ขอขอบพระคุณทุกท่าน มา ณ ทน่ี ้ีดว้ ย (นางวภิ ารัตน์ ชาแจ้ง) ผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม

สารบญั หนา้ คำชีแ้ จงสาระทักษะความรพู้ ้นื ฐาน วชิ าภาษาไทย 1 สาระทักษะความรู้พนื้ ฐาน วิชาภาษาไทย 2 ผงั มโนทัศน์ 3 มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับและผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง 7 รายวิชาบังคบั และรายวชิ าเลอื ก 15 คำอธิบายรายวชิ าบังคบั และรายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชาระดับประถมศกึ ษา 18 คำอธิบายรายวชิ าบังคับและรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ าระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 28 คำอธบิ ายรายวิชาบังคบั และรายละเอียดคำอธิบายรายวิชาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 38 คำอธิบายรายวชิ าเลือกและรายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชาระดับประถมศกึ ษา 48 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 228 บรรณานกุ รม 229 ภาคผนวก 230 233 ก. ประกาศท่ปี รึกษาและผรู้ ่วมปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู ร 238 ข. คำสัง่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู ร ค. นิยามศัพท์

2 คำชแ้ี จงสาระทกั ษะความรูพ้ ื้นฐาน วชิ าภาษาไทย 1. เอกสาร “สาระความรู้พ้ืนฐาน วิชา ภาษาไทย” ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการ เรียนรู้ผังมโนทัศน์มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง คำอธิบายรายวิชาและ รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา 2. ให้สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 นำไปพจิ ารณาประกอบการจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา 3. นำไปใช้จัดกระบวนการการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละระดับ การศกึ ษาและให้ผูเ้ รยี นได้คณุ ภาพตามทก่ี ำหนด 4. คำอธิบายรายวิชา จัดทำตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนด โดยให้ครูและผู้เก่ียวข้อง มีความเข้าใจขอบขา่ ยของรายวชิ าน้ัน ๆ ดังนน้ั ในแต่ละคำอธิบายรายวิชาจึงมกี ารกำหนดชอื่ รายวิชา สาระระดับการศึกษา จำนวนช่ัวโมง จำนวนหน่วยกิต การศึกษาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล 5. สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1 มาตรฐาน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร

23 สาระความรู้พ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย สาระความรพู้ ้นื ฐาน วชิ าภาษาไทย ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะพ้นื ฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการสือ่ สาร - การฟัง การดู - การอา่ น - การพูด - การเขียน - หลกั การใชภ้ าษา - วรรณคดแี ละวรรณกรรม - ภาษาไทยการประกอบอาชีพ 3

4 ผังมโนทัศน์

45 ผงั มโนทัศน์ ระดบั ประถมศึกษา การใชภ้ าษาไทยด้านการพดู การเขยี น การฟัง การดู หลักการ ความสำคัญ จุดมุง่ หมาย การสรปุ เปน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี ความและมารยาทในการฟงั และดู วรรณคดแี ละ การพูด วรรณกรรม สามารถคน้ ควา้ เรอ่ื งราว ประโยชน์ และ คณุ ค่า วชิ าภาษาไทย ความสำคัญ ลกั ษณะการพดู ท่ดี ี เพื่อแสดงความรู้ ของนทิ าน นิทานพืน้ บา้ น วรรณคดี และ ความคิด ความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆไดอ้ ยา่ ง วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ เหมาะสม การนำเสยี งและรปู อกั ษรไทยประสมเป็น คำอา่ น หลักการใช้ภาษาไทย และเขียนได้ถกู ตอ้ งตามหลักการใช้ภาษา การใช้ เครื่องหมายวรรคตอน เข้าใจลักษณะของคำไทย การอา่ น ความสำคญั หลกั การ จดุ มุ่งหมาย ของการอา่ นออกเสยี ง คำภาษาถน่ิ และภาษาต่างประเทศทใ่ี ช้ภาษาไทย และอ่านในใจ การอา่ นบทรอ้ ยกรอง ร้อยแกว้ ได้อยา่ ง ถกู ต้อง มีนสิ ัยรักการอา่ น ตลอดจนมารยาทในการอ่าน การเขยี น หลกั การ ความสำคัญของการเขียนประเภทตา่ งๆ การกรอกแบบรายการต่างๆ มีนิสยั รักการเขยี น ตลอดจนมารยาทนการเขยี น

6 ผังมโนทัศน์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น การใช้ภาษาไทยดา้ นการพูด การเขียน ภาษาไทย การฟัง การดู สรปุ ความ จับประเด็นสำคญั วเิ คราะห์ แยกแยะ เปน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี กับการประกอบอาชพี ขอ้ เท็จจรงิ ข้อคดิ เหน็ แสดงความคิดเหน็ ตอ่ ผ้พู ูด อยา่ งมีเหตผุ ล ตลอดจนมารยาทในการฟังและดู รู้และเข้าใจความแตกตา่ งของวรรณคดี วรรณคดแี ละ การพูด พดู นำเสนอความรู้ ความคิดเหน็ โนม้ น้าวใจ วรรณกรรมปจั จุบันและวรรณกรรมท้องถ่นิ วรรณกรรม การอ่าน ปฏิเสธเจรจาตอ่ รองด้วยภาษากริ ยิ าทา่ ทางทสี่ ภุ าพ ตลอดจนเห็นคุณค่า ในโอกาสตา่ งๆ ตลอดจนมารยาทในการพดู วชิ าภาษาไทย ชนดิ และหน้าทีข่ องคำ พยางค์ วลี ประโยชน์ การใชเ้ ครือ่ งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ่ หลักการใช้ภาษาไทย พจนานุกรม คำราศัพท์ ความแตกต่าง และ ความหมายของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย การอ่านออกเสยี ง อ่านในใจ การแยกแยะขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คดิ เห็น จุดมงุ่ หมายของเรื่องทอ่ี า่ น ตลอดจนมารยาท การเลือกใชภ้ าษาในการนำเสนอ การใชแ้ ผน การเขียน ในการอา่ น ความคิด การเขยี นส่ือสารเร่ืองราวตา่ งๆ ตลอดจนมารยาทในการเขยี น

7 ผงั มโนทัศน์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาษาไทย การฟงั การดู ก ารมี วิจ ารณ ญ าณ ใน ก ารใน ก าร วิเคราะ ห์ ความ การใชภ้ าษาไทยด้านการพดู การเขยี น กบั การประกอบอาชีพ สมเหตุสมผลและความเป็นไปไดข้ องเรือ่ งท่ฟี ังและดูจากสือ่ ที่หลากหลาย ตลอดจนมารยาทของการฟังและดู เป็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ ศิ ล ป ะ ก า ร พู ด ท่ี เ ป็ น ท า ง ก า ร แ ล ะ ไม่ เ ป็ น ท า ง ก า ร การวเิ คราะหแ์ ละเหน็ คณุ คา่ วรรณคดี วรรณคดแี ละ การพดู ต ล อ ด จ น ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ ชิ ง วิ เ ค ร า ะ ห์ วรรณกรรมปจั ุบนั และวรรณกรรมท้องถน่ิ วรรณกรรม ประมาณค่าการใชภ้ าษาพูด และมารยาทในการพดู โดนใชห้ ลกั การพนิ จิ วรรณคดี วิชาภาษาไทย การเลอื กใชถ้ ้อยคำ สำนวน สภุ าษิต คำพังเพย หลกั การใชภ้ าษาไทย การอา่ น การตคี วาม แปลความ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า โครงสร้างของประโยค รปู ประโยค และชนิด วรรณคดี วรรณกรรม การมนี ิสัยรกั การอา่ นและมารยาทใน ของประโยค เพ่ือสร้างมนษุ ย์สมั พนั ธใ์ นการ การอ่าน ปฏบิ ัติงานร่วมกบั ผอู้ นื่ หลกั การเขยี นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ ำไดต้ รงความหมาย การเขียน ถูกตอ้ งตามอักขระวธิ ี และระดบั ภาษา การแต่งคำประพนั ธ์ ประเภทร้อยแกว้ ร้อยกรอง ตลอดจนการวิพากษว์ ิจารณ์ ประเมนิ งานเขยี น มีนสิ ยั รกั การเขยี น และมมี ารยาทในการเขียน 6

8 มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั และผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง

9 มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะพื้นฐานเก่ียวกบั ภาษาและการส่อื สาร ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรยี นรู ท่ีคาดหวงั การเรียนรู ทคี่ าดหวัง การเรียนรู ทค่ี าดหวัง การฟง การดู 1.รแู ละเขาใจหลักการ การฟง การดู 1. สรุปความ จบั ประเด็น การฟง การดู 1. เห็นคุณคาของสื่อ 1. เห็นความสาํ คญั ความสาํ คัญและ 1. สามารถสรุปความ สาํ คัญของเรอ่ื งทฟี่ ง 1. สามารถเลอื กสอื่ ในการฟงและดู ของการฟงและดู จุดมงุ หมายของ จบั ประเดน็ สําคัญ และดู ในการฟงและดู 2. สามารถจบั ใจความ การฟงและดู ของเรอื่ งทฟี่ งและดู 2. วิเคราะหความ อยางสรางสรรค และสรุปความจาก 2. จบั ใจความสําคญั 2. วเิ คราะห แยกแยะ นาเชอ่ื ถอื 2. สามารถฟงและดู 2. วจิ ารณความ เร่อื งที่ฟงและดู และสรปุ ความจาก ขอเท็จจรงิ จากการฟง และดสู ่ือ อยางมวี จิ ารณญาณ สมเหตสุ มผล 3. มีมารยาทในการ เร่ืองทีฟ่ งและดู ขอคดิ เห็นและ โฆษณาและขาวสาร การลาํ ดบั ความ ฟงและดู 3. ปฏิบตั ติ นเปนผมู ี จดุ ประสงคของ ประจําวันอยางมเี หตผุ ล และความเปนไปได มารยาทในการฟง เร่ืองทีฟ่ งและดู 3. วจิ ารณการใชนํ้าเสียง 3. เปนผูมมี ารยาท ของเรอ่ื งทฟี่ งและดู และดู 3. สามารถแสดง กริ ิยาทาทาง ถอยคําของ ในการฟงและดู 3. นาํ เสนอความรู ทรรศนะและ ผพู ูดอยางมเี หตุผล ความคดิ เหน็ ทีไ่ ด ความคดิ เห็นตอผพู ดู 4. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ี จากการฟงและดู อยางมเี หตผุ ล มารยาทในการฟง และดู 4. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ี 4. มมี ารยาทในการฟง มารยาทในการฟง และดู และดู

10 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรยี นรู ทคี่ าดหวัง การเรยี นรู ทค่ี าดหวัง การเรยี นรู ท่คี าดหวงั การพูด 1. เขาใจความสําคัญ การพูด 1. พดู นําเสนอความรู การพูด 1. ใชศิลปะการพูดทเี่ ปน 1. เห็นความสําคัญ และลกั ษณะการพดู 1. สามารถพูดนําเสนอ ความคดิ เหน็ 1. สามารถพดู ทั้งที่ ทางการและไมเปน และลกั ษณะการพูด ท่ีดู ความรู แสดงความ สรางความเขาใจ เปนทางการและ ทางการไดอยาง ท่ดี ู 2. พูดแสดงความรู คิดเห็น สรางความ โนมนาวใจ ปฏเิ สธ ไมเปนทางการ เหมาะสมกบั โอกาส 2. สามารถพดู แสดง ความคิด ความรูสึก เขาใจ โนมนาวใจ เจรจาตอรอง ดวย โดยใชภาษาถูกตอง และบุคคล ความรู ความคิด ไดอยางเหมาะสม ปฏเิ สธเจรจาตอรอง ภาษากิรยิ าทาทาง เหมาะสม 2. วิเคราะห ประเมนิ คา ความรูสึกใน 3. ปฏิบัตติ นเปนผูมี ดวยภาษากิริยา ทส่ี ภุ าพ 2. สามารถแสดงความ การใชภาษาพดู จาก โอกาสตางๆ ได มารยาทในการพูด ทาทางท่ีสุภาพ ใน 2. ปฏิบัติตนเปนผมู ี คิดเหน็ เชงิ วิเคราะห สอื่ ตางๆ อยางเหมาะสม โอกาสตางๆ ได มารยาทในการพูด และประเมนิ คาการ 3. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ี 3. มมี ารยาทใน อยางเหมาะสม ใชภาษาพูดจากส่ือ มารยาทในการพูด การพูด 2. มมี ารยาทในการพดู ตางๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอาน 1. เขาใจความสําคญั การอาน 1. อานในใจไดคลอง การอาน 1. ตคี วาม แปลความ 1. เหน็ ความสําคัญ หลกั การ และจดุ มงุ หมาย 1. สามารถอานไดอยาง และเรว็ 1. สามารถอานอยาง และขยายความเร่ืองท่ีอาน ของการอาน ทง้ั การอาน ของการอานท้งั อานออก มีประสทิ ธิภาพ 2. อานออกเสียงและอาน มวี จิ ารณญาณจดั ลําดับ 2. วิเคราะห วจิ ารณความ ออกเสียงและอานในใจ เสยี งและอานในใจ ทาํ นองเสนาะไดอยาง ความคิดจากเรื่องท่ีอาน สมเหตุสมผล การลําดับ ถูกตองตามลกั ษณะ ความคิดและความเปน

11 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรียนรู ทค่ี าดหวัง การเรยี นรู ทค่ี าดหวัง การเรยี นรู ท่คี าดหวงั 2. สามารถศึกษาภาษา ไปไดของเรอื่ งที่อาน 2. สามารถอานได 2. อานออกเสียงคาํ 2. จบั ใจความสําคญั คําประพนั ธ์ ถ่ิน สาํ นวน สภุ าษิต 3. อธิบายความหมาย อยางถูกตอง และ ขอความ บทสนทนา แยกขอเทจ็ จรงิ และ 3. วิเคราะห แยกแยะ ของภาษาถ่ิน สํานวน สภุ าษิตที่ปรากฏใน อานไดเร็ว เขาใจ เร่อื งส้ัน บทรอยกรอง ขอคดิ เห็นจากเรื่อง ขอเทจ็ จรงิ ขอคดิ เห็น ที่มอี ยใู นวรรณคดี วรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมปจจบุ ัน ปจจบุ ัน วรรณกรรม ความหมายของ และบทรองเลน ท่อี าน และจุดมงุ หมายของ ทองถน่ิ และวรรณกรรม 4. วิเคราะห วจิ ารณ ถอยคาํ ขอความ บทกลอมเดก็ 3. สามารถอานหนังสอื เรื่องที่อาน ทองถนิ่ 3. สามารถวิเคราะห เน้ือเร่อื งท่ีอาน 3. อธบิ ายความหมายของ และส่อื สารสนเทศ 4. เลอื กอานหนังสอื 3. มีมารยาทในการ คาํ และขอความที่อาน ไดอยางกวางขวาง และสือ่ สารสนเทศ อานและนสิ ยั รกั 4. ปฏบิ ตั ิตนเปนผมู ี เพ่ือพฒั นาตนเอง เพอ่ื พฒั นาตนเอง วิจารณ ประเมนิ คา ประเมินคาวรรณคดี การอาน มารยาทในการอาน 4. มีมารยาทในการ 5. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ี องคประกอบของ วรรณกรรมปจจบุ ัน วรรณกรรมทองถน่ิ ใน และมีนสิ ยั รักการอาน อานและนิสยั รกั มารยาทในการอาน วรรณคดี ฐานะท่ีเปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ การอาน และมีนสิ ยั รกั การอาน วรรณกรรมปจจบุ นั แลวนําไปประยุกตใช วรรณกรรมทองถ่ิน ในการดาํ เนนิ ชวี ิต 4. สามารถคนควาหา 5. เลอื กใชส่อื ในการ คนควาหาความรู ความรูจากสือ่ ทหี่ ลากหลาย ส่งิ พมิ พและสอ่ื สารสนเทศ

12 ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรยี นรู ทค่ี าดหวัง การเรียนรู ทค่ี าดหวงั การเรยี นรู ท่คี าดหวงั 5. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ี 6. มีมารยาทในการอาน มารยาทในการอาน และมนี สิ ัยรักการอาน และนสิ ัยรักการอาน การเขียน 1. เขาใจหลกั การเขียน การเขยี น 1. เลือกใชภาษาในการ การเขยี น 1. กรอกแบบพมิ พ 1. เหน็ ความสาํ คญั และเห็นความสาํ คญั 1. สามารถเลอื กใช นาํ เสนอตามรูปแบบ 1. รแู ละเขาใจหลักการ ประเภทตางๆ ได ของ การเขียนและ ของการเขียน ภาษาในการนาํ เสนอตาม ของงานเขยี นประเภท เขียนประเภทตางๆ ถูกตอง เขียนยอความ ประโยชนของการ 2. รจู ักอักษรไทย เขียน รูปแบบของงานเขยี น รอยแกวและรอยกรอง โดยใชคําในการ เรียงความ จดหมาย คดั ลายมือ สะกดคํา และรคู วามหมาย ประเภทตางๆ ไดอยางสราง ไดอยางสรางสรรค เขยี นไดตรง เขยี นอธิบาย ช้ีแจง 2. สามารถเขยี นคํา ของคําคาํ คลองจอง และ สรรค 2. ใชแผนภาพความคิด ความหมาย และ โนมนาวใจ แสดง คาํ คลองจองประโยค และ ประโยค 2. สามารถใชแผนภาพ จัดลาํ ดบั ความคดิ กอน ถกู ตองตามอักขระ ทัศนะ และการเขยี น เขยี นบนั ทกึ เรอ่ื งราว 3. เขยี นสอ่ื สารใน ความคิดจัดลาํ ดับความคิด การเขียน วิธแี ละระดบั ภาษา เชิงสรางสรรค โดย ส่ือสารเหตุการณใน ชีวติ ประจําวนั เพื่อพฒั นา งานเขยี น 3. แตงบทรอยกรอง ใชหลกั การเขยี นและ ชีวิตประจําวนั ได จดบันทกึ โดยใชคํา 3. สามารถแตงบทรอย ประเภทกลอนส่ี โวหารตางๆ ได 3. มมี ารยาทในการ ถูกตอง ชดั เจน กรองตามความสนใจไดถกู ตอง กลอนสภุ าพ ถูกตองตามอักขระวธิ ี เขยี นและนสิ ยั รกั ตามหลกั ไวยากรณและ และระดบั ภาษา การเขยี น ลักษณะคาํ ประพนั ธ์

13 ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรียนรู ทค่ี าดหวงั การเรยี นรู ที่คาดหวงั การเรียนรู ที่คาดหวัง 4. เขียนเรยี งความ 4. สามารถเขยี น 4. เขยี นบทรอยแกว 2. สามารถ 2. แตงคาํ ประพันธ ยอความ จดหมาย สือ่ สารเร่ืองราว ประเภทประวตั ิตนเอง วิพากษวจิ ารณและ ประเภทรอยกรอง ไดตามรูปแบบ ตางๆ ได อธิบายความ ยอความ ประเมนิ งานเขียน ไดถูกตองตาม 5. เขียนรายงาน ขาว ของผอู น่ื เพ่ือนาํ มา ฉนั ทลกั ษณและ การคนควา สามารถ 5. มมี ารยาทในการ 5. เขยี นรายงานการ พฒั นางานเขยี น ใชถอยคําที่ไพเราะ อางอิงแหลงความรู เขียนและนสิ ัยรัก คนควาสามารถอางองิ 3. สามารถแตงคาํ 3. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ี 6. กรอกแบบรายการตางๆ การเขยี น แหลงความรไู ดถกู ตอง ประพันธประเภท มารยาทในการเขียน 7. ปฏิบัติตนเปนผมู ี 6. กรอกแบบรายการ รอยแกวและ และมีการจดบันทึก มารยาทในการเขยี น ตางๆ รอยกรอง อยางสมำ่ เสมอ และมกี ารจดบันทึก 7. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู ี 4. มีมารยาทในการ อยางสม่ำเสมอ มารยาทในการเขียน เขยี น และนสิ ัยรกั และมีการจดบนั ทึก การเขียน อยางสมำ่ เสมอ

14 ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรียนรู ทค่ี าดหวงั การเรยี นรู ทค่ี าดหวงั การเรยี นรู ทคี่ าดหวัง หลกั การใชภาษา หลักการใชภาษา หลักการใชภาษา 1. สามารถสะกดคํา 1. อธิบายการใชเสียง 1. รูและเขาใจชนิด 1. อธิบายความแตกตาง 1. รูและเขาใจ 1. อธบิ ายธรรมชาติของ โดยนําเสียงและรูป และรปู อักษรไทย และหนาทขี่ องคําพยางค ของคํา พยางค วลี ธรรมชาติของภาษา ภาษาและใชประโยค อกั ษรไทยประสม อักษร 3 หมู และการ วลี ประโยคและสามารถ ประโยค ไดถกู ตอง 2. สามารถใชภาษา ตามเจตนาของการ เปนคาํ อานและ ผันวรรณยกุ ตได อานเขยี นไดถกู ตอง 2. ใชเครื่องหมายวรรค สรางมนษุ ยสมั พนั ธ สอ่ื สาร เขยี นไดถูกตองตาม 2. อธบิ ายเกี่ยวกับการ ตามหลกั เกณฑของภาษา ตอน อักษรยอ คาํ ราชา ในการปฏบิ ัตงิ าน 2. เลอื กใชถอยคาํ สํานวน หลกั การใชภาษา สะกดคาํ พยางค และประโยคได 2. สามารถใชเคร่อื งหมาย ศพั ทไดถกู ตอง รวมกบั ผอู ่ืน และ สุภาษติ คําพังเพยใหตรง 2. สามารถใชเครอ่ื ง ถูกตอง วรรคตอน อกั ษรยอ 3. อธบิ ายความแตกตาง ใชคาํ ราชาศพั ท ความหมาย หมายวรรคตอนได้ 3. ใชเครอ่ื งหมายวรรค คาํ ราชาศัพท ระหวางภาษาพูดและ คาํ สภุ าพไดถกู ตอง 3. ใชประโยคไดถกู ตอง ถกู ตองและเหมาะสม ตอนและอกั ษรยอไดถ้ กู ตอง 3. สามารถวิเคราะห ภาษาเขียนได ตามฐานะของบคุ คล ตามเจตนาของผสู งสาร 3. เขาใจลักษณะของ 4. บอกประโยชนการใช ความแตกตางระหวาง 4. อธิบายความแตกตาง 4. ใชคาํ สภุ าพ และคํา คําไทย คําภาษาถน่ิ พจนานกุ รม ภาษาพดู และภาษาเขียน ความหมายของ ราชาศพั ทใหถูกตอง และ คําภาษา 5. บอกความหมายของ 4. รูและเขาใจสาํ นวน สาํ นวน สุภาษิต ตามฐานะและบคุ คล ตางประเทศที่ สํานวน คาํ พงั เพย สภุ าษติ คํา สุภาษติ คําพังเพย คําพังเพย และนําไป ใชในภาษาไทย ราชาศัพท คาํ สุภาพ และนาํ ไปใช ในการพดู และเขียน ใชในชวี ติ ประจําวนั ไดถกู ตอง เหมาะสม ไดถูกตอง

15 ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ผลการเรยี นรู การเรียนรู ที่คาดหวงั การเรยี นรู ทค่ี าดหวัง การเรียนรู ทีค่ าดหวัง วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม 1. สามารถคนควาเร่ืองราว ประ1. อธิบายถงึ ประโยชน 1. รแู ละเขาใจความ 1. อธบิ ายความแตกตาง 1. สามารถวเิ คราะหและ 1. วิจารณ และอธบิ าย โยชนและคุณคาของ และคุณคาของนทิ าน แตกตางของวรรณคดี และคุณคาของวรรณคดี เห็นคุณคาวรรณคดี คุณคาวรรณคดี นิทาน นทิ านพืน้ บาน นิทานพน้ื บาน วรรณกรรม วรรณกรรมปจจุบนั วรรณกรรม ปจจบุ นั และ วรรณกรรมปจจบุ นั วรรณกรรมปจจบุ ัน วรรณกรรมและวรรณกรรม และวรรณกรรมในทองถ่นิ และวรรณกรรมทองถนิ่ วรรณกรรมทองถิ่น และวรรณกรรมทองถิ่นและวรรณกรรม ทองถ่นิ ตลอดจนเห็นคุณคา โดยใชหลักการพินจิ ทองถิน่ วรรณคดี ภาษาไทยกบั การ 1. ใชความรกู ารพดู ภาษาไทยกบั การ 1. ใชความรกู ารพดู ภาษาไทยกบั การ 1. ใชความรกู ารพูด ประกอบอาชพี ภาษาไทยเปนชองทาง 1. ใชความรดู านการ ในการประกอบอาชพี ประกอบอาชพี ภาษาไทยเปนชองทาง ประกอบอาชีพ ภาษาไทยเปนชองทาง พูดภาษาไทยเพอ่ื 2. ใชความรกู ารเขียน 1. ใชความรดู านการ ในการประกอบอาชพี 1. ใชความรดู านการ ในการประกอบอาชีพ การประกอบอาชพี ภาษาไทยเปนชอง 2. ใชความรดู านการ ทางการประกอบอาชพี พูดภาษาไทยเพอ่ื การ 2. ใชความรกู ารเขยี น พดู ภาษาไทยเพอื่ การ 2. ใชความรกู ารเขยี น เขยี นภาษาไทยเพื่อ ประกอบอาชีพ ภาษาไทยเปนชอง ประกอบอาชพี ภาษาไทยเปนชอง การประกอบอาชพี 2. ใชความรดู านการ ทางการประกอบ 2. ใชความรดู านการ ทางการประกอบ เขียนภาษาไทยเพอื่ อาชพี เขยี นภาษาไทยเพื่อ อาชพี การประกอบอาชพี การประกอบอาชีพ

16 รายวิชาบงั คับและรายวิชาเลอื ก รายวชิ าบังคบั สาระทักษะความรู้พน้ื ฐาน วิชาภาษาไทย มาตรฐานท่ี ระดบั การศึกษา รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกติ 2.1 ประถมศึกษา พท11001 ภาษาไทย 3 4 2.1 มัธยมศกึ ษาตอนตน พท21001 ภาษาไทย 5 2.1 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย พท31001 ภาษาไทย รายวิชาเลือก สาระทกั ษะความรูพ้ ้นื ฐาน วิชาภาษาไทย มาตรฐานที่ ระดับการศกึ ษา รหสั วิชา รายวชิ า หนว่ ยกิต ประถมศกึ ษา การถา่ ยทอดความรู้ดา้ น 2.1 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น พท02001 สุขภาพสู่ชุมชน 1 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2.1 ประถมศกึ ษา พท02002 ผู้นำการบรหิ ารการจัดการ 1 มัธยมศึกษาตอนต้น การเปล่ียนแปลง 2.1 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย พท02003 1 ศลิ ปะการพดู เพอื่ การจงู ใจ 2.1 ประถมศึกษา พท12001 1 2.1 มธั ยมศึกษาตอนตน้ พท12002 สือ่ สารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1 2.1 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พท12003 ฟัง ดู อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1 การอา่ นเพ่อื การเรยี นรู้ 1 2.1 ประถมศกึ ษา พท12004 ตลอดชวี ิต 1 2.1 ประถมศกึ ษา พท12005 บนั ทกึ ไว้ไดป้ ระโยชน์ 3 2.1 ประถมศึกษา พท12006 ภาษาไทยในชวี ิตประจำวนั 1 2.1 พท12007 วรรณกรรมทอ้ งถิ่น 1 ประถมศึกษา การเขียนประกาศ-โฆษณา- 1 2.1 ประถมศึกษา พท12008 ข่าวในท้องถิน่ 1 2.1 ประถมศกึ ษา พท13012 พูดดีเปน็ ศรีแก่ปาก 2.1 ประถมศกึ ษา พท22001 ภาษาไทยเบ้อื งต้น 1 การทำหนา้ ทพ่ี ธิ ีกร ประถมศึกษา ประถมศึกษา ม.ต้น

17 มาตรฐานที่ ระดับการศึกษา รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต 2.1 ม.ต้น พท22002 1 2.1 ม.ตน้ พท22003 พูดดี มมี ิตรมาก 1 2.1 ม.ต้น พท22004 บนั ทกึ ไว้ไดป้ ระโยชน์ 1 2.1 ม.ตน้ พท22005 การเขยี นขา่ ว 1 2.1 ม.ต้น พท22006 การเขยี นโฆษณา 2.1 ม.ตน้ พท22007 ประชาสมั พันธ์ 1 2.1 ม.ต้น พท22008 1 2.1 ม.ต้น พท22009 การเขียนจดหมายสมคั รงาน 1 2.1 ม.ตน้ พท22010 การเขยี นร้อยกรอง 1 2.1 ม.ปลาย พท32001 การพนิ จิ วรรณกรรม 1 2.1 ม.ปลาย พท32002 1 วรรณกรรมท้องถิน่ 1 2.1 ม.ปลาย พท32003 ภาษาไทยเสรมิ 1 2.1 ม.ปลาย พท32004 การแตง่ บทรอ้ ยกรอง การพูดเพ่ือพฒั นาอาชพี 1 2.1 ม.ปลาย พท32005 ผ้ปู ระกาศ 1 2.1 ม.ปลาย พท32006 การพนิ จิ วรรณคดี และ วรรณกรรม 1 2.1 ม.ปลาย พท32007 2.1 ม.ปลาย พท32008 มนษุ ยสมั พันธ์และศลิ ปะ 1 2.1 ม.ปลาย พท32009 การใช้ภาษา 1 การศึกษาวรรณกรรม 1 2.1 ม.ปลาย พท32010 ทอ้ งถ่นิ การอา่ นเพอื่ การเรียนรุ้ 1 2.1 ม.ปลาย พท32011 ตลอดชวี ิต 2.1 ม.ปลาย พท32012 1 2.1 ม.ปลาย พท32013 บันทกึ ไวไ้ ดป้ ระโยชน์ 1 ประวตั วิ รรณคดี 1 2.1 ม.ปลาย พท32014 2.1 ม.ปลาย พท32015 การศกึ ษาวรรณคดแี ละ 1 2.1 ม.ปลาย พท32016 วรรณกรรมปัจจบุ ัน 1 หลักการใช้ภาษาเพ่ือ 1 ความสำเรจ็ ภาษาไทยในชีวติ ประจำวัน สือ่ สารใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ การเขยี นรายงานการ ประชมุ การเขยี นจดหมายสมัครงาน การเขยี นข่าว กรอบแนวคดิ ในการนำเสนอ

18 มาตรฐานที่ ระดับการศึกษา รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต งานเขียนประเภทตา่ งๆ 2.1 ม.ปลาย พท32017 การเขียนโครงการ 1 2.1 ม.ปลาย พท32018 การเขียนบทความ 1 2.1 ม.ปลาย พท32019 การเขียนสารคดี 1 2.1 ม.ปลาย พท32020 ภาษาไทยเสรมิ 3

19 คำอธิบายรายวิชาบังคับ และรายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา ระดบั ประถมศึกษา

20 คาํ อธบิ ายรายวชิ า พท11001 ภาษาไทย จาํ นวน 3 หนวยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรูระดบั การฟง การดู 1. เห็นความสาํ คญั ของการฟงและดู 2. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเร่ืองที่ฟงและดู 3. มมี ารยาทในการฟงและดู การพูด 1. เหน็ ความสําคญั และลกั ษณะการพดู ที่ดี 2. สามารถพดู แสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสม 3. มีมารยาทในการพดู การอาน ข 1. เห็นความสาํ คญั ของการอาน ทัง้ การอานออกเสียงและอานในใจ 2. สามารถอานไดอยางถูกตอง และอานไดเร็ว เขาใจความหมายของถอยคํา อความเนอ้ื เร่อื งทอ่ี าน 3. มีมารยาทในการอานและนสิ ัยรักการอาน การเขียน 1. เห็นความสําคญั ของการเขียนและประโยชนของการคดั ลายมอื 2. สามารถเขียนคํา คําคลองจอง ประโยค และเขียนบันทึกเร่ืองราว สื่อสาร เหตุการณในชีวติ ประจําวันได 3. มมี ารยาทในการเขยี นและนิสยั รักการเขียน หลกั การใชภาษา 1. สามารถสะกดคาํ โดยนาํ เสยี งและรปู อักษรไทยประสมเปนคําอานและเขียนไดถกู ตอง ตามหลกั การใชภาษา 2. สามารถใชเคร่ืองหมายวรรคตอนไดถกู ตองและเหมาะสม 3. เขาใจลกั ษณะของคาํ ไทย คําภาษาถ่นิ และคําภาษาตางประเทศทใ่ี ชในภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม สามารถคนควาเรอ่ื งราว ประโยชนและคณุ คาของนิทาน นิทานพนื้ บาน วรรณกรรมและ วรรณกรรมทองถ่ิน ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี 1. ใชความรูดานการพูดภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ

21 2. ใชความรูดานการเขยี นภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชพี ศึกษาและฝกทกั ษะเก่ียวกบั เรือ่ งดงั ตอไปนี้ การฟง การดู หลกั การ ความสําคญั จุดมุงหมาย การสรปุ ความ และมารยาทของการฟงและดู การพูด ความสาํ คญั ลักษณะการพดู ทดี่ ี และมารยาทในการพูด การอาน หลักการ ความสําคัญ จุดมุงหมายของการอานออกเสียงและอานในใจ บทรอยแกว บทรอยกรองและมารยาทของการอาน การเขยี น หลักการ ความสําคัญ ของการเขียน การคัดลายมือ การเขียนสื่อสารใน ชีวิตประจําวันดวยวิธีการเขียนประเภทตางๆ และการกรอกแบบรายการตางๆ ตลอดจนมีมารยาท ในการเขยี น หลักการใชภาษา การใชเสียงและรูปอักษรไทย อกั ษร 3 หมู การผันวรรณยุกต ความหมายของคํา คํา ไทย คําภาษาถ่ิน คําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย การสะกดคํา พยางคและประโยค การใช เครื่องหมาย วรรคตอนพจนานุกรม และความหมายของสํานวน คําพังเพย สุภาษิต คําราชาศัพท คํา สุภาพ วรรณคดี และวรรณกรรม ประโยชนและคณุ คาของนิทาน นทิ านพน้ื บาน และวรรณกรรมในทองถิน่ ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ การใช้ความรู้ด้านการพดู การเขยี นภาษาไทยเปน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ การจัดประสบการณการเรยี นรู จัดประสบการณหรือสถานการณในชวี ิตประจําวนั ใหผเู รยี นไดศกึ ษา คนควาโดยการ ปฏิบัติจริงเปนรายบุคคลหรือใชกระบวนการกลุมเกี่ยวกับทักษะการฟง การดู การพูด การอาน การเขยี น และหลกั การใชภาษา การวัดและประเมินผล การสงั เกต การฝกปฏบิ ัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมนิ ชิ้นงานในแตละ กิจกรรม

22 รายละเอียดคาํ อธิบายรายวชิ า พท11001 ภาษาไทย จํานวน 3 หนวยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรูระดับ การฟง การดู 1. เหน็ ความสาํ คญั ของการฟงและดู 2. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเรอ่ื งทีฟ่ งและดู 3. มีมารยาทในการฟงและดู การพูด 1. เหน็ ความสาํ คัญ และลกั ษณะการพูดที่ดี 2. สามารถพดู แสดงความรู ความคิด ความรูสกึ ในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสม 3. มีมารยาทในการพดู การอาน 1. เหน็ ความสําคัญของการอาน ท้ังการอานออกเสียงและอานในใจ 2. สามารถอานไดอยางถกู ตอง และอานไดเรว็ เขาใจความหมายของถอยคํา ขอความเน้ือเร่ืองทอ่ี าน 3. มมี ารยาทในการอานและนิสยั รกั การอาน การเขียน 1. เหน็ ความสําคญั ของการเขยี นและประโยชนของการคัดลายมือ 2. สามารถเขยี นคํา คําคลองจอง ประโยค และเขียนบนั ทกึ เร่ืองราว สือ่ สาร เหตุการณ์ ในชวี ติ ประจาํ วันได 3. มีมารยาทในการเขยี นและนิสัยรักการเขยี น หลักการใชภาษา 1. สามารถสะกดคาํ โดยนําเสยี งและรูปอกั ษรไทยประสมเปนคาํ อานและเขยี นไดถูกต องตามหลักการใชภาษา 2. สามารถใชเคร่ืองหมายวรรคตอนไดถกู ตองและเหมาะสม 3. เขาใจลกั ษณะของคาํ ไทย คําภาษาถน่ิ และคําภาษาตางประเทศที่ ใชในภาษาไทย

23 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถคนควาเร่ืองราว ประโยชนและคณุ คาของนิทาน นิทานพ้นื บาน วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถ่นิ ภาษาไทยกบั การประกอบอาชีพ 1. ใชความรูดานการพูดภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชพี 2. ใชความรูดานการเขยี นภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชพี ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชี้วัด เน้อื หา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 การฟง การดู 1.รแู ละเขาใจหลักการความสาํ คญั 1. หลักการความสาํ คัญและจุดมุ 2 และจดุ มงุ งหมายของการฟงและดู หมายของการฟงและดู 2. การจับใจความสําคัญจาก 2.จบั ใจความสําคัญ และสรปุ ความ การฟงและดู 3 จากเรือ่ งที่ 3. การสรปุ ความจากการฟงและดู ฟงและดู 4. มารยาทในการฟงและดู 3 3.ปฏิบัตติ นเป็นผมู ีมารยาทในการฟ งและดู 2 2 การพดู 1. เขาใจหลกั การ ความสาํ คญั และ 1. หลักการ ความสาํ คญั และจดุ มุ 2 จุดมงุ งหมายของการพดู หมายของลักษณะการพูดทีด่ ี 2. การเตรียมการพดู และ 2 2. การเตรียมการ และพูดแสดง ลักษณะการพดู ทด่ี ี ความรู ความคิดความรูสึกได อย 3. การพดู ในโอกาสตาง ๆ 3 างเหมาะสม - การพูดอวยพร 3. ปฏบิ ตั ิตนเปนผมู ีมารยาทในการ - การพดู ขอบคณุ พดู - การพดู แสดงความเสยี ใจ ดใี จ - การพูดตอนรับ - การพดู รายงาน 1 4. มารยาทในการพูด

24 ที่ หัวเร่ือง ตวั ชี้วดั เนื้อหา จำนวน ชว่ั โมง 4 การเขยี น 1. เขาใจหลกั การเขยี นและเห็น 5. การเขยี นตามรปู แบบ 2 ความสาํ คญั - การเขียนเรียงความ ของการเขียน - การเขยี นยอความ 2. รจู กั อกั ษรไทย เขยี นสะกด คํา - การเขยี นจดหมาย (การใช 2 และรคู วามหมายของคํา จดหมาย คําคลองจอง และประโยค อเิ ลก็ ทรอนิกส) 3.เขียนสอื่ สารใน 2 ชีวิตประจําวนั จดบนั ทกึ 6. การเขียนรายงานการคนคว โดยใชคําถูกตองชัดเจน าและอางองิ ความรู 4. เขยี นเรยี งความ 7. การเขียนกรอกรายการ (แบบ 3 ยอความ ฟอรม) จดหมายไดตามรปู แบบ 8. การปฏิบัตติ นเปนผูมีมารยาท 5. เขยี นรายงานการ ในการเขียนและมนี สิ ยั รักการ 2 คนควาสามารถอางองิ แหลงความรู เขียน 6. กรอกแบบรายการ 2 ตางๆ 7. ปฏิบัติตนเปนผมู ีมารยาทในการ 1 เขยี นและมกี ารจดบันทกึ อยาง สมำ่ เสมอ

25 ที่ หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 5 หลกั การใช 1. อธิบายการใชเสยี งและรูปอักษรไทย 1. เสยี งและรปู 1 ภาษา อักษร 3 หมแู ละการผันวรรณยกุ ต อักษรไทย (พยญั ชนะ สระ และ 2. อธิบายเกี่ยวกบั การสะกดคําพยางค วรรณยุกต) 3 และประโยคไดถกู ตอง 2. การผนั อกั ษร 3 หมู (ไตรยางศ) 1 3. ใชเครื่องหมายวรรคตอนและอักษรย 3. คําและพยางค 2 อไดถกู ตอง 4. คําในมาตราตัวสะกด 9 มาตรา 3 4. บอกวธิ ีการใช และประโยชน 5. ชนิดและหนาท่ีของ ของการใชพจนานกุ รม คาํ 7ชนดิ 2 5. บอกความหมายของ 6. โครงสรางและชนดิ สํานวน คําพังเพย สภุ าษิต ของประโยค 1 คาํ ราชาศัพท คําสภุ าพ 7. เครอื่ งหมายวรรค 3 และนาํ ไปใชไดถูกตอง ตอน 1 เหมาะสม 8. การใชพจนานกุ รม 6. บอกลักษณะคาํ ไทย 9. ความหมายและการ คําภาษาถิน่ และคาํ ภาษาตางประเทศที่มี ใชสํานวน คําพงั เพย ใช้ในไทย สภุ าษิต คาํ ราชาศพั ท 2 และคําสภุ าพ 10. การใชภาษาท่ี เหมาะสม กบั บคุ คล สถานการณ วฒั นธรรม 2 ประเพณี 11. ลักษณะของคาํ ไทย คาํ ภาษาถิ่น คาํ ภาษา ต างประเทศท่มี ใี ชใน ภาษาไทย

26 ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชัว่ โมง) 6 วรรณคดี อธบิ ายถึงประโยชนและคณุ คาของนิทาน 1. เร่อื งราว นทิ าน 5 วรรณกรรม พน้ื บาน วรรณกรรมและวรรณกรรมใน พืน้ บ้านและวรรณกรรม ทองถิ่น ทองถน่ิ 2. เรื่องราววรรณคดที ่มี ี 15 ความหลากหลาย - กลอนบทละคร (สงั ขทอง) - กลอนนทิ าน (พระอภยั มณี) - กลอนเสภา (ขนุ ชาง ขุนแผน) 7 ภาษาไทยกบั 1. ใชความรกู ารพดู ภาษาไทยเปนชองทาง 1. ภาษาไทยดานการ 2 การประกอบ ในการประกอบอาชพี พดู กับชองทางการ อาชีพ 2. ใชความรกู ารเขยี นภาษาไทยเปนชอง ประกอบอาชีพ ทางการประกอบอาชพี 2. ภาษาไทยดานการ เขียนกับชองทางการ 2 ประกอบอาชีพ

27 คำอธิบายรายวชิ าบังคับ และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

28 คําอธบิ ายรายวิชา พท21001 ภาษาไทย จาํ นวน 4 หนวยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรูระดับ การฟง การดู 1. สามารถสรปุ ความ จบั ประเด็นสาํ คัญของเร่ืองท่ีฟงและดู 2. วเิ คราะห แยกแยะขอเทจ็ จรงิ ขอคดิ เห็นและจดุ ประสงคของเรือ่ งท่ฟี งและดู 3. สามารถแสดงทรรศนะ และความคดิ เห็นตอผูพูดอยางมเี หตผุ ล 4. มีมารยาทในการฟงและดู การพดู 1. สามารถพูดนําเสนอความรู แสดงความคิดเห็น สรางความเขาใจ โนมนาวใจ ปฏิเสธ เจรจาตอรองดวยภาษากิรยิ าทาทางท่ีสภุ าพในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสม 2. มมี ารยาทในการพูด การอาน 1. สามารถอานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. จับใจความสําคญั แยกขอเทจ็ จริงและขอคดิ เห็นจากเรอื่ งท่ีอาน 3. สามารถอานหนังสอื และส่ือสารสนเทศไดอยางกวางขวางเพอ่ื พัฒนาตนเอง 4. มมี ารยาทในการอานและนิสยั รกั การอาน การเขยี น 1. สามารถเลอื กใชภาษาในการนาํ เสนอตามรูปแบบของงานเขียนประเภทตางๆไดอยาง สรางสรรค 2. สามารถใชแผนภาพความคดิ จัดลาํ ดับความคดิ เพ่อื พัฒนางานเขยี น 3. สามารถแตงบทรอยกรองตามความสนใจไดถูกตองตามหลกั ไวยากรณและลกั ษณะคาํ ประพันธ 4. สามารถเขยี นสอื่ สารเรอ่ื งราวตางๆ ได 5. มีมารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขยี น หลักการใชภาษา 1. รูและเขาใจชนิด และหนาทีข่ องคํา พยางค วลี ประโยค และสามารถอาน เขยี นไดถูกต องตามหลักเกณฑของภาษา 2. สามารถใชเคร่ืองหมายวรรคตอน อกั ษรยอ คาํ ราชาศพั ท 3. สามารถวิเคราะหความแตกตางระหวางภาษาพดู และภาษาเขียน 4. รูและเขาใจสํานวน สภุ าษิต คาํ พังเพยในการพดู และเขยี น

29 วรรณคดี วรรณกรรม รูและเขาใจความแตกตางของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบันและวรรณกรรมทองถ่ิน ตลอดจนเห็นคณุ คา ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ 1. ใชความรูดานการพูดภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ 2. ใชความรูดานการเขยี นภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี ศึกษาและฝกทกั ษะเก่ยี วกบั เร่ืองดงั ตอไปนี้ การฟง การดู การสรุปความ จับประเด็นสาํ คญั ของเร่อื งที่ฟงและดู ตลอดจนการมีมารยาทใน การฟงและดู การพูด การพดู นําเสนอความรู ความคดิ เห็น โนมนาวใจ ปฏิเสธ เจรจาตอรอง และมารยาทใน การพดู การอาน ข การอานออกเสียงและอานในใจท้ังรอยแกว และรอยกรอง การแยกแยะ อเท็จจริง ขอคดิ เห็นและจุดมุงหมายของเร่ืองทอ่ี าน ตลอดจนมารยาทในการอาน การเขียน การใชแผนภาพความคิด จัดลําดับความคิดกอนการเขียน การแตงบทรอยกรอง ประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพ การเขยี นสื่อสารเร่อื งราวตางๆ และการเขียนรายงาน การคนควา อา งอิง ตลอดจน มารยาทในการเขียน หลกั การใชภาษา ชนิดและหนาที่ของคํา พยางค วลี ประโยค การใชเครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอ พจนานุกรม คาํ ราชาศัพท ความแตกตางและความหมายของสาํ นวน สภุ าษิต คําพงั เพย วรรณคดีและวรรณกรรม ความแตกตางและคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรมปจจบุ ันและวรรณกรรมทองถ่นิ ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี การใชความรูดานการพูด การเขยี นภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชพี

30 การจดั ประสบการณการเรียนรู จดั ประสบการณหรือสถานการณในชีวติ ประจาํ วนั ใหผูเรียนไดศึกษา คนควาโดยการฝ กปฏิบตั ิจรงิ เปนรายบุคคลหรอื กระบวนการกลุมเกย่ี วกบั ทกั ษะการฟง การดู การพูด การอาน การเขยี น และหลกั การใชภาษา การวดั และประเมินผล การสังเกต การฝกปฏิบัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินชิ้นงานใน แตละกิจกรรม

31 รายละเอียดคาํ อธิบายรายวิชา พท21001 ภาษาไทย จํานวน 4 หนวยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรูระดบั การฟง การดู 1. สามารถสรปุ ความ จับประเดน็ สาํ คญั ของเรือ่ งทฟี่ งและดู 2. วิเคราะห แยกแยะขอเท็จจรงิ ขอคิดเหน็ และจุดประสงคของเรอ่ื งทฟ่ี งและดู 3. สามารถแสดงทรรศนะและความคิดเห็นตอผูพดู อยางมีเหตุผล 4. มีมารยาทในการฟงและดู การพดู 1. สามารถพูดนําเสนอความรู แสดงความคิดเห็น สรางความเขาใจ โนมนาวใจ ปฏเิ สธ เจรจาตอรองดวยภาษากริ ยิ าทาทางที่สุภาพในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสม 2. มีมารยาทในการพูด การอาน 1. สามารถอานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 2. จบั ใจความสําคัญ แยกขอเทจ็ จรงิ และขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน 3. สามารถอานหนังสือและสื่อสารสนเทศไดอยางกวางขวาง เพ่ือพัฒนาตนเอง 4. มมี ารยาทในการอานและนสิ ยั รกั การอาน การเขยี น 1. สามารถเลอื กใชภาษาในการนําเสนอตามรปู แบบของงานเขียนประเภทตางๆ ไดอย างสรางสรรค 2. สามารถใชแผนภาพความคดิ จดั ลาํ ดบั ความคิดเพอื่ พฒั นางานเขียน 3. สามารถแตงบทรอยกรองตามความสนใจไดถูกตองตามหลักไวยากรณและลักษณะ คาํ ประพันธ 4. สามารถเขียนสื่อสารเร่อื งราวตางๆ ได 5. มมี ารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน หลักการใชภาษา 1. รูและเขาใจชนิด และหนาที่ของคํา พยางค วลี ประโยค และสามารถอานเขียนได ถูกตองตามหลักเกณฑของภาษา 2. สามารถใชเคร่อื งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ คาํ ราชาศพั ท 3. สามารถวิเคราะหความแตกตางระหวางภาษาพดู และภาษาเขยี น

32 4. รูและเขาใจสาํ นวน สุภาษิต คาํ พงั เพยในการพูดและเขยี น วรรณคดี วรรณกรรม รูและเขาใจความแตกตางของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบันและวรรณกรรม ทองถ่ิน ตลอดจนเห็นคณุ คา ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 1. ใชความรูดานการพูดภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ 2. ใชความรูดานการเขียนภาษาไทยเพ่ือการประกอบอาชพี

33 ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชว้ี ดั เนื้อหา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การฟง การดู 1. สรุปความ จบั ประเด็นสาํ คัญ 1. สรปุ ความ จบั ประเด็น 2 ของเรอ่ื งทฟี่ งและดู สําคญั ของเรื่องทฟ่ี งและ ดู 2. วเิ คราะหความนาเช่อื ถอื จาก การ 2. หลักการจบั ใจความสาํ คัญ 2 ฟง และดูสอื่ โฆษณาและข ของเรอื่ งทฟ่ี งและดู าวสาร ประจําวันอยางมีเหตผุ ล 3. การวเิ คราะห วจิ ารณ 4 3. วเิ คราะห วจิ ารณการใช ขอเทจ็ จรงิ ขอคดิ เห็น นำ้ เสยี งกิรยิ าทาทาง ถอยคําของ และสรุปความ ผพู ดู อยางมเี หตุผล 4. การมมี ารยาทในการฟง 2 4. ปฏิบัติตนเปนผมู มี ารยาทใน และดู การฟงและดู 2 การพดู 1. พูดนําเสนอความรู ความ 1. สรปุ ความ จบั ประเดน็ 2 คิดเหน็ สรางความเขาใจโนมน สาํ คญั าวใจ ปฏเิ สธ ของเรอ่ื งทพ่ี ดู ได เจรจาตอรองดวยภาษา 2. การพดู นาํ เสนอความรู 4 กิริยาทาทางทส่ี ุภาพ ความคดิ เห็น และการพดู ในโอกาสตางๆ เชน 2. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู ีมารยาทใน - พูดแนะนําตนเอง การพดู - พดู กลาวตอนรับ - พูดกลาวขอบคุณ - พดู โนมนาวใจ - พดู ปฏิเสธ - พดู เจรจาตอรอง - พดู แสดงความคดิ เหน็ 3. การมมี ารยาทในการพูด 2

34 ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ชวั่ โมง) 3 การอาน 1. อานในใจไดคลองและเรว็ 1. หลกั การอานในใจจากส่ือ 5 2. อานออกเสยี งและ ประเภทตางๆ อานทาํ นองเสนาะได 2. หลักการอานออกเสียง 5 อยางถกู ตองตามลกั ษณะคําประ ทเี่ ปนทงั้ รอยแกวและ พนั ธ รอยกรอง 3. เลือกอานหนังสือและสอื่ 3. หลักการเลือกอา่ นหนังสือและ 3 สารสนเทศ เพอ่ื พฒั นาตนเอง สอ่ื สารสนเทศ 4. วิเคราะห วจิ ารณ แยกแยะข 4. หลกั การอานจบั ใจความ 10 อเทจ็ จริง ขอคิดเหน็ และจดุ มงุ ห สาํ คัญ มายของเรอ่ื งท่อี าน 5. หลกั การวิเคราะห วิจารณ 15 5. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ีมารยาทในกา รอานและมนี ิสัยรกั การอาน 6. มารยาทในการอานและ 2 นิสัยรักการอาน 4 การเขียน 1. เลอื กใชภาษาในการนาํ เสนอตาม 1. หลกั การเขยี น การใช 4 รปู แบบของงานเขียนประเภทรอย ภาษาในการเขยี น แกวและ รอยกรองไดอยางสราง 2. หลักการเขียนแผนภาพ 14 สรรค ความคิด 2. ใชแผนภาพความคิด จดั ลําดบั 3. หลักการเขียนเพ่อื การ 18 ความคิดกอนการเขยี น ส่อื สารประเภทตางๆ เชน การ 3. แตงบทรอยกรอง ประเภทกลอน เขียนเรยี งความ ยอความ เขยี น ส่ี กลอนสภุ าพ ช้แี จง เขียนแสดงความคดิ เห็น 4. เขยี นบทรอยแกวประเภท คําขวญั คําคม คําโฆษณา เขียน ประวัตติ นเอง อธิบายความ รายงานการคนควา การกรอก ยอความ ขาว แบบพมิ พและใบสมัครงาน 4. การปฏิบัตติ นเปนผูมี 2 มารยาทในการเขียนและมีนสิ ัยรกั และมีนสิ ยั รักการเขยี น

35 ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชวี้ ดั เนื้อหา จำนวน (ชัว่ โมง) 5. เขียนรายงานการ คนควาสามารถ อางอิงแหลงความรไู ดถกู ตอง 6. กรอกแบบรายการตางๆ 7. ปฏิบัติตนเปนผมู ีมารยาทใน การเขียน และมีการจดบันทึก อยางสมำ่ เสมอ 5 หลักการใชภาษา 1. อธบิ ายความแตกตางของคาํ 1. ความหมายของคาํ พยางค 3 พยางค วลี ประโยคการสะกด วลี ประโยค และการสะกดคํา คาํ ไดถกู ตอง 2. หลกั ในการสะกดคํา 3 2. ใชเคร่ืองหมายวรรคตอน 3. การใชเครือ่ งหมายวรรค 4 อกั ษรยอ คําราชาศพั ทไดถกู ตอง ตอน อักษรยอ คาํ ราชา 3. อธบิ ายความแตกตางระหวาง ศพั ท และการใชเลขไทย ภาษาพูดและภาษาเขียน 4. การใชคําและการสรางคาํ 9 4. อธบิ ายการใช ความแตกตาง ในภาษาไทย และความหมายของสํานวน - การสรางคําไทย สภุ าษติ และนาํ ไปใชใชีวิต - คาํ ประสม ประจาํ วนั ไดถูกตอง - คาํ ซอน 5. อธิบายหลักการและสามารถ - คาํ ซำ้ แตงคาํ ประพนั ธประเภทตาง ๆ - คําสมาส คาํ สนธิ - หลักการสังเกตคาํ ภาษา อ่ืนๆ ท่ีใชในภาษาไทย 5. ชนดิ ของประโยค 3 6. การใชระดบั ภาษาทเ่ี ปน 3 ทางการและไมเปนทางการ

36 ท่ี หวั เร่ือง ตัวช้ีวัด เนือ้ หา จำนวน 7. การใชสาํ นวน สุภาษิต (ชั่วโมง) คําพังเพย 8 8. หลกั การแตงคําประพนั ธ 4 ประเภทตาง ๆ เชน 5 - กาพยยานี 11 - กาพยฉบงั 16 - กลอน 4 6 วรรณคดี - ฯลฯ วรรณกรรม อธิบายความแตกตาง 1. หลักการพจิ ารณา และคณุ คาของวรรณคดี วรรณคดี 5 วรรณกรรมปจจุบันและ 2. หลักการพนิ จิ วรรณกรรม 5 วรรณกรรมทองถน่ิ 3. ประวตั ิความเปนมา 5 ลกั ษณะและคณุ คา ของเพลงพืน้ บานเพลงกล อมเด็ก 555 4. หลักการพินจิ วรรณคดี ดานวรรณศลิ ป และดาน 5 สังคม - สามกก - ราชาธิราช - กลอนเสภาขุนชาง ขุนแผน - กลอนบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ 7 ภาษาไทยกบั การ 1. ใชความรกู ารพูด 1. ภาษาไทยดานการพดู กบั 2 ประกอบอาชีพ ภาษาไทยเปนชองทาง ชองทางการประกอบ ในการประกอบอาชพี อาชพี 2. ใชความรกู ารเขียน 2. ภาษาไทยดานการเขยี น ภาษาไทยเปนชอง กบั ชองทางการประกอบ 2 ทางการประกอบอาชพี อาชีพ

37 คำอธิบายรายวิชาบังคับ และรายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

38 คําอธบิ ายรายวชิ า พท31001 ภาษาไทย จํานวน 5 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรูระดับ การฟง การดู 1. สามารถเลือกสื่อ ในการฟงและดอู ยางสรางสรรค 2. สามารถฟงและดอู ยางมีวิจารณญาณ 3. เปนผมู มี ารยาทในการฟงและดู การพูด 1. สามารถพูดทง้ั ท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ โดยใชภาษาถกู ตองเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคดิ เห็นเชงิ วเิ คราะห และประเมนิ คาการใชภาษาพดู จาก สื่อตางๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอาน 1. สามารถอานอยางมวี ิจารณญาณ จัดลาํ ดับความคดิ จากเรอื่ งทอี่ าน 2. สามารถศึกษาภาษาถน่ิ สาํ นวน สภุ าษติ ท่ีมีอยใู นวรรณคดี วรรณกรรมปจจบุ ันและ วรรณกรรมทองถน่ิ 3. สามารถวิเคราะห วจิ ารณ ประเมนิ คาองคประกอบของวรรณคดี วรรณกรรม ปจจบุ นั วรรณกรรมทองถนิ่ 4. สามารถคนควาหาความรูจากส่ือสง่ิ พมิ พและสอื่ สารสนเทศ 5. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู ีมารยาทในการอาน และนิสัยรักการอาน การเขยี น 1. รูและเขาใจหลกั การเขียนประเภทตางๆ โดยใชคําในการเขยี นไดตรงความหมา และ ถกู ตองตามอกั ขระวธิ ีและระดบั ภาษา 2. สามารถวพิ ากษวจิ ารณและประเมนิ งานเขียนของผอู น่ื เพื่อนาํ มาพฒั นางานเขียน 3. สามารถแตงคาํ ประพันธประเภทรอยแกวและรอยกรอง 4. มีมารยาทในการเขียน และนสิ ัยรกั การเขยี น หลกั การใชภาษา 1. รูและเขาใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใชภาษาสรางมนุษยสมั พนั ธในการปฏบิ ัตงิ านรวมกับผอู นื่ และใชคาํ ราชา-ศพั ท คาํ สุภาพไดถกู ตองตามฐานะของบคุ คล

39 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะหและเห็นคุณคาวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบัน และวรรณกรรมทองถิ่น โดยใชหลกั การพินจิ วรรณคดี ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ 1. ใชความรูดานการพดู ภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชพี 2. ใชความรูดานการเขยี นภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ ศกึ ษาและฝกทกั ษะเกี่ยวกบั เรื่องดังตอไปนี้ การฟง การดู การวจิ ารณความสมเหตุสมผล การลําดบั ความและความเปนไปไดของเร่ืองที่ฟงและดู จากสื่อที่หลากหลาย ตลอดจนมารยาทของการฟงและดู การพูด ศิลปะการพดู ท่เี ปนทางการและไมเปนทางการ และมารยาทในการพดู การอาน การอานเพอ่ื ตคี วาม แปลความ ขยายความ ความหมายของภาษาถิ่น สาํ นวน สภุ าษิต องค ประกอบของการประเมินคาวรรณคดี วรรณกรรมปจจบุ นั และวรรณกรรมทองถิน่ ตลอดจนมารยาทในกา รอาน การเขียน หลกั การเขยี นประเภทตางๆ และการแตงคาํ ประพันธประเภทรอยกรอง ตลอดจนมารยาท ในการเขยี น หลกั การใชภาษา ธรรมชาตขิ องภาษา การใชถอยคํา ประโยค สาํ นวน สุภาษิต คาํ พงั เพย คําสุภาพ คาํ ราชาศัพท วรรณคดแี ละวรรณกรรม หลักการพนิ ิจและประเมนิ คุณคาเกี่ยวกับวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบนั และวรรณกรรมท องถนิ่ ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี การใชความรูดานการพูด การเขยี นภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพ การจดั ประสบการณการเรยี นรู จดั ประสบการณหรอื สถานการณในชีวิตประจําวนั ใหผเู รยี นไดฝกปฏิบตั จิ ริงเก่ยี วกับทักษะ การฟงการดู การพูด การอาน การเขียน และหลักการใชภาษาเปนรายบคุ คลหรอื ใชกระบวนการกลุม

40 การวดั และประเมินผล การสังเกต การฝกปฏิบัติ การทดสอบ ตรวจสอบ ตอบคําถาม และการประเมินชิ้นงานในแต ละกจิ กรรม

41 รายละเอยี ดคาํ อธิบายรายวิชา พท31001 ภาษาไทย จาํ นวน 5 หนวยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรูระดับ การฟง การดู 1. สามารถเลอื กสอื่ ในการฟงและดอู ยางสรางสรรค 2. สามารถฟงและดอู ยางมีวิจารณญาณ 3. เปนผูมีมารยาทในการฟงและดู การพูด 1. สามารถพูด ทงั้ ที่เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใชภาษาถูกตองเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชงิ วเิ คราะห และประเมนิ คาการใชภาษาพูดจาก ส่อื ต างๆ 3. มมี ารยาทในการพูด การอาน 1. สามารถอานอยางมวี ิจารณญาณ จัดลําดบั ความคดิ จากเร่อื งทอี่ าน 2. สามารถศึกษาภาษาถิน่ สาํ นวน สุภาษติ ทม่ี ีอยูในวรรณคดี วรรณกรรม ปจจุบนั และวรรณกรรมทองถิ่น 3. สามารถวเิ คราะห วจิ ารณ ประเมินคาองคประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุ บนั วรรณกรรมทองถิน่ 4. สามารถคนควาหาความรูจากส่ือสิ่งพมิ พและส่ือสารสนเทศ 5. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูมมี ารยาทในการอาน และนสิ ัยรกั การอาน การเขยี น 1. รูและเขาใจหลักการเขียนป ระเภท ต างๆ โดยใชคําใน การเขียน ไดตรง ความหมายและถูกตองตามอกั ขระวธิ แี ละระดบั ภาษา 2. สามารถวิพากษวจิ ารณและประเมินงานเขียนของผูอื่น เพื่อนํามาพัฒนา งาน เขียน 3. สามารถแตงคําประพันธประเภทรอยแกวและรอยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขียน และนสิ ยั รกั การเขียน หลักการใชภาษา 1. รูและเขาใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใชภาษาสรางมนุษยสัมพันธในการปฏิบัติงานรวมกับผูอ่นื และใชคําราชา ศัพทคําสภุ าพไดถูกตองตามฐานะของบุคคล

42 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวเิ คราะหและเหน็ คณุ คาวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบนั และวรรณกรรมทองถ่ิน โดยใชหลักการพินจิ วรรณคดี ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ 1. ใชความรูดานการพดู ภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชีพ 2. ใชความรูดานการเขียนภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ

43 ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชีว้ ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 การฟง การดู 1. เหน็ คณุ คาของสื่อใน 1. หลกั การฟงและดู 10 การฟงและดู 2. สรปุ ความ จบั ประเดน็ 4 2. วิจารณความ ใจความสําคญั ของเรอื่ ง สมเหตุสมผล การลาํ ดบั ทฟ่ี งและดู ความและความเปนไป 3. การวิเคราะหขอเท็จจรงิ ไดของเร่ืองที่ฟงและดู ขอคดิ เหน็ และสรุปความ 4 3. นาํ เสนอความรู ความ 4. มารยาทในการฟงและดู คดิ เห็นท่ีไดจากการ 2 ฟงและดู 4. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ี มารยาทในการฟงและดู 2 การพดู 1. ใชศลิ ปะการพูดที่ 1. หลกั การแสดงความ 2 เปนทางการและไม คดิ เห็น เปนทางการไดอยาง 2. การพดู เปนทางการและ 6 เหมาะสมกบั โอกาสและ ไมเปนทางการ บุคคล 2. วิเคราะห ประเมนิ คา 3. ศิลปะการพดู ประเภท 8 การใชภาษาพูดจากสอ่ื ตางๆ เชน ตางๆ - พดู แนะนาํ ตนเอง - พูดกลาวตอนรับ - พูดกลาวขอบคณุ - พดู โนมนาวใจ/ปฏเิ สธ - พูดเจรจาตอรอง - พดู แสดงความคิดเห็น - พดู อธบิ าย - พูดสุนทรพจน /โตวาที 3. ปฏบิ ตั ิตนเปนผมู ี 4. มารยาทในการพูด 2 มารยาทในการพดู

44 ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชี้วดั เนอ้ื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 3 การอาน 1. ตีความ แปลความ 1. หลกั การตีความ แปล 2 และขยายความเรือ่ งที่ ความและขยายความ อาน 2. การอานบทประพันธ 7 2. วเิ คราะห วิจารณ ทไี่ พเราะทง้ั รอยแกว ความสมเหตสุ มผล การ รอยกรอง ลําดบั ความคดิ และความ 3. การอานวรรคตอน 10 เปนไปไดของเรือ่ งท่อี าน ในวรรณคดี จากเรื่อง 3. อธบิ ายความหมาย ขุนชางขุนแผน ของภาษาถิน่ สาํ นวน พระอภัยมณี อิเหนา สุภาษติ ท่ปี รากฏใน นิทานเวตาล นริ าศ วรรณคดี วรรณกรรม พระบาท นริ าศภูเขาทอง ปจจบุ ัน วรรณกรรม รายยาวมหาเวสสันดรชาดก ทองถ่นิ มัทนพาธา พระมหาชนก 4. วิเคราะห วิจารณ (ทศชาติชาดก) ประเมินคาวรรณคดี 4.หลักการวเิ คราะห วิจารณ 20 วรรณกรรมปจจุบนั และประเมนิ คาวรรณคดี วรรณกรรมทองถ่นิ ใน วรรณกรรมปจจุบันและ ฐานะทีเ่ ปนมรดกทาง วรรณกรรมทองถน่ิ เชน วัฒนธรรมของชาติ วรรณกรรมปจจุบัน แลวนาํ ไปประยุกต ไดแก บทละครโทรทัศน ใชในการดาํ เนินชีวติ นวนิยาย เรื่องสนั้ บทเพลง 5. เลอื กใชสอ่ื ในการ ตางๆ วรรณกรรมทองถ่ิน คนควาหาความรูท่ี ไดแก ไกรทอง นางสบิ สอง หลากหลาย ปลาบทู อง ผาแดงนาง 6. มีมารยาทในการอาน ไอคํา ละครจกั รๆ วงศๆ และมีนสิ ัยรกั การอาน ฯลฯ 5. การมีมารยาทในการอาน 1

45 ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เน้ือหา จำนวน (ชว่ั โมง) 4 การเขยี น 1. เขียนแผนภาพ 1. การเขยี นแผนภาพ 2 ความคดิ เขยี นยอความ ความคดิ เรยี งความจดหมาย 2. การเขียนยอความ 2 เขยี นอธิบาย ชีแ้ จง 3. การเขียนเรียงความ 2 โนมนาวใจ แสดงทศั นะ 4. การเขยี นจดหมาย 2 และการเขยี นเชิงสราง 5. การเขยี นอธบิ าย 2 สรรค โดยใชหลกั การ 6. การเขียนช้ีแจง โนมนาว 2 เขียนและโวหารตางๆ ใจ ไดถกู ตองตามอักขระวธิ ี 7. การเขียนแสดงทัศนะ 2 และระดบั ภาษา 8. การเขียนคาํ ขวัญ 2 2. แตงคําประพันธ 9. การเขยี นคําโฆษณา 2 ประเภทรอยกรองได 10. หลักการเขียนโวหาร 5 ถูกตองตามฉนั ทลกั ษณ แบบตางๆ และใชถอยคาํ ที่ไพเราะ 11. การเขียนพรรณนาและ 6 3. การกรอกแบบพิมพ การเขยี นบรรยาย ประเภทตางๆ ไดถกู ตอง เหตกุ ารณ 4. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ี 12. หลกั การเขียนรายงาน 5 มารยาทในการเขยี นและ ทางวชิ าการ มีการจดบันทกึ อยาง 13. หลักการเขยี นอางองิ 1 สมำ่ เสมอ 14. การกรอกแบบพิมพ 2 ประเภทตางๆ เชน กรอกใบสมัครงาน กรอกใบสมคั รเรยี น กรอกใบคํารองตางๆ 15. การปฏบิ ตั ิตนเปน 1 ผมู ีมารยาทในการเขียน และมีนสิ ยั รักการเขียน

46 หัวเรอ่ื ง ตวั ช้วี ดั เน้อื หา จำนวน 5 หลักการใชภาษา 1. อธิบายธรรมชาตขิ อง 1.ธรรมชาตขิ องภาษา (ช่วั โมง) ภาษาและใชประโยค - การเปลยี่ นแปลง 10 ตามเจตนาของการ สื่อสาร ของภาษา 4 2. เลอื กใชถอยคํา - ลกั ษณะของภาษา 10 สํานวน สุภาษิต - พลงั ของภาษา คาํ พังเพยใหตรง 2. การใชถอยคํา สํานวน ความหมาย สุภาษติ คําพังเพย 3. ใชประโยคไดถูกตอง 3. โครงสรางของประโยค ตามเจตนาของผสู งสาร รปู ประโยค และชนดิ 4. ใชคําสภุ าพ และคํา ของประโยค ราชาศัพทใหถกู ตองตาม 4. ระดบั ภาษา ฐานะและบุคคล 8 5. แตงคาํ ประพนั ธ 5. คาํ สุภาพ ประเภทรอยกรอง 6. คําราชาศพั ท 8 7.การแตงคาํ ประพนั ธ 8 4 ประเภทรอยกรอง 6 วรรณคดีและ อธบิ ายคณุ คาวรรณคดี 1. ความหมายของวรรณคดี 10 วรรณกรรม วรรณกรรมปจจบุ นั วรรณกรรมปจจบุ ันและ และวรรณกรรมทองถนิ่ วรรณกรรมทองถ่ิน 2. คุณคาของวรรณคดี 15 และวรรณกรรม ดาน วรรณศลิ ป และดานสังคม 3. แนวคิดและคานยิ ม 15 ทป่ี รากฏในวรรณคดี และวรรณกรรม 7 ภาษาไทยกบั การ 1. ใชความรกู ารพดู 1. ภาษาไทยดานการพูดกบั 2 ประกอบอาชีพ ภาษาไทยเปนชองทาง ในการประกอบอาชีพ ชองทางการประกอบอาชพี 2. ใชความรกู ารเขียน 2 ภาษาไทยเปนชอง 2. ภาษาไทยดานการเขยี น ทางการประกอบอาชีพ กับชองทางการประกอบ อาชพี

47 คำอธิบายรายวชิ าเลือก และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook