Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

Published by juthamanee.suksawai, 2023-05-19 09:09:16

Description: แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

Search

Read the Text Version

201 ตอนที่ 3 จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 30-31 14. ครแู บ่งกลุ่มให้นักเรยี น กลุ่มละ 4 คน โดยคละตามความสามารถ 15. ครูใช้วิธีสอนโดยใช้การสาธิต (Demonstration) มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยครูจับฉลากเลือก นกั เรยี น 2 กลมุ่ จากนันใหอ้ อกมาสาธิตการท้ากจิ กรรมที่ 3 เรอ่ื ง สมบัตขิ องแก๊ส ตอนที่ 3 จากหนังสือ เรยี นวิทยาศาสตร์ หนา้ 30-31 16. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั สงั เกตการสาธติ การท้ากจิ กรรมจากกล่มุ สาธติ 17. สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันน้าผลการสังเกตบันทึกลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หนา้ 42 18. เมื่อท้ากิจกรรมเสร็จแล้ว ให้ครูถามนักเรียนว่า สสารที่อยู่ในสถานะแก๊สต้องการท่ีอยู่หรือไม่ โดยให้ นักเรยี นรว่ มกันตอบค้าถามอย่างอิสระ (แนวตอบ : แกส๊ ตอ้ งการท่อี ยู่) 19. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า นักเรียนจะได้ค้าตอบจากการท้ากิจกรรมที่ 3 เร่ือง สมบัติของแก๊ส ตอนที่ 4 จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 30-31 20. ครูใช้วิธีสอนโดยใช้การสาธิต (Demonstration) มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยครูจับฉลากเลือก นักเรียน 2 กลุ่ม จากนันให้ออกมาสาธิตการท้ากิจกรรม เร่ือง สมบัติของแก๊ส ตอนที่ 4 จากหนังสือ เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 30-31 21. นกั เรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกนั สังเกตการสาธติ การทา้ กจิ กรรมจากกลุ่มสาธติ 22. สมาชิกในกลุ่มช่วยกันน้าผลการสังเกตบันทึกลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หนา้ 42 ช่วั โมงที่ 3 ขั้นอธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานา้ เสนอผลการท้ากิจกรรมหนา้ ชันเรยี นทีละกลุ่ม จนครบทกุ กลุ่ม 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการท้ากิจกรรมให้ได้ว่า อากาศในลูกโป่งอยู่ในสถานะแก๊ส มีมวล ตอ้ งการท่อี ยู่ มีรูปรา่ งและปรมิ าตรเปลีย่ นแปลงตามภาชนะท่บี รรจุ 1

202 ขันสรุป ขั้นขยำยควำมเขำ้ ใจ (Elaborate) 1. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 31 ลงในสมุดประจ้าตัว นกั เรียน หรือท้าลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 43 2. ครูชูบัตรภาพต่างๆ เช่น สมุด น้าดื่ม อากาศในบอลลูน อากาศในลูกโป่ง ก้อนหิน ไอน้า เป็นต้น จากนัน ให้นกั เรียนช่วยกันตอบว่า สสารใดอยู่ในสถานะแกส๊ เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ : อากาศในบอลลูน อากาศในลูกโป่ง และไอน้า เป็นสสารที่อยู่ในสถานะแก๊ส เพราะมีมวล ตอ้ งการทีอ่ ยู่ สามารถสัมผสั ได้ มีรูปรา่ งและปรมิ าตรเปลีย่ นแปลงตามภาชนะที่บรรจุ) 3. ครูตังประเด็นค้าถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า แก๊สมีอนุภาคเหมือนกันหรือแตกต่างกับของแข็ง และของเหลวหรอื ไม่ อย่างไร (แนวตอบ : แตกตา่ งกนั เพราะอนุภาคของแกส๊ กระจายห่างจากกนั มากกวา่ ของเหลว ทา้ ใหเ้ คลอ่ื นท่ีได้ทุก ทศิ ทาง) 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลจากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 34 จากนันร่วมกันแสดงความ คดิ เหน็ เกย่ี วกับค้าถาม 5. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมาเขียนค้าตอบหน้ากระดาน แล้วร่วมกนั ตรวจสอบคา้ ตอบ 6. ครูถามค้าถามท้าทายการคิดขันสูงจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 34 ว่า ถ้านักเรียนต้องการเล่น ลูกโป่ง แต่ไม่มีแรงในการเป่าลมเข้าไปภายในลูกโป่ง นักเรียนจะเลือกใช้วิธีดารใดแทนการเป่าลม เพราะอะไร (แนวตอบ : เลือกใช้น้า เพราะน้าอยู่ในสถานะของเหลว มีรูปร่างเปล่ียนแปลงตามภาชนะท่ีบรรจุ จึง สามารถบรรจลุ งในลกู โปง่ ได้ และสามารถน้าลูกโปง่ มาเล่นได้เช่นกัน) ชวั่ โมงท่ี 4 ขนั้ ขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) (ต่อ) 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 35-36 และศึกษาจาก Powerpoint เรื่องสถานะของสสาร จากนันช่วยกันคิดวิธีการน้าเสนอวิธีการหามวลและหาค่าปริมาตรของแก๊ส เช่น ท้าเป็นแผนภาพ การสาธิตวิธกี ารทดลอง เปน็ ต้น เพ่อื เตรียมออกมาน้าเสนอหน้าชันเรยี น 8. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกันออกมานา้ เสนอวธิ ีการหามวลและหาค่าปริมาตรของแก๊ส 9. นักเรียนกลุ่มอื่นๆ ผลัดกันให้คะแนนกลุ่มท่ีออกมาน้าเสนอ จากนันครูรวบรวมคะแนนแล้วน้ามา รวมกับ คะแนนของครู กลุ่มใดไดค้ ะแนนรวมสูงสุด คอื กลุ่มที่ชนะ 1

203 10. ครมู อบรางวัลใหก้ ลุ่มท่ีชนะ เพื่อเปน็ กา้ ลงั ใจ 11. นกั เรยี นแตล่ ะคนท้ากิจกรรมสรุปความรู้บทท่ี 2 ลงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 44 12. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมฝึกทักษะบทท่ี 2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 37-38 ลงในสมุด ประจ้าตัวนักเรยี น หรือท้าลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 45-47 13. นักเรยี นแต่ละคนท้ากจิ กรรมท้าทายการคดิ ขันสูง บทที่ 2 ลงในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 48 14. นักเรียนกลุ่มเดิมช่วยกันท้ากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 38 หรือ แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 49 เปน็ การบ้าน 15. นักเรียนแตล่ ะคนท้าทบทวนทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 50-53 16. นกั เรียนแต่ละคนท้าแบบทดสอบหลงั เรียน เพ่ือตรวจสอบความรู้ของนกั เรียนหลังทา้ กจิ กรรม ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ให้นักเรยี นดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 36 จากนนั ครูถามนักเรียนเป็น รายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพ่ือเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน หลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควรปรับปรุง ให้ครูทบทวน บทเรียนหรอื หากิจกรรมอ่ืนซอ่ มเสรมิ เพ่ือให้นักเรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในบทเรยี นมากขึน 2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤตกิ รรมการท้างานกล่มุ และจากการนา้ เสนอผลการท้ากจิ กรรมหนา้ ชันเรียน 3. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมที่ 3 เร่ือง สมบัติของแก๊ส ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ หน้า 41-42 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือตรวจในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หนา้ 43 5. ครูตรวจสอบผลการทา้ กิจกรรมสรปุ ความรบู้ ทที่ 2 ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 44 6. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมฝึกทักษะบทท่ี 2 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือตรวจในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ หน้า 45-47 7. ครูตรวจสอบผลการท้ากจิ กรรมท้าทายการคดิ ขนั สงู บทที่ 2 ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 48 8. ครตู รวจชินงานสมุดภาพจ้าแนกสถานะของสสาร และการน้าเสนอชินงาน/ผลงาน หน้าชนั เรยี น 9. ครูตรวจสอบผลการท้าทบทวนทา้ ยหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 50-53 10. ครตู รวจสอบผลการท้าแบบทดสอบหลังเรยี น 1

204 7. กำรวัดและประเมนิ ผล วิธกี ำร เคร่ืองมือ เกณฑ์กำรประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 รำยกำรวัด - ตรวจสมุดภาพจ้าแนก - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ 7.1 กำรประเมินชิน้ งำน/ - ร้อยละ 60 ภำระงำน (รวบยอด) สถานะของสสาร ชนิ งาน/ ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ 7.2 ประเมินระหวำ่ ง กำร จดั กจิ กรรม กำรเรียนรู้ - ตรวจสมุดประจา้ ตัว - สมุดประจา้ ตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) ผลบนั ทึกการท้า หรือแบบฝกึ หัด แบบฝึกหัด กจิ กรรมท่ี 1 - ระดบั คุณภาพ 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 ผ่านเกณฑ์ 2) กจิ กรรมหนูตอบได้ หนา้ 41-42 เล่ม 2 หน้า 41-42 - ระดับคณุ ภาพ 2 3) กจิ กรรมสรปุ ผา่ นเกณฑ์ ความรู้ - ตรวจสมดุ ประจ้าตัว - สมดุ ประจา้ ตวั หรอื - ระดบั คณุ ภาพ 2 4) กิจกรรมฝึกทักษะ หรอื แบบฝึกหดั แบบฝกึ หัด ผา่ นเกณฑ์ 5) กิจกรรมท้าทาย วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 วิทยาศาสตร์ ป.4 - ร้อยละ 60 การคดิ ขันสูง ผา่ นเกณฑ์ หน้า 43 เล่ม 1 หน้า 43 6) กิจกรรมทบทวน ทา้ ยหนว่ ย - ตรวจสมดุ ประจ้าตัว - สมุดประจา้ ตวั หรือ หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 44 เล่ม 2 หนา้ 44 - ตรวจสมุดประจ้าตัว - สมดุ ประจา้ ตวั หรือ หรือแบบฝกึ หดั แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 45-47 เลม่ 2 หนา้ 45-47 - ตรวจสมดุ ประจา้ ตัว - สมดุ ประจ้าตวั หรอื หรือแบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 48 เลม่ 2 หน้า 48 - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 50-53 เลม่ 2 หน้า 50-53 1

205 รำยกำรวัด วิธีกำร เครอื่ งมือ เกณฑก์ ำรประเมนิ - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 7) การนา้ เสนอผลงาน/ - ประเมินการนา้ เสนอ การน้าเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ ผลการท้ากจิ กรรม ผลงาน/ผลการทา้ กจิ กรรม 8) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ 2 การทา้ งานกล่มุ การท้างานกลุ่ม พฤติกรรม การ ผ่านเกณฑ์ ทา้ งานกลุ่ม 9) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ ม่ัน คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ในการทา้ งาน อันพงึ ประสงค์ 7.3 กำรประเมนิ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั - ประเมนิ ตาม หลังเรียน สภาพจรงิ 1) ทบทวนท้าย วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ ที่ 3 วสั ดุและ หน้า 50-53 ป.4 เล่ม 2 สสาร หน้า 50-53 2) แบบประเมนิ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ - รอ้ ยละ 60 หลงั เรียน หนว่ ย หลังเรียน หลงั เรยี น ผ่านเกณฑ์ การเรยี นรู้ท่ี 3 วัสดแุ ละสสาร 1

206 8. ส่อื /แหล่งกำรเรียนรู้ 8.1 สื่อกำรเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 วัสดแุ ละสสาร 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 วัสดแุ ละสสาร 3) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 3 เช่น คานไม้ เชือก หลอดดูด น้าเปล่า เคร่ืองช่ังดิจิทัล น้าผสมสฟี า้ ลูกโปง่ กะละมงั หนงั ยาง หลอดฉดี ยา แก้วพลาสตกิ ใส เป็นตน้ 4) บัตรภาพตวั อยา่ งสสาร 5) Powerpoint เร่อื ง สถานะของสสาร 6) วสั ดุ-อปุ กรณ์กิจกรรมสรา้ งสรรค์ผลงาน 7) สมดุ ประจา้ ตัวนักเรียน 8.2 แหลง่ กำรเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) ห้องเรียน 3) อนิ เทอร์เน็ต 1

207 บตั รภาพ  น้าด่มื อากาศในบอลลูน 1

208 บตั รภาพ  ไอนา้ กอ้ นหนิ 1

209 บตั รภาพ  สมุด ปากกา อากาศในลกู โป่ง 1

210 แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ว 14101 ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 4 หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 4 ระบบสุริยะและกำรปรำกฏของดวงจันทร์ ภำคเรียนที่ 2 เรอ่ื ง เรยี นรู้ระบบสุริยะ เวลำ 2 ชั่วโมง ครผู ู้สอน นำงสำวอัมรำ โกษำรกั ษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำน/ตัวชว้ี ดั ว 3.1 ป.4/3 สร้างแบบจ้าลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรยี บเทยี บคาบ การโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ จากแบบจา้ ลอง 2. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. บอกส่วนประกอบของระบบสรุ ิยะได้ (K) 2. มีความสนใจใฝเ่ รยี นรู้ (A) 3. สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง ระบบสุริยะเป็นระบบทีม่ ีดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ศูนยก์ ลาง และมีดาวบรวิ ารโคจรอยโู่ ดยรอบ ระบบ สุรยิ ะประกอบดว้ ย ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะหแ์ ปด ดวง ดาวเคราะหแ์ คระ ดาวเคราะหน์ ้อย ดาวหาง อุกกาบาต และวัตถุขนาดเล็กอ่นื ๆ 4. สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด ระบบสรุ ยิ ะเป็นระบบของดวงดาวทต่ี ังอยใู่ นดาราจกั รทางช้างเผอื ก ซง่ึ มีดวงอาทติ ย์เป็นศูนย์กลาง 1

211 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ มน่ั ในการทา้ งาน 2) ทกั ษะการสา้ รวจค้นหา 3) ทักษะการสรปุ อ้างองิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมกำรเรียนรู้ ชว่ั โมงที่ 1 ขนั น้า ขนั้ กระตุ้นควำมสนใจ (Engage) 1. ครสู นทนากบั นกั เรียนโดยถามว่า นกั เรยี นทราบหรือไมว่ า่ วนั นีจะไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร แล้วให้ นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบค้าถาม จากนันครแู จง้ ชื่อเรื่องท่ีจะเรยี นรู้ และตัวชีวดั ให้นักเรียนทราบ 2. นักเรยี นทา้ แบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือวดั ความรูเ้ ดิมของนักเรียนก่อนเขา้ ส่กู ิจกรรม 3. นักเรียนแต่ละคนอ่านสาระส้าคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ระบบสุริยะและการปรากฏของ ดวงจันทร์ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 40 แล้วให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คดิ เห็นอย่างอิสระวา่ เรามองเหน็ ดวงจนั ทร์ไดใ้ นเวลากลางวันหรอื กลางคนื (แนวตอบ : เรามองเห็นดวงจันทร์ได้ทังในเวลากลางวันและกลางคืน แต่มองเห็นได้ในบางวันและ บางเวลา) 4. นกั เรียนแต่ละคนเรยี นรู้คา้ ศพั ทท์ ่ีเก่ียวข้องกบั การเรยี นในบทท่ี 1 โดยครูเป็นผอู้ า่ นนา้ และให้นักเรียน อ่านตาม ดังนี Solar System (‘โซลึ ‘ซสิ ตมึ ) ระบบสรุ ิยะ Star (สตา) ดาวฤกษ์ Planet (‘แพลน็ นิท) ดาวเคราะห์ Comet (‘คอ็ มเมท็ ) ดาวหาง Dwarf Planet 1 (ดวอฟ ‘แพล็นนทิ ) ดาวเคราะหแ์ คระ

212 5. นักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 41 จากนันครูถามค้าถามส้าคัญประจ้าบทว่า นักเรียนรู้จักดวงดาวใดในระบบสุริยะบ้าง จากนัน ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น อย่างอสิ ระในการตอบค้าถาม (แนวตอบ : เช่น ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจนู เปน็ ตน้ ) 6. นักเรียนแต่ละคนวาดภาพพร้อมระบายสีองค์ประกอบของระบบสุริยะท่ีนักเรียนรู้จักลงในสมุด ประจ้าตวั นกั เรียน หรือให้นักเรียนท้ากจิ กรรมนา้ สู่การเรียนในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 54 ขันสอน ขน้ั สำรวจคน้ หำ (Explore) 1. ครูน้าบัตรภาพระบบสุริยะ มาให้นักเรียนสังเกตและร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า เป็นภาพจ้าลอง ของอะไร และตอ้ งการแสดงให้เราทราบเร่อื งอะไร 2. ครูสุ่มนกั เรียน 2-3 คน ให้ออกมาแสดงความคดิ เห็นหนา้ ชนั เรียน 3. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบสุริยะท่ีมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวบริวาร โคจรโดยรอบ ได้แก่ ดาวเคราะห์แปดดวง ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต และวัตถุขนาดเล็กอ่ืนๆ 4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลาง (คอ่ นข้างเก่ง) ปานกลาง (คอ่ นขา้ งอ่อน) และออ่ น แลว้ ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษาความรู้ เรอ่ื ง ระบบ สรุ ิยะ จากหนังสือเรียน หรอื แหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ 5. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มท้าใบงานที่ 4.1 เรื่อง ระบบสุริยะ ตามแผนท่ีได้วางไว้ เสร็จแล้วทบทวน ค้าตอบที่ถกู ตอ้ งของใบงาน ช่ัวโมงท่ี 2 ขั้นอธบิ ำยควำมรู้ (Explain) 1. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอภิปรายค้าตอบในใบงานท่ี 4.1 เร่ือง ระบบสุริยะ ของตนเองให้ เพ่ือนในกลมุ่ ฟงั หากมีส่วนทบ่ี กพร่องใหเ้ พือ่ นในกลุ่มช่วยแก้ไขและเพ่ิมเตมิ คา้ ตอบให้ถูกต้อง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน เพื่อออกมาน้าเสนอค้าตอบในใบงานที่ 4.1 เร่ือง ระบบสุริยะ หน้าชันเรียน โดยมีครคู อยตรวจสอบความถูกตอ้ งและเสนอแนะเพ่ิมเติมในส่วนท่บี กพร่อง 1

213 3. ครูน้าบัตรภาพระบบสุริยะให้นักเรียนดูอีกครัง และอธิบายเพิ่มเติม เพ่ือให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจมากยงิ่ ขนึ ขนั สรุป ข้ันขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) ครตู งั ค้าถามถามนักเรียนเพอื่ ขยายความรู้ให้นักเรยี น โดยถามคา้ ถามนกั เรียน ดังนี ● ดวงอาทิตย์มคี วามส้าคญั ต่อระบบสุริยะหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ดวงอาทิตย์มีความส้าคัญต่อระบบสุริยะ เน่ืองจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ความรอ้ นและแสงสวา่ งแกด่ าวเคราะหด์ วงอน่ื ๆ) ● เพราะเหตุใดเราจงึ มองเห็นดวงอาทิตย์เปน็ วงกลมโตอยู่บนท้องฟ้า (แนวตอบ : เพราะดวงอาทิตยเ์ ปน็ ดาวฤกษ์ท่อี ยู่ใกลโ้ ลกมากทสี่ ดุ ) ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูส่มุ นกั เรยี น 2-3 คน แล้วใหบ้ อกความรู้ที่ได้จากการเรียนในสองชั่วโมงนี โดยใหเ้ พ่ือนในชนั เรยี น ช่วยกันแสดงความคดิ เหน็ ว่าถูกต้องหรือไม่ และมีครคู อยแนะน้าส่วนที่บกพร่อง 2. ครูตรวจสอบผลการท้าแบบทดสอบก่อนเรยี น เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรยี น 3. ครปู ระเมินผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบคุ คล พฤติกรรมการท้างานกลุ่ม และจากการนา้ เสนอผลการทา้ กิจกรรมหน้าชันเรียน 4. ครตู รวจสอบการวาดภาพองค์ประกอบของระบบสุรยิ ะ หรอื ตรวจผลการทา้ กิจกรรมน้าสูก่ ารเรียนใน แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 54 5. ครตู รวจสอบผลการทา้ ใบงานท่ี 4.1 เรอ่ื ง ระบบสรุ ิยะ 1

214 7. กำรวัดและประเมนิ ผล รำยกำรวดั วธิ กี ำร เคร่อื งมือ เกณฑก์ ำรประเมนิ 7.1 กำรประเมินก่อนเรียน 1) แบบทดสอบก่อน เรยี น หนว่ ยการ เรียนรูท้ ี่ 4 - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมนิ ตาม สภาพจริง ระบบสุริยะและการปรากฏ กอ่ นเรียน ของดวงจนั ทร์ 2) กิจกรรมน้าสู่ การ - ตรวจสมุดประจา้ ตวั - สมุดประจา้ ตัว หรอื - ร้อยละ 60 แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์ เรียน หรือแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หนา้ 54 วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 54 7.2 ประเมนิ ระหว่ำงกำร จัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ 1) อธิบายสว่ นประกอบ - ตรวจใบงานที่ 4.1 - ใบงานท่ี 4.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ของระบบสรุ ยิ ะ - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2 การนา้ เสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 2) การน้าเสนอผลงาน/ - ประเมินการน้าเสนอ ผลการทา้ กิจกรรม ผลงาน/ผลการท้า กิจกรรม 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การท้างานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ท้างานรายบุคคล การทา้ งานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทา้ งานกลุ่ม - ระดบั คุณภาพ 2 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ คุณลักษณะ ทา้ งานกลุ่ม การทา้ งานกลุ่ม อันพึงประสงค์ - ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลกั ษณะอนั พึง - สงั เกตความมีวินัย ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ มัน่ ในการทา้ งาน 1

215 8. ส่อื /แหล่งกำรเรียนรู้ 8.1 สอ่ื กำรเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 ระบบสรุ ิยะและการปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 2. แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 ระบบสุริยะและการปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 3. ใบงานที่ 4.1 เรอ่ื ง ระบบสุรยิ ะ 4. สมดุ ประจ้าตัวนักเรียน 8.2 แหลง่ กำรเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 2. หอ้ งเรยี น 3. อนิ เทอรเ์ นต็ 1

216 บตั รภาพ  1. ดาวพุธ 2. ดาวศกุ ร์ 8. ดาวเนปจนู 3. โลก 7. ดาวยเู รนสั 4. ดาวองั คาร 6. ดาวเสาร์ ดาวเคราะหแ์ คระ พลโู ต 5. ดาวพฤหสั บดี ภาพจาลองระบบสุริยะ ท่ีมา : ศริ ริ ตั น์ วงศศ์ ริ ิ และรกั ซอ้ น รตั น์วจิ ติ ตเ์ วช. 2552. หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4. กรุงเทพมหำนคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์. 1

217 ใบงำนที่ 4.1 เรอ่ื ง ระบบสรุ ิยะ คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนสบื ค้นข้อมลู เร่อื ง ระบบสรุ ิยะ แลว้ ตอบค้าถามพรอ้ มวาดภาพประกอบ (วำดภำพ) 1. ระบบสุริยะ คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ศนู ยก์ ลางของระบบสุริยะ คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ระบบสุรยิ ะประกอบดว้ ยดาวเคราะห์ 8 ดวง ได้แก่อะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ดาวเคราะหด์ วงใดบ้าง ท่อี ยู่ใกล้ดวงอาทติ ยม์ ากกวา่ โลก ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ดาวเคราะหด์ วงใดบ้าง ท่อี ยหู่ า่ งจากดวงอาทิตยม์ ากกว่าโลก ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1

ใบงำนที่ 4.1 218 เรอื่ ง ระบบสรุ ิยะ เฉลย คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นสืบค้นข้อมลู เรอ่ื ง ระบบสรุ ิยะ แล้วตอบคา้ ถามพร้อมวาดภาพประกอบ (วำดภำพ) 1. ระบบสุรยิ ะ คืออะไร ระบบดวงดาวทม่ี ีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและมบี ริวารโคจร . 2. ศูนย์กลางของระบบสรุ ิยะ คืออะไร ดวงอาทิตย์ . 3. ระบบสุริยะประกอบด้วยดาวเคราะห์ 8 ดวง ได้แก่อะไรบ้าง ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั และดาว เนปจูน . 4. ดาวเคราะห์ดวงใดบ้าง ทอี่ ยใู่ กล้ดวงอาทิตยม์ ากกวา่ โลก ดาวพธุ และดาวศุกร์ . . 5. ดาวเคราะหด์ วงใดบ้าง ที่อยู่หา่ งจากดวงอาทติ ย์มากกว่าโลก ดาวองั คาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั และดาวเนปจนู . . 1

219 แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 2 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ว 14101 ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี 4 หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ ระบบสุริยะและกำรปรำกฏของดวงจันทร์ ภำคเรียนท่ี 2 เรอื่ ง แบบจำลองระบบสุริยะ เวลำ 4 ชั่วโมง ครผู สู้ อน นำงสำวอัมรำ โกษำรักษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด ว 3.1 ป.4/3 สร้างแบบจ้าลองแสดงองค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบ การโคจรของดาวเคราะหต์ า่ งๆ จากแบบจา้ ลอง 2. จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. อธบิ ายเปรียบเทยี บคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวเคราะห์ได้ (K) 2. สร้างแบบจ้าลองเพ่ืออธิบายส่วนประกอบของระบบสุริยะและคาบการโคจรรอบดวงอาทติ ยข์ อง ดาวเคราะห์ได้ (P) 3. ให้ความรว่ มมอื ในการท้ากจิ กรรมกลมุ่ ได้ (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่นิ ดวงอาทติ ยเ์ ป็นดาวฤกษ์ท่เี ป็นศูนยก์ ลางของระบบ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา สรุ ยิ ะ และมีบริวารโคจรอยโู่ ดยรอบ ซง่ึ ดาวเคราะห์ แตล่ ะดวงจะมีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์แตกตา่ ง กัน 4. สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด ระบบสรุ ิยะเป็นระบบท่ีมีดวงอาทิตย์เปน็ ศูนย์กลาง และมดี าวบริวารโคจรอยู่โดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ แปดดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นอกจากนี ระบบสุรยิ ะยงั มีดวงจันทรท์ ่ีเป็นดาวบริวารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อกุ กาบาต และวตั ถุขนาดเล็กอื่นๆ ซง่ึ ดาวพธุ คอื ดาวเคราะห์ทมี่ ีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์สัน ท่สี ดุ และดาวเนปจนู คอื ดาวท่มี คี าบการโคจรรอบดวงอาทติ ย์ยาวทสี่ ดุ 1

220 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุง่ ม่นั ในการท้างาน 2) ทักษะการสา้ รวจคน้ หา 3) ทักษะการระบุ 4) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 5) ทกั ษะการสรุปอา้ งองิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 1 ขนั นา้ ขนั้ กระต้นุ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนกั เรียนโดยถามว่า นักเรยี นทราบหรอื ไมว่ ่า วันนจี ะได้เรียนร้เู กยี่ วกบั เรื่องอะไร แล้วให้ นักเรียนช่วยกันตอบค้าถาม จากนันครแู จ้งชื่อเรอื่ งท่ีจะเรียนรู้ และตัวชีวดั ใหน้ กั เรียนทราบ 2. ครูให้นักเรยี นเลน่ เกม Hangman เกี่ยวกับชื่อดวงดาวในระบบสุรยิ ะ โดยปฏบิ ตั ิ ดังนี 1) ครขู ดี เสน้ ตามตัวอักษรของช่ือดวงดาวในระบบสรุ ิยะ เช่น โ_ ก (โลก) 2) ให้นักเรียนช่วยกันบอกตัวอักษรครังละ 1 ตัว ถ้าบอกถูก ครูเขียนลงในช่องว่าง ถ้าไม่ถูกให้ครู วาดเส้นครังละ 1 เสน้ เปน็ ตวั Hangman 3) หากนักเรยี นบอกตัวอกั ษรผิดครังท่ี 8 ตัว Hangman จะถูกแขวนคอ 3. นักเรียนชว่ ยกันรวบรวมช่ือดวงดาวทตี่ อบถูก 4. นักเรยี นชว่ ยกนั บอกสิ่งทรี่ ู้หรอื ประสบการณ์เดมิ เกยี่ วกับระบบสุรยิ ะ 1

221 ช่วั โมงท่ี 2 ขนั สอน ข้ันสำรวจค้นหำ (Explore) 1. ครูทบทวนความรู้ของนักเรียน โดยน้าบัตรภาพดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ มาให้นักเรียนดู แล้วให้ นักเรียนสงั เกตและร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นว่า คือภาพของดาวเคราะห์ดวงใด 2. นักเรียนแต่ละคนศึกษาข้อมูลเก่ียวกับองค์ประกอบของระบบสุริยะจากหนังสือเรียน หน้า 42 จากนันครูถามคา้ ถามนักเรียนวา่ ดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะมดี าวอะไรบา้ ง โดยครยู งั ไมเ่ ฉลย (แนวตอบ : ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั และดาวเนปจนู ) 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า นักเรียนจะได้ค้าตอบจากการท้ากิจกรรมท่ี 1 เร่ือง แบบจ้าลองระบบ สรุ ิยะ จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หน้า 43 4. ครแู บ่งกล่มุ นกั เรียนแบบคละความสามารถ (เกง่ -คอ่ นข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ให้อยูใ่ นกลมุ่ เดียวกัน กลมุ่ ละ 3-4 คน โดยครเู ป็นผู้เลือกนักเรยี นเข้ากลุม่ 5. นักเรียนทุกคนในกลุ่มปฏิบัติตามขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 1 เร่ือง แบบจ้าลองระบบสุริยะ จาก หนงั สือเรยี น หนา้ 43 โดยให้ไปสืบคน้ เพิ่มเตมิ เกยี่ วกับลักษณะของระบบสุรยิ ะ สว่ นประกอบของระบบ สุริยะและคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 44-59 และจาก แหล่งขอ้ มลู อื่นๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอรเ์ น็ต 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มน้าข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาอภิปรายร่วมกัน จากนันให้ช่วยกันออกแบบ แบบจ้าลองระบบสุริยะ แล้ววาดภาพและบันทึกข้อมูลแบบจ้าลองระบบสุริยะลงในสมุดประจ้าตัว นักเรยี น หรือในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หน้า 56-57 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเพื่อให้ออกมาน้าเสนอภาพแบบจ้าลองระบบสุริยะ พร้อมอธิบาย ส่วนประกอบ ของระบบสรุ ยิ ะและคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ ่างๆ ทไี่ ด้ออกแบบไว้ 8. ครคู อยแนะนา้ เพ่มิ เติมในส่วนทบ่ี กพร่อง และให้ขอ้ เสนอแนะในสว่ นทีค่ วรแก้ไข 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันปรับปรุง และแก้ไขภาพแบบจ้าลองตามทีค่ รูเสนอแนะ 1

222 ชัว่ โมงที่ 3 10. นักเรียนทุกคนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า นักเรียนได้รับประโยชน์จากการวางแผนออกแบบ แบบจา้ ลองระบบสรุ ยิ ะ กอ่ นสร้างแบบจ้าลองหรอื ไม่ อยา่ งไร 11. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม จากนันช่วยกันสร้างแบบจ้าลองตามท่ีได้ออกแบบไว้ โดยใช้อุปกรณ์จาก กิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง แบบจา้ ลองระบบสรุ ิยะ จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 43 ชั่วโมงที่ 4 ข้นั อธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. ครตู งั ค้าถามเพื่อทบทวนความร้นู กั เรยี นวา่ ดาวดวงใดเป็นศนู ย์กลางของระบบสุริยะ (แนวตอบ : ดวงอาทิตย์) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน้าเสนอแบบจ้าลองที่ได้สร้างขึนหน้าชนั เรยี น พร้อมอธิบายส่วนประกอบ ของระบบสรุ ยิ ะ และคาบการโคจรของดาวเคราะห์ตา่ งๆ ในระบบสุรยิ ะ โดยมคี รคู อยแนะนา้ เพ่ิมเติมใน สว่ นทบ่ี กพร่อง 3. นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจนได้ข้อสรุปว่า ระบบสุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์ เป็นศูนย์กลาง และมีดาวบริวารโคจรอยู่โดยรอบ ระบบสุริยะประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ 8 ดวง รวมทังดวงจันทร์บริวาร ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต และวัตถขุ นาดเลก็ อื่นๆ ดาวเคราะห์ที่มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตยส์ นั ท่สี ุดในบรรดาดาวเคราะห์ทงั 8 ดวง คอื ดาวพธุ และดาวเคราะห์ที่มคี าบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ยาวท่สี ดุ คอื ดาวเนปจนู ขนั สรปุ ขน้ั ขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 43 ลงในสมุดประจ้าตัว นกั เรียน หรอื ทา้ ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 58-59 2. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมสรุปความรู้ประจ้าบทที่ 1 ลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือท้าใน แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 60 3. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมฝึกทักษะบทท่ี 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 60-61 ลงในสมุด ประจ้าตัวนักเรียน หรือท้าในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 61-64 เป็นการบ้าน แล้วน้ามาส่งครูใน ช่วั โมงถัดไป 1

223 4. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมท้าทายการคิดขึนสูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 65 เป็นการบ้าน แล้วน้ามาสง่ ครใู นชวั่ โมงถดั ไป 5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทา้ กจิ กรรมสร้างสรรค์ผลงานบทท่ี 1 จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 61 หรอื ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 66 เป็นการบ้าน แลว้ นา้ มาส่งครูในชว่ั โมงถดั ไป ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ให้นักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 59 จากนันครูถามนักเรียน เป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพ่ือเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน หลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควรปรับปรุง ให้ครูทบทวน บทเรยี นหรือหากจิ กรรมอน่ื ซ่อมเสริม เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในบทเรยี นมากขึน 2. ครูประเมนิ ผลนักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคา้ ถาม พฤติกรรมการท้างานรายบคุ คล พฤติกรรมการทา้ งานกลุ่ม และจากการนา้ เสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชนั เรยี น 3. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมที่ 1 เรื่อง แบบจ้าลองระบบสุริยะ ในสมุดประจ้าตัวนักเรยี น หรือใน แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 56-57 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 58-59 5. ครูตรวจสอบผลการท้ากจิ กรรมสรปุ ความรู้บทที่ 1 ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 60 6. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 1 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ หน้า 61-64 7. ครตู รวจสอบผลการท้ากจิ กรรมทา้ ทายการคดิ ขนั สงู บทที่ 1 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 65 8. ครูตรวจชินงานเกมท่ีช่วยในการเรียนรู้เกี่ยวกับระบบสุริยะ และการน้าเสนอชินงาน /ผลงาน หน้าชนั เรยี น 1

224 7. กำรวดั และประเมนิ ผล วิธีกำร เครอ่ื งมอื เกณฑ์กำรประเมนิ - ตรวจผลงานเกมท่ชี ว่ ย - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 รำยกำรวัด ผา่ นเกณฑ์ 7.1 กำรประเมนิ ในการเรยี นรูเ้ กีย่ วกับ ชินงาน/ภาระงาน ระบบสรุ ยิ ะ ชน้ิ งำน/ภำระงำน (รวบยอด) 7.2 ประเมนิ ระหวำ่ ง - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั - สมุดประจ้าตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 กำรจัดกิจกรรม หรือแบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์ กำรเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 วิทยาศาสตร์ ป.4 1) ผลบนั ทึกการทา้ เล่ม 2 หนา้ 56-57 เลม่ 2 หน้า 56-57 กจิ กรรมท่ี 1 2) สรา้ งแบบจา้ ลอง - ตรวจแบบจา้ ลอง - แบบจา้ ลอง - ร้อยละ 60 ระบบสุริยะ ระบบสรุ ิยะ ระบบสรุ ยิ ะ ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั - สมดุ ประจ้าตวั หรือ - ร้อยละ 60 3) กิจกรรมหนตู อบได้ หรอื แบบฝกึ หัด แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 4) กจิ กรรมสรปุ เล่ม 2 หน้า 58-59 เลม่ 2 หน้า 58-59 - ร้อยละ 60 ความรู้บทที่ 1 - ตรวจสมดุ ประจา้ ตัว - สมดุ ประจา้ ตัว หรือ ผา่ นเกณฑ์ หรือแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด 5) กจิ กรรมฝกึ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 - ร้อยละ 60 ทกั ษะบทท่ี 1 เล่ม 2 หน้า 60 เลม่ 2 หน้า 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจสมดุ ประจา้ ตวั - สมุดประจา้ ตวั หรอื หรือแบบฝึกหัด แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หนา้ 61-64 เล่ม 2 หน้า 61-64 1

225 รำยกำรวดั วธิ ีกำร เคร่ืองมือ เกณฑ์กำรประเมนิ - สมุดประจา้ ตวั หรือ - ร้อยละ 60 6) กิจกรรมท้าทาย - ตรวจสมุดประจา้ ตัว แบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ ป.4 การคดิ ขันสูง บทที่ 1 หรอื แบบฝกึ หดั เล่ม 2 หน้า 65 - ร้อยละ 60 - เกมท่ีช่วยในการ ผ่านเกณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เรยี นรู้ เกย่ี วกบั ระบบสุริยะ - ระดบั คณุ ภาพ 2 เลม่ 2 หนา้ 65 - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ การน้าเสนอผลงาน 7) กิจกรรมสร้างสรรค์ - ตรวจเกมทีช่ ่วยในการ ผลงาน เรียนร้เู กยี่ วกับระบบ สรุ ิยะ 8) การน้าเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การน้าเสนอ ผลการทา้ กจิ กรรม ผลงาน/ผลการท้า กจิ กรรม 9) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ 2 ทา้ งาน การทา้ งานรายบุคคล พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล การทา้ งานรายบุคคล 10) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2 การทา้ งานกลุ่ม การทา้ งานกลุ่ม พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ การท้างานกลุ่ม 11) คุณลักษณะ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทา้ งาน คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พงึ ประสงค์ 1

226 8. ส่อื /แหล่งกำรเรียนรู้ 8.1 สอ่ื กำรเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 ระบบสรุ ยิ ะและการปรากฏของ ดวงจันทร์ 2. แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ระบบสุรยิ ะและการปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 3. วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 1 เช่น ฟิวเจอร์บอร์ด กระดาษแข็ง กระดาษสี ลูกปิงปอง ดินน้ามัน ลกู บอลพลาสตกิ กาว กรรไกร สีไม้ เป็นตน้ 4. บัตรภาพดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะ 5. วัสดุ-อปุ กรณก์ จิ กรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 6. สมดุ ประจา้ ตัวนกั เรยี น 8.2 แหล่งกำรเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. หอ้ งเรยี น 3. อินเทอรเ์ นต็ 1

227 บตั รภาพ  ดาวพธุ ดาวศุกร์ 1

228 บตั รภาพ  โลก ดาวองั คาร 1

บตั รภาพ 229  ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ 1

บตั รภาพ 230  ดาวมฤตยู หรือดาวยูเรนสั ดาวสมุทร หรอื ดาวเกตุ หรือดาวเนปจูน 1

231 แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ 3 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 4 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ ว 14101 หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ระบบสรุ ิยะและกำรปรำกฏของดวงจันทร์ ภำคเรียนท่ี 2 เร่ือง กำรขึ้นและตกของดวงจันทร์ เวลำ 3 ชั่วโมง ครผู ูส้ อน นำงสำวอัมรำ โกษำรกั ษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำน/ตัวชีว้ ดั ว 3.1 ป.4/1 อธิบายแบบรปู เส้นทางการขึนและตกของดวงจันทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. อธิบายแบบรปู เส้นทางการขนึ และตกของดวงจันทร์ได้ (K) 2. ให้ความรว่ มมอื ในการท้ากิจกรรมกล่มุ และมีความรับผดิ ชอบในการสง่ งานตรงเวลา (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรูท้ ้องถนิ่ ดวงจนั ทร์ปรากฏขนึ ทางด้านทศิ ตะวันออกและ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา ตกทางด้านทศิ ตะวันตกหมุนเวยี นเปน็ แบบรปู ซา้ ๆ 4. สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด การขึนและตกของดวงจันทร์เกิดจากดวงจันทร์หมนุ รอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเช่นเดียวกับ โลก โดยที่ดวงจันทร์ใช้เวลาการโคจรรอบโลกนานกว่าเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ซึ่งดวงจันทร์ปรากฏขึน ทางดา้ นทิศตะวนั ออกและตกทางดา้ นทิศตะวันตกหมนุ เวียนเป็นแบบรูปซ้า ๆ 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสังเกต 3. มุง่ มั่นในการท้างาน 2) ทกั ษะการส้ารวจค้นหา 3) ทกั ษะการให้เหตุผล 1

232 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 4) ทักษะการสรปุ อา้ งอิง 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 1 ขนั น้า ขั้นกระต้นุ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่า วันนีจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเร่ือง อะไร แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบค้าถาม จากนันครแู จ้งชอ่ื เรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้ และตัวชีวัดให้ทราบ 2. นักเรียนเรียนรู้ค้าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 บทที่ 2 จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 62 โดยครูสุ่มเลือกตัวแทนหรือขออาสาสมัคร นักเรียน 1 คน ออกมา หนา้ ชนั เรียนเพอื่ เปน็ ผู้อ่านน้า และให้เพอื่ นคนอน่ื ๆ อ่านตาม ดงั นี Sky (สไก) ท้องฟา้ Moon (มูน) ดวงจนั ทร์ Light part (ไลท พาท) สว่ นสวา่ ง Dark part (ดาค พาท) สว่ นมืด Night (ไนท) กลางคนื 3. นักเรียนทุกคนดูภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 62 จากนันครูถามค้าถามส้าคัญประจ้าบท ว่า ดวงจันทรใ์ นแต่ละคนื มลี ักษณะเหมือนกันหรือไม่ อยา่ งไร แลว้ ใหน้ กั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น อยา่ งอสิ ระในการตอบคา้ ถาม (แนวตอบ : ดวงจันทร์ในแต่ละคืนมีลักษณะไม่เหมือนกัน เพราะในบางคืนเราจะมองเห็นรูปร่าง ปรากฏของดวงจันทร์เป็นรูปเสียว ครึ่งดวง เต็มดวง หรือในบางคืนอาจมองไม่เห็น ดวงจันทร์เลย) 1

233 4. นักเรียนแต่ละคนสังเกตดวงจันทร์ แล้ววาดภาพพร้อมระบายสีลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือท้า กจิ กรรมน้าส่กู ารเรียนลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หนา้ 67 ขนั สอน ข้ันสำรวจค้นหำ (Explore) 1. นกั เรยี นแต่ละคนอา่ นข้อมูลและดภู าพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 63 จากนนั ครูตังคา้ ถามถาม นักเรียน แลว้ ให้นกั เรียนตอบคา้ ถามลงในสมุด ดงั นี 1) การขึนและตกของดวงจันทร์เกิดขึนในทิศทางใด (แนวตอบ : ดวงจันทรข์ ึนทางทศิ ตะวนั ออก และตกทางทิศตะวนั ตก) 2) การขึนและตกของดวงจันทร์มีลักษณะแตกต่างจากการขึนและตกของดวงอาทิตย์หรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ : การขึนและตกของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์มีทิศทางเดียวกัน คือ ขึนทางทิศ ตะวันออก และตกทางทิศตะวนั ตก) 2. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มเลือกนักเรียนจากเลขท่ี 4-5 คน ให้ออกมาอธิบายเฉลยค้าตอบ โดยมีครู คอยตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 3. ครูให้ค้าชมเชยหรือมอบรางวัลให้ตัวแทนนักเรียนท่ีออกมาตอบค้าถามได้ถูกต้อง เพื่อเป็นการ เสริมแรงในการกล้าแสดงออก และให้คา้ ชมเชยนักเรยี นทุกคนท่ชี ่วยกันอภปิ รายคา้ ตอบจากค้าถามท่ีครู ตังไว้ ชั่วโมงที่ 2 ขัน้ สำรวจค้นหำ (Explore) (ตอ่ ) 4. ครูตังค้าถามเพื่อกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่า การขึนและตกของดวงจันทร์เกิดขึนได้ อยา่ งไร และให้นักเรียนตอบคา้ ถามโดยอิสระ ซงึ่ ครูยงั ไมเ่ ฉลยคา้ ตอบ 5. ครูชีแจงให้นกั เรยี นฟังว่า นักเรียนจะได้ค้าตอบจากการท้ากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การขึนและตกของดวง จันทร์ 6. ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นแบบคละความสามารถ (เก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ให้อย่ใู นกล่มุ เดียวกนั ก้าหนดกลุ่ม ละ 4-5 คน คละเพศหญิง–ชาย โดยครูเป็นผู้เลอื กนกั เรียนเข้ากลมุ่ 1

234 7. ครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคแบ่งปันความส้าเร็จ (STAD : Student Teams Achievement Division) โดยให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มช่วยกันศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมท่ี 1 เร่อื ง การขึนและตกของดวงจันทร์ จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 64 8. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มท้ากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การขึนและตกของดวงจันทร์ จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หน้า 64 โดยปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ดงั นี 1) สังเกตการขึนและตกของดวงจันทร์เป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากนันบันทึกผลลงในสมุดประจ้าตัว นักเรยี น หรอื บนั ทกึ ลงในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 69 2) นา้ ผลการสังเกตมาอภปิ รายร่วมกนั ภายในกล่มุ 3) สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการขึนและตกของดวงจันทร์เพิ่มเติม จากนันน้าข้อมูลที่ได้มาวาดแสดง รปู แบบการขนึ และตกของดวงจันทร์ลงในกระดาษแข็ง พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม ขั้นอธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายผลการท้ากิจกรรมภายในกลุ่มและช่วยกันตรวจสอบ ความถกู ต้องเพอ่ื เตรยี มความพร้อมในการน้าเสนอหนา้ ชนั เรยี น 2. ให้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานา้ เสนอผลการทา้ กิจกรรมหน้าชนั เรยี นทีละกลมุ่ จนครบทุกกลุ่ม ช่วั โมงท่ี 3 ขนั สรุป ขน้ั ขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. ครูทบสอบความรู้ของนักเรียนรายบุคคล โดยให้นักเรียนแต่ละคนท้าใบงานท่ี 4.2 เรื่อง การขึนและ ตกของดวงจันทร์ 2. ครตู รวจใบงานที่ 4.2 เรื่อง การขึนและตกของดวงจนั ทร์ จากนันนา้ คะแนนของสมาชิกทุกคนในกลุ่ม มารวมกนั เปน็ คะแนนกลมุ่ 3. ครูสมั ภาษณก์ ลมุ่ ที่ไดค้ ะแนนสงู ที่สุดว่า มวี ธิ กี ารท้างานรว่ มกันอยา่ งไร จงึ ทา้ ใหไ้ ดค้ ะแนนรวมสงู ที่สุด 4. ครูให้ค้าชมเชยหรือมอบรางวัลให้กลุ่มท่ีได้คะแนนรวมสูงที่สุด เพื่อเป็นการเสริมแรงในการท้า กจิ กรรม และให้คา้ ชมเชยนกั เรยี นทุกคนทีช่ ่วยกันท้ากจิ กรรมภายในกลุม่ 5. นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์หน้า 64 ลงในสมุดประจ้าตัว นกั เรียน หรอื ท้าในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 70 เป็นการบ้าน แล้วน้ามาสง่ ในช่วั โมงเรยี นถดั ไป 6. นักเรียนทุกคนศกึ ษาข้อมูลการขึนและตกของดวงจนั ทร์จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 65-66 1

235 7. นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วไปเรียนรู้ข้อมูลเก่ียวกับการขึนและตกของดวงจันทร์เพิ่มเติม จากส่ือดิจิทัลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 65 โดยใช้โทรศัพท์มือถือสแกน QR Code เรื่อง การ ขึนและตกของดวงจนั ทร์ 8. นักเรียนแต่ละคู่น้าความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูลในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 65-66 และ ความรู้จากการสแกน QR Code เรื่อง การขึนและตกของดวงจันทร์ มาอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะการ ขนึ และตกของดวงจนั ทร์ และรว่ มกันสรปุ ภายในชันเรียน โดยให้ครคู อยอธบิ ายเสรมิ 9. ครูถามค้าถามท้าทายการคิดขันสูงนักเรียนว่า “การขึนและตกของดวงจันทร์เหมือนการขึนและตก ของดวงอาทติ ย์” จากข้อความดงั กล่าว นักเรียนเหน็ ดว้ ยหรือไม่ เพราะอะไร (แนวตอบ : เห็นด้วย เพราะดวงจันทร์ขึนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก เช่นเดียวกับ การขนึ และตกของดวงอาทติ ย์) ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครสู ุ่มนักเรียน 4-5 คน แลว้ ให้สรุปความรู้เกยี่ วกับการขึนและตกของดวงจันทร์ 2. ครูตรวจสอบผลการวาดภาพดวงจันทร์ในสมุดหรือกจิ กรรมนา้ สู่การเรียนในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 67 3. ครปู ระเมนิ ผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการทา้ งานรายบคุ คล พฤติกรรมการท้างานกลมุ่ และจากการนา้ เสนอผลการทา้ กิจกรรมหนา้ ชันเรยี น 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมท่ี 1 เร่ือง การขึนและตกของดวงจันทร์ ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 69 5. ครตู รวจสอบผลการท้าใบงานที่ 4.2 เรื่อง การขึนและตกของดวงจนั ทร์ 6. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 70 1

236 7. กำรวัดและประเมินผล รำยกำรวดั วิธีกำร เคร่อื งมือ เกณฑก์ ำรประเมิน 7.1 กำรประเมนิ กอ่ นเรยี น 1) กิจกรรมนา้ ส่กู ารเรยี น - ตรวจสมุดประจ้าตวั - สมุดประจา้ ตัว หรือ - ร้อยละ 60 แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์ หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หนา้ 67 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 67 7.2 ประเมนิ ระหวำ่ งกำรจัด - ตรวจสมดุ ประจา้ ตวั - สมุดประจา้ ตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ หรือแบบฝึกหดั แบบฝึกหัด ผา่ นเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 1) ผลบันทึกการท้า หนา้ 69 เล่ม 2 หนา้ 69 กิจกรรมท่ี 1 2) อธบิ ายการขึน และ - ตรวจใบงานท่ี 4.2 - ใบงานที่ 4.2 - ร้อยละ 60 ตกของดวงจันทร์ ผ่านเกณฑ์ 3) กิจกรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมุดประจ้าตวั - สมดุ ประจ้าตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 หรอื แบบฝึกหัด แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ 4) การนา้ เสนอผลงาน/ วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 ผลการท้ากิจกรรม หนา้ 70 เล่ม 2 หน้า 70 - ระดับคุณภาพ 2 - ประเมนิ การน้าเสนอ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 5) พฤติกรรมการทา้ งาน ผลงาน/ผลการท้า การน้าเสนอผลงาน รายบุคคล กจิ กรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คุณภาพ 2 การทา้ งานรายบุคคล พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ การท้างานรายบุคคล 1

รายการวดั วิธกี าร เคร่อื งมอื 237 6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต การท้างานกลุ่ม พฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ การท้างานกลุ่ม การทา้ งานกลุ่ม - ระดบั คณุ ภาพ 2 - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ 7) คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มัน่ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พงึ ประสงค์ ในการทา้ งาน อนั พึงประสงค์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8. สื่อ/แหลง่ กำรเรียนรู้ 8.1 สอ่ื กำรเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 ระบบสุริยะและการปรากฏของ ดวงจันทร์ 2. แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 ระบบสุริยะและการปรากฏของ ดวงจันทร์ 3. วสั ดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกจิ กรรมท่ี 1 เช่น สีไม้ กระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ เป็นตน้ 4. ใบงานที่ 4.2 เรื่อง การขนึ และตกของดวงจันทร์ 5. QR Code เรือ่ ง การขึนและตกของดวงจนั ทร์ 6. สมุดประจ้าตัวนักเรียน 8.2 แหล่งกำรเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งเรียน 3. อินเทอรเ์ น็ต 1

238 ใบงำนท่ี 4.2 เรื่อง กำรขึน้ และตกของดวงจันทร์ คำชแี้ จง : 1. วำดภำพแสดงทิศทำงกำรข้นึ และตกของดวงจนั ทร์ คำชี้แจง : 2. ขดี  หน้ำขอ้ ควำมท่กี ล่ำวเก่ียวกบั กำรขนึ้ และตกของดวงจนั ทรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง …......1) ดวงจันทรม์ ีการเคลื่อนท่ีในทศิ ทางท่ีตรงข้ามโลก ……...2) ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในทิศทางตามเข็มนาฬิกา …......3) ดวงจนั ทร์ใชเ้ วลาโคจรรอบโลกนานกวา่ เวลาท่โี ลกหมุนรอบตวั เอง …......4) การขนึ และตกของดวงจนั ทร์มีทิศทางเดียวกับการขนึ และตกของดวงอาทิตย์ …......5) ดวงจันทรล์ อยสงู ขนึ ทางทศิ ตะวนั ออกและลอยต่้าลงมาจนกระทั่งลับขอบฟา้ ไปทางทิศตะวนั ตก 1

ใบงำนท่ี 4.2 239 เรอื่ ง กำรขึน้ และตกของดวงจันทร์ เฉลย คำช้ีแจง : 1. วำดภำพแสดงทศิ ทำงกำรขน้ึ และตกของดวงจนั ทร์ คำช้ีแจง : 2. ขดี  หนำ้ ขอ้ ควำมท่กี ล่ำวเก่ียวกับกำรขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ได้ถกู ตอ้ ง …......1) ดวงจนั ทรม์ กี ารเคลื่อนที่ในทิศทางท่ีตรงขา้ มโลก ……...2) ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกในทิศทางตามเขม็ นาฬกิ า …......3) ดวงจันทรใ์ ช้เวลาโคจรรอบโลกนานกว่าเวลาทโ่ี ลกหมนุ รอบตัวเอง …......4) การขนึ และตกของดวงจันทรม์ ีทิศทางเดยี วกับการขึนและตกของดวงอาทิตย์ …......5) ดวงจนั ทร์ลอยสงู ขึนทางทศิ ตะวนั ออกและลอยต่้าลงมาจนกระท่ังลับขอบฟ้า ไปทางทศิ ตะวนั ตก 1

240 แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 4 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ ว 14101 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี 4 หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ระบบสรุ ิยะและกำรปรำกฏของดวงจันทร์ ภำคเรียนท่ี 2 เร่ือง กำรเปล่ียนแปลงรูปรำ่ งของดวงจันทร์ เวลำ 3 ช่ัวโมง ครผู สู้ อน นำงสำวอัมรำ โกษำรักษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำน/ตัวชีว้ ดั ว 3.1 ป.4/2 สรา้ งแบบจา้ ลองที่อธิบายแบบรูปการเปลีย่ นแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ 2. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. อธิบายแบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของ ดวงจนั ทร์ได้ (K) 2. สร้างแบบจ้าลองเพ่ืออธิบายแบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์ รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ได้ (P) 3. ให้ความร่วมมอื ในการท้ากิจกรรมกล่มุ และมีความรับผิดชอบในการส่งงานตรงเวลา (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนร้ทู ้องถน่ิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง ดวงจนั ทรท์ ม่ี องเห็นหรือรูปร่างปรากฏของดวง จันทรบ์ นท้องฟา้ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะวนั ซ่งึ จะเป็น แบบรูปซ้ากันทกุ เดือน 4. สำระสำคัญ/ควำมคดิ รวบยอด ดวงจนั ทร์ท่มี องเห็นหรือรูปร่างปรากฏของดวงจันทรบ์ นท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแต่ละวัน โดยบางวัน ดวงจันทร์จะมรี ูปรา่ งปรากฏเป็นเสียว เตม็ ดวง หรอื บางวนั มองไม่เห็นดวงจนั ทรเ์ ลย การเปลย่ี นแปลงเช่นนี เปน็ แบบรูปซา้ กนั ทุกเดือน 1

241 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการสังเกต 3. มุ่งม่ันในการท้างาน 2) ทกั ษะการสา้ รวจ 3) ทักษะการให้เหตผุ ล 5) ทกั ษะการสรุปอา้ งองิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี 1 ขันนา้ ข้ันกระต้นุ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่า วันนีจะได้เรียนรู้เก่ียวกับเร่ือง อะไร แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกันตอบค้าถาม จากนันครแู จง้ ชื่อเรื่องท่จี ะเรียนรู้ และตัวชวี ัดใหท้ ราบ 2. นักเรียนแต่ละคนอ่านข้อมูลและดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หน้า 67 จากนันครู ถามค้าถามนกั เรียนว่า รปู รา่ งของดวงจนั ทรใ์ นแต่ละคนื มลี กั ษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ : รูปร่างของดวงจันทร์ในแต่ละคืนมีลักษณะแตกต่างกัน คือ ในบางคืนดวงจันทร์จะ เตม็ ดวง บางคนื ครึ่งดวง บางคืนรูปเสียว และในบางคนื อาจมองไม่เห็นดวงจันทร์เลย) 1

242 ขันสอน ขั้นสำรวจคน้ หำ (Explore) 1. ครูตังค้าถามเพ่ือกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่า หากวันนีดวงจันทร์เต็มดวงวันแรก เม่ือ ผ่านไป 2 สัปดาห์ ดวงจันทร์จะยังเต็มดวงอยู่หรือไม่ เพราะอะไร และให้นักเรียนตอบค้าถามโดยอิสระ ซง่ึ ครูยงั ไมเ่ ฉลยคา้ ตอบ (แนวตอบ : ดวงจันทร์จะมรี ูปร่างเปลยี่ นไป เพราะดวงจันทรม์ กี ารโคจรรอบโลก จึงท้าให้คนบนโลก มองเหน็ แสงสะท้อนจากดวงจนั ทร์มลี ักษณะแตกต่างกนั ไปในแต่ละคนื ) 2. ครูชีแจงให้นักเรียนฟังว่า นักเรียนจะได้ค้าตอบจากการท้ากิจกรรมท่ี 2 เรื่อง การเปล่ียนรูปของ ดวงจันทร์ 3. ครแู บง่ กลุม่ นกั เรียนแบบคละความสามารถ (เกง่ -คอ่ นขา้ งเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน กา้ หนดกลุ่มละ 3-4 คน โดยครูเปน็ ผ้เู ลอื กนักเรยี นเขา้ กลมุ่ 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มท้ากิจกรรมท่ี 2 เร่ือง การเปลี่ยนรูปของดวงจันทร์ ข้อ 1.-2. จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หน้า 68 แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หนา้ 73 ช่ัวโมงท่ี 2 ขัน้ สำรวจคน้ หำ (Explore) (ตอ่ ) 5. ครูใช้วิธีสอนโดยใช้การสาธิต (Demonstration) มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยครูให้นักเรียน แตล่ ะกลุ่มศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเปลีย่ นรปู ของดวงจนั ทร์ ข้อ 3. จากหนงั สอื เรียน วทิ ยาศาสตร์ หน้า 68- 69 6. ครูจับฉลากเลือกนักเรียน 2 กลุ่ม จากนันให้ออกมาสาธิตการท้ากิจกรรมตามท่ีได้ศึกษาขันตอนการ ท้ากจิ กรรม 7. เพื่อนนกั เรียนกลุ่มอนื่ ๆ ชว่ ยกันสงั เกตการสาธติ การทา้ กิจกรรมจากกลุ่มทที่ ้าการสาธิต จากนนั น้าผล การสงั เกตบันทกึ ลงในสมดุ ประจ้าตัวนักเรยี น หรอื ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 74 ข้ันอธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายผลจากการสังเกตการสาธิตเก่ียวกับเรื่องการเปลี่ยนรูปของ ดวงจันทร์ภายในกลุ่ม และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการน้าเสนอหน้าชัน เรียน 1

243 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชันเรียนทีละกลุ่ม (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานกลุ่ม) ชัว่ โมงท่ี 3 ขนั สรปุ ขัน้ ขยำยควำมเขำ้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์หน้า 69 ลงในสมุด ประจ้าตัวนกั เรียน หรือท้าในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 75-76 2. นักเรียนอ่านข้อมูลในหนังสือวิทยาศาสตร์ หน้า 70-72 จากนันให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ แล้วให้ท้ากิจกรรมสรุปความรู้บทท่ี 2 ลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือท้าในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 77 3. นักเรยี นแต่ละคนท้ากิจกรรมฝกึ ทกั ษะบทท่ี 2 จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 73-74 ลงในสมุด ประจ้าตวั นักเรยี น หรือท้าลงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 78-79 4. นกั เรียนท้ากจิ กรรมทา้ ทายการคดิ ขันสงู บทที่ 2 ลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 80 5. นักเรียนกลุ่มเดิมช่วยกันท้ากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 74 หรือ จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 81 เป็นการบ้าน แล้วน้ามาสง่ ในชัว่ โมงถดั ไป 6. นกั เรยี นแต่ละคนทา้ ทบทวนท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 82-85 7. นกั เรียนท้าแบบทดสอบหลงั เรยี น เพ่ือตรวจสอบความรู้ของนกั เรียนหลงั ทา้ กจิ กรรม ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูให้นักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 72 จากนันครูถาม นักเรียนเป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ นักเรียนหลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีควรปรับปรุง ให้ครู ทบทวนบทเรยี นหรือหากิจกรรมอน่ื ซ่อมเสรมิ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจในบทเรยี นมากขึน 2. ครปู ระเมินผลนักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการทา้ งานรายบุคคล พฤติกรรมการท้างานกล่มุ และจากการน้าเสนอผลการทา้ กิจกรรมหน้าชนั เรียน 3. ครูตรวจสอบผลการท้ากจิ กรรมที่ 2 เร่ือง การเปลย่ี นรูปของดวงจนั ทร์ ในสมุดประจา้ ตัวนกั เรยี นหรือ ตรวจแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 73-74 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือตรวจแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หน้า 75-76 1

244 5. ครูตรวจสอบผลการทา้ กิจกรรมสรุปความรู้บทที่ 2 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 77 6. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 2 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือตรวจแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หน้า 78-79 7. ครูตรวจสอบผลการท้ากจิ กรรมท้าทายการคิดขันสงู บทท่ี 2 ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 80 8. ครูตรวจชินงานแบบจ้าลองการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของดวงจันทร์ และการน้าเสนอชินงาน/ผลงาน หน้าชนั เรยี น 9. ครูตรวจสอบผลการทา้ ทบทวนทา้ ยหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 82-85 10. ครตู รวจแบบทดสอบหลังเรียน เพ่อื ตรวจสอบความรู้ของนักเรียนหลังท้ากิจกรรม 7. กำรวดั และประเมินผล วิธกี ำร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ำรประเมนิ - ตรวจผลงานแบบจ้าลอง - แบบประเมินชนิ งาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 รำยกำรวัด ผา่ นเกณฑ์ 7.1 กำรประเมินชิ้นงำน/ การเปลี่ยนแปลงรปู รา่ ง ภาระงาน ของดวงจนั ทร์ - ร้อยละ 60 ภำระงำน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์ - ตรวจสมดุ ประจา้ ตวั - สมดุ ประจา้ ตัว หรอื 7.2 ประเมนิ ระหว่ำง กำรจัด หรือแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด กิจกรรม กำรเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 73-74 เล่ม 2 หน้า 73-74 1) ผลบันทึกการท้า กิจกรรมที่ 2 2) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจา้ ตัว - สมุดประจา้ ตัว - รอ้ ยละ 60 หรือแบบฝึกหดั หรือแบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์ 3) กจิ กรรมสรุป วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ความรบู้ ทท่ี 2 หนา้ 75-76 เลม่ 2 หนา้ 75-76 - รอ้ ยละ 60 - ตรวจสมุดประจา้ ตวั - สมดุ ประจา้ ตัว หรือ ผ่านเกณฑ์ หรือแบบฝึกหดั แบบฝกึ หัด วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 77 เลม่ 2 หน้า 77 1

245 รำยกำรวัด วธิ กี ำร เคร่อื งมือ เกณฑ์กำรประเมนิ 4) กิจกรรมฝกึ - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั - สมุดประจ้าตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 หรอื แบบฝึกหัด แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์ ทกั ษะบทที่ 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 78-79 เล่ม 2 หน้า 78-79 - รอ้ ยละ 60 5) กิจกรรมทา้ ทาย - ตรวจสมุดประจ้าตัว - สมดุ ประจา้ ตวั หรือ ผ่านเกณฑ์ การคิดขนั สงู หรอื แบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั บทท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 - ระดบั คณุ ภาพ 2 หน้า 80 เลม่ 2 หน้า 80 ผา่ นเกณฑ์ 6) การนา้ เสนอผลงาน/ - ประเมนิ การน้าเสนอ - แบบประเมนิ ผลการทา้ กจิ กรรม ผลงาน/ผลการทา้ - ระดบั คุณภาพ 2 กิจกรรม การนา้ เสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 7) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม การท้างาน การทา้ งานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 รายบุคคล การท้างานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตพฤติกรรม 8) พฤตกิ รรม การทา้ งานกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 การทา้ งานกลุม่ - สังเกตความมวี นิ ยั การทา้ งานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุง่ มน่ั - แบบประเมนิ 9) คุณลกั ษณะ ในการทา้ งาน คณุ ลกั ษณะ - ร้อยละ 60 อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด 7.3 กำรประเมินหลงั เรียน วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 - แบบฝกึ หดั - รอ้ ยละ 60 1) ทบทวนท้าย หน่วยการ หนา้ 82-85 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบทดสอบ เล่ม 2 หนา้ 82-85 เรียนรทู้ ี่ 4 ระบบสุริยะ และการ หลงั เรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ปรากฏของดวงจนั ทร์ 2) แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 ระบบสุรยิ ะ และการปรากฏของดวงจนั ทร์ 1

246 8. สื่อ/แหลง่ กำรเรียนรู้ 8.1 สอ่ื กำรเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ระบบสรุ ิยะและการปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 2. แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 ระบบสุริยะและการปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 3. วสั ดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกจิ กรรมที่ 1 เช่น สไี ม้ ไฟฉาย ลกู ปิงปองเสยี บไม้ เป็นตน้ 4. วัสดุ-อปุ กรณก์ ิจกรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน 5. สมดุ ประจ้าตัวนกั เรียน 8.2 แหลง่ กำรเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งเรียน 3. อนิ เทอรเ์ น็ต 1

247 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook