ชีวิตหลังจากนี้ จะไม่มีใครให้เงินค่าขนมเราแล้ว ต้องรับผิดชอบ ทำ มาหาเลี้ยงชีพต้วเองให้ใต้ แต่เมื่อออกไป^ชีวิตการทำงาน ทีเต็มไป ด้วยการแข่งขัน และการตัดสินใจ เราจึงได้พบว่า ชีวิตในมหาวิทยาลัย ไม่ได้สอนอะไรบางอย่างให้แก่เรา สิงนั้นก็คึอ เกณฑ์ที่ใขัตัดสินใจว่าอะไร คือความดูก-ผิด ดี-ตัว บุญ-บาป ควรทำ-ไม่ควรทำ ด้วยการลังเกตต้วเอง ในขัอนี้ ผมจึงมองหาการเติมเต็มสิงนี้จากพระพุทธศาสนา ตั้งแต่ผมจำความได้ ก็รู้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีมาด้ง แต่ก่อนเราเกิด และเราก็รู้สีกเหมีอนๆ ว่า เรารู้จักพระพุทธศาสนามานาน แต่เมื่อเราย้อนกลับมาถามตัวเราว่า พระพุทธเจ้าคือใคร พระพุทธ ศาสนาสอนอะไรให้แก่เราบ้าง เรากลับตอบไดไม่เต็มปากว่า พระพุทธ ศาสนาคืออะไร และสำคัญอย่างไรต่อชีวิตของเรา ครั้นเมื่อผมโตขึ้น รับรู้สิงต่างๆ กว้างขึ้น เราก็ขักจะลืมนึกถึง พระพุทธศาสนา และถูกกระแสโลกดึงใจให้ไปสนใจเรื่องอื่นๆ พระพุทธ ศาสนาจึงค่อยๆ เลือนไปจากใจของเรา จนเมื่อวันหนึ่งชีวิตมีทุกข์มากๆ เข้า ผมจึงเรื่มแสวงหาที่พึ่ง แล้ว จึงค่อยมารู้ว่า พระพุทธศาสนาสำคัญอย่างไรต่อชีวิตของเรา ในวันนั้น ผมเองก็เป็นคนที่ไม่รู้จักพระพุทธศาสนา และเที่ยว แสวงหาคำตอบที่ถูกใจเช่นกัน แต่พอนานวันเข้าก็ยิ่งถูกกระแสโลกอัน เชี่ยวกรากดึงใจออกไปให้ห่างพระพุทธศาสนา การเห็นอะไรมามากเกินวัย อดทำให้คิดไม่ได้ว่า โลกนี้คงจะไม่มี คนดึเลืยแล้ว คงมีแต่คนเลวมากกับเลวน้อยเป็นแน่แท้ ในที่สุด ผมก็เรื่มห่างออกมาจากพระพุทธศาสนาทีละน้อย แล้ว ก็ไม่รู้ว่า ผมนับถึอพระพุทธศาสนาไปทำไม แต่สิงหนึ่งที่พอจะยั้งใจให้ Ufi ฬ้ไ«รทไ)แในเแฬไพํ!ภท้ย <t)^0 ทใะๆทรทาทนา/รนโนฟ่รญญา
เรารู้จักพระพุกธคาสนาบานาน แต่!บอ!รา ย้อนกลับบากาบตัว!ราว่า พระพุกธ!จ้าคือใคร พระพุกธคาสนาสอนอะไรใหัแก่!ราบาง เรา กลับตอบ!ดัไป!สบปากว่า พระพุกธคาสนา คืออะไร แสะสำคัณอย่างไรต่อชีวิตของเรา คิดถึงพระพุทธศาสนาอยู่บ้างก็คีอ การยอมรับคำสอนประโยคหนึ่งของ พระพุทธศาสนาที่ว่า ทำ ดีต้องได้ดี ทำ ชั่วต้องไต้ชั่ว และเพราะประโยคนี้ ที่ทำ ให้ผมเองยังพอจะเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรมอยู่บ้าง จนกระทั่งในวันหนึ่งของเดือน เมษายนพุทธคิกราช๒๕๔๔ก็เรื่ม พบแสงสว่างว่า พระพุทธศาสนามีคุณค่าอย่างไรต่อเวิตของคนเราตอน นั้นยังเป็นนักดีกษาเรียนอยู่ชั้น!!! ฅ ไต้มีโอกาสไปเป็ดอ่านหนังสิอเรื่อง ธัมมจักกัปปวัดตนสูตร ในหนัาที่ ๖๗ โดยบังเอิญ ผู้แต่งเป็นพระภิกษุ ชื่อพระภาวนาวิริยคุณ ผมอ่านจนกระทั่งจบหัวข้อ \"ทุกข์\" แล้วมมมองชีวิตก็เปลี่ยนไป แท่. 1จ้1คฮกนไน'-)ม«■วิทเทรย ®(fej พ1:15โ101ฑรโ๗ฃใ1011ญญา
ข้อความในหน้านั้น บอกให้ร้ถึงความจริงของโลกและชีวิตว่า T๒.กนคอทzะเzลทุzกข,ํ เพราะว่า คนเราทุกคนตั้งแต่กำเนิดมานั้นล้วน)มีทุกข์ที่ติดดามเรา เหมีอนเงาตามตัวด้วยล้นทั้งสิน ซึ่งทุกข์นั้น แบ่งได้เป็น ๒ ประ๓ท ใหญ่ๆ เป็นความทุกข์ที่เรามองไม่เห็นตัว แต่เรารู้ว่ามันมีอยู่ และคอย ตามกัดกร่อนเราอยู่ตลอดเวลา ๒ อย่างนั้น ก็คือ ๑)ทุกข์ประจำ ๒)ทุกข์จร ขึ้นชื่อว่าทุกข์ประจำนั้นแม้จะระดมมหาปราชญ์ทั้งโลกนี้มาอธิบาย ก็คงจะหาใครอธิบายได้ยากว่า ทำ ไมคนเราไม่ว่าจะหญิงชาย เด็ก-คนแก่ คนหา{ม-คนสาว คนรวย-คนจน สามัญชน-กษัตริย์ ถึงได้มีอยู่ประจำตัว ซึ่งได้แก่ ทุกข์จากการเกิด ทุกข์ที่เกิดจากความแก่ ทุกข์ที่เกิดจากความ เจ็บ และทุกข์ที่เกิดจากความตายกันทุกคน แม้แต่ตัวมหาปราชญ์ใน แต่ละยุคเองก็ยังหนีไม่พ้น สิงเหล่านี้มหาปราชญ์ที่เก่งที่สุดในแต่ละยุคก็ ตอบไม่ได้ บอกได้แต่เพียงว่า เป็นธรรมชาติที่มนุษย์ทุกคนหนีไม่พ้น แตกไม่มีใครบอกทางเอาชนะธรรมชาติเหล่านี้!ด้เลย นอกจากทุกข์ประจำแล้ว หนังสือเล่มนั้น ยังบอกให้ผมรู้อีกว่า มนุษย์แต่ละคนก็ยังมีทุกข์จรที่วนเวียนผลัดเปลี่ยนกันมาทำให้เป็นทุกข์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๙ประการได้แก่ ๑. ความเสืยใจทำให้เป็นทุกข์ ๒. ความตัดอาลัยไม่ขาดทำให้เป็นทุกข์ ๓. จิตใจหดทุ่ท้อแท้ทำให้เป็นทุกข์ ๔. ความน้อยอกน้อยใจทำให้เป็นทุกข์ ๕. ความตรอมใจทำให้เป็นทุกข์ ๖. การเจอสิงที่เกลียดทำให้เป็นทุกข์ Ufi . เจ้ใคอกโฆ้ในเรแพทิทเทรย S>(fli3 mri{iis<nnuVtu1u(niyijn
เพราะบนษยกุกคนกั้งโลกต่างบเๅกข์และต้อง เผชิเ^กุกข์อยู่เช่นบ!0นประจำ โลกนซี่งเอนกี่ อยู่ของคนกั้งโลกจึงเปรียบเหนือนกะเลกุกข' และยังนืบนุษย์อีกนากกี่ไปยอบรันยู่ด้วยว่า ควาบจริงแลัวโลกนี้คือกะเลกุกข' ๗. การพลัดพรากจากสิงที่รักทำให้เป็นทุกข์ ๘. ความผิดหวังไม่สมดังใจทำให้เป็นทุกข์ ๙. ทุกข์ทุกอย่างรวมกันทำให้เป็นทุกข์ ทุกข์เหล่านี้หมุนเวียนกันมาทำร้ายความรูสีกในจิตใจของมนุษย์ซํ้า แล้วซํ้าเล่า เป็นทุกข์ที่มีมาตั้งแต่ก่อนที่เราจะเกิด และเมื่อเราเกิดแล้ว ก็ไม่มีที่ทำว่าจะน้อยลงไป มิหนำตั้ากล้บมีแนวโน้มว่าคนในโลกกล้บจะ มีทุกข์เพิ่มยิ่งขึ้นอีกด้วย เพราะมนุษย์ทุกคนทั้งโลกต่างมีทุกข์และต้องเผชิญทุกข์อยู่เช่นนี้ เป็นประจำ โลกนี้ชึ่งเป็นที่อยู่ของคนทั้งโลกจึงเปรียบเหมือนทะเลทุกข์ นพ่ เร1«1ทกไม้ไนใว>ทแใทนาทัย ร}(ร{ท 1ท:>{11รทา11นฬน1บ||าญญา
และยังมีมนุษย์อีกมากที่ไม่ยอมรันรู้ด้วยว่า ความจริงแล้วโลกนี้คือทะเล ทกฃ์ เมื่อได้อ่านเนี้อหาเรื่องทุกข์นี้จบลง ผมเริ่มเข้าไจโลกและชีวิต มากขึ้น และก็เริ่มได้คิดว่า พระพุทธศาสนาให้ประโยชน์แก่ผมอย่าง เหนือความคาดหมายทีเดียว ความคลางแคลงสงสัยในหลายๆ เรื่องก็ พสันหายไปอย่างอัศจรรย์ รู้สีกเหมีอนกับคนที่ตาบอดมานาน แล้วจู่ๆ วันหนึ่งก็มองเห็นได้เลยทีเดียว จากเนี้อหาธรรมะที่ได้อ่านในวันนั้น ก็ได้กลายมาเป็นข้อคิดสอน ตัวเองว่า \"คนเรานั้•นมีทุกข์ติดตัวกันอยู่คนละมากๆ ทุกข์เป็นเพชฌฆาตที่ เรามองไม่เห็นตัว แล้วมนุษย์เรานี้ก็แปลก ทั้งที่เวลายืนตรงไหนก็ใข้ พื้นที่เพียง ๑ ตารางเมตร เตินไปไห!เมาไหนก็ใข้พื้นที่เพียง ๑ ตาราง เมตร นั่งตรงไหนก็ ๑ ดารางเมตร จะมีพีเศษก็ตอนนอนที่ใข้พื้นที่เพียง ๒ ตารางเมตร แล้วเมื่อเข้าส่เชีงตะกอนก็เหลือแด่แล้าหนักไม่ถึงขีด เอาอะไรไปไม่ได้เลย แต่ก็แปลกที่มนุษย์กลับมาดิ้นรนแสวงหาสิ่งที่เกินความจำเป็น ยอมทนทุกข์อยู่กับความอยากที่ไม่มีวันพอและไม่มีใครจะถมให้มันเต็มได้, แล้วก็ต้องแสวงหาเรื่อยไปจนหมดลมหายใจเข้าออก แทนที่การมีมากจะ ทำ ให้!ด้พบความสุขมาก แต่ผลกลับตรงข้ามคือ การมีมากกลับทำให้เขา ทุกข์มากขึ้นกว่าเก่า สิ่งสำคัญก็คือ คนเราทุกคนตัองมีวันหมดลมหายใจอย่างแน่นอน ในขณะที่เรามีขีริตอยู่ เราตัองทำความดีเอาไวัให้มากๆ เพราะเมื่อเวลา ที่เราจากโลกนั้!ปแล้ว ความดีก็จะได้เป็นตัวแทนของเราไวัโนโลกนี้ ลูก หลานร่นหลังที่ตามมาก็จะได้รู้ว่าบรรพบุรุษของเขาเป็นคนดี แล้วเสียง Ufi เ{าทร iTsnjitsinainffiilinBcSjiyi
สรรเส์1ญแห่งความกตัญญก็จะดังไม่ขาดสาย แม้ว่าเราจะจากโลกน!ปแล้ว แต่ก็ยังมีคนพูดถึงถามถึงเหมือนเมื่อตอนที่เรายังมีชีวิตอยู่ ขณะเดียวกันถ้าตอนที่เรามีชีวิตอยู่ เราทำแต่ความชั่ว เมื่อเราจาก โลกฟ้,ปแล้ว ความชั่วก็จะกลายเป็นตัวแทนของเรา ให้ลูกหลานด่าทอ สาปแช่งไปอีกนานแสนนาน\" ด้วยข้อคิดตรงนี้เองทำ ให้ผมเริ่มรู้ตัวว่าพระพุทธศาสนาได้เข้ามา มีอิทธิพลต่อความคิดของด้วเองแล้ว และทำ ให้เริ่ม!แล้วว่า พระพุทธ ศาสนามีคุณค่าต่อชีวิตของเราอย่างมหาศาล คือ ทำ ให้เรา!ว่าตัวเอง เป็นอย่างไร และจะด้องเตรียมตัวอย่างไรต่อไป เพื่ออนาคต อย่าให้วุฒิทางปริญญาของเรา มาบดบังการเรียน!ทยิ่งใหญ่จาก พระพทธศาสนานะครับ แพ่ เ51ค0ทใ»!ในรั้วพทวิทยพ้ย ®(2<f! ฑวะทุพรทาแนา/รขในฟ่วิญญา
* ^ พ'\"
ษํวจที่ ๕.:พกตนMiDuiJama โดย ป้อง ปีแปด กิจวัตรบ่อเกิดนิสัยคน I olo :l> ช่วงนีมหารทยาลัยจดเทอมแล้ว ตอนนี้กีจะมี น้องๆ กลุ่มที่เพิ่งจบมหารทยาลัย ต้องปรับตัวใหม่ เหมือนเป็นเฟรซที่โนปวงเข้ามหารทยาลัยใหม่ๆ ต่างกันตรงที่ว่าเที่ยวนี้เป็นการเข้ามหารทยาลัยข้รต มืสถานที่เรียนคือ องคกร บริษัท หน่วยงาน นท่ เ^โทอกใน้ไนรรนพทิทบาทัน 0)(£ท1 rMfimietntrfUTiimi
ฟ้างร้าน ที่เราไปทำงานด้วย แน่นอนว่าตารางเวลาซีวตของเรา จะด้องปรับด้วย การปร้บตารางเวลาย่อมมีผลต่อนิสัยใจคอของเราโดยเฉพาะน้อง ใหม่ไฟแรง เวลาทำงานจะ3Jงเอางาน โดยไม่สนใจผลกระทบ บางครั้งจึง เกิดการกระทบกระทั่งได้ง่าย ด้งนั้น เราจึงต้องมีทัศนคติในการทำงาน อยู่ประการหนึ่งไว้ว่า \"งานทุกงานคือบทแกคุณธรรมและความสามารถ ของเรา\" ถ้าคิดอย่างนี้ เราจึงจะไปได้ดีในมหาวิทยาสัยชีวิต มีข้อคิดประการหนึ่งที่ผมอยากให้ทราบไว้ก่อนนั่นคือเวลาเราทำ งานมากๆ สิงที่เรามักจะลืมดูก็คือ นิสัยใจคอของตัวเอง ว่าเปลี่ยนไปใน ทางดีหรือในทางร้ายอย่างไร หากไม่ระวังเรื่องนี้ ผลที่ได้อาจกลับไม่คุ้ม กับผลงานที่ได้ อาจารย์ท่านหนึ่งของผมสอนว่านิสัยของคนเราเกิดจากการยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำ ถ้ายํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำ ในทางที่ดี ได้นิสัยดี ถ้ายํ้าคิด พูด ทำ ใน ทางเลว ได้นิสัยเลว ซึ่งสิงที่คนเรายํ้าคิด พูด ทำ อยู่เสมอ มีอยู่ ๒ เรื่อง คอ ๑. ฮจจั■ย ๔ คนเราทุกคนมีชีวิตอยู่ได้ด้วยปัจจัย ๔ คือ อาหารการกิน เครื่อง นุ่งห่มที่อยู่อาตัยและยารักษาโรค เราจึงยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำในเรื่องนี้ปอยๆ เรายํ้าคิดไปในทางไหน เราจะได้นิสัยอย่างนั้น เช่น คนสองคน คนหนึ่ง ทานอาหารเพื่อจะปารุงรักษาสุขภาพ อีกคนหนึ่งทานอาหารเพื่อรักษา รูปร่าง วัตถุประสงค์ในการทานไม่เหมีอนกัน สองคนนี้ย่อมคิด ย่อมพูด นค่. เ51»10ก'น1ใน?1>«า?3«1/พ้ย ®<&• ท
คนไหนเวลากำงานคิดจะกำใหัดีกี่สุด คือ ให้พล งานออกบาไดัคุกJภาพดีกี่สุด ใชัเวลานอยกี่สุด ไชังนประบาณนัอยกี่สุด และกํอพลกระกนนอย กี่สุด เบื่อยาคิด ยาพูด ยำกำ ด้วย วัตคุประลงค'อย่างนปอยๆ □ส์ยนักวางแพน □ลัยละเอียดรอนคอน ก็จะตานนา ย่อมทำไม่เหมือนกันนิสัยที่ออกมาก็จะไม่เหมือนกัน ารว. งานที่รบผิดชอน เรื่องต่อมาที่คนยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำอยู่บ่อยๆ คือ งาน เพราะต้อง ทำ งานจึงจะไต้เงิน มาชื้อหาปัจจัย ๔ เลี้ยงชีวิต คนไห'นมีระเบียบวินัยในการทำงานงานก็จะ^กจัดระบบออกมา ตามนิสัยคน คนไหนทำงานตามอารมณ์ ตารางเรลาการทำงานก็จะล้ม ความ แน่นอนในการผลิตงานก็จะไม่คงเล้นคงวา น»1 iSiHonljiluhjniiifltภรัข ihtimlerfteflffufra
และแน่นอนคนไหนเวลาทำงานคิดจะทำให้ดีที่สุด คือ ให้ผล งานออกมาได้คุณภาพดีที่สุด ใช้เวลาน้อยที่สุด ใช้งบประมาณน้อยทีสุด และก่อผลกระทบน้อยที่สุด เมื่อยำคิด ยำ พูด ยำ ทำ ด้วยวัตลุประสงค์ อย่างนี้ปอยๆ นิสัยนักวางแผน นิสัยละเอียดรอบคอบ ก็จะตามมา ตรงข้าม คนไหนทำงานก็คิดจะหลบๆ เๆให้มากที่สุด รักสบาย ผลงานที่ออกมาก็จะเอาแค่เสเจๆ ไป ไม่ทำเอาดี ไข้เวลาก็มาก ไข้ ด้นทุนก็ฟุมเฟือย แน่นอน ผลกระทบก็จะดามมามาก เพราะงานจะ เสร็จทันหรือไม่ ก็อยู่ที่เจ้าหมอนี่ เพราะมัาเมักจะกินเวลาของคนอื่น มากพอควร เมื่อยํ้าคิดพูดทำด้วยวัตลุประสงค์อย่างนี้ก็ยากที่จะพัฒนา นิสัยดีๆ ใหม่ขึ้นมาในตัวเองได้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่จะเอาดีได้ ต้องยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำ อย่างนี้ว่า ๑. ความเลวใดที่เราเคยทำ เราจะละทิ้งเสียไม่ย้อนไปทำมันอีก ๒. ความเลวใดที่เราไม่เคยทำ และรู้อยู่แล้วว่ามันเลว เราก็จะเว้น เสีย ไม่ไปยุ่งกับมัน ๓. ความดีใดที่ยังไม่เคยทำ ก็ให้ไปรีบทำ ๔. ความดีใดที่เคยทำแล้ว ก็ให้ทำให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป โดยเอา ๔ ข้อนี้ ทำ เป็นตารางกิจกรรมประจำวันขึ้นมา ตั้งแต่เช้า จนกระทั่งเย็น เมื่อทำอะไรเป็นเวลา สุขภาพก็จะดี ระบบความคิดก็จะดี นิสัยก็จะดี จิตใจก็จะมั่นคงเข้มแข็ง มีความเสมอตัน เสมอปลาย สมาธิ ในการทำงานก็จะมั่นคง เพราะฝึกตัวเองให้มีเป้าหมายในการดำเนินชีวิต ทุกช่วงเวลา การบริหารเงินก็จะเป็นระบบ เงินก็จะเหลือ การบริหารงาน ก็จะเป็นระเบียบ ตัดสินใจทุกอย่างด้วยเหตุผล คนที่ทำงานด้วยก็จะได้ นค่ กไฟ้นฑั้มพทิ«ย1รย <9^0 (hlinilBiflnOffonu
รับแนวทาง และหลักการที่ดีในการตัดสินใจ โอกาสที่จะทำงานผิดพลาด ก็จะมีน้อย และเมื่อประสบปัญหาบางจุดของการทำงาน ก็จะตรวจสอบ ได้ง่ายว่า ปัญหาเกิดขึ้นที่ไหน เพราะอะไร และจะแก้ไขได้ถูกจุด นอกจากนี้ยังมีข้อดีอึ่นๆ อีกมากมาย ถ้าเรากำหนดตาราง กิจกรรมขึ้นมาให้ชัด แล้วฝึกให้ตัวเองยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำ ที่จะละเว้น ความชั่ว ทำ ความดี และทำจิตใจให้ผ่องใสเป็นปกติ นิสัยดีๆ ก็จะค่อยๆ ก่อตัวขึ้นมาทีละเล็กละน้อย จนกลายเป็นความมั่นคงของชีวิต ของ หน่วยงาน และขององค์กร เพราะฉะนั้น ถ้าเราอยากได้นิสัยอย่างไร ก็ให้ยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำ ในเรื่องนั้น ถ้ายํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำในทางดี ย่อมได้นิสัยดี แต่หากยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทำในทางเลว ย่อมได้นิสัยเลว และนี่คือสัญญาณบอกว่า ทุกคน ควรจะต้องปรับตารางเวลาการทำงาน เพื่อให้!ต้นิสัยดีๆ ตามมา แล้ว ในที่สุด งานทุกสิงที่เราเข้าไปเกี่ยวข้องก็จะกลายเป็นบทฝึกคุณธรรม และความสามารถของเรา ,เ41»|ทกไฟ้ใน?วมทฑํทบาทัย ®\\p® คฬแฟรเMiftlHU
N
ช่วจกี่ tf ะ ฬกตนใกี่เอนบณทิต โดย น้อง ฃแปด รู้จักรักษาอารมณ์ jcl i V ช่วงนี น้องๆ หลายคนที่เรียนจบแล้ว ก็เริ่มสมัคร งาน บางคนก็ทำงานกันแล้ว ช่งนับวันหลังจากนี้Iป ก็จะต้องเจอแต่เริ่องที่ไม่มีในตำราเรียนมากยิ่งขึ้น บางคนยังปรับตัวไม่ไต้ ก็จะรู้ลักหนักหนาสาหัสจน เครียดไปทีเดียว ผมก็อยากจะแนะนำเริ่องการ นต่..เ51«อทไ1ร1ฬ้วพพท็ทนารย ®^tn JWmrioiTMtfi
รักษาอารมณ์การทำงานให้ฟังสักเล็กน้อย จะได้มีเทคนิคไว1ซ1น ยามเจอแรงกดดัน ผมจำได้ว่า ในช่วงที่เริ่มทำงานใหม่ๆ หรือเพิ่งเปลี่ยนแผนกเข้า มารับงานใหม่ ภาระหน้าที่การงานที่สุมเข้ามาในแต่ละวัน มักจะมีทัง ปัญหาเล็กปัญหาใหญ่ที่ทำให้ผมได้ปวดหัว ด้องแก!ฃกันไปไม่หยุดหย่อน ใครที่รักษาอารมณ!ด้ไม่หงุดหงิดไปกับปัญหา ผมก็น้บถือเขาว่าเก่งมากๆ ผมมักจะได้รับกำลังใจจากท่านเหล่านี้ว่า มีปัญหาก็แก้กันไป วันหนึ่ง ปัญหาก็คงหมดไป หรือไม่ก็ลดน้อยลงกว่าเก่า . ผมเห็นด้วยกับที่ทุกท่านพูด เพราะถ้าตราบใดยังมีคนคิดแก้ ปัญหา ย่อมดีกว่า มีแด่คนหนีปัญหาแน่นอน มีข้อลังเกตอันหนึ่งก็คือ ปัญหาที่เข้ามาหาเรานั้น โดยมากมาจาก คน ปัญหาคนจึงหนักกว่าปัญหางาน เพราะว่า คนมักสร้างปัญหาที่ไม่ใช่ ปัญหาเข้ามาใหัแก!ข ถ้าผู้บริหารหลักไม่แน่น อารมณ!ม่มั่นคง สติ ปัญญาไม่เฉียบแหลมพอที่จะแยกแยะได้ว่า อะไรคือปัญหาที่แท้จริง ที่ นั่นจะมีปัญหาจุกจิกเต็มไปหมด แล้วก็กลายเป็นคนมีอารมณ์หงุดหงิด เดยเม่รูตว คนที่ทำงานใหญ่พังมาเยอะต่อเยอะ ก็ตรงที่ความจุกจิกจู้จี้เกิน ไปนึ่แหละ เพราะจะทำให้แยกเรื่องหลักเรื่องรองไม่ออก เลยไปเอาเรื่อง ที่ไม่ใช่ปัญหา มาเป็นปัญหา เรื่องเลยบานปลายอย่างหาทางแกไม่ได้ เพราะว่ามองปัญหาผิด ปัญหาคนเกิดจากนิลัยไม่ดีและนิสัยไม่ดีเกิดจากวินิจฉัยไม่ถูกต้อง พระสัมมาถ้มพุทธเจ้าจึงทรงสอนว่า ถ้าอยากเป็นคน)มีวินิจฉัยดี ก็ด้องเลือกคบคนให้เป็น อย่าคบคนพาล ให้เลือกคบคนดี ดังนีน ใคร นค่. .พ้1»10กไ»!ในฑั้)พท็»1|ภ5ย Jtrrfmnarjuifi
คนกี่กำงานใหณํพังบาเยอะต่อเยอะ เๆตรงกี่ ความจุกจิกจู้จี้เกินไปนี่แหละ เพราะจะกำใเาแยก เรื่องหลักเรื่องรองไปออก เลยไปเอาเรื่องกี่ ไปไช่ปณหา บาเ0นปณหา เรื่องเลยนานปลาย อย่างหากางแก้ไปได้ เพราะว่านองฮ■ณหาผิด ที่ได้คนดีมีแมือเป็นมิตร คือเป็นคนที่มืทั้งกำด้งดรามเ กำ ด้งครามคิด กำ ด้งครามสามารถ และกำด้งครามดีแด้รโอกาสที่จะมืรินิจนัยดีๆก็มืมาก เพราะได้เห็นด้รอย่างชองรินิจนัยที่ดีๆ ผมเอง เมื่อต้องรันมือกับปัญหาหนักๆ รอบต้าน ทั้งเรื่องงานของ ตัวเองที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกวัน ไหนจะเรื่องคนที่ต้องดูแลรับผิดชอบใน ฐานะหัวหน้างาน ต้องรับผิดชอบทั้งการทำงาน และความประพฤติของเขา ประคับประคองไห้เดินไป^เป้าหมายที่ต้องการ ในระยะเวลาที่กำหนด และต้นทุนที่จ่ากัด บางทีก็ชักจะเป๋ๆ ไปเหมือนกัน ต้นเหตุที่ทำให้วินิจฉัยเป๋ๆ ไป ก็เพราะต้องเอาเวลาตัวเอง ไป อดทนสารพัดอารมณ์ของคนอื่น เพิ่อให้งานมันเดินหน้า ถ้าทนไม่ไต้ Ufi ;จ้1ด0กไม้ใฬ้1««ทํท|ฑรัย ร)^(ร {[ฬทยาราในผ์
งานก็ไม่เดิน แต่บางครั้งก็ทานไม่ไหว อยากหนีไปเหมือนกัน แต่ว่าถ้า หนีไปแล้ว ปัญหาก็จะมืแต่เพิ่ม แล้วงานที่ทำมาทั้งหมดก็จะพัง เลยต้อง กัดฟันล้กันไป เพื่อเห็นแก่อนาคต ยกเว้นว่า ใครที่เขามืความสามารถ มากกว่า จะเข้ามารันผิดชอบงานนี้ ก็จะรีบยกให้เขาเลย งานจะไดไปไว กว่าที่เราทำ แต่จนแล้วจนรอด ก็ได้แต่พึ่งตัวเองต่อไปทุกที ผมเอง ก็ถีอว่าโซคดีที่อยูใกล้ผูใหญ่ ท่านคอยเป็นกัลยาณมิตรให้ ท่านคอยหากุศโลบายมาเตือนสติให้ผมไต้คิดว่า \"แรงกดดันมันจะมาก ขนาดไหน ดุณดัองเกดัวเองให้มาก อย่าให้อารมณ์เสิยเด็ดขาด เดึ๋ยว พลาด แล้วฟังกันหมด\" แล้ววิรีรักษาอารมณ์ที่ท่านเมตตาแาเะนำผมก็คือ การ!เกสมาร ท่านบอกว่า 'ใ'แภาวะที่ต้องอดทนอะไรหลายๆ อย่าง คุณต้องมื สมาธิให้มากๆ ในศาสนา'พุทธสอนวิธีฝึกสมาธิไว้หลายวิธี แต่ไม่ว่าคุณ จะเลือกฝึกวิธีไหน มืข้อสำคัญอยู่ว่า จิตคุณต้องนิ่งเป็นสมาธิอยู่ในตัว \"ของทุกเงทุกอย่าง จุดที่ทรงพล้งมากที่สุด คือ จุดศูนย์ถ่วง นั่นคือตรงกลางมวลทุกชนิด ดนเราก็จัดเป็นมวลวัตถุอย่างหนึ่ง เหมือนกัน และจุดที่ใจทรงพล้งมากที่สุดก็คือ จุดที่อย่กลางดัวของคนเรา นึ่งบริเวณนั้นจะอยู่ตรงกลางท้อง เรียกร่า ศูนย์กลางกาย ลองสมมติให้ ท้องของคุณว่างเปล่า แล้วเอาใจไปวางที่ตรงนั้นพร้อมกับไม่คิดอะไรเลย ทำ ใจเฉยๆ ที่ตรงนั้น ลืมทุกสิงทุกอย่างไว้ข้วคราว ทำ ใจเฉยๆ ไว้ที่ตรง กลางตัวนั้น แล้วสมาธิจะรวมตัวเอง แล้วใจของคุณก็จะสงบ นิ่ง และเย็น แล้วความสุขก็จะเกิด พอคุณนิ่งสมาธิเสร็จ ใจของคุณจะเกลี้ยง อารมณ์ จะดีฃึ้น แล้วคุณจะมองว่า ทุกอย่างเป็นปกติ นั่นก็แสดงว่า ทุกอย่างดีขึ้น ไม่ใช่ปัญหาใหญ่อีกต่อไป Ufi .เ5า»10กไน้ใน1ว««1ใท1ภสัย •®^«>
\"คุณคิดเสียว่า นี่คือ การพัฒนาจิตใจของตัวเองอีกขั้นหนึ่ง ถ้า คุณผ่านตรง^ปได้ คุณจะเห็นหลายๆ สิงที่กว้างกว่าคนอื่นๆ เพราะว่า คุณได้ก้าวข้ามในสิงที่คนอื่นเขาทนไม่ได้มาแล้ว\" แล้วว้นนี ผมก็ได้รกสมาธิตามที่^หญ่ท่านแ'แะนำมา ทำ ให้ผม ด้นพบตัวเองอีกหลายๆ เรื่อง อย่างไม่นำเร่อ และนี่ดงจะเป็นก้าวย่าง สำ ด้ญอีกก้าวหนี่งในรริตของผมที่จะก้าวไปส่การพัฒนาด้กยภาพ ควบดู่ก้บการยกระตับความอดทนของตัวเองให้สูงขึ้น ไม่น่าเร่อเลยว่า สมาธิจะทำให้คนเราพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ขึ้1เมาได้ นค'. เ<;1»10ทไ13ใฬ้วมyTSnuiSu 0)๖ท1 Jfninws-IIMOJ
ท^ -^4
ช่วงที่ ๖ บัผ ย่ ฃฬ cl กๆตไหัผ่จงใส
ช่วจกี่ ๖ ะ บัณทิตฟอบพกจิตใกี่ผ่อจใส โดย ชิน อิงเๅร: คลายเครียดอย่างถูกวิธี คนส่วนมากเมื่อเกิดความเครียดจากหน้าที่การงาน แล้ว มักใช้ยาระงับประสาทคลายความเครียดบ้าง บางทีก็เส่นไฟหวังจะคลายความเครียดบ้าง หรือ ไม่ก็หันหน้าเช้าไปหาอบายมุขตามผับ ตามเธคกัน บ้าง เพราะคิดว่าเป็นสิงที่ช้วยโหัคลายเครียด แต่ จริงๆ แล้ว กล้บไม่ทำโหัคลายเครียดเลย แต่ยิ่ง ufi เอทไฟ้ในร๎ใมทาT«£ภร้ข 6)ฝ(ร ททา(ท)ฝ็นท๗างgทไ8
ทำ ให้เกิดความเครียดสะสมหนักเข้าไปใหญ่ การคลาย ความเครียดแบบไหนเล่า จึงจะถูกวิธี และทำให้หายเครียดได้ อย่างแห้จริง วิธีคลายความเครียดที่ถูกต้องจะต้องมีผลทำให้การทำงานทาง จิตมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ทนต่อความเครียดไต้ เมื่อถึงเวลาใช้ความคิด ก็คิดได้นาน คิดได้ต่อเนื่องโดยไม่มีอาการอ่อนล้า คิดได้ลึก ซึ้งละเอียด ลออ รอบคอบ ซึ่งวิธีคลายเครียดที่จะให้!ด้ผลอย่างนี้ มีอยู่วิธีเดียว คิอ การทำสมาธิเป็นประจำ การแก้เครียดด้วยการเสพอบายมุขเป็นการแก้ที่ไม่ถูกจุด กลับ กลายเป็นการสะสมความเครียดลึกๆ เอาไวิในใจ เพราะนอกจากทำให้ เสิยเงินเสียทองแล้ว ยังเสียสุขภาพ เสียเวลา มีโอกาสติดหนี้สิน ถลำลึก เช้าไปเป็นทาสของยาเสพติดได้ เสียงตายโดยไม่จำเป็น และ ในบางครั้ง ถ้าไม่ระมัดระวังให้ดีไปดูเรึ่องที่ไม่สมควรเช้า เช่น เรื่องเสิอมเสียดีล ธรรมต่างๆ ก็จะยิ่งเพิ่มความเครียด ความขุ่นมัว ความหยาบของใจจะมี มากขึ้นไปอีก ซึ่งก็อาจเสียคนและต้องเสียใจในที่สุด การใช้ยาระงับประสาทก็เช่นเดียวกัน ถ้าไม่ระมัดระวังก็จะเป็น ผลเสียต่อสุขภาพ ทำ ให้ประสิทธิภาพการทำงาน ประสิทธิภาพการคิด ตํ่าลงเรื่อยๆ แม้ที่สุดการพนันแบบเล่นๆ ไม่เอาเงินเอาทองก้น ก็ไม่ควรทำ เพราะเป็นการเพิ่มความเครียดอีกรูปแบบหนื่งโดยไม่รู้ด้ว รวมทั้งอาจ เพาะนิสัยมีเหลี่ยมมีคูเพิ่มขึ้นมาอีกก็ได้ ufi.เจ้าทรทไฟ้ไนเวนทา^บารน QPllk] fKnouilaitBirKjทรจ้
การกำลบาธิฮอยู่หลายวิธี แต่วิธีหนึ่งกี่กำได ง่ายๆ คอ กุกคืนก่อนนอนใหันจในก่ากี่ลบาย กี่สุด อาจจะเ0นนงเก่าอี้ นงพน!พยน นง ขัดลนาธิกี่!ก่แต่ไม่ควรนึ่งพิงแลัวก็หลับตานึ่งๆ กำควานรูสก!หนอน กันว่า!รานงอยู่ลำพัง คนเดียวในโลก การทำสมาธิมีอยู่หลายวิธี แต่วิธีหนึ่งที่ทำได้ง่ายๆ คือทุกคืนก่อน นอนใพนงในท่าทีสบายทีสุด อาจจะเป็นนั่งเก้าอี นั่งพับเพียบ นั่ง ขัด สมาธิก็ได้ แต่ไม่ควรนั่งพีง แก้วก็หลับตานั่งๆ ทำ ความเสิกเหมือน กับ ว่าเรานังอยู่ลำพังคนเดียวในโลก จากนันก็นึกถึงพระพุทธรูปองคืใด องค์หนึ่งทีเราจำได้อย่างดีดตาติดใจ นึกอาราธนาพระพุทธรูปนั้นให้มา อยู่ในกลางด้วเรา โดยที่องค์พระนั้นนั่งห้นหน้าไปทางเดียวกับเรา เป็น พุทธานุสดี ก็ย่อมทำได้ง่ายๆ แล้วให้นึกถึงองค์พระพุทธรูปนี้ ต่อเนึ่องกันไปไม่ขาดสาย คือนึก ชำ แล้วชำอีก แล้วก็นึกอย่างเบาๆ โดยไม่ใช้ความพยายาม ทำ นองเดียว นท่,. เ4า»|อทไ>|1นใวพท-เใพยาล้ย ๑C^๓
กับนึกถึงบ้านนึกถึงหน้าคุณพ่อคุณแม่ของเรา เป็นการนึกจากในกลางท้อง ไมใช่นึกจากสมอง เมื่อนึกแล้วจะเห็นภาพองค์พระหรือไม่ก็ตาม ไม่ต้องกังวล ขอ แต่เพียงไห!ต้นึก แล้วใจก็จะสงบลงเอง ความเครียดก็จะค่อยๆ มลาย หายไป ในขณะที่กำลังนึกถึงองค์พระองค์นี้อยู่ ถ้ามีเรื่องอะไรสอด แทรกเข้ามาในความคิด ก็ให้มีสติรู้ท้น และอย่าไปต่อต้าน ทำ เฉยๆ มิ ฉะนั้นจะเกิดความหงุดหงิด ให้ถึอเสิยว่าเมื่อมาเองไต้ ก็ย่อมไปเองไต้ เช่นกัน ต่อเมื่อเวลาผ่านไปแล้ว ๕-๑๐ นาที เรื่องที่สอดแทรกเข้ามา ยัง ไม่ไป ยังรบกวนอยู่ จึงค่อยทำบริกรรมภาวนา คือท่องในใจว่า \"สัมมา อะระหัง ๆ ๆ\"ก็ไต้ประคององค์พระให้นิ่งๆไปช้าๆ โดยทำความรู้สิกว่า แม้คำว่า •'ล้มมาอะระห้ง\" นั้น ก็คล้ายกับว่าเสิยงนั้นดังผุดขึ้นมา จาก กลางองค์พระในกลางท้องของเรา เมื่อประคองใจไปอย่างนี้เรื่อยๆไม่ข้าเรื่องที่มารบกวนก็จะหายไป แม้แต่คำว่า ล้มมาอะระห้ง ก็จะเลือนไปเองโดยอัตโนมัติ คงมีแต่องค์ พระอย่ในมโนภาพเท่านั้น ในไม่ข้าใจก็จะสงบลง ความ เครียดก็จะหาย ไป นอกจากจะนั่งสมาธิอย่างนี้ทุกคืนไม่ว่าจะนั่งแค่ครื่งชั่วโมง หรือ ถึงหนิ่งชั่วโมงแล้วก็ตาม ในเวลาทำงานถ้ารู้ลืกเครียดขึ้นมาเมือไร ก็ให้ วางงานทิ้งไว้เสียชั่วคราว นั่งหล้บตาทำสมาธิในที่ทำงานนั่นแหละ สักพัก หนิ่งอาจจะ ๑๐-๑๕ นาที ก็จะหายเครียดเอง แล้วจึงค่อยทำงานต่อไป Ufi . เร่[าคอกไม้ใน?แพ'iwtnau ®0(ct ท(ท0เท11111๗า4ฐทไร
การงานก็จะก้าวไกล อนาคตก็จะแจ่มใส จิตใจก็เบิกบาน แล้วเราก็จะ เป็นที่รักของทุกๆ คนครับ นท่...1จ้ไท0ทไฟ้1นท๎|ฬ1รทพ{โน ■<^คเif ทราขเฬชแชปาง!)ทไ!
ช่อจที่ ๖ ะ uaiPiadouvVnSตให้ฝ00ใส ใดย ธน ชงฤร: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ เนตอนที่ผ่านมา ผมได้เล่าถึงประโยชน์ของการแก สมาธิไปบ้างแล้ว สำ หรับในตอนนี้ ผมก็ฃอเล่าถึง เนี้อหาในส่วนที่ลึกนี้งฃองสมาธิให้มากยิ่งๆ ขึ้นไป โดยผมได้Iปด้นคว้าฃัอยูลเบื้องด้นมาจากหลายแหล่ง แต่ในที่สุดพบว่า บทความเรื่อง \"ความรู้เบื้องด้น เกี่ยวกับสมาธิ\" ให้ข้อมูลได้ซัดเจนที่สุด จึงได้คัด แพ่ i^monluluiiMMThiuาร้น ©tTjcil BTmJidMffmflinftjajn!!
ลอกมาจากหนังสือ \"คนไทยต้องรู้\"ช่งเขียนขึ้นเมื่อ ตอ กว่าปีที่แลว โดยหลวงพ่อพระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ หัตตขีโว) ผมหวังว่าจะ เป็นประโยซนัต่อการ!!กสมาธิเบื้องต้นของบัณหิตทุกท่านนะครับ เพียงแต่เห็นผู้อื่นนั่งหลับตาทำสมาธิให้ใจสงบ คนส่วนมาก ก็ มักจะนึกเลยไปถึงสุดยอดแห่งความปรารถนาของพระภิกษุ ผู้กำ ลัง ปาเพ็ญเพียรเพื่อละกิเลส คือ นิพพาน แต่หารู!ม่ว่า วิธีที่จะทำใจให้ บรรลุนิพพานนั้นจะต้องทำอย่างไรบ้างจะต้องวางใจไว้ตรงไหนต้องนึกแรง นึกค่อย นึกเร็ว นึกช้าอย่าไร แตกต่างกับการหลับตาธรรมดาหรือไม่ เมื่อนำมาคิดก็เป็นเรื่องของการเดา ถ้าเชื่อผู้อื่นบอกเล่าก็เป็นเรื่องของ คนหูเบา ครั้นจับต้นชนปลายไดไม่ถูก ก็ทึกทักเอาว่าพระพุทธศาสนา สอนให้หลงงมงาย จึงสมควรต้องทำความเช้าใจเกี่ยวกับการทำความ สงบใจให้ถูกต้องเสียก่อน มิฉะนั้น เราเองนั่นแหละคือคนที่งมงายที่สุด ในโลก ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่า ขณะที่นักเลงการพนันกำลังจั่วไฟ นัก บิลเลียดกำลังแทงลูกบิลเลียด มือปีนกำลังจ้องยิงคู่อาฆาต คนทรง กำ ลังเชิญผีเช้า พวกเสพติดกำลังสูบกัญชา พวกร้อนวิชากำลังปลุกตัว หรือพวกโจรกำลังมั่วสุมวางแผนก่อโจรกรรม ฯลฯ บุคคลเหล่านึต่างมื ใจจดจ่ออยู่กับสิงที่เขากำลังกระทำทังสิน ไม่ว่ารอบๆ บริเวณนันจะมื เหตุการณ์อย่างไรเกิดขึ้นก็ยากที่จะทำให้เขาเหล่านันเบนความในใจไปไต้ หลายคนจึงพากันเช้าใจผิดคิดว่า บุคคลหลงผิดเหล่านัน มืสมาธิมันคงดี หาทราบไม่ว่าสมาธิในพระพุทธศาสนา หมายถึง การที่สามารถทำใจให้ มั่นคง ไม่วอกแวก และต้องก่อให้เกิดความสงบเย็นกายเย็นใจต้วย ถ้า ใจไม่วอกแวก แต่พกเอาความร้อนใจไว้ช้างใน เช่น พกเอาความโลภ นค่ พ้1»10ทไ»|1น1ว>ท1ฑิทรภร้ย - (mJiJii5twJ!utJlin/h)aHT3
อยากของผู้อึ่นจนเต็มอก ดังพวกนักเลงการพนัน พกเอาความพยาบาท ไว้จนหน้าเขียว เหมือนพวกมือปีน หรือพกเอาความหึงไว้ตนกระทั่งยอม ให้ผีเข้าเหมือน พวกคนทรงอย่างนี้ พระพุทธศาสนาถือว่าไม่ใช่สมาธิ ถ้า จะถือก็เป็นสมาธินอกลู่นอกทาง ที่เรืยกว่ามิจฉาสมาธิ ซึ่งไม่ควรฝึก ไม่ ควรสนใจ เพราะมืแต่โทษถ่ายเดียว สมาธิที่ถูกมือยู่ ๒ ประ๓ท ควรสนใจไว้[ห้มาก เพราะมืความ จำ เป็นต่อชีวิตประจำวันเมือสนใจฝึกได้ดีแล้วจะมืแต่ความเย็นกายเย็นใจ ประ๓ทแรก เป็นการทำสมาธิของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา สมาธิประเภทนี้!ด้มือยู่ก่อนพุทธกาลแล้ว พวกฤๅษีชีไพรต่างๆ แม้ อาฬารดาบส และอุทกดาบส ที่เจ้าชายสิทธัตถะไปดีกษาอยู่ด้วยในสมัย แรกๆ ก่อนตรัสรู้ ก็ฝึกฝนสมาธิประ๓ทนี้ ประ๓ทที่สอง เป็นการทำสมาธิของนักบวชในพระพุทธศาสนาซึ่ง พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นเอง โดยพระองค์ทรงนำวิธีการฝึกสมาธิของ พวกฤๅษีชีไพรในสมัยนั้น มาดัดแปลงแกไขใหม่ให้ถูกต้องรัดกมยิ่งขึ้น แล้วทรงสอนให้พุทธศาสนิกชนปฏิบัติตาม แต่ประชาชนส่วนใหญ่ใน ปัจจุบันต่างยังไม่เข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างสมาธิทั้งสองประ๓ทนี้ ดังนั้นจึงมืบางคนหลงกลับไปฝึกสมาธิตามวิธีเดิมของพวกนอกศาสนา อยู่อีก กลายเป็นถอยหลังเข้าคลองไป การฝึกสมาธิของพวกนอกศาสนาพุทธ ส่วนมากนิยมฝึกการเอา วัตถุเป็นที่ตั้งจิต หรือที่เรืยกกันทั่วไปว่า ฝึกกสิณภายนอก วิธีง่ายๆ ดีอ สร้างวัตถุขึ้นมาชิ้นหนึ่งเป็นแฝนกลมๆ ที่เรืยกว่า กสิณ เช่น เอาดินปัน เป็นแฝนกลมๆ ขนาดเส้นฝาเส้นศูนย์กลางประมาณ ๑ คีบ หนาประมาณ ๑ นี้ว วางไว้เบื้องหน้าของผู้ฝึก ครั้นจำลักษณะของกสิณได้แม่นยำแล้ว ก็หลับตานึกถึงกสิณด้วยการเอาจิตไปตั้งที่กสิณนั้น พร้อมกับภาวนา คือ แ»!.. m»ion1«lu?-jK«V5ทบาท้ย ®CllGf
ท่องในใจ เป็นการประคองใจไม่ได้คิดเรื่องอื่นด้วยคำว่า ปฐวี ๆๆๆ(หรือ ดินๆๆๆ) เป็นต้น เบื้องแรก ขณะหลับตานึกถึงกสิณ เนื่องจากใจยังสงบไม่พอ กสิณนั้นก็เป็นเพียงมโนภาพมืด ครั้นปฏิบัติต่อไปเรื่อยๆ จนชำนาญจาก มโนภาพมืดก็กลายเป็นมโนภาพสว่างเห็นภาพกสิณนั้นชัดเจนเหมือลืมตา (เพราะสิงทั้งหลายย่อมสำเร็จไต้ด้วยใจ) ยิ่งชำนาญมากขึ้นเท่าใด ก็ สามารถพลิกแพลงใช้ประโยชน์จากกสิณที่ไต้มากยิ่งขึ้นเท่านั้น นอกจาก ใช้ดินเป็นกสิณแล้ว ก็สามารถใช้วัตลุอย่างอื่นทำเป็นกสิณแทนได้ เช่น ใช้นํ้าใสๆ ใส่ชัน ใช้วงกลมสีเขียวๆ ลืแดงๆ หรือลูกแก้วใสๆ ที่ เจียระไนเป็นรูปทรงกลม เป็นต้น การฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา ไต้ตัวอย่างมาจากพวกฤๅษีชี ไพรดังกล่าวแล้ว ดังนั้น ทั้งวิธีทำกสิณ ขนาดของกสิณ และคำภาวนาจึง เหมือนก้น แต่เปลี่ยนตำแหน่งฐานที่ตั้งจิตเสียใหม่ แทนที่จะเอาจิตไป ตั้งที่กสิณนั้น กลับเอาจิตมาตั้งไว้ตรงดูนย์กลางกายของตนเอง แล้วนึก ถึงกสิณนั้นๆ ความแตกต่างระหว่างสมาธิทั้งสองนี้ คือ สมมติว่า นาย ก. ฝึก สมาธิด้วยการเพ่งกสิณนํ้าตามแบบของฤๅษี ส่วนนาย ข. ฝึก เพ่งกสิณ นํ้าตามแบบพระพุทธศาสนา เมื่อเอานํ้าใสๆ ใส่ลงไปในบาตรสำหรับใช้ เป็นกสิณแล้ว ทั้งนาย ก. นาย ข. ก็นั่งอยู่เบื้องหน้ากสิณนํ้านั้น ต่างคน ต่างนั่งหลับตานึกให้เห็นภาพวงกลมนํ้า พร้อมก้บภาวนาประคองใจ (ใน ใจ)ว่า \"อาโปๆๆๆ\"\"(ซึ่งแปลว่านํ้าๆๆๆ)ขณะภาวนาว่า \"อาโปๆๆๆ\" และ บริกรรมนิมิต คือ นึกให้เห็นกสิณนํ้าอยู่นั้น นาย ก. ก็นึกเอาจิตไปตั้งที่ นํ้าในบาตร ส่วนนาย ข. นึกเอากสิณนำไปตั้งไว้1นกลางกายของคนเมื่อ ทั้งสองคนนี้ฝึกนึกถึงกสิณจนชำนาญแล้ว มโนภาพมืดๆ ของวงกลมนํ้า นคํ. เ$า*10ทไน1น1วนพทํทนาท้น ทว'!น]ฟ่ท^ท้เฟ่ฬท้บรนาร
เพียงแต่เห็นผูอี่นนงหลับตากำลบาธิให้ไจสงบ คนส่วนบาก ก็บักจะปีกเลยใบสงสุดยอดแห่ง ควานชรารกนาของพระกิกษุ พูกำ ลังชาเพณ เพียรเพื่อละกิเลส คือ ปีพพไน แต่หา§ไชว่า วิธี กี่จภำใจไห้นรรสุปีพพานนั้นจะตองกำอย่างไรบาง ก็กลับเป็!ฌโนภาพสว่าง เห็นวงกลมนํ้านั้นสว่างชัดเจนขึ้น•คล้ายๆ กับ ลืมตาดูดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญ นาย ก. จะเห็นนิมิตวงกลมนํ้าสว่าง สดใสเยือกเย็นลอยอยู่เบื้องหน้าตนเองในระยะใกล้บ้างไกลบ้าง ส่วนนาย ข. จะเห็นนิมิตวงกลมนํ้าลอยนิ่งๆ อยู่ที่ศูนย์กลางกาย เหล่านี้เป็นความ แตกต่างและคล้ายคลืงกันของการฝึกสมาธิทั้งสองประ๓ท ซึ่งยังไม่มาก นักในเบื้องต้น ครั้นฝึกทำความสงบใจต่อไป ความสงบ ความชัดของกสิณ ความสุขกายสุขใจที่ไต้ร้บ และที่สำคัญที่สุดคือความเห็นหรือทิฐิจะค่อยๆ แตกต่างกันขึ้นเรื่อยๆ นิมิตวงกลมนํ้าของนาย ก. จะไม่อยู่นิ่งเป็นที่ ประ เดี๋ยวจะลอยอยู่ใกล้ประเดี๋ยวจะลอยไปไกล ชัดบ้าง ไม่ชัดบ้าง ใหญ่บ้าง แด่..เจ้พรกไฟ้ในรั้วมหฟ้ทย!สัย StCfS) ทวๆ»|เ1)»0ด่น||{ฬ/รน||น1|
เล็กบ้าง ลุ่มๆ ดอนๆ ปรับภาพได้ยาก และในขณะที่ทำการฝึกก็มักจะ เกิดนิมิตลวงเสมอ เช่น เห็นภาพเหตุการณ์เก่าๆ ในอดีตที่ลืมไปนานแล้ว และ ภาพอื่นๆ อีกจนสับสนๅนวายปะปนกับนิมิตจนแยกกันไม่ค่อยออก (ยกเว้นผู้ที่มีความชำนาญ) ทั้งนี้เพราะการเห็นนิมิตของผู้ฝึกสมาธินอก พระพุทธศาสนานั้น เห็นเหมือนใ'^ฟฉายส่องดูว้ตลุชึ่งอยูในทีไกลๆ จึง อาจเกิดความผิดพลาดได้ง่าย (เช่น ถ้าเราดูผลแตงโมผ่าชีกที่ตังไว้!กลๆ โดยมองด้านตรงข้ามที่ไม่ถูกผ่า ก็จะเห็นว่าเป็นแตงโมเต็มผลอยู่) เนื่องจากว่าเอาจิตไปตั้งไว้นอกกายแต่แรกจนเคยชินนั่นเอง แต่มักจะ ไม่รู้ตัว ในที่สุดก็หลงตัวว่าเป็นผู้วิเศษ ดังเช่นอาฬารดาบส และอุทกดาบส หลงว่าอรูปภพนั้น คือนิพพานเป็นต้น ถ้านาย ก. ประสงค์จะเจริญวิปัสสนาก็ทำได้ยาก เพราะวิปัสสนา เป็นเรื่องของการพิจารณาภายในตัว ดังนัน การฝึกสมาธิของพวกนอก พระพุทธศาสนาจึงเลืยเวลามาก เลืยงอันตราย และเกิดปัญญาน้อย ดัง มีเรื่องเส่าว่า ฤๅษีตนหนื่งนั่งทำสมาธิอยู่ในปา ไม่ยอมไหวติงกายเป็น เวลานานปี จนกระทั่งนกกระจาบไปอาศัยทำรังอยู่ที่เครา แต่ฤๅษีตนนั้น ก็ยังไม่สำเร็จธรรมอันใด จึงเลิกฝึกสมาธิ กสับไปอยู่บ้านกับลูกเมียตาม เดิมอีก ผู้เขียนเอง สมัยที่ยังฝึกสมาธิด้วยการตั้งจิตไว้นอกกาย ดังเช่น พวกฤๅษีชีไพรนั้น เคยถูกนิมิตลวงรบกวนอยู่เสมอๆ บางครัง รบกวน ติดต่อกันตลอดทั้งว้นบ้าง ทั้งคืนบ้าง ทังสัปดาห์บ้าง เช่น นิมิตเห็นเลือ ตัวใหญ่ขนาดม้าวิ่งผ่านหน้าไปมาเป็นฝูงๆ บ้าง กระโจนเข้าขบกัดบ้าง บางครั้งก็พากันมาให้ขี่เชื่องๆ บ้าง ครั้งกำหนดสติวางเฉยเสียได้ นิมิตก็ หายไป แต่ถ้าเผลอสติก็กลับมารบกวนใหม่อีก บางทีก็นิมิตเห็นวัวควาย และเป็ดไก่ที่เคยฆ่าไว้เข้ามารุมจิก ดี ขวิด เหยียบ ดินบนตัก หรือเห็น น«...เ51»|อกไ«1ฬํว!™■ททนาทัย ®5ฟ้£) fmnJidwfvilttnlftjajnS
สัตว์เหล่านันอยู่ห่างๆ แต่เลือดโทรมกาย บางทีก็มารุมล้อมขอความ เมตตาบ้าง ถ้าแผ่เมตตาให้ก็หายไปเป็นพักๆ แล้วก็มารบกวนใหม่อีก พาให้ใจเศร้าหมอง {ขณะอยู่ในสมาธิร้สืกเฉยๆ)บางครั้งนิมิตเป็นตนเอง ในอดีตชาติว่าเคยเกิดที่ใดบ้าง (มีทั้งถูกต้องตามความเป็นจริงและคลาด เคลื่อน) บางทีก็เห็นว่ากระดูกตนเองที่เกิดในชาติภพต่างๆ เหล่านั้น เข้า มารวมกันเป็นกองสูงท่วมภูเขาบ้าง ซึ่งก็เป็นนิมิตที่ดีสำหรับเตือนใจไม่ ให้ประมาท แต่ถ้าคุมสติไม่อยู่ บางคนอาจตกใจกลัวจนเสียสติก็ไต้ ครั้งหนึ่ง ขณะที่กำลังนั่งสมาธิและจิตกำลังสว่างไสว ก็นิมิตเห็น เป็นหญิงสาวผู้หนึ่งสวยมาก ยืนอยู่เบื้องหน้าห่างกันแค'เอื้อม ตั้งแต่เกิด มาไม่เคยเห็นใครสวยเท่าผู้หญิงคนนี้เลย แต่เนึ่องจากกำลังอยู่ในสมาธิ จึงร้สีกเพียงแต่ว่าเป็นผู้หญิงคนหนึ่งและไม่สนใจเธอ ยิ่งมีจริตมารยา มากขึ้น ถึงกับถอดเสิอผ้าทิ้งหมด ผู้เขียนก็ยังอุเบกขาวางเฉยอยู่นั่นเอง ครันเฉยหนักเข้าหญิงผู้น้นก็แก่ลงๆ อย่างรวดเร็ว กลายเป็นหญิงชราที่ มีแต่หนังหุ้มกระดูก ยืนร้องครวญครางดิ้นไปมา แล้วเนื้อหนังฺของเธอก็ หลุดล่อนลงไปกองบนพื้น เหลือแต่โครงกระดูกสีมอๆ คล้ายกับเพิ่งเขี่ย ออกมาจากเชิงตะกอน ผู้เขียนกำลังจะเปล่งอุทานว่า เราชนะแล้ว เรา เห็นแล้วซึ่งความไม่เที่ยงของสัตว์โลกว่า ในที่สุดก็จะเหลือแต่โครง กระดูกสีมอๆ ไว้ถมดินเท่านั้น ทันใดนั้นนี้วทั้งห้าในมีอขวาของโครง กระดูกก็กลับเกร็งแข็งที่อเหมีอนกรงเล็บปีศาจแทงเข้ามาเต็มแรงที่ใบหน้า หมายเอานัยน์ตาทั้งสองข้างเป็นเป้า ถึงอย่างนั้นผู้เขียนก็ยังไม่สะดุ้งกลัว ร้สีกเฉยๆ แต่ก็ยังไม่ยอมลืมตา ครั้นออกจากสมาธิ นั่งอยู่ในถํ้ามีดๆ ตามลำพังแล้วกลับร้สีกหวาดๆ ว่ามีใครคนหนึ่งจ้องจะควักลูกนัยน์ตา กว่าจะหายหวาดระแวงได้ก็ประมาณหนึ่งปี (นิมิตต่างๆ ดังกล่าวเป็น เพียงส่วนย่อยที่ผู้ฝึกแบบฤๅษีชีไพรมักจะต้องพบ) แค่ เ41«0กไป้ในเวนท'เพํ!ภรย sx^cn nTiuJtdiMXuUitnnusjnS
อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าการฝึกสมาธิแบบนอกพระพุทธ ศาสนาจะไร้ประโยชน์เสิยทีเดียว เพราะสามารถเป็นอุปการะต่อการ เจริญสมาธิในพระพุทธศาสนาได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น การที่พระภิกษุ ปัญจวัคคีย์ สามารถมีดวงตาเห็นธรรมได้ทันทีที่พระพุทธเจ้าเทศน์จบก็ เพราะมีพี้นฐานการทำสมาธิแบบนี้มาก่อน ครั้นขณะฟ้งพระธรรมเทศนา ก็เปลี่ยนฐานที่ตั้งจิตมาไว้ภายในตัว เกิดสัมมาสมาธิได้ทันที ส่วนนาย ข. เนื่องจากตั้งจิตไว้ถูกที่ตั้งแต่เริ่มแรก เมื่อเห็นนิมิต วงกลมนํ้าเกิดขึ้นในตัววงกลมนั้น ก็จะนื่งอยู่ที่กลางกายไม่หายไปไหน ยิ่งทำในหยุดนื่งได้ถูกส่วน นิมิตวงกลมนำนันก็จะหายไปเอง แต่จะเกิด วงกลมใหญ่ขึ้นมาแทนที่เรียกว่าปฐมมรรค หรีอดวงธรรม ธรรมทัง หลายที่กล่าวไว้ในพระไตรปิฎก ก็จะปรากฏออกมาให้เห็นตามความเป็น จริงจากกลางดวงธรรมนั้นเอง นาย ข.จะไม่ประสบกับนิมิตลวงด้งเช่นนาย ก. เพราะการเห็นของนาย ข. นั้นเป็นการเห็นรอบตัว คือเห็นทังด้านซ้าย ด้านขวา ด้านหน้า ด้านหสัง ด้านล่าง ด้านบน พร้อมๆ ในเวลาเดียวกัน สมาธิของนาย ข. จึงมีอุปสรรคน้อย และเกิดปัญญามาก หากนายก.ต้องการปฏิบัติธรรม ทำ ความสงบใจรุดหน้าอย่างนาย มักจะเกิดทิฐิเหนียวแน่น ไม่ยอมเปลี่ยนฐานที่ตังจิตง่ายๆ หลงยึดการ ฝึกฝนสมาธิของตนเองว่า วิเศษแล้ว ถูกต้องแล้ว ตังเรื่องราวที่ปรากฏ ในพระไตรปิฎกว่า แต่ละครั้งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพวก เดียรถีย์พวกชฏิล พระองค์จะต้องเสียเวลาไมใช่น้อยในการกำจัดทิฐิเดิม ของพวกเหล่านั้น แด่ .เราดอทไนใน?วนvnวํทน!รัย HTwJidBJfiuiiltnfluaui!
สรบ สัมมาสมาธิ เ!เนสมาธิในพระพุทธศาสนา ๓ดเนจากการน้อมจิต เข้าไปตั้งที่ศูนย์กลางกายของตนเอง ทำ ใน้จิตสะอาด สงบ ว่องไร และ มีดรามเห็นถูก สมาธิของพวกนอกศาสนา หรือพวกฤๅษีชีไพร เกิดจากการ ประคองรักษาจิตไว้ที่นิมิตนอกกาย ทำ ให้จิตสะอาด สงบสว่างได้พอควร แต่ยังมีความเห็นผิดอยู่ มิจนาสมาธิ คือ ครามฬมกมุ่นอยู่ในอารมถnดอารมณ์หนึ่งที่เ!เน อทศล ห้ามแกเด็ดขาด Ufl. เ?inonliflulวนพฑิทยพ้ย ทวาน}ide^ui/!ni/!uR»nB
ช่อ0กี่ ๖ ะ ปัณทิตย่อมฬกร๗หัผ่อจไล โดย ชิน อ่งฤร: แนะนำวิธีฝ็กสมาธิเบื้องต้น รากการสืกษาคันคว้าเรื่อง \"การแกสมาธิเบื้อง SJ ต้น\" ทำ ให้ผมไต้พบว่า การแกสมาธิสามารถทำไต้ หลายวิธี แต่ชุกวิธีล้วนมีผลเบื้องต้น คือ ความ สงบใจเใเนเดียวกัน ช่งเพียงความสงบใจอันเป็น ผลเบื้องต้น ก็สามารถทำให้เกิดประโยซนต่อการ u»i i4i»iBn1>rtu?-unnwtriSu ©StCll นนะนำวิผิ1ก|ทใ8เฟ็8«<น
เรียน การทำงาน และการดูแลครอบครัวอย่างมหาศาล สำ หรับผู้ที่สนใจการแกสมาธิเบื้องต้นเท่าที่ผมสืกบๆมาพบว่า รีธิที่มีผู้นิยมแกกันมากและเป็นที่นิยมในย่วงหลายสิบปีมานี้ คือวิธี ปฏิบัติที่สิบทอดมาจาก พระเดชพระคุณพระมงคลเทพบุนิ (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ โดยท่านไต้อธิบายวิธี สมาธิ คือความสงบ สบาย และความรัสีกเป็นสุฃอย่างยิ๋งที่ มบุษย่สามารถสรัางฃึ้นไต้ต้วยดนเอง เป็นสิงที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพี่อการ ดำ รงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปข้ญญะและ ปัญญาอันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัยทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆด้งวิธีปฏิบัติ ด้งนี้ ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้พุ่ นวลไว้เป็นเบื้องด้น แล้วสมาทานสืลห้า หรีอสืลแปด เพี่อ ยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของตัวเอง ๒. คุกเข่าหรีอนั่งพับเพียบสบายๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้ กระทำแล้วในวันนี้ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณ งามความดีล้วนๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นี้วขึ้ขวา จรดหัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี ไม่สืนร่างกาย มากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตา พอสบายคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนี้อตาหรีอว่า แค่ เ^าแฮกในในIitnrwiinรย urahTStlninnilidwihi
ขมวดคิว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สิก ให้พร้อมทั้งกายและใจ ว่ากำลังจะเข้าไปส่ภาวะแห่งความ สงบสบายอย่างยิ่ง ๔. นึกกำหนดนิมิต เป็น\"ดวงแก้วกลมใส\"ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสสนิท ปราศจากราคี หรือรอยตำหนิใดๆ ขาวใส เย็นตา เย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรืยกว่า บริกรรมนิมิต นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิท อยู่ ณศูนย์กลางกายฐานที่ ๗นึกไปภาวนาไปอย่างพุ่นวล เป็นพุทธานุสติว่า \"สัมมาอะระห้ง\"หรือค่อยๆ น้อมนึกดวง แก้ว กลมใส ให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้ายู่ศูนย์กลางกายตามแนว ฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่หนึ่งเป็นต้นไป น้อมด้วยการ นึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ ก้บดำภาวนา อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงใส และกลมสนิทปรากฏแล้ว ณกลางกาย ให้ วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า นิมิตเป็นส่วนหนึ่งของ อารมณ์ หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึกเสียดาย ให้วาง อารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้น ไปปรากฏที่อึ่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป ไม่มืการบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความ ร้สีกคล้ายมืดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่งช้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิต ดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะ ปรับจนหยุดได้ถูกส่วน แล้วจากนั้นทุกอย่างจะค่อยๆ ปรากฏให้เห็นได้ ด้วยตนเอง เป็นภาวะของดวงกลม ที่ทั้งใสทั้งสว่างผดช้อนขึ้นมาจาก กึ่งกลางดวงนิมิต ตรงที่เราเอาใจใส่อย่างสมํ่าเสมอ น« ๑๔รร' นนะนำไ3รท1ผา91ฟั04|1น
} la ผรอ ดวงนี้เรียกว่า \"ดวงธรรม\" หรีอ \"ดวงปฐมมรรค\" อันเป็นประตู เบื้องต้น ที่จะเปิดไป^หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกนึกถึงนิมิต หรีอดวงปฐมมรรคสามารถทำไต้ในทุกแห่งทุกที ทุกอิริยาบถ เพราะดวง ธรรมนี้คือที่พึ่งอันเป็นที่สุดแล้วของมนุษย์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สมํ่าเสมอเป็นประจำ ทำ เรื่อยๆ ทำ อย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำ ไต้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น อันจะเป็น เครื่องสกัดกั้นใจมิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำให้ใจต้อง สูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้หมั่นตรึก ระลึกนึกถึงอยู่เสมอจนกระทั่งดวงปฐมมรรค กลายเป็นอันหนึ่งอันเดียว กับลมหายใจ หรีอนึกเมื่อใดเป็นเห็นไต้ทุกที อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิ Ufi. พ้พอกใฟ้โนเวพไฑิทยารย ®<JfO นนรปาไร]เทautSidiMXu
จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่บนเสันทางแห่งความสุข ความสำเร็จ และความไม่ ประมาทได้ตลอดไป ทังยังทำให้สมาธิละเอียดอ่อนก้าวหน้าไปเรื่อยๆ ได้ M a/ อกดวย ขั๐ควรระวัง ๑. อย่าให้กำลัง คึอไม่ใช้กำลังใดๆ ทั้งสิน เช่นไม่บีบกสัามเนื้อ ตา เพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกสัามเนื้อ หน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหน ของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไป ส่จดนั้น นท่ เจ้า*เอกไป้ใน?ใมห•ทิฑ{ทรย (ร)^® นนะาเา^รรกรนารเสัผ^
๒. อย่าอยากเห็น คือทำให้ใจเป็นกลาง ประคองสติมิให้เผลอ จากบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อ ใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิด ของดวงนิมิตนั้นอุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจเร่งเวลาได้ ฅ. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการสิก สมาธิวิธีนี้ อาด้ยการนึก \"อาโลกกสิณ\" คือกสิณความสว่าง เป็นบาทเบื้องด้น เมื่อเกิดนิมิตเป็นดวงสว่าง แล้วค่อย เจริญวิปัสสนาในภายหลัง จึงไม่มืความจำเป็นด้องกำหนด ลมหายใจเข้าออก แต่ประการใด ๕. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้วให้ด้งใจไว้ทีสูนย์กลางกายทีเดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอริยาบถใดก็ตาม เช่น ยืนก็ดี เดินก็ดี นอนก ดี หรือนั่งก็ดี อย่าย้ายฐานที่ตั้งจิตไปไว้ที่อึ่นเป็นอันขาด ให้ ตั้งใจบริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็นดวง แก้วใสควบคู่กันตลอดไป ๔. นิมิตต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกาย ทั้งหมด ถ้านิมิตที่เกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ด้องตามหา ให้ ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิต ย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก สำ หรับผู้ที่นับถึอพระพุทธศาสนาเพียงอาภรณ์ประดับกายหริอเพี่อ เป็นพิธีการชนิดหนึง หรือผู้ทีด้องการมืกสมาธิเพียงเพีอไหเกิดศวาม สบายใจจะได้เป็นการพักผ่อนหลังจากการปฏิบัติหน้าที่ภารกิจประจำว้น โดยไม่ปรารถนาจะทำให้ถึงที่สุดแห่งกองทุกข์ ยังคิดอยู่ว่าการอยู่กับ บุตรภรรยา การมิหน้ามืตาทางโลก การท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสาร เจ้า«0ทไ!!!Iฬ้วพฑิทยฟ้ย ๑orto นนะป้า'J5iliiB«i8iiSoo«น
เป็นสุขกว่าการเข้านิพพาน เสมือนทหารเกณฑ์ที่ไม่คิดจะเอาดีในราชการ ต่อไปอีกแล้ว การฝ็กสมาธิเบืองต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ก็พอเป็นปัจจัย ให้เกิดความสุขไต้พอสมควร เมื่อชักซ้อมปฏิบัติอยู่เสมอๆ ไม่ทอดทิ้ง จนไต้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หมั่นประคองรักษาดวงปฐมมรรคนั้นไว้ ตลอดชีวิต และอย่ากระท่าความชั่วอีก เป็นอันมั่นใจไต้ว่าถึงอย่างไรชาติ นี้ ก็พอมืที่พึ่งเกาะที่ดีพอควร คือเป็นหลักประกันไต้ว่าจะไม่ต้องตก นรกแล้วทั้งชาตินี้ และชาติต่อๆ ไป นด่..พ้1*อทไม้ใน10มพฑิtiuiSu tticihlSflnnnSiiSe^๒
เ500กี่ ๖: บณฑิ0ย่0บพกจิตไห้ผ่องใส โคย ธบ ชชฤร: ประโยชน์ของการฝึกสมาธิ P^§^lเล่าเรื่องการฝึกสมาธิมาหลายตอนแล้วก็ขอยืนยัน เหมือนเดิมุว่า ฝึกสมาธิก้นเถิดครับ เพราะสมาธิมี ประโยชน์มากมายดังนี้ Ufi เราครทไฟ้น'วนพพิแก8tJ ^ โtelข๗ฃfMrrrtHfiauiB
ประโยชนตอตนเอง ๑.๑ ด้านสุขภาพจิต - ส่งเส ให้คุณภาพของใจดีขึ้น คือ ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธิ้ สงบ เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย มีความจำ และสติปัญญาดีขึ้น - ส่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้คิดอะไรได้รวดเร็ว ถูกต้อง และเลือกคิดแต่ในสิงที่ดีเท่านั้น ๑.๒ ด้านฟัผนาบคลิกภาพ - จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับกระเฉงกระปรี้กระเปร่า มีความองอาจสง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส - มีความมั่นคงทางอารมณ์ หนักแน่น เยือกเย็น และ เชื่อมั่นในตนเอง - มีมนุษยสัมพันธ์ดี วางตัวได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เป็นผู้มีเสน่ห์ เพราะไม่มักโกรธ มีความเมตตากรุณา ต่อบุคคลทั่วไป ๑.ฅ ด้านรฺริดประจำวัน - ช่วยให้คลายเครียดเป็นเครื่องเสริมประสิทธิภาพในการ ทำ งาน และการคิกษาเส่าเรียน - ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะร่างกาย กับจิตใจย่อมมีอิทธิพลต่อกัน ถ้าจิตใจเข้มแข็ง ย่อม เป็นภูมิต้านทานโรคไปในตัว ๑.๔ ด้านสืลธรรมจรรยา Ufi. liifionlม้ไฬ้') ทิทขารย OirTwrtisecfrrtHnamS
- ย่อมเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ เชื่อกฎแห่งกรรม สามารถ คุ้มครองตนให้พ้นจากความชั่วทั้งหลายได้ เป็นผู้มี ความประพฤติดี เนื่องจากจิตใจดี ทำ ให้ความ ประพฤติทางกายและวาจาดีตามไปด้วย - ย่อมเป็นผู้มีความมักน้อย สันโดษ รักสงบและมีขันติ เป็นเลิศ - ย่อมเป็นผู้มีความเอื้อเพ้อเผื่อแผ่เห็นประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ย่อมเป็นผู้มีสัมมาคารวะ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ^รท. ประโยชนตอครอบครัว ๒.๑ ทำ ให้ครอบดรัวมีความสงบสุข เพราะสมาชิกในครอบครัว เห็นประโยชน์ของการประพฤติธรรม ทุกคนตั้งมั่นอยูในดีล ปกครองกันด้วยธรรม เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตาเด็ก ทุกค'แมีความรักใคร่สามัคคีเป็นนํ้าหนื่งใจเดียวกัน ๒.๒ ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญก้าวหน้า เพราะสมาชิกต่างก็ทำ หน้าที่ของตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอหนักแน่น เมื่อ มีปัญหาครอบครัวหรือมีอุปสรรคอันใด ย่อมร่วมใจกัน แกไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ๓. ประโยชน์ต่อสังคมและประเทคชาติ ฅ.๑ ทำ ให้สังคมสงบสุขปราศจากปัญหาอาชญากรรมและปัญหา สังคมอื่นๆ เพราะปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นในสังคม ไม่ว่าจะ เป็นปัญหาการฆ่า การข่มขืน โจรผู้ร้าย การทุจริตคอรัปชั่น Uli เจ้!ดอกไร่รใฬ้วนพ-ท็ทนาร้น oqfnl น1:1|]11ป้9อ«ทฟัท01ท3
ล้วนเกิดขึ้นมาจากคนที่ขาดคุณธรรมเป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอ หวั่นไหวต่ออำนาจสิงยั่วยวน หรือกิเลสได้ง่าย ผู้ที่ฝืก สมาธิย่อมมีจิตใจเข้มแข็ง มีคุณธรรมในใจสูง ถ้าแต่ละ คนในสังคมต่างฝ็กฝนอบรมใจของตนให้หนักแน่น มั่นคง ปัญหาเหล่านี้ก็จะไม่เกิดขึ้น ล่งผลให้สังคมสงบสุขได้ ฅ.๒ ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย และเกิดความประหยัด ผู้ที่ ฝึกใจให้ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อมเป็นผู้รัก ความมีระเบียบวินัย รักความสะอาด มีความเคารพ กฎหมายบ้านเมีอง ด้งนั้นบ้านเมืองเราก็จะสะอาดน่าอยู่ ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้นถนน จะข้ามถนนก็เฉพาะ ตรงทางข้าม เป็นด้น เป็นเหตุให้ประเทศชาติไม่ต้องสิน เปลืองงบประมาณ เวลา และกิาสังเจ้าหน้าที่ ที่จะไปไข้ สำ หรับแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่มีระเบียบวินัยของ ประชาซน ฅ.ฅ ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหน้า เมื่อสมาชิกในสังคมมีสุขภาพจิต ดี รักความเจริญก้าวหน้า มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ย่อมล่งผลให้สังคมเจริญก้าวหน้าตามไปด้วย และจะสละ ความสุขส่วนตน ให้ความร่วมมือกับส่วนรวมอย่างเต็มที่ และก้ามีผู้!ม่ประสงค์ดีต่อสังคม จะมายุแหย่ให้เกิดความ แตกแยก ก็จะไม่เป็นผลสำเร็จ เพราะสมาชิกในสังคมเป็น ผู้มีจิตใจหนักแน่น มีเหตุผล และเป็นผู้รักสงบ ๔. ประโยชน์(ท่อศาสนา ๔.๑ ทำ ให้เข้าใจพระพุทธสาสนาได้อย่างถูกต้อง และแงถึง นค่...พ้า«0กไ1!1น1ว«¥ทวิทนาสัน ฝาะโผเนรน^ทฬททแนาเร
คุณด่าของพระพุทธศาสนา รวมทั้งรู้เห็นด้วยตัวเองว่า การ ฝึกสมาธิไม่ใช่เรื่องเหลวไหล หากแต่เป็นวิธีเดียวที่จะทำให้ พ้นทุกข์เข้า^นิพพานได้ ๔.๒ ทำ ให้เกิดศรัทธาตั้งมั่นในพระรัตนตเยพร้อมที่จะเป็นทนาย แก้ต่างให้กับพระศาสนาอันจะเป็นกำลังสำคัญในการ เผยแผ่การปฏิบัติธรรมที่ถูกต้อง ให้แพร่หลายไปอย่าง กว้างขวาง ๔.ฅ เป็นการสิบอายุพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป เพราะตราบใดที่พุทธศาสนิกชนยังสนใจปฏิบัติธรรม เจริญ ภาวนาอยู่ พระพุทธศาสนาก็จะเจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น ๔.๔ จะเป็นกำลังส่งเสริมทะนุบำรุงศาสนา โดยเมื่อเข้าใจซาบชึ้ง ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติธรรมด้วยตนเองแล้ว ย่อมจะ ชักชวนผู้อึ่นให้ทำทาน รักษาดีล เจริญภาวนาตามไปด้วย และเมื่อใดที่ทุกคนในลังคมตั้งใจปฏิบัติธรรม ทำ ทาน รักษาสืล และเจริญภาวนา เมื่อนั้นย่อมเป็นที่หวังได้ว่า สันติสุขที่แท้จริงก็จะบังเกิดขื้นอย่างแน่นอน ทั้งหมดที่ผมเล่าถึงประโยชน์ของสมาธินี้ ก็เพียงเพี่ออยากให้คน อื่นๆได้ลองฝึกสมาธิสร้างความสงบจิตให้แกใจของตัวเราในแต่ละวันบ้าง เพราะนั่นเป็นการเข้าถึงความสุขง่ายๆ ที่ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายอะไร ให้แกใจ ของเราเอง นท่ เ?ารอกไ}!ใฬ้วมท■(พขารัย ร)ร^๙ ฟ่1ะใ1แ1ใ3«ช}ทท1ร(ไ1|}ท|!
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206