Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสวดมนต์วัดป่าอุดมธรรมมงคล

หนังสือสวดมนต์วัดป่าอุดมธรรมมงคล

Description: หนังสือสวดมนต์วัดป่าอุดมธรรมมงคล

Search

Read the Text Version

สัญญา อะนตั ตา สัญญาไม่ใช่ตัวตน สังขารา อะนตั ตา สังขารไมใ่ ชต่ ัวตน วญิ ญาณงั อะนัตตา วิญญาณไมใ่ ชต่ ัวตน สพั เพ สงั ขารา อะนจิ จา สังขารทัง้ หลายทั้งปวงไมเ่ ทย่ี ง สัพเพ ธมั มา อะนตั ตาต.ิ ธรรมทงั้ หลายทง้ั ปวง ไม่ใชต่ ัวตน, ดงั น้ี เต (ตา...ผูห้ ญงิ สวด) มะยัง โอตณิ ณามหî ะ พวกเราทงั้ หลาย เปน็ ผ้ถู กู ครอบง�ำแล้ว ชาติยา โดยความเกิด ชะรามะระเณนะ โดยความแก่และความตาย โสเกหิ ปะรเิ ทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนสั เสหิ อปุ ายาเสหิ โดยความโศกความรำ่� ไรร�ำพนั ความไมส่ บายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแคน้ ใจ ทั้งหลาย ทุกโขตณิ ณา เป็นผูถ้ กู ความทุกขห์ ยง่ั เอาแล้ว ทกุ ขะปะเรตา เป็นผมู้ คี วามทกุ ข์ เปน็ เบื้องหนา้ แลว้ อปั เปวะนามมิ ัสสะ เกวะลสั สะ ทุกขักขนั ธสั สะ อนั ตะกิริยา ปัญญาเยถาติ, ทำ� ไฉน การทำ� ท่สี ุดแหง่ กองทกุ ข์ทัง้ ส้นิ นี,้ จะพึงปรากฏชัดแกเ่ ราได้ 12

ส�ำหรับภิกษุ สามเณร สวด จิระปะรินพิ พตุ ัมปิ ตงั ภะคะวันตงั อุททิสสะ อะระหนั ตงั สัมมาสมั พุทธงั เราทง้ั หลาย อุทิศเฉพาะพระผู้มพี ระภาคเจ้า, ผู้ไกลจากกิเลส, ตรสั รชู้ อบไดโ้ ดยพระองค์เอง แม้ปรินพิ พานนานแล้ว พระองค์น้ัน สทั ธา อะคารสั มî า อะนะคารยิ งั ปพั พะชิตา เป็นผูม้ ศี รทั ธาออกบวชจากเรอื น, ไมเ่ กยี่ วขอ้ งดว้ ยเรอื นแลว้ ตัสîมิง ภะคะวะติ พรî หมî ะจะริยัง จะรามะ ประพฤตอิ ยซู่ ึง่ พรหมจรรย,์ ในพระผมู้ ีพระภาคเจ้า พระองคน์ นั้ ภิกขนู ัง (สามะเณรานงั ) สกิ ขาสาชีวะสะมาปันนา (อุบาสกวา่ ...อุปาสะกานัง อุบาสกิ าว่า...อุปาสิกานงั ) ถงึ พร้อมด้วยสกิ ขา, และธรรมเป็นเครื่องเลย้ี งชีวิตของภิกษุ (สามเณร, อุบาสก, อบุ าสิกา) ทงั้ หลาย ตงั โน พรî หมî ะจะริยงั อิมัสสะ เกวะลสั สะ ทกุ ขักขนั ธัสสะ อันตะกริ ยิ ายะ สงั วัตตะต.ุ ขอใหพ้ รหมจรรย์ของเราทั้งหลายนนั้ , จงเป็นไปเพ่ือการทำ� ทส่ี ุดแหง่ กองทกุ ข์ท้งั ส้นิ น้ี เทอญ. ส�ำหรบั คฤหสั ถ์สวด จิระปะรนิ ิพพุตมั ปิ ตัง ภะคะวนั ตัง สะระณงั คะตา เราทง้ั หลาย ผูถ้ ึงแล้วซ่ึงพระผมู้ พี ระภาคเจ้า แมป้ รินิพพานนานแล้ว พระองคน์ ้นั เป็นสรณะ ธัมมญั จะ ภกิ ขุสงั ฆญั จะ ถงึ พระธรรมด้วย ถึงพระสงฆ์ดว้ ย 13

ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนปุ ะฏิปัชชามะ จกั ท�ำในใจอยู่ ปฏบิ ตั ิตามอยู่ ซ่ึงคำ� สงั่ สอนของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ นนั้ ตามสตกิ �ำลงั สา สา โน ปะฏิปัตต ิ ขอใหก้ ารปฏบิ ัตนิ ้ัน ๆ ของเราทั้งหลาย อิมสั สะ เกวะลสั สะ ทุกขักขนั ธัสสะ อนั ตะกริ ิยายะ สงั วตั ตะต.ุ จงเป็นไปเพื่อการทำ� ที่สดุ แห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นน้ี เทอญ. (จบบทสวดมนต์ค�ำทำ� วตั รเชา้ ) สัจจกิรยิ าคาถา (ผนู้ ำ� สวดเพียงผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยัง สจั จะกิรยิ าคาถาโย ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราทงั้ หลายสวดคาถาอันตงั้ ความสตั ยเ์ ถดิ ) (สวดพร้อมกนั ) นตั ถิ เม สะระณงั อัญญงั พุทโธ เม สะระณงั วะรงั ที่พง่ึ อน่ื ของขา้ พเจ้าไมม่ ี, พระพุทธเจ้าเป็นทพี่ ึง่ อันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา. ดว้ ยการกลา่ วค�ำสตั ย์น,้ี ขอความสวสั ดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทกุ เมือ่ นัตถิ เม สะระณงั อัญญงั ธมั โม เม สะระณัง วะรงั ทพ่ี ่งึ อนื่ ของขา้ พเจ้าไมม่ ี, พระธรรมเปน็ ทีพ่ ่ึงอันประเสรฐิ ของขา้ พเจา้ เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สพั พะทา. ดว้ ยการกลา่ วค�ำสัตย์นี้, ขอความสวัสดจี งมีแก่ข้าพเจา้ ทกุ เมอื่ 14

นัตถิ เม สะระณัง อญั ญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรงั ทีพ่ ึง่ อน่ื ของข้าพเจ้าไม่ม,ี พระสงฆ์เป็นทพ่ี งึ่ อนั ประเสริฐของขา้ พเจา้ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา. ดว้ ยการกลา่ วคำ� สตั ยน์ ,ี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ขา้ พเจ้าทุกเมื่อ ธาตุปฏิกลู ปัจจเวกขณปาฐะ (ผู้นำ� สวดเพียงผูเ้ ดยี ว) หันทะ มะยัง ธาตุปะฏกิ ลู ะปจั จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงสวดบาลีเป็นเคร่ืองพิจารณาปัจจัย ๔ โดยความเป็น ธาตุปฏกิ ลู เถดิ ) (สวดพร้อมกัน) (ขณะรบั จวี ร) ยะถาปจั จะยัง ปะวัตตะมานงั ธาตมุ ัตตะเมเวตัง ส่ิงเหล่านน้ี ีเ่ ปน็ สกั วา่ ธาตุตามธรรมชาติเทา่ น้ัน ก�ำลังเปน็ ไป ตามเหตตุ ามปัจจัยอย่เู นอื งนจิ ยะทิทงั จวี ะรงั . ตะทุปะภุญชะโก จะ ปคุ คะโล สง่ิ เหล่านี้คอื จวี ร (อุบาสก-อบุ าสกิ า ว่า อาภรณ)์ , และคนผ้ใู ชส้ อยจีวร (อาภรณ)์ น้นั ธาตมุ ตั ตะโก เปน็ สักวา่ ธาตุตามธรรมชาติ นสิ สตั โต มิไดเ้ ปน็ สตั วะอันยั่งยืน นชิ ชีโว มิไดเ้ ปน็ ชีวะอันเปน็ บรุ ษุ บุคคล 15

สญุ โญ วา่ งเปล่าจากความหมายแห่งความเปน็ ตัวตน สัพพานิ ปะนะ อมิ านิ จีวะรานิ อะชิคจุ ฉะนยี านิ กจ็ ีวร (อาภรณ์) ท้ังหมดน้ี ไม่เป็นของนา่ เกลยี ดมาแต่เดิม อมิ ัง ปูติกายัง ปตั îวา ครัน้ มาถูกเข้ากบั กายอันเน่าอย่เู ปน็ นจิ นแ้ี ลว้ อะตวิ ยิ ะ ชิคจุ ฉะนยี านิ ชายันต.ิ ย่อมกลายเปน็ ของนา่ เกลียดอย่างย่ิงไปด้วยกัน (ขณะรบั บิณฑบาต) ยะถาปจั จะยงั ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตัง ส่งิ เหล่านี้นี่เปน็ สกั วา่ ธาตตุ ามธรรมชาตเิ ท่านั้น กำ� ลังเปน็ ไป ตามเหตตุ ามปัจจัยอย่เู นอื งนิจ ยะททิ ัง ปณิ ฑะปาโต ตะทปุ ะภุญชะโก จะ ปุคคะโล สิง่ เหล่านค้ี อื บิณฑบาต (อาหาร), และคนผบู้ รโิ ภคบิณฑบาต (อาหาร) น้นั ธาตมุ ตั ตะโก เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ นสิ สัตโต มไิ ดเ้ ปน็ สัตวะอนั ยัง่ ยนื นิชชโี ว มไิ ดเ้ ปน็ ชีวะอนั เปน็ บรุ ษุ บุคคล สญุ โญ ว่างเปลา่ จากความหมายแหง่ ความเป็นตัวตน สพั โพ ปะนายงั ปิณฑะปาโต อะชคิ ุจฉะนโี ย กบ็ ิณฑบาต (อาหาร) ทงั้ หมดน้ี ไม่เปน็ ของน่าเกลยี ดมาแตเ่ ดมิ 16

อิมัง ปตู กิ ายัง ปตั îวา คร้นั มาถูกเข้ากับกายอนั เน่าอย่เู ป็นนิจนีแ้ ลว้ อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนโี ย ชายะต.ิ ยอ่ มกลายเป็นของน่าเกลยี ดอยา่ งยิง่ ไปด้วยกนั (ขณะรับเสนาสนะ) ยะถาปจั จะยัง ปะวตั ตะมานัง ธาตมุ ตั ตะเมเวตัง ส่งิ เหล่านีน้ เ่ี ป็นสกั ว่าธาตุตามธรรมชาตเิ ทา่ นน้ั ก�ำลงั เปน็ ไป ตามเหตตุ ามปจั จัยอยู่เนืองนจิ ยะทิทงั เสนาสะนัง ตะทปุ ะภญุ ชะโก จะ ปคุ คะโล สง่ิ เหลา่ นค้ี ือเสนาสนะ, และคนผใู้ ช้สอยเสนาสนะน้ัน ธาตุมัตตะโก เป็นสกั ว่าธาตุตามธรรมชาติ นสิ สตั โต มไิ ด้เปน็ สัตวะอันยง่ั ยนื นิชชโี ว มไิ ด้เป็นชวี ะอนั เป็นบุรษุ บคุ คล สุญโญ วา่ งเปล่าจากความหมายแหง่ ความเป็นตวั ตน สัพพานิ ปะนะ อมิ านิ เสนาสะนานิ อะชคิ จุ ฉะนียานิ กเ็ สนาสนะท้งั หมดน,้ี ไม่เป็นของน่าเกลยี ดมาแตเ่ ดิม อมิ ัง ปูตกิ ายงั ปัตวî า ครัน้ มาถกู เข้ากับกายอนั เน่าอยู่เป็นนิจนีแ้ ลว้ อะติวยิ ะ ชคิ จุ ฉะนียานิ ชายันต.ิ ยอ่ มกลายเป็นของนา่ เกลยี ดอยา่ งย่งิ ไปด้วยกัน 17

(ขณะรบั คิลานเภสชั ) ยะถาปจั จะยงั ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตงั สิ่งเหลา่ นนี้ เี่ ป็นสักวา่ ธาตตุ ามธรรมชาติเท่านน้ั ก�ำลังเปน็ ไป ตามเหตตุ ามปัจจัยอย่เู นืองนจิ ยะทิทงั คลิ านะปจั จะยะเภสชั ชะปะรกิ ขาโร ตะทปุ ะภุญชะโก จะ ปคุ คะโล สิง่ เหลา่ นี้คือคลิ านะเภสัชบริขารอันเก้ือกูลแก่คนไข,้ และคนผบู้ ริโภคเภสัชบรขิ ารนน้ั ธาตมุ ัตตะโก เป็นสกั ว่าธาตุตามธรรมชาติ นสิ สัตโต มิไดเ้ ป็นสตั วะอนั ยั่งยนื นชิ ชโี ว มไิ ดเ้ ป็นชีวะอนั เป็นบุรุษบคุ คล สญุ โญ วา่ งเปล่าจากความหมายแห่งความเปน็ ตัวตน สพั โพ ปะนายัง คลิ านะปัจจะยะเภสัชชะปะรกิ ขาโร อะชิคจุ ฉะนโี ย กค็ ลิ านะเภสัชบรขิ ารทั้งหมดนี้, ไมเ่ ป็นของนา่ เกลยี ดมาแตเ่ ดิม อิมัง ปตู กิ ายัง ปัตîวา คร้นั มาถกู เข้ากับกายอนั เน่าอยเู่ ป็นนิจน้ีแล้ว อะตวิ ิยะ ชคิ ุจฉะนโี ย ชายะต.ิ ย่อมกลายเปน็ ของนา่ เกลยี ดอย่างยงิ่ ไปดว้ ยกนั 18

ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ (ผู้น�ำสวดเพยี งผู้เดยี ว) หนั ทะ มะยงั ตังขะณิกะปจั จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราทงั้ หลาย จงสวดบาลเี ปน็ เครอ่ื งพจิ ารณาเฉพาะปจั จยั ๔ ในขณะนเี้ ถดิ ) (สวดพร้อมกัน) (ขณะใช้สอยจวี ร) ปะฏสิ ังขา โยนิโส จีวะรงั ปะฏเิ สวาม ิ เรายอ่ มพิจารณาโดยแยบคายแลว้ นงุ่ ห่มจวี ร (อุบาสก-อบุ าสิกา ว่า “อาภรณ”์ ) ยาวะเทวะ สตี ัสสะ ปะฏฆิ าตายะ เพียงเพอื่ บำ� บดั ความหนาว อุณหî สั สะ ปะฏฆิ าตายะ เพื่อบ�ำบัดความรอ้ น ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผัสสานัง ปะฏฆิ าตายะ เพือ่ บ�ำบัดสมั ผัสอันเกิดจาก เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเ์ ล้อื ยคลาน ทั้งหลาย ยาวะเทวะ หริ โิ กปนิ ะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพียงเพือ่ ปกปดิ อวยั วะอนั ให้เกิดความละอาย (ขณะบรโิ ภคบณิ ฑบาต) ปะฏิสงั ขา โยนโิ ส ปิณฑะปาตงั ปะฏเิ สวามิ เรายอ่ มพจิ ารณาโดยแยบคายแล้วบริโภคบณิ ฑบาต (อาหาร) เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มณั ฑะนายะ นะ วิภสู ะนายะ ไมใ่ ช่เปน็ ไปเพอ่ื ความเพลิดเพลินสนุกสนาน, ไม่ใชเ่ ป็นไปเพอื่ ความเมามันเกดิ กำ� ลงั พลังทางกาย ไม่ใชเ่ ป็นไปเพ่ือประดบั , ไม่ใชเ่ ปน็ ไปเพอื่ ตกแตง่ 19

ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายสั สะ ฐติ ิยา ยาปะนายะ วหิ ิงสปุ ะระตยิ า พîรหîมะจะริยานคุ คะหายะ แตใ่ ห้เป็นไปเพยี งเพอ่ื ความต้งั อย่ไู ด้แหง่ กายน้ี, เพ่อื ความเป็นไปไดข้ องอัตภาพ, เพอ่ื ความส้นิ ไปแหง่ ความล�ำบากทางกาย, เพือ่ อนเุ คราะหแ์ กก่ ารประพฤตพิ รหมจรรย์ อิติ ปุราณญั จะ เวทะนงั ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนงั นะ อุปปาเทสสามิ ด้วยการท�ำอย่างนี,้ เรายอ่ มระงบั เสยี ไดซ้ งึ่ ทกุ ขเวทนาเก่า คอื ความหวิ , และไม่ท�ำทกุ ขเวทนาใหมใ่ ห้เกิดขนึ้ ยาตîรา จะ เม ภะวสิ สะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสวุ ิหาโร จาต.ิ อนง่ึ ความเป็นไปโดยสะดวกแหง่ อัตภาพนดี้ ้วย, ความเปน็ ผู้หาโทษมิไดด้ ้วย, และความเปน็ อยโู่ ดยผาสุกดว้ ย, จกั มีแก่เรา, ดังน้ี (ขณะใช้สอยเสนาสนะ) ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนงั ปะฏเิ สวามิ เราย่อมพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ ใชส้ อยเสนาสนะ ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพียงเพ่อื บำ� บดั ความหนาว อณุ îหัสสะ ปะฏฆิ าตายะ เพ่อื บำ� บดั ความร้อน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผสั สานัง ปะฏิฆาตายะ เพื่อบ�ำบัดสมั ผัสอนั เกิดจาก เหลอื บ ยุง ลม แดด และสตั วเ์ ลอ้ื ยคลานท้งั หลาย ยาวะเทวะ อตุ ปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏสิ ลั ลานารามัตถัง. เพียงเพื่อบรรเทาอันตราย อันจะพึงมจี ากดินฟ้าอากาศ และเพอื่ ความเปน็ ผยู้ ินดีอยไู่ ด้ในทหี่ ลีกเรน้ สำ� หรบั ภาวนา 20

(ขณะบรโิ ภคคิลานเภสัช) ปะฏสิ ังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะรกิ ขารงั ปะฏเิ สวามิ เรายอ่ มพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ บรโิ ภคเภสชั บริขารอันเกอ้ื กูลแก่คนไข้ ยาวะเทวะ อปุ ปันนานงั เวยยาพาธิกานัง เวทะนานงั ปะฏิฆาตายะ เพยี งเพื่อบ�ำบัดทกุ ขเวทนา อนั บังเกดิ ขน้ึ แล้วมอี าพาธต่าง ๆ เป็นมูล อพั ยî าปัชฌะปะระมะตายาติ. เพือ่ ความเปน็ ผู้ไมม่ โี รคเบียดเบยี นเป็นอยา่ งยงิ่ ดังนี้ อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ (ผู้นำ� สวดเพยี งผู้เดยี ว) หันทะ มะยัง อะภณิ îหะปัจจะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราท้งั หลายจงทำ� การพจิ ารณาเนือง ๆ ถึงความเปน็ ไปดังนเ้ี ถิด) (สวดพรอ้ มกัน) ชะราธัมโมมหî ิ (มามîห.ิ ..ผ้หู ญิงสวด) ชะรัง อะนะตโี ต (อะนะตตี า...ผหู้ ญงิ สวด) เรามคี วามแก่เปน็ ธรรมดา จะลว่ งพ้นความแก่ไปไมไ่ ด้ พยî าธธิ ัมโมมหî ิ (มามหî ิ) พยî าธงิ อะนะตโี ต (อะนะตีตา) เรามคี วามเจบ็ ไขเ้ ปน็ ธรรมดา จะลว่ งพ้นความเจ็บไข้ไปไมไ่ ด้ มะระณะธมั โมมหî ิ (มามหî )ิ มะระณัง อะนะตีโต (อะนะตตี า) เรามีความตายเป็นธรรมดา จะลว่ งพ้นความตายไปไม่ได้ สัพเพหิ เม ปเิ ยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วนิ าภาโว เราจะละเว้นเปน็ ตา่ ง ๆ, คอื ว่าจะตอ้ งพลดั พรากจากของรักของเจรญิ ใจ ท้ังส้ินไป กมั มสั สะโกมหî ิ (กามหî ิ) กัมมะทายาโท (ทา) กมั มะโยนิ กมั มะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ (ณา) เรามกี รรมเป็นของ ๆ ตน, มกี รรมเปน็ ผ้ใู ห้ผล, มีกรรมเป็นแดนเกิด, มกี รรมเป็นผตู้ ดิ ตาม, มีกรรมเปน็ ทพี่ ึ่งอาศัย 21

ยงั กมั มงั กะรสิ สามิ กลั ๎ยาณัง วา ปาปะกงั วา ตัสสะ ทายาโท (ทา) ภะวสิ สามิ เราจกั ท�ำกรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรอื เป็นบาป, เราจักเป็นทายาท, คือวา่ จักตอ้ งได้รบั ผลของกรรมนนั้ สบื ไป เอวงั อมั ๎เหหิ อะภณิ ห๎ งั ปัจจะเวกขติ พั พงั . เราท้งั หลาย ควรพจิ ารณาอย่างนี้ ทุกวนั ๆ เถิด กายคตาสตภิ าวนาปาฐะ (ผนู้ ำ� สวดเพยี งผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยัง กายะคะตาสะตภิ าวนาปาฐงั ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราทัง้ หลายจงสวดคาถาเจริญสติอันเป็นไปในกายเถิด) (สวดพรอ้ มกัน) กายของเรานี้แล อะยงั โข เม กาโย เบ้อื งบนแต่พื้นเทา้ ขึ้นมา อุทธงั ปาทะตะลา เบอื้ งต่�ำแตป่ ลายผมลงไป อะโธ เกสะมตั ถะกา มหี นงั หุ้มอยเู่ ปน็ ทีส่ ุดรอบ ตะจะปะริยันโต เต็มไปดว้ ยของไมส่ ะอาดมีประการต่าง ๆ ปูโร นานปั ปะการสั สะ อะสุจโิ น มอี ยใู่ นกายนี้ อตั ถิ อิมสั ๎มงิ กาเย คือผมท้ังหลาย เกสา คอื ขนท้ังหลาย โลมา คอื เล็บทัง้ หลาย นะขา คอื ฟนั ทั้งหลาย ทันตา คือหนัง ตะโจ คือเนือ้ มังสัง 22

นะหารู คือเอน็ ทงั้ หลาย อัฏฐี คือกระดกู ทง้ั หลาย อัฏฐิมิญชัง คอื เยื่อในกระดกู วกั กัง คือม้าม หะทะยัง คอื หัวใจ ยะกะนงั คือตับ กิโลมะกงั คอื พงั ผดื ปหิ ะกัง คอื ไต ปปั ผาสัง คอื ปอด อนั ตัง คือไสใ้ หญ่ อนั ตะคณุ ัง คอื ไสน้ อ้ ย อทุ ะริยัง คืออาหารใหม่ กะรีสงั คอื อาหารเกา่ มตั ถะเก มัตถะลงุ คัง คือเยอ่ื ในสมองศรี ษะ ปติ ตงั คอื น�้ำดี เสมหัง คอื นำ้� เสลด ปพุ โพ คอื นำ้� เหลือง โลหิตัง คือน�้ำเลือด เสโท คือนำ้� เหง่อื เมโท คอื น�้ำมนั ขน้ อัสสุ คอื น�้ำตา วะสา คอื น�้ำมนั เหลว เขโฬ คือน�ำ้ ลาย สงิ ฆาณกิ า คอื น้�ำมูก ละสิกา คอื น้�ำไขข้อ มตุ ตงั คอื นำ้� มตู ร 23

เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานี้อยา่ งนี้ อุทธัง ปาทะตะลา เบอื้ งบนแต่พน้ื เท้าขึ้นมา อะโธ เกสะมัตถะกา เบ้อื งต�ำ่ แต่ปลายผมลงไป ตะจะปะรยิ ันโต มีหนังหมุ้ อยเู่ ป็นทส่ี ุดรอบ ปโู ร นานปั ปะการัสสะ อะสจุ ิโนต.ิ เต็มไปด้วยของไมส่ ะอาด มีประการตา่ ง ๆ อย่างนแี้ ล พรหมวิหาระผรณะปาฐะ (ผูน้ �ำสวดเพียงผูเ้ ดยี ว) หนั ทะ มะยัง พรî หมî ะวิหาระผะระณะปาฐัง ภะณามะ เส. (เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย จงสวดแผธ่ รรมอนั เป็นเครือ่ งอยขู่ องพรหม เถดิ ) (สวดพรอ้ มกนั ) (ค�ำแผเ่ มตตาตนเอง) อะหงั สุขโิ ต โหมิ ขอใหข้ า้ พเจา้ จงมีความสุข นิททุกโข โหมิ ขอใหข้ า้ พเจ้าจงปราศจากทุกข์ อะเวโร โหมิ ขอใหข้ า้ พเจา้ จงปราศจากเวร อัพîยาปชั โฌ โหมิ ขอใหข้ ้าพเจา้ จงปราศจากความลำ� บาก อะนีโฆ โหมิ ขอให้ขา้ พเจา้ จงปราศจากอุปสรรคขัดขอ้ ง สขุ ี อตั ตานัง ปะริหะรามิ รักษาตนให้มีความสุขเถดิ (คำ� แผเ่ มตตาสตั วท์ ้ังหลาย) สัพเพ สตั ตา สุขิตา โหนตุ ขอปวงสตั วท์ งั้ หลาย, จงเปน็ ผมู้ ีความสุขเถิด สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ ขอปวงสัตว์ทง้ั หลาย, จงเป็นผู้ไม่มเี วรเถดิ 24

สพั เพ สัตตา อพั îยาปชั ฌา โหนต ุ ขอปวงสัตวท์ ัง้ หลาย, จงเปน็ ผ้ไู มเ่ บียดเบียนกนั เถิด สัพเพ สตั ตา อะนฆี า โหนตุ ขอปวงสตั ว์ทงั้ หลาย, จงเปน็ ผู้ไมม่ ีทกุ ขก์ ายทกุ ข์ใจเถดิ สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานงั ปะรหิ ะรันต ุ ขอปวงสตั วท์ ้งั หลาย, จงเป็นผมู้ ีสขุ รกั ษาตนเถดิ (ค�ำแผ่กรุณาสัตวท์ ั้งหลาย) สัพเพ สตั ตา สัพพะทุกขา ปะมุจจันต ุ ขอปวงสัตวท์ ัง้ หลาย, จงพ้นจากความทกุ ข์ทั้งปวงเถิด (ค�ำแผม่ ุทิตาสตั วท์ ัง้ หลาย) สพั เพ สัตตา มา ลทั ธะสัมปัตตโิ ต วคิ จั ฉันตุ ขอปวงสัตวท์ ้ังหลาย, จงอย่าไปปราศจากสมบัตอิ ันตนได้แล้วเถิด (ค�ำแผอ่ ุเบกขาสัตวท์ ั้งหลาย) สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา ปวงสตั วท์ งั้ หลาย, เปน็ ผมู้ ีกรรมเป็นของ ๆ ตน กมั มะทายาทา เป็นผู้รับผลของกรรม กมั มะโยนี เปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ กำ� เนดิ กมั มะพันธู เปน็ ผู้มกี รรมเป็นเผา่ พนั ธ์ุ กัมมะปะฏิสะระณา เปน็ ผู้มกี รรมเป็นทพ่ี ึ่งอาศัย ยงั กมั มัง กะริสสันติ จักท�ำกรรมอนั ใดไว้ กัลยî าณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรอื ช่ัว ตสั สะ ทายาทา ภะวสิ สันต.ิ จกั เปน็ ผรู้ บั ผลของกรรมนัน้ 25

คำ� เจรญิ กมั มัฏฐานภาวนา (สวดพรอ้ มกัน) บชู าพระรตั นตรัยอดุ ม ขา้ พเจ้าจกั เจริญกัมมฏั ฐานภาวนา บ�ำเพญ็ อทิ ธบิ าททัง้ สี่ สั่งสมทสบารมธี รรม สังหารนิวรณ์ห้าให้หาย บม่ อินทรีย์ให้แกโ่ ดยกาล สริ ิรวมสุขเอกัคตา สบื สายวติ กวิจารณป์ ีติ พรอ้ มด้วยวสที ัง้ ห้า ต่อมาใหถ้ ึงฌานสี่ ล้างธุลีกิเลสใหส้ ูญ เจริญมรรคาพระอริยะสมงั คี หา่ งไกลสงั โยชน์ท้ังปวง ตดั มลู อาสวะอนสุ ยั ขอคณุ พระรัตนตรัย ลว่ งถงึ ประโยชนย์ ่ิงใหญ่ คุณบิดามารดาครูบาอาจารย์ คณุ ไท้อธิราชเทวา จงมาเปน็ ทีพ่ ง่ึ แก่ขา้ พเจ้า คณุ ความดที ุกประการ ท�ำลายมารหา้ ใหพ้ ินาศ บรรเทาทกุ ข์ร้อนให้เหือดหาย เกษมสันต์ประสบส่ิงเสมอใจ ปราศจากภยนั ตรายนิรนั ดร์ ณ กาลบดั น้ี เทอญ สมดงั ความมุง่ หมาย ติโลกวิชยะราชปัตติทานคาถา (กรวดน้�ำ ยังกญิ จ)ิ ยงั กิญจิ กสุ ะลัง กัมมงั กตั ตพั พัง กริ ยิ งั มะมะ กาเยนะ วาจามะนะสา ติทะเส สุคะตัง กะตัง เย สตั ตา สัญญโิ น อตั ถ ิ เย จะ สัตตา อะสญั ญิโน กะตงั ปุญญะผะลัง มัยหงั สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต เย ตงั กะตงั สวุ ิทิตัง ทนิ นงั ปญุ ญะผะลงั มะยา เย จะ ตตั ถะ นะ ชานนั ติ เทวา คันตวî า นิเวทะยุง สัพเพ โลกมั หิ เย สตั ตา ชวี ันตาหาระเหตกุ า มะนุญญัง โภชะนัง สัพเพ ละภนั ตุ มะมะ เจตะสาติ. 26

กรวดน้�ำอมิ นิ า (นำ� ) หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ (รบั ) อมิ นิ า ปุญญะกมั เมนะ อปุ ชั ฌายา คุณตุ ตะรา อาจะริยปู ะการา จะ มาตาปติ า จะ ญาตะกา (ปยิ า มะมัง) สรุ โิ ย จนั ทิมา ราชา คณุ ะวันตา นะราปิ จะ พรหั มะมารา จะ อินทา จะ๑ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มชั ฌตั ตา เวริกาปิ จะ สพั เพ สัตตา สขุ ี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สขุ งั จะ ตวิ ิธงั เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ อิมินา ปญุ ญะกมั เมนะ อิมนิ า อทุ ทิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตณั หุปาทานะเฉทะนงั เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมงั นสั สนั ตุ สพั พะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว อุชุจิตตงั สะติปัญญา สัลเลโข วริ ยิ มั หินา มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิรเิ ยสุ เม พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธมั โม นาโถ วะรุตตะโม นาโถ ปจั เจกะพุทโธ จะ สงั โฆ นาโถตตะโร มะมัง เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสงั ละภันตุ มา ฯ ๑. บางแหง่ วา่ จะตุ 27

สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน�้ำอุทศิ ส่วนบุญ) (ผู้นำ� สวดเพียงผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยงั สพั พะปัตตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลายจงสวดคาถาแผส่ ว่ นบญุ ทั้งปวงกันเถิด) (สวดพรอ้ มกนั ) ปญุ ญสั สทิ านิ กะตสั สะ ยานัญญานิ กะตานิ เม, เตสญั จะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา, เย ปิยา คณุ ะวันตา จะ มัยหัง มาตาปติ าทะโย ขอสตั ว์ทง้ั หลาย ไมม่ ที ่ีสุด ไมม่ ีประมาณ, จงเปน็ ผู้มีสว่ นแหง่ บญุ ทีข่ า้ พเจา้ ไดท้ �ำในบดั น,้ี และแหง่ บญุ ทั้งหลายอื่นทีข่ ้าพเจ้าได้ทำ� แล้ว, คอื ชนเหลา่ ใดเป็นทีร่ กั , ผมู้ ีคุณ, มีมารดาและบิดาของขา้ พเจา้ เปน็ ตน้ ทิฏฐา เม จาปยî ะทฏิ ฐา วา อญั เญ มชั ฌัตตะเวริโน ทขี่ า้ พเจ้าไดเ้ ห็นหรือแม้ไม่ไดเ้ ห็น, และสัตวท์ ัง้ หลายอืน่ ท่ีเปน็ กลาง สตั ตา ติฏฐนั ติ โลกสั มî งิ เต ภุมมา จะตุโยนิกา และมีเวรกันตั้งอยู่ในโลก, เกดิ ในภมู ิ ๓ เกดิ ในกำ� เนิด ๔ ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว มขี นั ธ์ ๕ ขนั ธ์ ๑ และขันธ์ ๔, ท่องเท่ยี วอยู่ในภพน้อยและภพใหญ่ ญาตงั เย ปัตตทิ านัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยงั สัตว์เหลา่ ใด ทราบการให้ส่วนบญุ ของขา้ พเจ้าแลว้ , ขอสัตว์เหล่าน้ัน จงอนโุ มทนาเองเถดิ เย จิมงั นปั ปะชานนั ติ เทวา เตสัง นเิ วทะยุง กส็ ัตวเ์ หล่าใด ย่อมไมท่ ราบการให้สว่ นบญุ ของขา้ พเจา้ นี้, ขอเทพทง้ั หลายพงึ แจง้ แก่สตั วเ์ หล่านั้น 28

มะยา ทินนานะ ปญุ ญาณงั อะนุโมทะนะเหตนุ า เพราะเหตุคืออนุโมทนาบุญท้ังหลายทข่ี ้าพเจ้าให้แลว้ สัพเพ สตั ตา สะทา โหนตุ อะเวรา สขุ ะชวี โิ น, ขอสตั ว์ทัง้ ปวง, จงอยา่ มีเวร, อยูเ่ ปน็ สขุ เถิด เขมปั ปะทญั จะ ปัปโปนตุ, เตสาสา สชิ ฌะตัง สุภา. และจงถึงทางอันเกษมเถดิ , ขอความหวังอนั ดขี องสัตวเ์ หล่านนั้ , จงสำ� เรจ็ เทอญฯ สังเขปปัตติทานคาถา (ผูน้ �ำสวดเพียงผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยัง สงั เขปะปตั ตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลายจงสวดคาถาแผส่ ว่ นบญุ โดยย่อกันเถดิ ) (สวดพร้อมกนั ) สัพเพ สตั ตา สะทา โหนต,ุ อะเวรา สขุ ะชวี โิ น, ขอปวงสัตวท์ งั้ หลาย, จงเป็นผู้ไม่มีเวรตอ่ กนั , เป็นผ้ดู �ำรงชพี อยูเ่ ป็นสขุ ทกุ เมือ่ เถิด กะตงั ปญุ ญงั ผะลงั มัยหัง, สพั เพ ภาคี ภะวันตุ เต. ขอปวงสตั ว์ทั้งสนิ้ นนั้ , จงเป็นผู้มสี ่วนไดเ้ สวยผลบุญ, ทีข่ า้ พเจ้าไดบ้ ำ� เพ็ญมาแลว้ น้นั เทอญ. 29

บทสวดมนต์ท�ำวตั รเยน็ แปล คำ� บูชาพระรัตนตรัย (ผู้น�ำ จุดเทียน ธูป บุรุษ พึงน่ังกระโหย่ง-ท่าเทพบุตร สตรี พึงนั่งท่าเทพธิดา แล้วกราบ ๓ คร้งั พรอ้ มกนั , สวดตามผ้นู ำ� ทีละวรรค ดังนี)้ พุทธะปูชา มะหาเตชะวันโต ธมั มะปูชา มะหปั ปัญโญ สงั ฆะปชู า มะหาโภคะวะโห สิทธชิ โย สทิ ธลิ าโภ สทิ ธสิ โุ ข ภะวันตุ เม. (สวดพรอ้ มกัน) (กราบ) อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, (กราบ) (กราบ) พระผ้มู พี ระภาคเจ้า, เป็นพระอรหนั ต*์ ดบั เพลิงกเิ ลสเพลงิ ทุกขส์ ้ินเชิง, ตรสั รชู้ อบได้โดยพระองคเ์ อง พทุ ธัง ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ. ขา้ พเจา้ อภวิ าทพระผูม้ พี ระภาคเจา้ , ผ้รู ู้ ผตู้ นื่ ผู้เบิกบาน สวî ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมเปน็ ธรรมท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไวด้ แี ลว้ ธัมมัง นะมัสสาม.ิ ขา้ พเจา้ นมัสการพระธรรม สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเจา้ , ปฏิบัติดแี ล้ว สงั ฆงั นะมามิ. ขา้ พเจา้ นอบนอ้ มพระสงฆ ์ ออกเสยี งว่า อะ-ระ-หัน 30

(ผนู้ �ำกล่าวบชู าเพียงผเู้ ดยี ว) ยะมมั หะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณงั คะตา, อทุ ทสิ สะ ปัพพะชติ า โย โน ภะคะวา สัตถา, ยสั สะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธมั มงั โรเจมะ, อิเมหิ สกั กาเรหิ ตัง ภะคะวนั ตงั สะสทั ธัมมัง สะสาวะกะสงั ฆงั อะภปิ ชู ะยามะ. (เราเป็นผู้ถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด เป็นสรณะ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด เป็นศาสดาของเรา และเราย่อมชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองคใ์ ด เราตง้ั ใจบชู า ซงึ่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั พรอ้ มทง้ั พระสทั ธรรม พร้อมท้ังพระสงฆ์สาวก ดว้ ยเคร่อื งสักการะเหลา่ นี.้ ) ปุพพภาคนมการ (ผู้นำ� สวดเพียงผู้เดยี ว) หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวนั ตงั วาจายะ อะภคิ ายติ ุง ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. (บัดนี้ เชิญเถิด เราจงท�ำการนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าอันเป็นส่วนเบื้องต้น เพ่ือขบั สรรเสรญิ ด้วยวาจาเถิด) (สวดพรอ้ มกนั ) ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระผูม้ ีพระภาคเจ้า พระองคน์ น้ั นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ซึ่งเปน็ ผู้ไกลจากกิเลส อะระหะโต ตรสั ร้ชู อบได้โดยพระองคเ์ อง สมั มาสัมพุทธัสสะ (๓ ครง้ั ) 31

พุทธานสุ สติ (ผู้น�ำสวดเพียงผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยงั พุทธานสุ สะตนิ ะยงั กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำ� ซ่ึงความตามระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจ้าเถิด) (สวดพร้อมกนั ) ตัง โข ปะนะ ภะคะวนั ตงั เอวัง กัลยî าโณ กติ ติสทั โท อัพภคุ คะโต ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ได้ฟ้งุ ไปแล้วอย่างนี้วา่ อติ ิปิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ, พระผมู้ ีพระภาคเจา้ นั้น อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกเิ ลส สมั มาสัมพุทโธ เปน็ ผ้ตู รสั รูช้ อบได้โดยพระองค์เอง วิชชาจะระณะสมั ปันโน เปน็ ผถู้ งึ พร้อมดว้ ยวชิ ชาและจรณะ สคุ ะโต เป็นผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี โลกะวทิ ู เปน็ ผรู้ ู้โลกอยา่ งแจม่ แจ้ง อะนุตตะโร ปรุ ิสะทัมมะสาระถิ เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มี ใครยง่ิ กว่า สัตถา เทวะมะนุสสานงั เปน็ ครูผู้สอนของเทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย พุทโธ เปน็ ผูร้ ู้ ผู้ต่ืน ผูเ้ บกิ บานด้วยธรรม ภะคะวาต.ิ เป็นผู้มีความจ�ำเริญจ�ำแนกธรรมส่ังสอนสัตว์ ดงั นี้ 32

พทุ ธาภคิ ตี ิ (ผนู้ ำ� สวดเพยี งผู้เดียว) หนั ทะ มะยงั พทุ ธาภคิ ีตงิ กะโรมะ เส. (เชิญเถดิ เราทัง้ หลาย ทำ� ความขบั คาถาพรรณนาเฉพาะพระพุทธเจา้ เถดิ ) (สวดพรอ้ มกนั ) พทุ ธîวาระหนั ตะวะระตาทิคุณาภิยตุ โต พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ, มคี วามประเสริฐแหง่ อรหนั ตคุณ เป็นต้น สทุ ธาภิญาณะกะรณุ าหิ สะมาคะตัตโต มีพระองคอ์ นั ประกอบดว้ ยพระญาณ, และพระกรุณาอนั บริสุทธิ์ โพเธสิ โย สชุ ะนะตัง กะมะลังวะ สูโร พระองค์ใดทรงกระทำ� ชนท่ีดใี หเ้ บกิ บาน, ดจุ อาทติ ย์ท�ำบัวให้บาน วนั ทามะหัง ตะมะระณัง สริ ะสา ชเิ นนทงั ข้าพเจา้ ไหว้พระชินสหี ,์ ผไู้ มม่ กี เิ ลส พระองคน์ ้ัน, ด้วยเศยี รเกล้า พทุ โธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณงั เขมะมุตตะมัง พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด, เป็นสรณะอนั เกษมสงู สุดของสตั วท์ ้งั หลาย ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหัง ข้าพเจา้ ไหว้พระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ั้น, อันเป็นท่ตี ง้ั แหง่ ความระลกึ องค์ทหี่ น่งึ , ด้วยเศยี รเกล้า พุทธัสสาหสั มî ิ ทาโส (ทาสี...ผู้หญงิ สวด) วะ, พุทโธ เม สามกิ สิ สะโร ขา้ พเจา้ เปน็ ทาสของพระพทุ ธเจา้ , พระพทุ ธเจา้ เปน็ นายมอี สิ ระเหนอื ขา้ พเจา้ 33

พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม พระพทุ ธเจา้ เปน็ เครื่องกำ� จัดทุกข์, และทรงไวซ้ ึง่ ประโยชนแ์ ก่ขา้ พเจ้า พุทธัสสาหงั นยิ ยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ิตญั จทิ ัง ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวติ น้ี แดพ่ ระพุทธเจ้า วันทันโตหัง (ตีหัง...ผหู้ ญงิ สวด) จะรสิ สามิ พทุ ธสั เสวะ สุโพธิตงั ขา้ พเจ้าผไู้ หวอ้ ย่จู ักประพฤตติ าม, ซง่ึ ความตรัสรดู้ ขี องพระพทุ ธเจ้า นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง ทพ่ี งึ่ อื่นของข้าพเจา้ ไม่ม,ี พระพุทธเจ้าเปน็ ทพี่ ึง่ อนั ประเสริฐของข้าพเจา้ เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สัตถุ สาสะเน ด้วยการกลา่ วค�ำสตั ยน์ ้,ี ข้าพเจา้ พึงเจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา พุทธัง เม วนั ทะมาเนนะ (วันทะมานายะ...ผู้หญิงสวด) ยงั ปญุ ญงั ปะสุตงั อธิ ะ ข้าพเจ้าผู้ไหวอ้ ยูซ่ ง่ึ พระพทุ ธเจ้า, ไดข้ วนขวายบญุ ใดในบัดน้ี สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายท้งั ปวง อยา่ ได้มแี ก่ขา้ พเจา้ ด้วยเดชแห่งบุญนน้ั (หมอบกราบลงวา่ ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ด้วยกายก็ดี ดว้ ยวาจากด็ ี ดว้ ยใจก็ดี พุทเธ กุกมั มัง ปะกะตงั มะยา ยงั กรรมน่าติเตยี นอนั ใด ทขี่ ้าพเจ้ากระทำ� แลว้ ในพระพุทธเจ้า พทุ โธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยนั ตัง ขอพระพุทธเจา้ จงงดซ่งึ โทษลว่ งเกนิ อันน้ัน กาลันตะเร สงั วะริตุง วะ พทุ เธ. เพื่อการสำ� รวมระวงั ในพระพทุ ธเจ้า ในกาลต่อไป 34

ธมั มานุสสติ (ผู้นำ� สวดเพียงผเู้ ดยี ว) หันทะ มะยงั ธมั มานุสสะตินะยงั กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราทง้ั หลาย ทำ� ซงึ่ ความตามระลึกถึงพระธรรมเถดิ ) (สวดพรอ้ มกนั ) สวî ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เป็นส่ิงท่พี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ได้ตรัสไวด้ แี ล้ว สนั ทฏิ ฐโิ ก เป็นส่งิ ที่ผ้ศู กึ ษาและปฏิบัติ พึงเหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง อะกาลิโก เปน็ ส่งิ ท่ีปฏิบัติไดแ้ ละใหผ้ ลไดไ้ มจ่ ำ� กัดกาล เอหปิ ัสสิโก เปน็ ส่ิงที่ควรกลา่ วกะผอู้ ่ืนว่า ทา่ นจงมาดเู ถดิ โอปะนะยโิ ก เปน็ ส่ิงที่ควรน้อมเขา้ มาใสต่ วั ปัจจัตตัง เวทติ พั โพ วญิ ญหู ีติ. เป็นส่งิ ทผ่ี ู้ร้กู ็รู้ไดเ้ ฉพาะตน ดงั นี้ ธมั มาภคิ ตี ิ (ผนู้ �ำสวดเพยี งผเู้ ดยี ว) หันทะ มะยัง ธัมมาภคิ ีตงิ กะโรมะ เส. (เชญิ เถดิ เราทงั้ หลาย ท�ำความขับคาถาพรรณนาเฉพาะพระธรรมเถดิ ) 35

(สวดพร้อมกนั ) สวî ากขาตะตาทคิ ณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย พระธรรม เป็นสิ่งทปี่ ระเสริฐเพราะประกอบดว้ ยคุณ, คือความทีพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้า, ตรัสไวด้ ีแลว้ , เปน็ ต้น โย มคั คะปากะปะรยิ ตั ตวิ ิโมกขะเภโท เป็นธรรมอนั จ�ำแนก เป็นมรรคผล ปรยิ ัติ และนพิ พาน ธมั โม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธาร ี เป็นธรรมทรงไวซ้ ึ่งผ้ทู รงธรรม จากการตกไปสโู่ ลกทชี่ ว่ั วันทามะหัง ตะมะหะรงั วะระธัมมะเมตงั ขา้ พเจ้าไหวพ้ ระธรรมอันประเสริฐนน้ั อนั เปน็ เคร่อื งขจัดเสยี ซง่ึ ความมืด ธมั โม โย สัพพะปาณนี งั สะระณัง เขมะมตุ ตะมัง พระธรรมใด, เป็นสรณะอนั เกษมสูงสุดของสัตว์ท้งั หลาย ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหงั ข้าพเจ้าไหวพ้ ระธรรมน้ัน, อนั เปน็ ท่ีตงั้ แหง่ ความระลกึ องค์ที่สอง ดว้ ยเศียรเกล้า ธมั มสั สาหสั îมิ ทาโส (ทาสี...ผู้หญงิ ) วะ, ธัมโม เม สามิกิสสะโร ข้าพเจา้ เปน็ ทาสของพระธรรม พระธรรมเป็นนายมอี ิสระเหนอื ขา้ พเจ้า ธมั โม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม พระธรรมเป็นเครอื่ งก�ำจัดทุกข,์ และทรงไว้ซ่ึงประโยชนแ์ ก่ขา้ พเจา้ ธมั มัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ญั จิทัง ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวติ น้แี ดพ่ ระธรรม วันทนั โตหงั (ตหี ัง...ผูห้ ญงิ ) จะริสสามิ ธัมมสั เสวะ สธุ ัมมะตงั ข้าพเจา้ ผูไ้ หวอ้ ยู่ จักประพฤติตาม, ซึ่งความเปน็ ธรรมดีของพระธรรม นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง ธัมโม เม สะระณงั วะรัง ทพี่ ึง่ อน่ื ของข้าพเจ้าไม่ม,ี พระธรรมเปน็ ท่พี งึ่ อันประเสรฐิ ของข้าพเจ้า 36

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถสุ าสะเน ดว้ ยการกล่าวคำ� สัตย์น,้ี ขา้ พเจา้ พึงเจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา ธมั มงั เม วนั ทะมาเนนะ (วันทะมานายะ...ผู้หญิง) ยงั ปุญญงั ปะสุตัง อิธะ ขา้ พเจ้าผ้ไู หว้อยซู่ ึง่ พระธรรม, ได้ขวนขวายบุญใดในบดั น้ี สัพเพปิ อนั ตะรายา เม มาเหสุง ตสั สะ เตชะสา. อันตรายทง้ั ปวงอย่าไดม้ ีแกข่ า้ พเจ้า, ดว้ ยเดชแหง่ บุญน้นั (หมอบกราบลงวา่ ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดว้ ยกายกด็ ี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ธัมเม กกุ ัมมงั ปะกะตงั มะยา ยงั กรรมนา่ ติเตยี นอันใด ทีข่ ้าพเจ้ากระทำ� แลว้ ในพระธรรม ธมั โม ปะฏคิ คัณหะตุ อัจจะยนั ตัง ขอพระธรรม จงงดซง่ึ โทษล่วงเกนิ อนั นนั้ กาลันตะเร สงั วะรติ ุง วะ ธมั เม. เพ่ือการส�ำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป สังฆานุสสติ (ผู้น�ำสวดเพยี งผ้เู ดียว) หนั ทะ มะยงั สงั ฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้งั หลาย ท�ำซ่งึ ความตามระลึกถึงพระสงฆเ์ ถิด) (สวดพร้อมกนั ) สุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หมใู่ ด, ปฏิบตั ดิ ีแล้ว 37

อชุ ปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หมใู่ ด ปฏิบตั ติ รงแล้ว ญายะปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆส์ าวกของพระผูม้ ีพระภาคเจา้ หมู่ใด ปฏบิ ัติเพ่ือรู้ธรรมเปน็ เครื่องออกจากทกุ ขแ์ ล้ว สามีจิปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆส์ าวกของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ หม่ใู ด, ปฏิบัตสิ มควรแล้ว ยะทิทงั ได้แกบ่ คุ คลเหล่านีค้ ือ จตั ตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ อฏั ฐะ ปรุ สิ ะปุคคะลา คู่แห่งบรุ ษุ ส่คี ,ู่ นับเรียงตวั บุรุษได้ แปดบรุ ษุ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ น่นั แหละสงฆส์ าวกของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ อาหุเนยโย เปน็ สงฆค์ วรแก่สกั การะที่เขานำ� มาบูชา ปาหเุ นยโย เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะท่เี ขาจัดไว้ตอ้ นรับ ทกั ขิเณยโย เป็นผคู้ วรรับทกั ษณิ าทาน อัญชะลกิ ะระณีโย เปน็ ผูท้ บี่ คุ คลทั่วไปควรท�ำอญั ชลี อะนุตตะรงั ปญุ ญักเขตตงั โลกัสสาต.ิ เปน็ เนื้อนาบุญของโลก, ไมม่ ีนาบญุ อน่ื ย่ิงกวา่ , ดงั น้ี 38

สังฆาภิคตี ิ (ผ้นู ำ� สวดเพยี งผู้เดยี ว) หนั ทะ มะยงั สงั ฆาภิคตี งิ กะโรมะ เส. (เชิญเถดิ เราทั้งหลาย ทำ� ความขับคาถาพรรณนาเฉพาะพระสงฆเ์ ถิด) (สวดพรอ้ มกนั ) สทั ธัมมะโช สปุ ะฏปิ ตั ติคณุ าทิยตุ โต พระสงฆท์ เ่ี กดิ โดยพระสทั ธรรม, ประกอบดว้ ยคณุ มคี วามปฏบิ ตั ดิ ี เปน็ ตน้ โยฏฐัพพโิ ธ อะรยิ ะปคุ คะละสังฆะเสฏโฐ เปน็ หม่แู ห่งพระอรยิ ะบคุ คลอนั ประเสรฐิ แปดจำ� พวก สีลาทธิ ัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต มีกายและจิตอนั อาศยั ธรรมมศี ลี เปน็ ตน้ , อนั บวร วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสทุ ธงั ขา้ พเจา้ ไหว้หมูแ่ ห่งพระอรยิ ะเจ้าเหลา่ น้นั อันบริสทุ ธิด์ ้วยดี สงั โฆ โย สพั พะปาณีนงั สะระณงั เขมะมุตตะมงั พระสงฆห์ มู่ใด, เปน็ สรณะอนั เกษมสูงสุดของสตั ว์ทัง้ หลาย ตะติยานุสสะตฏิ ฐานงั วันทามิ ตงั สเิ รนะหัง ข้าพเจา้ ไหว้พระสงฆห์ มนู่ น้ั , อันเปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความระลึกองค์ที่สาม ดว้ ยเศยี รเกล้า สงั ฆัสสาหสั มî ิ ทาโส (ทาสี...ผ้หู ญิง) วะ สงั โฆ เม สามิกิสสะโร ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ,์ พระสงฆ์เปน็ นายมอี สิ ระเหนอื ขา้ พเจ้า สงั โฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ ัสสะ เม พระสงฆเ์ ป็นเคร่ืองก�ำจัดทุกข์ และทรงไวซ้ ่งึ ประโยชน์แกข่ ้าพเจา้ สงั ฆสั สาหงั นิยยาเทมิ สะรีรัญชวี ิตญั จทิ ัง ข้าพเจา้ มอบกายถวายชีวติ นแี้ ดพ่ ระสงฆ์ 39

วันทันโตหัง (ตีหัง...ผู้หญิงสวด) จะริสสามิ สงั ฆสั โสปะฏปิ นั นะตงั ขา้ พเจ้าผไู้ หวอ้ ยู่ จกั ประพฤตติ าม, ซึง่ ความปฏิบัติดขี องพระสงฆ์ นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั สงั โฆ เม สะระณัง วะรงั ที่พง่ึ อนื่ ของข้าพเจา้ ไมม่ ี พระสงฆเ์ ปน็ ทีพ่ ่งึ อนั ประเสรฐิ ของขา้ พเจา้ เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถุ สาสะเน ดว้ ยการกล่าวค�ำสตั ย์น้ี ข้าพเจา้ พงึ เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา สังฆงั เม วันทะมาเนนะ (วนั ทะมานายะ...ผู้หญิงสวด) ยงั ปุญญงั ปะสตุ งั อิธะ ขา้ พเจ้าผูไ้ หว้อย่ซู ่ึงพระสงฆ,์ ไดข้ วนขวายบุญใดในบัดนี้ สพั เพปิ อันตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา. อันตรายทง้ั ปวง อยา่ ได้มแี ก่ขา้ พเจ้า, ด้วยเดชแห่งบุญนั้น (หมอบกราบลงว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดว้ ยกายกด็ ี ด้วยวาจากด็ ี ด้วยใจกด็ ี สงั เฆ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา ยัง กรรมน่าตเิ ตยี นอันใด ทขี่ ้าพเจ้ากระทำ� แลว้ ในพระสงฆ์ สังโฆ ปะฏิคคณั หะตุ อจั จะยนั ตัง ขอพระสงฆ์ จงงดซง่ึ โทษล่วงเกินอนั น้นั กาลนั ตะเร สังวะรติ งุ วะ สังเฆ. เพ่ือการส�ำรวมระวงั ในพระสงฆใ์ นกาลต่อไป (จบบทสวดมนตท์ �ำวตั รเยน็ ) 40

สจั จกริ ิยาคาถา (ผู้น�ำสวดเพียงผ้เู ดียว) หนั ทะ มะยัง สจั จะกิริยาคาถาโย ภะณามะ เส. (เชิญเถดิ เราทง้ั หลายสวดคาถาอนั ต้ังความสัตยเ์ ถิด) (สวดพร้อมกัน) นตั ถิ เม สะระณงั อัญญงั พทุ โธ เม สะระณัง วะรัง ที่พึ่งอืน่ ของขา้ พเจา้ ไม่มี, พระพทุ ธเจา้ เปน็ ทพ่ี ึ่งอันประเสริฐของข้าพเจา้ เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โหตุ เม ชะยะมงั คะลงั . ด้วยการกล่าวคำ� สตั ย์น้ี, ขอชยั มงคล จงมแี กข่ า้ พเจ้า นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญัง ธมั โม เม สะระณงั วะรงั ทพ่ี ง่ึ อื่นของข้าพเจ้าไม่ม,ี พระธรรมเป็นทพี่ ึง่ อันประเสริฐของขา้ พเจ้า เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลงั . ด้วยการกลา่ วคำ� สัตย์น้ี, ขอชัยมงคล จงมีแกข่ ้าพเจ้า นัตถิ เม สะระณงั อญั ญงั สังโฆ เม สะระณัง วะรัง ทีพ่ ่ึงอน่ื ของข้าพเจา้ ไมม่ ี, พระสงฆ์เปน็ ทีพ่ ่ึงอนั ประเสริฐของขา้ พเจา้ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมงั คะลัง. ด้วยการกลา่ วค�ำสัตยน์ ี้, ขอชัยมงคล จงมีแก่ขา้ พเจ้า 41

42

อตตี ปจั จเวกขณปาฐะ (ผ้นู �ำสวดเพยี งผเู้ ดียว) หนั ทะ มะยัง อะตีตะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลายจงสวดบาลีเป็นเครอื่ งพจิ ารณาปจั จยั ๔ ที่ลว่ งกาลแลว้ เถดิ ) (สวดพร้อมกนั ) (ภายหลังการใชส้ อยจีวร) อชั ชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตîวา ยงั จวี ะรงั ปะริภตุ ตัง จวี ร (อบุ าสก-อบุ าสกิ าวา่ อาภรณ)์ ใด อนั เรานงุ่ หม่ แลว้ ไมท่ นั พจิ ารณาในวนั นี้ ตัง ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏฆิ าตายะ จีวร (อาภรณ์) นนั้ เรานุ่งหม่ แลว้ , เพยี งเพ่อื บ�ำบดั ความหนาว อุณหî ัสสะ ปะฏฆิ าตายะ เพอื่ บำ� บดั ความรอ้ น ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสมั ผสั สานัง ปะฏิฆาตายะ เพ่ือบำ� บดั สัมผัสอนั เกิดจาก เหลอื บ ยุง ลม แดด และสัตว์เลอ้ื ยคลาน ท้ังหลาย ยาวะเทวะ หิริโกปนิ ะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพยี งเพอื่ ปกปดิ อวัยวะอนั ใหเ้ กดิ ความละอาย (ภายหลงั บรโิ ภคบิณฑบาต) อชั ชะ มะยา อะปจั จะเวกขติ îวา โย ปิณฑะปาโต ปะรภิ ุตโต บณิ ฑบาต (อาหาร) ใด อันเราบรโิ ภคแล้ว ไม่ทันพิจารณาในวันน ้ี โส เนวะ ทîวายะ นะ มะทายะ นะ มณั ฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ 43

บณิ ฑบาต (อาหาร) นัน้ เราบรโิ ภคแล้ว, ไม่ใชเ่ ป็นไปเพื่อความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน, ไม่ใชเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความเมามนั เกดิ ก�ำลงั พลงั ทางกาย, ไมใ่ ชเ่ ป็นไปเพอ่ื ประดับ, ไม่ใช่เปน็ ไปเพอื่ ตกแต่ง ยาวะเทวะ อมิ ัสสะ กายัสสะ ฐิตยิ า ยาปะนายะ วหิ งิ สปุ ะระตยิ า พรî หîมะจะรยิ านคุ คะหายะ แต่ใหเ้ ปน็ ไปเพียงเพื่อความตง้ั อยูไ่ ดแ้ ห่งกายนี้, เพื่อความเปน็ ไปไดข้ องอัตภาพ, เพ่อื ความสน้ิ ไปแหง่ ความล�ำบากทางกาย, เพอ่ื อนเุ คราะหแ์ ก่การประพฤติพรหมจรรย์ อิติ ปุราณญั จะ เวทะนัง ปะฏหิ ังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสาม ิ ดว้ ยการทำ� อยา่ งน้,ี เราย่อมระงบั เสียได้ซง่ึ ทุกขเวทนาเก่า คอื ความหวิ , และไม่ท�ำทุกขเวทนาใหมใ่ หเ้ กิดขน้ึ ยาตรî า จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสวุ ิหาโร จาต.ิ อน่ึง ความเป็นไปโดยสะดวกแหง่ อตั ภาพนีด้ ้วย, ความเป็นผหู้ าโทษ มิไดด้ ้วย, และความเป็นอยโู่ ดยผาสุกดว้ ย, จกั มีแกเ่ รา ดังน้ี (ภายหลังการใช้สอยเสนาสนะ) อชั ชะ มะยา อะปัจจะเวกขติ วî า ยงั เสนาสะนัง ปะริภุตตงั เสนาสนะใด อนั เราใชส้ อยแลว้ ไมท่ นั พจิ ารณาในวันน้ี ตงั ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏิฆาตายะ เสนาสนะนน้ั เราใชส้ อยแล้วเพียงเพอ่ื บำ� บดั ความหนาว 44

อุณหî สั สะ ปะฏฆิ าตายะ เพื่อบำ� บัดความร้อน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผสั สานัง ปะฏิฆาตายะ เพื่อบ�ำบดั สมั ผสั อนั เกดิ จาก เหลอื บ ยุง ลม แดด และสัตวเ์ ล้ือยคลาน ทั้งหลาย ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวโิ นทะนัง ปะฏสิ ัลลานารามตั ถงั . เพยี งเพ่ือบรรเทาอันตรายอันจะพงึ มีจากดนิ ฟ้าอากาศ, และเพอ่ื ความเป็นผยู้ นิ ดอี ยไู่ ด้ในท่หี ลกี เรน้ สำ� หรบั ภาวนา (ภายหลงั บรโิ ภคคิลานเภสชั ) อัชชะ มะยา อะปจั จะเวกขิตวî า โย คิลานะปจั จะยะเภสชั ชะปะริกขาโร ปะรภิ ตุ โต คลิ านะเภสชั บริขารใด อนั เราบรโิ ภคแลว้ ไม่ทันพจิ ารณาในวันนี้ โส ยาวะเทวะ อปุ ปนั นานัง เวยยาพาธกิ านงั เวทะนานงั ปะฏิฆาตายะ คลิ านะเภสชั บริขารน้ัน, เราบรโิ ภคแลว้ เพยี งเพอื่ บ�ำบัดทกุ ขเวทนา อันบังเกิดขนึ้ แลว้ มอี าพาธต่าง ๆ เปน็ มูล อัพîยาปชั ฌะปะระมะตายาต.ิ เพ่อื ความเป็นผูไ้ ม่มีโรคเบียดเบยี นเปน็ อย่างย่ิง ดงั น้ี 45

อภิณหปจั จเวกขณปาฐะ (ผู้น�ำสวดเพยี งผูเ้ ดยี ว) หันทะ มะยัง อะภณิ îหะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส. (เชญิ เถดิ เราทั้งหลายจงท�ำการพจิ ารณาเนอื ง ๆ ถึงความเปน็ ไปดังน้ีเถดิ ) (สวดพรอ้ มกัน) ชะราธัมโมมîหิ (มามîห)ิ ชะรัง อะนะตีโต (อะนะตีตา) เรามีความแกเ่ ปน็ ธรรมดา จะลว่ งพน้ ความแก่ไปไมไ่ ด้ พยî าธธิ ัมโมมหî ิ (มามหî ิ) พยî าธงิ อะนะตีโต (อะนะตตี า) เรามีความเจบ็ ไขเ้ ปน็ ธรรมดา จะล่วงพน้ ความเจ็บไขไ้ ปไมไ่ ด้ มะระณะธมั โมมîหิ (มามหî ิ) มะระณงั อะนะตีโต (อะนะตีตา) เรามีความตายเปน็ ธรรมดา จะลว่ งพ้นความตายไปไม่ได้ สัพเพหิ เม ปเิ ยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วนิ าภาโว เราจะละเว้นเป็นต่าง ๆ, คอื ว่าจะต้องพลดั พรากจากของรกั ของเจรญิ ใจ ท้ังสิน้ ไป กัมมัสสะโกมหî ิ (กามหî ิ) กัมมะทายาโท (ทา) กมั มะโยนิ กมั มะพนั ธุ กมั มะปะฏิสะระโณ (ณา) เรามีกรรมเป็นของ ๆ ตน, มีกรรมเปน็ ผใู้ ห้ผล, มกี รรมเป็นแดนเกิด, มกี รรมเปน็ ผ้ตู ิดตาม, มกี รรมเป็นทพ่ี ึ่งอาศยั ยัง กัมมัง กะรสิ สามิ กลั îยาณัง วา ปาปะกงั วา ตัสสะ ทายาโท (ทา) ภะวสิ สามิ เราจกั ท�ำกรรมอนั ใดไว,้ เป็นบุญหรือเป็นบาป, เราจกั เปน็ ทายาท, คอื วา่ จักตอ้ งไดร้ ับผลของกรรมน้ันสบื ไป เอวงั อัมเî หหิ อะภณิ หî ัง ปจั จะเวกขติ ัพพัง. เราทั้งหลาย, ควรพิจารณาอย่างน้ี ทุกวนั ๆ เถดิ 46

กายคตาสตภิ าวนาปาฐะ (ผนู้ ำ� สวดเพยี งผู้เดยี ว) หนั ทะ มะยัง กายะคะตาสะติภาวนาปาฐงั ภะณามะ เส. (เชิญเถดิ เราทั้งหลายจงสวดคาถาเจรญิ สตอิ ันเปน็ ไปในกายเถดิ ) (สวดพร้อมกัน) อะยัง โข เม กาโย กายของเราน้ีแล อทุ ธัง ปาทะตะลา เบ้ืองบนแตพ่ ้นื เทา้ ขนึ้ มา อะโธ เกสะมัตถะกา เบ้อื งตำ่� แตป่ ลายผมลงไป ตะจะปะรยิ ันโต มหี นังหุ้มอยเู่ ป็นท่ีสุดรอบ ปโู ร นานปั ปะการสั สะ อะสจุ โิ น เตม็ ไปดว้ ยของไม่สะอาดมปี ระการต่าง ๆ อตั ถิ อมิ สั îมิง กาเย มอี ยู่ในกายนี้ เกสา คอื ผมทัง้ หลาย โลมา คือขนท้ังหลาย นะขา คือเล็บทัง้ หลาย ทนั ตา คือฟนั ทง้ั หลาย ตะโจ คอื หนัง มังสงั คอื เน้ือ นะหารู คือเอ็นทงั้ หลาย อัฏฐี คอื กระดกู ทัง้ หลาย อัฏฐิมิญชงั คอื เยอ่ื ในกระดูก วักกงั คือมา้ ม หะทะยัง คอื หัวใจ ยะกะนงั คือตับ กิโลมะกงั คือพงั ผดื 47

ปิหะกัง คอื ไต ปปั ผาสงั คือปอด อนั ตัง คือไสใ้ หญ่ อันตะคณุ ัง คอื ไสน้ ้อย อทุ ะริยงั คอื อาหารใหม่ กะรีสัง คืออาหารเกา่ มตั ถะเก มตั ถะลุงคัง คอื เย่อื ในสมองศีรษะ ปิตตงั คือนำ้� ดี เสมหัง คอื น้�ำเสลด ปุพโพ คือน้�ำเหลอื ง โลหิตัง คือนำ�้ เลือด เสโท คือน้�ำเหงอ่ื เมโท คือน�้ำมนั ข้น อสั สุ คือน้ำ� ตา วะสา คอื น้ำ� มันเหลว เขโฬ คอื น้ำ� ลาย สงิ ฆาณิกา คอื น�้ำมกู ละสกิ า คอื น�้ำไขข้อ มตุ ตงั คือนำ�้ มตู ร เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานอี้ ย่างน้ี อทุ ธงั ปาทะตะลา เบ้อื งบนแตพ่ ้นื เท้าขึ้นมา อะโธ เกสะมัตถะกา เบ้อื งต่ำ� แตป่ ลายผมลงไป ตะจะปะรยิ นั โต มีหนังหุม้ อย่เู ปน็ ท่สี ุดรอบ ปโู ร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโนติ. เตม็ ไปดว้ ยของไมส่ ะอาด มปี ระการตา่ ง ๆ, อยา่ งน้แี ล 48

พรหมวหิ าระผรณะปาฐะ (ผูน้ ำ� สวดเพยี งผู้เดียว) หันทะ มะยงั พîรหมî ะวหิ าระผะระณะปาฐงั ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราท้งั หลาย จงสวดแผ่ธรรมอนั เป็นเคร่อื งอยู่ของพรหม เถิด) (สวดพร้อมกัน) (ค�ำแผ่เมตตาตนเอง) อะหัง สุขโิ ต โหมิ ขอใหข้ า้ พเจ้าจงมคี วามสขุ นทิ ทุกโข โหมิ ขอให้ขา้ พเจ้าจงปราศจากทกุ ข์ อะเวโร โหมิ ขอใหข้ ้าพเจ้าจงปราศจากเวร อัพยî าปชั โฌ โหมิ ขอใหข้ ้าพเจ้าจงปราศจากความล�ำบาก อะนีโฆ โหมิ ขอใหข้ า้ พเจา้ จงปราศจากอุปสรรคขดั ขอ้ ง สขุ ี อตั ตานัง ปะริหะรามิ รักษาตนให้มีความสุขเถิด 49

(คำ� แผเ่ มตตาสัตว์ทง้ั หลาย) สพั เพ สตั ตา สขุ ติ า โหนตุ ขอปวงสตั ว์ท้ังหลาย, จงเป็นผู้มีความสุขเถดิ สัพเพ สตั ตา อะเวรา โหนตุ ขอปวงสัตวท์ ง้ั หลาย, จงเปน็ ผไู้ มม่ เี วรเถิด สพั เพ สตั ตา อพั îยาปชั ฌา โหนตุ ขอปวงสัตวท์ ั้งหลาย, จงเป็นผู้ไมเ่ บียดเบยี นกันเถิด สัพเพ สัตตา อะนฆี า โหนตุ ขอปวงสตั วท์ ั้งหลาย, จงเปน็ ผู้ไม่มีทุกข์กายทกุ ข์ใจเถิด สัพเพ สตั ตา สขุ ี อัตตานงั ปะริหะรันตุ ขอปวงสตั ว์ทงั้ หลาย, จงเป็นผมู้ ีสุขรักษาตนเถิด (คำ� แผก่ รณุ าสตั ว์ท้งั หลาย) สัพเพ สัตตา สพั พะทกุ ขา ปะมุจจนั ต ุ ขอปวงสตั ว์ทง้ั หลาย, จงพ้นจากความทกุ ขท์ ้ังปวงเถิด (ค�ำแผม่ ทุ ิตาสัตวท์ ัง้ หลาย) สัพเพ สัตตา มา ลัทธะสมั ปตั ติโต วคิ ัจฉันต ุ ขอปวงสตั วท์ ้งั หลาย, จงอยา่ ไปปราศจากสมบัติอนั ตนไดแ้ ล้วเถดิ 50

(ค�ำแผ่อุเบกขาสัตว์ท้งั หลาย) สัพเพ สตั ตา กมั มัสสะกา ปวงสัตว์ท้ังหลาย, เป็นผูม้ กี รรมเปน็ ของ ๆ ตน กัมมะทายาทา เปน็ ผ้รู ับผลของกรรม กมั มะโยนี เป็นผ้มู กี รรมเป็นก�ำเนดิ กมั มะพันธ ู เป็นผูม้ ีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ กัมมะปะฏสิ ะระณา เป็นผู้มีกรรมเปน็ ทพี่ ่งึ อาศัย ยัง กัมมัง กะรสิ สันติ จักท�ำกรรมอนั ใดไว้ กัลยî าณงั วา ปาปะกัง วา ดีหรือช่วั ตสั สะ ทายาทา ภะวิสสนั ติ. จักเป็นผูร้ ับผลของกรรมนัน้ ค�ำเจรญิ กัมมฏั ฐานภาวนา (สวดพรอ้ มกนั ) บชู าพระรตั นตรยั อดุ ม ข้าพเจ้าจักเจรญิ กมั มฏั ฐานภาวนา บ�ำเพ็ญอทิ ธบิ าททัง้ สี่ สัง่ สมทสบารมีธรรม สังหารนิวรณห์ ้าให้หาย บ่มอนิ ทรยี ์ใหแ้ กโ่ ดยกาล สิรริ วมสุขเอกคั ตา สบื สายวติ กวิจารณ์ปีติ พร้อมดว้ ยวสีทัง้ ห้า ตอ่ มาให้ถึงฌานสี่ ลา้ งธลุ ีกเิ ลสให้สญู เจริญมรรคาพระอริยะสมงั คี หา่ งไกลสงั โยชน์ทง้ั ปวง ตัดมูลอาสวะอนสุ ยั ขอคุณพระรตั นตรัย ลว่ งถึงประโยชน์ยงิ่ ใหญ่ คณุ บิดามารดาครูบาอาจารย์ คุณไทอ้ ธริ าชเทวา จงมาเปน็ ท่ีพ่ึงแก่ขา้ พเจา้ คณุ ความดที ุกประการ ทำ� ลายมารห้าให้พนิ าศ บรรเทาทุกข์รอ้ นให้เหือดหาย เกษมสนั ต์ประสบสิ่งเสมอใจ ปราศจากภยนั ตรายนิรันดร์ ณ กาลบดั นี้ เทอญ สมดงั ความม่งุ หมาย 51

ตโิ ลกวชิ ยะราชปตั ติทานคาถา (กรวดน�ำ้ ยังกิญจิ) ยังกิญจิ กุสะลัง กมั มงั กัตตัพพงั กริ ยิ ัง มะมะ กาเยนะ วาจามะนะสา ตทิ ะเส สุคะตงั กะตงั เย สตั ตา สัญญโิ น อตั ถ ิ เย จะ สัตตา อะสญั ญิโน กะตงั ปญุ ญะผะลัง มยั หัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต เย ตัง กะตงั สวุ ิทิตัง ทินนงั ปุญญะผะลงั มะยา เย จะ ตตั ถะ นะ ชานนั ติ เทวา คนั ตîวา นเิ วทะยงุ สพั เพ โลกัมหิ เย สตั ตา ชวี ันตาหาระเหตุกา มะนญุ ญัง โภชะนงั สพั เพ ละภันตุ มะมะ เจตะสาต.ิ กรวดน้�ำอมิ นิ า (น�ำ) หันทะ มะยัง อทุ ทิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ (รับ) อมิ ินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คณุ ุตตะรา อาจะรยิ ปู ะการา จะ มาตาปติ า จะ ญาตะกา (ปยิ า มะมงั ) สรุ โิ ย จันทมิ า ราชา คุณะวนั ตา นะราปิ จะ พรัหมะมารา จะ อนิ ทา จะ๑ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มติ ตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ สพั เพ สัตตา สขุ ี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขงั จะ ตวิ ธิ งั เทนตุ ขิปปงั ปาเปถะ โว มะตงั ฯ อมิ ินา ปุญญะกมั เมนะ อมิ นิ า อุททิเสนะ จะ ขิปปาหัง สลุ ะเภ เจวะ ตณั หปุ าทานะเฉทะนัง ๑. บางแห่งวา่ จะตุ 52

เย สันตาเน หนิ า ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง นัสสนั ตุ สพั พะทา เยวะ ยตั ถะ ชาโต ภะเว ภะเว อุชจุ ติ ตัง สะติปัญญา สลั เลโข วิริยมั หินา มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วริ เิ ยสุ เม พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธมั โม นาโถ วะรตุ ตะโม นาโถ ปัจเจกะพทุ โธ จะ สงั โฆ นาโถตตะโร มะมัง เตโสตตะมานภุ าเวนะ มาโรกาสงั ละภันตุ มา ฯ สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน�ำ้ อทุ ศิ ส่วนบญุ ) (ผนู้ �ำสวดเพยี งผูเ้ ดียว) หันทะ มะยงั สัพพะปตั ติทานะคาถาโย ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลายจงสวดคาถาแผ่ส่วนบุญท้งั ปวงกันเถดิ ) (สวดพรอ้ มกนั ) ปญุ ญัสสทิ านิ กะตสั สะ ยานญั ญานิ กะตานิ เม, เตสญั จะ ภาคโิ น โหนตุ, สตั ตานันตาปปะมาณะกา, เย ปิยา คณุ ะวันตา จะ, มยั หัง มาตาปิตาทะโย, ขอสตั วท์ ง้ั หลาย ไมม่ ีท่ีสุด ไม่มปี ระมาณ, จงเปน็ ผมู้ สี ว่ นแหง่ บุญ ทข่ี า้ พเจ้าไดท้ �ำในบดั น้,ี และแหง่ บุญทงั้ หลายอน่ื ท่ขี า้ พเจา้ ได้ทำ� แล้ว, คือชนเหลา่ ใดเปน็ ทรี่ ัก, ผู้มคี ุณ, มีมารดาและบิดาของขา้ พเจา้ เปน็ ตน้ ทิฏฐา เม จาปย� ะทฏิ ฐา วา, อญั เญ มชั ฌตั ตะเวรโิ น, ทขี่ า้ พเจ้าไดเ้ ห็นหรือแมไ้ ม่ได้เห็น, และสัตว์ท้ังหลายอ่นื ท่เี ปน็ กลาง สัตตา ติฏฐันติ โลกัสîมงิ , เต ภุมมา จะตโุ ยนิกา, และมเี วรกนั ต้ังอย่ใู นโลก, เกิดในภูมิ ๓, เกดิ ในก�ำเนิด ๔, ปญั เจกะจะตโุ วการา สังสะรันตา ภะวาภะเว มขี นั ธ์ ๕ ขนั ธ์ ๑ และขันธ์ ๔, ทอ่ งเทยี่ วอยูใ่ นภพนอ้ ยและภพใหญ่ 53

ญาตัง เย ปัตติทานัมเม, อะนุโมทันตุ เต สะยงั , สตั ว์เหลา่ ใด ทราบการใหส้ ว่ นบญุ ของข้าพเจ้าแล้ว, ขอสตั ว์เหล่าน้ันจงอนโุ มทนาเองเถิด เย จมิ งั นปั ปะชานันติ, เทวา เตสงั นิเวทะยุง, ก็สัตว์เหลา่ ใด ยอ่ มไมท่ ราบการให้สว่ นบญุ ของขา้ พเจา้ น้ี, ขอเทพท้งั หลายพงึ แจ้งแกส่ ตั ว์เหล่านัน้ มะยา ทนิ นานะ ปญุ ญานงั , อะนุโมทะนะเหตนุ า, เพราะเหตคุ ืออนโุ มทนาบุญทงั้ หลายที่ข้าพเจ้าให้แล้ว สพั เพ สัตตา สะทา โหนต,ุ อะเวรา สขุ ะชวี ิโน, ขอสัตวท์ ั้งปวง, จงอยา่ มเี วร, อยเู่ ป็นสขุ เถดิ เขมปั ปะทัญจะ ปปั โปนต,ุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา. และจงถึงทางอนั เกษมเถดิ , ขอความหวงั อันดีของสตั วเ์ หล่านั้น, จงส�ำเร็จ เทอญฯ สงั เขปปตั ติทานคาถา (ผู้น�ำสวดเพยี งผเู้ ดยี ว) หนั ทะ มะยัง สังเขปะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส. (เชิญเถิด เราทัง้ หลายจงสวดคาถาแผส่ ว่ นบญุ โดยยอ่ กนั เถดิ ) (สวดพร้อมกัน) สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชวี โิ น ขอปวงสตั วท์ ้งั หลาย, จงเปน็ ผูไ้ มม่ เี วรตอ่ กนั เป็นผดู้ �ำรงชพี อยู่เป็นสขุ ทกุ เม่ือเถดิ กะตัง ปญุ ญัง ผะลัง มัยหงั สพั เพ ภาคี ภะวันตุ เต. ขอปวงสตั วท์ ง้ั สิ้นนนั้ , จงเป็นผมู้ สี ว่ นได้เสวยผลบญุ ทขี่ า้ พเจา้ ได้บ�ำเพ็ญมาแล้วนน้ั เทอญ... 54

บทสวดมนตพ์ เิ ศษ ก สรณคมนปาฐะ (ผนู้ �ำสวดเพียงผเู้ ดยี ว) หันทะ มะยงั ติสะระณะคะมะนะปาฐงั ภะณามะ เส. (สวดพรอ้ มกนั ) พุทธงั สะระณงั คัจฉาม ิ ข้าพเจ้าถอื เอาพระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ขา้ พเจา้ ถือเอาพระธรรมเป็นสรณะ สังฆงั สะระณงั คจั ฉาม ิ ข้าพเจา้ ถือเอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ ทตุ ิยมั ปิ พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ แมค้ รง้ั ที่สอง ขา้ พเจา้ ถอื เอาพระพุทธเจา้ เป็นสรณะ ทตุ ยิ มั ปิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ แมค้ ร้ังทส่ี อง ข้าพเจา้ ถอื เอาพระธรรมเป็นสรณะ ทตุ ยิ ัมปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ แมค้ รั้งท่ีสอง ขา้ พเจ้าถอื เอาพระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ตะติยมั ปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ แมค้ รั้งท่ีสาม ข้าพเจ้าถือเอาพระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ ตะติยัมปิ ธมั มัง สะระณัง คจั ฉามิ แม้ครง้ั ทสี่ าม ข้าพเจา้ ถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ ตะตยิ มั ปิ สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ แม้ครง้ั ทส่ี าม ข้าพเจ้าถอื เอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ 55

เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะรทิ ปี ิกคาถา (ผู้น�ำสวดเพียงผูเ้ ดียว) หนั ทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริทปี กิ ะ คาถาโย ภะณามะ เส. (สวดพร้อมกัน) พะหงุ เว สะระณัง ยนั ติ ปพั พะตานิ วะนานิ จะ อารามะรุกขะเจตîยาน ิ มะนสุ สา ภะยะตชั ชิตา มนุษย์เปน็ อนั มาก, เม่อื เกดิ มีภัยคกุ คามแลว้ , ก็ถอื เอาภูเขาบ้าง, ป่าไม้บา้ ง, อารามและรุกขเจดยี ์บ้างเป็นสรณะ เนตงั โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมตุ ตะมงั เนตัง สะระณะมาคัมมะ สพั พะทุกขา ปะมุจจะติ น่ันมิใช่สรณะอันเกษมเลย, น่นั มใิ ช่สรณะอนั สูงสุด, เขาอาศัยสรณะน้ันแล้ว, ย่อมไมพ่ น้ จากทกุ ข์ท้งั ปวงได้ โย จะ พุทธัญจะ ธัมมญั จะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต จตั ตาริ อะริยะสัจจานิ สมั มปั ปัญญายะ ปัสสะติ สว่ นผ้ใู ดถือเอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะแล้ว, เหน็ อรยิ ะสจั คอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ส่ดี ว้ ยปัญญาอันชอบ ทกุ ขัง ทุกขะสะมปุ ปาทัง ทกุ ขสั สะ จะ อะตกิ กะมงั , อะรยิ ัญจัฏฐังคิกงั มคั คัง ทกุ ขูปะสะมะคามนิ ัง คอื เหน็ ความทุกข,์ เหตุให้เกดิ ทุกข์, ความก้าวล่วงทกุ ข์เสียได,้ และหนทางมีองค์แปดอนั ประเสริฐเครอื่ งถึงความระงบั ทุกข์ เอตัง โข สะระณงั เขมงั เอตัง สะระณะมุตตะมงั เอตัง สะระณะมาคัมมะ สพั พะทุกขา ปะมุจจะติ นัน่ แหละเป็นสรณะอนั เกษม, น่นั เปน็ สรณะอนั สูงสุด, เขาอาศัยสรณะน้นั แลว้ , ยอ่ มพน้ จากทุกขท์ ั้งปวงได้ 56

อะริยะธะนะคาถา (ผนู้ ำ� สวดเพยี งผ้เู ดยี ว) หันทะ มะยงั อะรยิ ะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส. (สวดพรอ้ มกัน) อะจะลา สปุ ะตฏิ ฐิตา ยัสสะ สทั ธา ตะถาคะเต ศรัทธาในพระตถาคตของผใู้ ดต้ังมัน่ อยา่ งดี ไม่หว่นั ไหว สีลญั จะ ยัสสะ กลั ยî าณงั อะริยะกนั ตงั ปะสงั สติ งั และศีลของผู้ใดงดงาม, เป็นท่ีสรรเสรญิ ทีพ่ อใจของพระอริยะเจา้ สังเฆ ปะสาโท ยัสสตั ถิ อุชภุ ูตัญจะ ทัสสะนงั ความเลื่อมใสของผูใ้ ดมใี นพระสงฆ,์ และความเหน็ ของผู้ใดตรง อะทะลิทโทติ ตงั อาหุ อะโมฆนั ตสั สะ ชีวติ ัง บณั ฑติ กลา่ วเรยี กเขาผู้น้นั วา่ คนไมจ่ น, ชีวิตของเขาไม่เป็นหมัน ตสั îมา สทั ธญั จะ สีลัญจะ ปะสาทงั ธมั มะทัสสะนัง อะนุยญุ เชถะ เมธาวี สะรงั พทุ ธานะ สาสะนัง เพราะฉะนั้น, เมอ่ื ระลกึ ได้ถึงค�ำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้าอย,ู่ ผ้มู ีปญั ญาควรกอ่ สร้างศรทั ธาศลี , ความเลื่อมใส, และความเห็นธรรมใหเ้ นอื ง ๆ 57

ตลิ กั ขะณาทคิ าถา (ผูน้ ำ� สวดเพียงผเู้ ดยี ว) หันทะ มะยงั ตลิ ักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ เส. (สวดพร้อมกนั ) สพั เพ สงั ขารา อะนิจจาต ิ ยะทา ปญั ญายะ ปัสสะติ เมอ่ื ใดบคุ คลเหน็ ดว้ ยปญั ญาวา่ , สงั ขารทัง้ ปวงไม่เท่ียง อะถะ นพิ พินทะติ ทุกเข เอสะ มคั โค วสิ ุทธยิ า เมื่อนัน้ ย่อมเหนื่อยหนา่ ยในส่งิ ทีเ่ ป็นทกุ ขท์ ี่ตนหลง, น่ันแหละเป็นทางแห่งพระนพิ พานอนั เป็นธรรมหมดจด สัพเพ สังขารา ทกุ ขาต ิ ยะทา ปัญญายะ ปสั สะติ เมอ่ื ใดบุคคลเห็นดว้ ยปัญญาว่า, สงั ขารทั้งปวงเปน็ ทกุ ข์ อะถะ นพิ พนิ ทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วสิ ุทธยิ า เมอื่ น้นั ย่อมเหน่อื ยหนา่ ยในส่งิ ที่เป็นทุกข์ท่ตี นหลง, นนั่ แหละเป็นทางแห่งพระนิพพานอนั เปน็ ธรรมหมดจด สัพเพ ธัมมา อะนตั ตาติ ยะทา ปญั ญายะ ปัสสะติ เมื่อใดบคุ คลเหน็ ด้วยปัญญาว่า, ธรรมทงั้ ปวงเปน็ อนตั ตา อะถะ นิพพนิ ทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วสิ ทุ ธิยา เมือ่ นน้ั ยอ่ มเหนือ่ ยหน่ายในสิง่ ท่ีเปน็ ทุกข์ที่ตนหลง, นัน่ แหละเปน็ ทางแห่งพระนิพพานอันเปน็ ธรรมหมดจด อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน ในหม่มู นษุ ยท์ ง้ั หลาย, ผูท้ ี่ถงึ ฝ่ังแหง่ พระนิพพานมนี อ้ ยนัก อะถายัง อติ ะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ หมมู่ นุษย์นอกน้ันยอ่ มว่ิงเลาะอยตู่ ามฝ่งั ในนเ้ี อง 58

เย จะ โข สมั มะทักขาเต ธัมเม ธัมมานวุ ตั ติโน ก็ชนเหล่าใดประพฤตธิ รรมสมควรแก่ธรรม ในธรรมทีต่ รัสไว้ชอบแลว้ เต ชะนา ปาระเมสสันติ มจั จเุ ธยยงั สทุ ุตตะรัง ชนเหลา่ น้นั จกั ถงึ ฝง่ั แหง่ พระนพิ พาน, ขา้ มพน้ บ่วงแห่งมัจจทุ ่ีขา้ มไดย้ ากนัก กัณหงั ธมั มัง วิปปะหายะ สกุ กัง ภาเวถะ ปัณฑโิ ต จงเปน็ บัณฑิตละธรรมดำ� เสยี , แล้วเจริญธรรมขาว โอกา อะโนกะมาคมั มะ วเิ วเก ยตั ถะ ทูระมัง ตตั รî าภริ ะติมิจเฉยยะ หิตîวา กาเม อะกิญจะโน จงมาถึงที่ไม่มนี �้ำ, จากทม่ี ีน้ำ� , จงละกามเสยี , เปน็ ผไู้ มม่ คี วามกงั วล, จงยินดเี ฉพาะตอ่ พระนิพพาน, อันเปน็ ทส่ี งดั ซึ่งสตั ว์ยนิ ดไี ดโ้ ดยยาก ภาระสตุ ตะคาถา (ผู้น�ำสวดเพียงผู้เดยี ว) หนั ทะ มะยงั ภาระสตุ ตะคาถาโย ภะณามะ เส. (สวดพรอ้ มกนั ) ภารา หะเว ปัญจกั ขันธา ขันธท์ ัง้ ห้าเป็นของหนกั เน้อ ภาระหาโร จะ ปุคคะโล บุคคลแหละเปน็ ผู้แบกของหนักพาไป ภาราทานงั ทุกขงั โลเก การแบกถือของหนกั เป็นความทุกข์ในโลก ภาระนิกเขปะนงั สุขัง การสลดั ของหนกั ท้งิ ลงเสยี เปน็ ความสขุ 59

นกิ ขปิ ิตîวา คะรงุ ภารัง พระอรยิ ะเจ้าสลัดท้งิ ของหนักลงเสยี แล้ว อญั ญงั ภารงั อะนาทิยะ ทงั้ ไมห่ ยบิ ฉวยเอาของหนกั อันอ่ืนขึน้ มาอีก สะมูลงั ตัณหงั อัพพฬุ หî ะ ก็เป็นผูถ้ อนตณั หาข้นึ ได้กระทั่งราก นจิ ฉาโต ปะรินิพพโุ ต เป็นผ้หู มดสงิ่ ปรารถนาดับสนิทไม่มีสว่ นเหลอื ภัทเทกะรัตตะคาถา (ผ้นู ำ� สวดเพยี งผู้เดียว) หนั ทะ มะยัง ภัทเทกะรตั ตะคาถาโย ภะณามะ เส. (สวดพร้อมกัน) อะตตี งั นานวาคะเมยยะ* นปั ปะฏิกังเข อะนาคะตงั บุคคลไม่ควรตามคิดถึงสิง่ ทล่ี ว่ งไปแล้วด้วยอาลัย, และไมพ่ ึงพะวงถงึ ส่งิ ทยี่ ังไม่มาถงึ ยะทะตตี ัมปะหนี ันตงั อัปปัตตญั จะ อะนาคะตัง สงิ่ เป็นอดีตก็ละไปแล้ว, สง่ิ เปน็ อนาคตก็ยังไม่มา ปัจจุปปันนัญจะ โย ธัมมงั ตัตถะ ตัตถะ วิปสั สะติ, อะสังหิรงั อะสังกุปปัง ตัง วทิ ธา มะนุพîรูหะเย ผูใ้ ดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหนา้ ทีน่ นั้ ๆ อยา่ งแจ่มแจ้ง, ไมง่ อ่ นแงน่ คลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเชน่ น้ันไว้ * นานวาคะเมยยะ อ่านว่า นาน - วา - คะ - เมย - ยะ 60

อชั เชวะ กจิ จะมาตปั ปงั โก ชญั ญา มะระณัง สุเว ความเพยี รเป็นกจิ ทตี่ อ้ งทำ� วันน้,ี ใครจะรู้ความตายแม้พรุ่งนี้ นะ หิ โน สงั คะรนั เตนะ มะหาเสเนนะ มจั จุนา เพราะการผัดเพี้ยนตอ่ มจั จุราชซึ่งมีเสนามากยอ่ มไมม่ ีสำ� หรบั เรา เอวัง วหิ ารมิ าตาปงิ อะโหรัตตะมะตนั ทิตัง, ตัง เว ภทั เทกะรตั โตต ิ สนั โต อาจกิ ขะเต มนุ ี ฯ มนุ ผี ูส้ งบยอ่ มกลา่ วเรยี กผู้มคี วามเพยี รอยูเ่ ช่นน้ัน, ไมเ่ กยี จคร้านทง้ั กลางวนั กลางคืนว่า, “ผู้เป็นอยูแ่ ม้เพยี งราตรีเดียวก็น่าชม” ธัมมคารวาทคิ าถา (ผนู้ ำ� สวดเพียงผู้เดยี ว) หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทคิ าถาโย ภะณามะ เส. (สวดพร้อมกนั ) เย จะ อะตีตา สัมพทุ ธา เย จะ พทุ ธา อะนาคะตา, โย เจตะระหิ สัมพทุ โธ พะหุนนัง โสกะนาสะโน พระพุทธเจา้ บรรดาท่ีล่วงไปแลว้ ด้วย, ทีย่ งั ไม่มาตรสั รดู้ ้วย, และพระพทุ ธเจ้าผู้ขจดั โศกของมหาชนในกาลบดั นด้ี ว้ ย สัพเพ สัทธัมมะคะรโุ น วหิ ะรงิ สุ วิหาติ จะ, อะถาปิ วหิ ะริสสันติ เอสา พุทธานะธมั มะตา พระพุทธเจา้ ทั้งปวงน้นั ทกุ พระองคเ์ คารพพระธรรม, ได้เปน็ มาแล้วดว้ ย, กำ� ลงั เป็นอยู่ดว้ ย, และจักเป็นดว้ ย, เพราะธรรมดาของพระพทุ ธเจ้าทัง้ หลายเป็นเชน่ นั้นเอง 61