Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore VS-002 หนังสือคติธรรมหลวงปู่สังวาลย์ เขมโก

VS-002 หนังสือคติธรรมหลวงปู่สังวาลย์ เขมโก

Description: VS-002 หนังสือคติธรรมหลวงปู่สังวาลย์ เขมโก

Search

Read the Text Version

บุคคลท�ำกรรมใดแล้ว ย่อมเดือดร้อนภายหลัง มีหน้านองด้วยน�้ำตาร้องไห้อยู่ เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นท�ำแล้วไม่ดีเลย บุคคลท�ำกรรมใดแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง มีหัวใจแช่มช่ืนเบิกบาน เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมน้ันท�ำแล้วเป็นการดี 149

ทถี่จ้าเะรพาร้นัก.ท.. ุกข์จริงๆ ก็อย่าไปหลง อารมณ์ตนเอง

151

ฝึกหัดท�ำใจ ให้คล่องแคล่วข้ึน ให้ว่องไวจนช�ำนิช�ำนาญ ในการฝึกสมาธิ แล้วจิตใจของเรา ก็จะช�ำนาญข้ึน

153

อวิชชา มันโหดร้ายมันฉลาด ในการสร้างบาปอกุศลมาก ถ้าหากว่าไม่มีสติปัญญา เป็นเพ่ือนของจิตใจแล้ว เราก็ต้องไหลไปตาม อารมณ์ของมัน

155

ขันธ์ ๕ ไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาอยู่เสมอ ผู้ใดพิจารณาความตาย อยู่ทุกขณะจิต ผู้น้ันย่อมไม่กลับมา เกิด แก่ เจ็บ ตายอีก ย่อมมีความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เพียงชาตินี้ชาติเดียว

157

เม่ือเราท�ำ ศีล สมาธิ ปัญญา เกิดมีขึ้นภายในจิตใจตน สมบูรณ์เต็มท่ีแล้ว จิตย่อมถอนความรู้ ความเห็นผิดๆ ได้อย่างอัตโนมัติ โดยที่เราไม่ต้องบังคับเลย

159



161



ผีหลอก ไม่ต้องกลัวหรอก กลัวคนหลอกนี้ดีกว่า คนมันหลอก ยิ่งกว่าผีอีก 163



ลูกเอ๋ย... จงมีสติ อยู่กับเวลาที่มีอยู่ ไม่ลุ่มหลงไปกับ... ส่ิงท่ีจะมาหลอก ให้เราหลงทาง เสียเวลา 165



วดั สปังระฆวัตทิ าน 167

”วัดสังฆทาน„ ได้ลงทะเบียนไว้กับกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๐/๑ หมู่ที่ ๓ บ้านบางไผ่น้อย ต.บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี สังกัด คณะสงฆม์ หานิกาย พ้ืนที่ต้ังวัดเป็นท่ีราบลุ่มแวดล้อมไปด้วยสวนของ ราษฎร มีปูชนียวัตถุส�าคัญ คือ พระประธานในอุโบสถแก้ว นามวา่ ”หลวงพ่อโต„ สา� หรับความเปน็ มาของหลวงพ่อโตน้นั เน่ืองจากวัดสังฆทานเป็นวัดร้างนับเป็นร้อยๆ ปีขึ้นไป การ จดบันทึกไว้จึงไม่มี มีเพียงการเล่าขานต่อถึงความศักด์ิสิทธิ์ เท่านั้น ดังนั้น จึงได้มีการวิเคราะห์จากหลักฐานพระพุทธ- ลักษณะจากองค์หลวงพ่อโต กระเบื้องเชิงชายหน้าอุดของ หลังคาอุโบสถหลังเก่า และอิฐท่ีสร้างองค์พระกับฐานอุโบสถ กระเบ้ืองเชิงชายหรือกระเบ้ืองหน้าอุดเป็นหลักฐานอันส�าคัญ ชิ้นหน่ึงที่ค้นพบและเก็บรักษาไว้ในวัดสังฆทาน หลักฐาน ชิ้นน้ีใช้เป็นกระเบื้องประดับตกแต่งเชิงชายบนหลังคาอุโบสถ สืบทอดจนถึงปัจจุบัน จะพบเห็นท่ัวไปตามพระอารามหลวง (วัดหลวง) ใช้ประกอบกับกระเบื้อง กาบกล้วยเพ่ืออุดรูไม่ให้นกหนูเข้าไป ท�ารัง ลักษณะกระเบ้ืองเชิงชาย หน้าอุดของวัดสังฆทานมีลวดลาย

ดอกบัวที่คล่ีคลายปรับเปลี่ยนมาเป็นลายกนก ท้ายที่สุดเป็น ลายประเภทใบไม้ ๓ แฉก ซง่ึ เปน็ เคา้ โครงด้ังเดมิ ของดอกบัว ท�าด้วยดนิ เผา สรา้ งข้นึ ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑-๒๒ วัดสังฆทานจะมีประเพณีท�าบุญวันสงกรานต์ และ สรงน�้าพระในเดือนเมษายน (วันท่ี ๑๓-๒๐ เมษายน) เป็น ประจ�าทุกปี พร้อมท้ังเปลี่ยนผ้าห่มองค์พระหลวงพ่อโต พระประธานในอุโบสถแก้ว ผ้าห่มท่ีถูกเปล่ียนจะน�ามาฉีก แบ่งกันไปผูกข้อมือ-ผูกคอให้กับชาวบ้านเพ่ือความเป็น สิริมงคล เพราะถือว่ามีความศักดิ์สิทธ์ิ การบนหลวงพ่อโต มักจะบนด้วยการจุดปะทัดเป็นเคร่ืองแก้บน ”สังฆทาน„ จึง กลายเป็นชือ่ ของวัดมาแต่เดิม 169



“หลวงพ่อโต” พระประธาน ของวัดสังฆทาน มีลักษณะปาง มารวิชัยน่ังขัดสมาธิ เดิมเป็นปูนปั้น ขนาดหน้าตักกว้างถึง ๘ ศอก มี พุทธลักษณะและพุทธศิลป์แบบ อู่ทอง หันพระพักตร์ไปทางทิศ ตะวันออก มีความศักด์ิสิทธ์ิและ ทรงอภินิหาร ในช่วงเดือนธันวาคม ดวงอาทิตย์จะท�ามุมตรงพระพักตร์ พอดี 171

“อุโบสถแก้ว” หรือ “โบสถ์แก้ว” รูปแบบ ของอโุ บสถทห่ี ลวงพอ่ สนองดา� รใิ หส้ รา้ งขน้ึ ใหมน่ น้ั เป็น ”รูปทรงแปดเหลยี่ ม„ ท�าดว้ ยกระจกท้ังหมด และก�าหนดเวลาการก่อสร้างเป็นเวลา ๑ ปีคร่ึง โดยท่านตั้งจุดประสงค์ว่าอุโบสถของวัดสังฆทาน ต้องเป็นอุโบสถที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุดและ ถูกต้องตามความเป็นจริงขนาดของอุโบสถต้อง จุคนได้ ๖๐๐ คน ด้านล่างใช้เป็นส�านักงาน ห้องเทป ห้องมูลนิธิ ห้องสมุด ฯลฯ มีประโยชน์ อเนกประสงค์

173



175

หลวงปูส่ ังวำลย์ เขมโก นามเดิมท่านคือสังวาลย์ นามสกุล จันทร์เรือง เกิดเมื่อ วันจันทร์ เดือน ๔ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๕๙ ที่บ้านหนองผักนาก อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี บิดานายห่วง มารดานางวาด ท่านมีอาชีพ ท�านา แต่โยมบิดาท่านเป็นผู้ท่ีได้น�าภาพยนตร์มาฉายในอ�าเภอ สามชุกเปน็ คนแรก อุปสมบทคร้ังแรก เมื่ออายุครบบวช แต่ด้วยความที่ท่าน เป็นคนไม่รู้หนังสือ บทสวดมนต์บางบท ท่านต้องจ�าจากท่ีแม่ชี สวดกัน ท่านจึงสวดมนต์ได้แค่อิติปิโส ฯ พาหุง ฯ แม้แต่นะโม ก็ต้องต่อเอา ด้วยเหตุนี้ท่านจึงต้องลาสิกขาบท ท้ังๆ ที่ไม่อยากจะ ลาเลย ชีวิตสมรส ท่านสมรสกับแม่บาง เมื่ออายุ ๒๖ ปี แต่ไม่มี บุตรด้วยกัน ท่านยึดอาชีพท�านา ท่านมีสุขภาพไม่ค่อยจะแข็งแรง เทา่ ไรนัก ต้องทนทกุ ขท์ รมานกับโรคภัยถงึ ๒ ปี โดยในระหวา่ งนั้น ท่านได้รับค�าแนะน�าจากแม่ชีจินตนา ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงพ่อสด วัดปากน�้า ใหท้ �ากรรมฐานเผือ่ วา่ โรคจะหาย วันท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๔ หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก อุปสมบทท่ีวัดนางบวช อ.เดิมบางนางบวช เป็นการบวชคร้ังท่ีสอง (ครั้งแรกเม่ืออายุครบบวช) และไปจ�าพรรษาปฏิบัติธรรมที่วัดบ้านทึง (ในปา่ ชา้ วัดบา้ นทึง) วันท่ี ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก ละสังขาร ณ ศาลาเรือนไทย วัดสังฆทาน สิริรวมอายุได้ ๘๙ ปี มพี รรษา ๕๕ พรรษา ซ่ึงเปน็ ท่โี ศกเศรา้ ของสาธุชนโดยทัว่ ไป

หลวงพ่อสนอง กตปญุ โฺ ญ ท่านมีนามเดิมว่า สนอง โพธ์ิสุวรรณ เกิดเม่ือวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๗ ตรงกบั วันพธุ ข้ึน ๑๓ ค่า� เดือน ๕ (๔ ฯ ๕) ปีวอก จ.ศ. ๑๓๐๕ ณ ต.หนองผักนาก อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี โยมบิดาชื่อ นายเอม โพธ์ิสุวรรณ โยมมารดาชื่อ นางแม้น โพธิ์สุวรรณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันท้ังหมด ๙ คน ท่าน เปน็ บตุ รคนท่ี ๗ เมื่ออายุประมาณ ๑๕ ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดไชนาวาส ต.ท่าพ่ีเล้ียง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี คร้ันอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๗ ณ พัทธสีมาวัดดอนไร่ ต.หนองสะเดา อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ได้รับนามฉายาว่า ”กตปุญฺโญ„ ซ่ึงแปลว่า ”ผู้มีบุญอันได้กระท�าแล้ว, ผู้ท�าบุญไว้แล้วแต่ปางก่อน„ ท่าน อุปสมบทได้เพียงพรรษาเดียวก็เร่ิมออกเดินธุดงค์ไปทางภาคอีสาน หลวงพ่อสนองได้ละสังขารเมื่อเวลาประมาณ ๒๑.๓๙ น. ของคืนวันศุกร์ที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ด้วยโรคไตวายและ โรคหัวใจ ในระหว่างก�าลังจ�าพรรษาอยู่ ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรม กตปุญโญ (สวนธรรมกิจสุนทร) ต.ปากน้�า อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี สิริรวมอายุได้ ๖๘ ปี ๔ เดือน พรรษา ๔๘ แม้ว่า ท่านจะลาโลกไปแล้วก็ตาม แต่คุณงามความดี คุโณปการย่ิงที่ท่าน มีต่อพระพุทธศาสนาและมวลมนุษย์ชาติ จะเป็นเคร่ืองเตือนใจให้ บรรดาศษิ ยานศุ ษิ ย์ไดจ้ ดจา� มิลืมเลือน 177



พระพครพรพะเูปรจครพะา้ละรอคคเดัูปะจารรวเค้าไลูปเจาพปูอจรดัา้สลาเ้ลรอปูจววอไัดินาัด้ดัพลาวอไสทวสไดัราพาวพังรสินวไสัดรฆ์รวาพทวินสสดัสทนิ ัดรังริทวสาทสฆนิ์วินัดงัรสงัรทฑัทฆส์ฆ์ิรสาังรทสฒฺ ิวทนฆ์ิราิรฑัาสิวนทโวินนัฑริฺฒาัฑิวนฺฒโฒฺฑั นโฒฺ โนนโน พอพกแงัลรรรคะะะกคาอกพแพอนรฎ�าุปังลรรราททหกแอพพคาะักพพอแงะชะก่ีังมล่รราคาครพอ๒ังฌนลรรครระฎนะพอกแพุนะคา�ุปะะมวะา๐ทกคาอทาหงันลมาครารรอังรชนฎงยธ่ีค�าุปรมฎะ่ะาคาะทีพา�ุพ๒ปกนฌทหม์าทาคา๒ทหนอังชนุน่ีาศังมชฤรมวาพ๐ฎุ่มาคี่พาา�๒ุฌปม่มาคาพทมิ๕๒ฌรงษนทหยุนธวรานมังุนวช๐ีิพนี่สามมเโีวภะ์๐๒่มาค๒าพ๒ฌงดรยมธศฤปวาพงมุยนาธนีพนมมิ๒ว์ี๐มมัคิ๕พน๒สรษเาลมว์รมศ๒ปฤาพงุมยิธศสมเฤโีดัาภพะดมุ๒ีมิ๕พนน็รษดรมว์รมิ๕ไปวร๒ษ์ิาวสพริสศพเโี๒ฤภะิ๒าพพุมมิัคสเลเีโภทะดรั๒งปมิ๕ปวรษดรรารว๔มรปรวดัวดาิ๒่มัคาิ็นสเะลเโีะิ๒ภะิมัคไนาส๙เปิ์ลนสพดรกมปพด๒ัปวดลพคาม็นดัท๒ทดงิ๒ไรมไัคน็สเร์ิยลรสพ๔ไรวรปพดิ์๒รสพ่พราะมพ๒ทดะัพด์ิงูนา๙มเนท็นนร์ังร้กอ๔ปรไวลเรค์ิร่สพ๔ารวว๒ทะปพะศ่ไริพุานปนา๙็นะยะนทิังกานา๙รดรนล็รรคนิกร๔จบสร๒ทลว์ทคูไร่มเาน๒ทะ์ยิ้ะไอสรพิปานารเ๙ุตดยรมนรกวสรปดจรศ์ลรุคนูปวน็มเรนร๒ท์์้าูบอไมรเปานเ์็มนิ้ยัอรสะปขจบวสเปรทดรศรุรนปทวน็ปิศอสุ์พอนาปูน็ดายมุตเมน็น์ิา้รสอปจบส็ทเนนิงวรจ์จรบ์ิสวรทปิบศสพุานปเรน็ตุมมิัสุพสะขาสาตุเจมมร็นอ้ิวทสรรจบรสกอทอบาวดายรารร่ืมัอิยบสะพขาวมิตุนรังมดจสะข์ท์ิยสรจอเวอทนดเรายวรอรุอสอบดายเเมาั์นมนอ้งัจสะ์ข์ิมากนกงราจร์์ิเรท่ือยจุอสอทเรวเาดยเ่ืิมสอุสอ้ยาเมกาปเวอ้นางรจี่์์ิก่ืนออยวาเรรวเรั่ืิ์นอยดุสมยา๗็วาิัเกมิทนดนยเวอ้นยจกเอวทนาเเร่ืสอัอ์ื่น์อยเมาวัป์กินดี่มายนกวจเรวทเนื่สอจอท๗็เเ่ืัสิทอนนาปยั์นี่มานปกวรี่นว์จร๗็ทเั่ืทินนยสอ๗็ัิทนนยาปี่น์วร์ ๗็ัทินนย์ พ.ศ.พ.๒พศพ๕..ศพศ๒๒..๔ศ๕๒๒.๒๕พ๕๒๔๒ร๒๕ร๔๔พษ๒รา๔พทพรรษี่รพร๓ราษรทษาร่ีหาทษท๓ลี่ า่ี ว๓ท๓หงี่ พล๓หหว่อลงลไหวพพวงลง่อรพวพินไง่อพ่อทพไรไรพ่อพิน์ไรไดรทิพนิน้รทร์ทไินรดร์ทไ้์ไดรด้์ไ้ ด้ ติดตตามิดตตหิดิดลาตมตวิดาหงามตพมลหา่หอวมลงสลหวพนวงล่องอพวพสง่องไ่นอพสปสอน่อจนง�สาอไอพปนงงไรจอไปร�ปางจษพไจ�าปาร�าพทจพรร่ีอษ�ารรพโารษศทรษการ่ีอาทษมทโ่ีอศาิช่ีอโทกชโศ่ีศอ่ัมนกโกิชศมปมชกิชั่นริชชมะชั่นิเชปั่นทชรศป่ันะปรเรทะปะเศรเททะศศเทศ อินเดอียินออเินดหินอเียลเดินดังียเีหยจดาลหียกหังลทจลหังี่าอังจกลจอาังทากกจกี่อพทาทอกรี่อี่อกรทออพษี่กอการอพแพรกรลษรพร้วราษรแษทารล่าาแษแ้นวลาลทไแ้วด้ว่าทลนท้เ้ด่วาไ่านทินดนไ่าท้เไดนดา้เิไนง้เดดไทินป้เินาดทยงทินัางไางปทงไยไาปปงั ยไยปังังยัง ออรังอคออารอบอังอารคอรดังอาังคบครราังาัฐบดคบมาาดหบรดัฐาารรมดรัฐาหัฐชมรมาหัฐรหปมาารชรหระาาเชปทชรราศปชะปอรเรทินะปะเศเรเทดทอะศียศินเทอตอเินศดาินมีเอยเดดดินตียี�ยาเาดตรมติหียาดามลตม�าดวราดมิงห�า�ารพดลริห่อิหว�าลรงลิวหพวงล่องพวพ่อง่อพ่อ สนอสงเนพสสอ่ืนอนงเสอเผอพงนงยเ่ือเพแพเงผ่ือพเ่ือพเยรเผผ่ืแอ่คยพยเ�าผแสแรพยั่ง่พคแสร�าร่คพอส่ค�นา่ัรง�าส่คขส่ังออ�าั่งสสนงออั่งอขนสงอนคของขอน์สองมขงอคอเดง์งสค็จอคม์สสง์สเคมดัมม์สเ็จมเดดสมา็จพัม็จเสดสุมทัม็จัมาธสมพเมจัมาุทาพ้ามพธุทาเุทพจธธ้าเุทเจจธ้า้าเจ้า คืนยคังืนแคคผยืนืนัง่นคยแยดืนังผังินแยแ่นผมังผดแ่นา่นินตผดดุมภ่นิ ินูามดมตมิินาุภาหตมตูมลุภาุภิังตูมูหมจุภิ าิลูหมกหังลิกจลหังลาังจกลับจาักงาจกจกลากากกับกลลปจักบับราลจกะจับาเปาทกจกรปศาะปกรอเรทะปินะเศรเเทดทะอศีเยศินทออเศินดินอเียเดินดียีเยดีย ท๓หล่านวพงหท๓กรพล่็าไร๓ทห่อดนวห๓ทพษล่าสงล้ก่เารานวพ๓ทหขพนนว็ไพรงกล้่า่ออางดรนกพษรมนพ็วไสงพร้เ็ัไบรอ่าดงาขนกษอ่ดรกษพสไอ้เา็สอไารนต้ดเขนุาอ่ปมดขงนษัปบ้้าวอสันาฏ้เอากมนุญ่งไขนาอมับงฐตดัทาบุ้ปอกฺโานาไอกปมญ้่วไางอกัตดฏับุปตดนญุ่าาุปอปกฐ้วไอทัปฏ้เวฺโังฏตุญดา่ปาุปญุ่าฐคกทปฐ้ว็นนฺโทัฏาอฺโ์หญาุ่ากญพเ่าฐกงนทปลนอฺโาครอญเว่็านกงเะป์งหนงปคพออค็นพลเ็น์หุงปรป์หพว่อคพะลัฏ็นงลสร์อหวรพฐพวะนุปงะลาอง่อรพออักวฏพุปสะุงป่งออฐอ่อันอฏพัสฏงาุปสยอฐกค่อนฐนัูฏ่างปอ์สแาอกอฐรกงนรงอยงาะคอกอกอูง่มป์งแยขงคยอารคูรออ่ปณ์ูแง่ะปก์แงยรคมรรขรู่ะปก์แาะกอมรณมขรขงาะอกาณอมณงขงาอณง 179

จากนน้ั หลวงพอ่ สนองไดใ้ หห้ ลวงพอ่ ไพรนิ ทรเ์ ดนิ ทาง ไปจ�าพรรษา ณ วัดสังฆทานเบอร์มิ่งแฮม ประเทศอังกฤษ ปัจจุบันชื่อวัดสันติวงศาราม นับได้ว่าท่านเป็นหนึ่งใน คณะสงฆ์รุ่นแรกในการบุกเบิกส�านักปฏิบัติธรรมในทวีป ยโุ รป พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๓ หลวงพ่อไพรนิ ทรไ์ ดไ้ ปจ�าพรรษา ที่สา� นกั ปฏบิ ตั ิธรรมอุม้ ผาง จังหวดั ตาก เปน็ เวลา ๕ ปี จากน้ันจึงได้กลับมาวัดสังฆทานเพ่ือช่วยสร้าง พระอุโบสถแกว้ ซง่ึ ใชเ้ วลาสร้างประมาณ ๑ ปคี ร่งึ พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นเจ้าอาวาสวัดในขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช ซ่ึงขณะน้ันเป็นวัดร้าง ต่อมาท่านได้ท�า การบูรณะจนกลับคืนสู่สภาพสมบูรณ์ ต่อมาได้มีการ กอ่ สรา้ งพระอุโบสถและเสนาสนะอ่ืนๆ อีกหลายอย่าง ซึ่งได้ ก่อสรา้ งจนแลว้ เสรจ็ พ.ศ. ๒๕๕๒ เนื่องจากอาการอาพาธของเจ้าอาวาส วดั ถ้า� กฤษณาธรรมาราม อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า ซึ่งเป็น สาขาของวัดสังฆทาน หลวงพอ่ สนองไดใ้ หห้ ลวงพอ่ ไพรินทร์ ไปประจ�าและรักษาการเจ้าอาวาสวัดถ�้ากฤษณาธรรมาราม ท่านได้รับการแต่งต้ังให้เป็นเจ้าอาวาสอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔

พ.ศ. ๒๕๕๕ หลวงพ่อไพรินทร์เดินทางไปจ�าพรรษา ณ วัดสังฆทานไทยเยอรมัน ประเทศเยอรมนี ในฐานะ ประธานสงฆ์ ในพรรษาเดียวกันนี้เองที่องค์หลวงพ่อสนอง ได้ละสังขารเม่ือวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ พอทราบข่าว การละสังขารขององค์หลวงพ่อสนอง หลวงพ่อไพรินทร์ ก็ได้เดินทางกลับมาทันทีเพื่อช่วยงานสวดอภิธรรมสรีระ องค์หลวงพอ่ ประมาณกลางเดือนกันยายน ๒๕๕๕ คณะสงฆ์ วัดสังฆทานได้ประชุมลงมติให้หลวงพ่อไพรินทร์เป็นเจ้าอาวาส วัดสังฆทาน และได้มีค�าสั่งแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัด 181



นนทบุรี เม่ือวันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยได้ ทําพิธีมอบตราต้ังเจ้าอาวาสอย่างเป็นทางการเมื่อวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ หลวงพ่อไพรินทร์ท่านมีบทบาทส�าคัญในงานต่างๆ ในวัดสังฆทาน เช่น มุทิตาสักการะหลวงพ่อสนอง งานแห่ พระบรมสารีริกธาตุ สามเณรภาคฤดูร้อน เป็นต้น ซ่ึงแม้ว่า ท่านจะอยทู่ ่ไี หนไกลใกล้เพียงใด แต่เม่ือถึงเวลางานส�าคญั ๆ ทา่ นต้องมาช่วยงานหลวงพ่อสนองอยา่ งเสมอ ในมหาธรรม- ยาตราครั้งท่ี ๔ มุมไบ-จุนนา-ออรัง คาบาด-ถ้�าอชันตา ถ�้าเอลโรรา หลวงพ่อไพรินทร์ก็ร่วมเดินทางไปกับคณะ หลวงพ่อสนองด้วย ซึ่งหลวงพ่อสนองพูดไว้ก่อนเดินว่า จะเป็นการเดินคร้ังสุดทา้ ยแลว้ หลวงพ่อไพรินทร์ได้ด�าเนินตามค�าสอนของหลวงพ่อ สนองอย่างเคร่งครัด ท่านมีด�าริท่ีจะสืบทอดเจตนารมณ์ของ องค์หลวงพ่อสนองที่จะสืบสานงานเผยแพร่พระพุทธศาสนา ท่ีส�าคัญที่องค์หลวงพ่อสนองได้ด�าริไว้ นอกจากน้ันหลวงพ่อ ไพรินทร์มีด�าริที่จะพัฒนาบุคลากรโดยมุ่งเน้นพระภิกษุ รุ่นใหม่ให้เป็นผู้มีความสามารถในการบรรยายธรรม ซ่ึงจะ อ�านวยการเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ขยายอย่างกว้างไกล สาธุ.. 183

วดั ท่งุ สามคั คีธรรม ต�ำบลหนองผกั นาก อ�ำเภอสามชกุ สุพรรณบรุ ี ๗๒๑๓๐