Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุดประกายแห่งปัญญา[หลวงพ่อทูล]

จุดประกายแห่งปัญญา[หลวงพ่อทูล]

Published by ir.uk.bee, 2015-08-20 02:41:15

Description: พุทธประวัติที่ถูกเรียบเรียงไว้ในแต่ละประเทศ เหมือนกันบ้างและไม่เหมือนกันบ้างในบางจุด หลวงพ่อทูลได้เรียบเรียงไว้ในอีกเหตุผลหนึ่งเพื่อให้ท่านทั้งหลายได้เข้าใจ ถึงจะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่จุดสำคัญคือการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า อุบายธรรมอะไรที่พระพุทธเจ้าใช้สอนใจในการตรัสรู้ ท่านทั้งหลายจะได้เข้าใจในหนังสือเล่มนี้

Search

Read the Text Version

จุดประกายแห่งปัญญา พระอาจารย์ทูล ขปิ ฺปปญฺโ

ค�ำปรารภ หนงั สอื “จดุ ประกายแหง่ ปญั ญา” ทท่ี า่ นจะไดอ้ า่ นตอ่ ไปนี้ไดก้ ลา่ วถงึ เรอ่ื งของพทุ ธประวตั ิ ซง่ึ มหี ลายประเทศทไี่ ดเ้ รยี บเรยี งกันเอาไว้ เหมือนกนั บา้ ง ไมเ่ หมือนกันบ้างในบางจดุ ขา้ พเจ้าจงึได้เรียบเรียงไว้ในอีกเหตุผลหน่ึงเพ่ือให้ท่านทั้งหลายได้เข้าใจถึงจะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่จุดส�ำคัญคือการตรัสรู้ของพระพทุ ธเจา้ อบุ ายธรรมท่พี ระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้นน้ั ในตำ� ราท่ีมีอยู่ยังไม่มีความชัดเจนเท่าท่ีควรว่า พระพุทธเจ้าเอาอะไรมาเป็นอุบายธรรมสอนใจ ท่านท้ังหลายจะได้เข้าใจในหนังสือเล่มนี้ในจดุ สำ� คญั คอื การลอยถาดทองคำ� พระองคไ์ ดเ้ อาถาดทองคำ� มาเปน็ อบุ าย น้อมเขา้ มาเปรียบเทยี บกับใจของพระองค์ นำ� มาคดิ พจิ ารณาดว้ ยปญั ญา ทำ� ใหพ้ ระองคม์ ปี ญั ญาเกดิ ขน้ึ ทเ่ี รยี กวา่ญาณทัสสนะ รู้จรงิ เหน็ จริงตามความเปน็ จริงของโลก และรู้เหตปุ จั จยั ทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ มา นน้ั คอื ความอยากทใ่ี จไมอ่ ม่ิ พอจึงเกดิ ความยินดีผกู พนั ยึดมนั่ ในกามคุณทง้ั หลายในโลกน้ี เป็นเหตุท่ีท�ำให้มนุษย์เวียนว่ายตายเกิดในภพทั้งสามไม่มีที่ส้ินสุด

พระองคไ์ ดใ้ ชป้ ญั ญาญาณทเ่ี กดิ ขน้ึ ตดั กระแสแหง่ ความอยากให้หมดไปจากใจ ในจดุ นนั้ เองพระองคจ์ งึ เกดิ สมั มาทฏิ ฐิ ความเหน็ท่ถี ูกตอ้ งชอบธรรม จงึ ได้ประกาศในใจวา่ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ไปเพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เราได้รู้แล้วด้วยสติ สมาธิปัญญา ของตนเอง ไม่มใี ครเป็นครูอาจารย์ใหแ้ กเ่ รา น้แี สดงวา่สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ชอบ สมั มาสังกัปโป การดำ� ริชอบ จงึ เปน็จุดเร่ิมต้นของการปฏิบัติ ขอให้ท่านทั้งหลายอ่านหนังสือเล่มน้ีโดยใช้สติปัญญาพิจารณาตามเหตุผล ท่านจะได้เข้าใจประวัติของพระพุทธเจ้า พร้อมท้ังร้แู นวทางและอบุ ายการปฏบิ ัติธรรมที่ถูกต้องตรงต่อมรรคผลนพิ พาน พระอาจารย์ทลู ขิปปฺ ปญโฺ  Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

สารบญั พทุ ธประวัติ ๑ชีวิตวัยเดก็ และวยั หนุ่ม ๕เสดจ็ ประพาสกรุงกบลิ พสั ด ุ์ ๑๑พบเทวทตู ทง้ั ๔ ๑๘เสดจ็ ออกบวช ๒๓ทรงค้นพบแนวทางตรสั รดู้ ว้ ยพระองค์เอง ๓๐ปญั ญาสอนใจใหม้ ีความร้รู อบ ๓๓การพจิ ารณารูปขนั ธ์ ๓๕เหตุแหง่ ทกุ ข์ท่พี าใหเ้ กิดในภพท้งั สาม ๓๙ความทกุ ขท์ หี่ ลกี เล่ียงไม่ได้ ๔๔ปญั ญาของพระองค์ไดเ้ กดิ ขึ้น ๔๘อภญิ ญาญาณ ๕๔อาสวกั ขยญาณไดเ้ กดิ ขนึ้ ๕๘การดพู ระอริยเจา้ ดไู ดย้ าก ๖๓สมาธิของพระพทุ ธเจ้า ๖๗

สมั มาทฏิ ฐิ เปน็ จุดเริ่มตน้ ของการปฏบิ ัต ิ ๖๙ศึกษาประวัติพระอรยิ เจ้าใหด้ ี ๗๔ปญั ญาวมิ ตุ ิ เจโตวมิ ุติ ๘๐ปญั ญาพิจารณาไตรลกั ษณ ์ ๘๗อบุ ายการภาวนาปฏบิ ตั ิ ๙๑ตคี วามหมายในค�ำสอนของพระพทุ ธเจา้ ใหด้ ี ๙๕เลือกหัวหนา้ โคให้ถกู ตอ้ ง ๑๐๒อภธิ รรม ๑๐๔บทสรปุ ๑๐๘

พทุ ธประวัติ ประวตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ ชาวพทุ ธทกุ ประเทศไดอ้ า่ นกนั อยู่แลว้ จะเหมอื นกนั บา้ งไมเ่ หมอื นกนั บา้ ง สาเหตเุ พราะนกั ปราชญ์ในยคุ นนั้ ในประเทศนนั้ ๆ มคี วามเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ ไดเ้ รยี บเรยี งไวอ้ ยา่ งนน้ั เมอื่ คนรนุ่ หลงั ไดอ้ า่ นกม็ คี วามเขา้ ใจไปตามนนั้ ในบางประเทศไมม่ เี หตผุ ลเพยี งพอ ในบางประเทศมเี หตผุ ลนา่ เชอื่ ถอื ได้ในบางสว่ น ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ขา้ พเจา้ มเี วลาขา้ มไปประเทศลาว ไดไ้ ปพักปฏิบัติอยู่ที่วัดดงนาชก ข้าพเจ้าชอบการศึกษาหาความรู้ไดเ้ หน็ ตพู้ ระไตรปฎิ กเกา่ ๆ อยตู่ หู้ นงึ่ เปน็ หนงั สอื ใบลาน เปน็ ตวัหนงั สอื ลาวหอ่ ดว้ ยผา้ อยา่ งดี มอี ยจู่ ำ� นวนมาก เมอื่ แกห้ อ่ ผา้ ออกอ่านดกู ร็ วู้ ่าเป็นหนังสือพุทธประวัติ ข้าพเจา้ มีความสนใจอยาก

๒ จุดประกายแห่งปัญญา จะรู้ว่าพุทธประวัติของประเทศลาวจะมีความแตกต่างจาก ประเทศไทยอย่างไร มีหลายเร่ืองท่ีเหมือนกับของประเทศไทย และมีหลายเรื่องที่มีความแตกต่างกัน ความแตกต่างหลายๆ เร่อื งจะไมน่ �ำมาเขียนไวใ้ นหนงั สือนี้ จนกระทง่ั เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ขา้ พเจา้ ไดม้ เี วลาไปหลวงพระบาง เพอ่ื จะไปคน้ หาหนงั สอื พทุ ธประวตั ริ นุ่ เกา่ ๆ มาอา่ น แตก่ ห็ าไมไ่ ด้ จึงถามพระผู้ใหญ่หลายท่านไปว่าหนังสือพุทธประวัติรุ่นเก่าๆ มีอยู่ท่ีไหน ท่านเหล่านั้นได้บอกว่าหนังสือรุ่นเก่าๆ ทั้งหมดใน พระไตรปฎิ ก เมอื่ มกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง คณะปกครอง ไดเ้ อาหนงั สอื เหลา่ นไ้ี ปทำ� ลายหมดแลว้ ทมี่ อี า่ นกนั ในปจั จบุ นั น้ี เป็นหนังสือพุทธประวัติของประเทศไทย แต่ได้น�ำมาเขียนเป็น ตัวหนงั สอื ลาวพอให้ไดอ้ า่ นกันเทา่ นน้ั หลังจากได้อ่านพุทธประวัติของประเทศลาวในคร้ังนั้น ขา้ พเจา้ จดจำ� ไดเ้ ปน็ อยา่ งดเี พราะมเี หตผุ ลนา่ เชอ่ื ถอื ขา้ พเจา้ จะ ได้น�ำบางเร่ืองที่เห็นว่ามีความส�ำคัญมาอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ รบั ทราบ ขอตดั ตอนมาเรม่ิ เขยี นในเรอ่ื งเจา้ ชายสทิ ธตั ถะออกบวช เรอื่ งนม้ี คี วามแตกตา่ งกนั กบั พทุ ธประวตั ขิ องประเทศไทยอยบู่ า้ ง คดิ วา่ ทา่ นผรู้ จู้ ะไดร้ บั รดู้ ว้ ยเหตแุ ละผล เพราะชาวพทุ ธทงั้ หลาย

พุทธประวตั ิ ๓แตล่ ะประเทศไดเ้ ขยี นเอาไวม้ คี วามแตกตา่ งกนั อยแู่ ลว้ ใครเขยี นได้ดี มีเหตุผลนา่ เชอ่ื ถือ กค็ วรสนใจเอาไว้ เมอ่ื พระพทุ ธองคท์ รงมพี ระชนม์อยู่ พระพุทธองค์ไดต้ รัสไว้ว่าในอนาคตต่อไปภายภาคหน้าโน้น ในหมู่พุทธบริษัทจะมีความเหน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั การเขยี นหลกั ธรรมคำ� สอนของเราตถาคตจะมกี ารผดิ เพย้ี นไป จะทำ� ใหช้ าวพทุ ธในยคุ นัน้ มีความเขา้ ใจผดิไปจากคำ� สอนของเราตถาคตเปน็ อยา่ งมาก ผปู้ ฏบิ ตั ใิ นยคุ นนั้ จะเกดิ ความสบั สน การเรมิ่ ตน้ ในการปฏบิ ตั จิ ะไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั เดมิที่เราตถาคตได้ตรัสเอาไว้ ดังปรากฏในหนังสือ “กาลามสูตร”เรอ่ื งของความเชอ่ื มอี ยู่ ๑๐ ขอ้ ดว้ ยกนั ๑ ใน ๑๐ ขอ้ พระพทุ ธองค์ไดต้ รสั ไว้ว่า “อยา่ พึง่ เช่ือตามตำ� ราหรือคมั ภรี ์” นีห้ มายความวา่ พระองคใ์ หใ้ ชด้ ลุ ยพนิ จิ คดิ พจิ ารณา ใหร้ วู้ า่ ธรรมะนม้ี เี หตผุ ลพอเชอื่ ถอื ไดเ้ พยี งใด เมอ่ื มคี วามเขา้ ใจในเหตผุ ลดแี ลว้ จงึ คอ่ ยตัดสินใจเชื่อในภายหลัง ถึงจะมีค�ำเขียนประกอบไว้ว่าน้ีเป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ก็ตาม นั้นเพียงเป็นค�ำของผู้เขียนยกข้ึนมาอ้างอิงไว้เท่านั้น ผู้อ่านต้องสังเกตดูให้ดีเพื่อไม่ให้มีปัญหาเกดิ ข้นึ ภายหลัง สำ� หรบั ในตอนเจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงออกบวช เรอื่ งราวจะ

๔ จุดประกายแห่งปญั ญา เปน็ อยา่ งไร ขอใหผ้ อู้ า่ นพจิ ารณาดใู นเหตผุ ลวา่ พอเชอื่ ถอื ไดห้ รอื ไม่ ขา้ พเจา้ จะได้อธิบายตามที่ได้ศกึ ษามาจากประเทศลาว ซึง่ จะมี ความแตกต่างกันกับประเทศไทยอยู่บ้าง ขอให้นักปราชญ์เจ้า ทัง้ หลายไดพ้ จิ ารณาในเหตผุ ล ในบางเรื่องจะเหมอื นกนั กับของ ประเทศไทย แตใ่ นบางเรอ่ื งจะไมเ่ หมอื นกนั ตรงไหนทไี่ มเ่ หมอื นกนั ตรงนนั้ เปน็ พทุ ธประวตั ขิ องประเทศลาว ขอใหท้ า่ นผอู้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจ ตามน้ี เพื่อท่จี ะได้เปรยี บเทยี บกนั ในเหตุผล

ชีวติ วัยเด็กและวัยหนุม่ ตามประวตั ใิ นสมยั ครง้ั นนั้ เมอ่ื เจา้ ชายสทิ ธตั ถะมอี ายุ ๕ วนัได้รับค�ำท�ำนายจากพราหมณ์ท้ัง ๘ คน มีพราหมณ์ ๗ คนได้ท�ำนายว่า “เจ้าชายสิทธัตถะ ถ้าได้ครองราชย์จะได้เป็นพระบรมจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ปกครองประชาราชทุกหัวเมืองจะมีมหาชนให้ความเคารพเชื่อถือ กิตติศัพท์เกียรติคุณจะเล่ืองลือแผ่ไพศาลไปทุกถ่ินเขตแดน เจ้าพระยาทุกหัวเมืองจะขนึ้ ตอ่ พระบรมจกั รพรรดนิ ท้ี ง้ั หมด ถา้ ไดอ้ อกบวชจะไดต้ รสั รเู้ ปน็พระพุทธเจ้าผยู้ ่ิงใหญใ่ นภพทั้ง ๓ จะนำ� ธรรมะมาอบรมสงั่ สอนประชาชนให้ได้หลุดพ้นเป็นพระอริยเจ้าเข้าสู่พระนิพพานเป็นจำ� นวนมาก” พราหมณท์ งั้ ๗ คนไดท้ ำ� นายในลกั ษณะนเี้ หมอื นกนัและยืนยันว่าเจ้าชายสิทธัตถะต้องเป็นไปในลักษณะนี้อย่าง

๖ จุดประกายแหง่ ปญั ญา แนน่ อน แตม่ พี ราหมณห์ นมุ่ อกี ทา่ นหนง่ึ ชอื่ วา่ โกณฑญั ญพราหมณ์ เป็นคนที่ ๘ ได้ดูมหาปุรสิ ลักษณะของเจา้ ชายสทิ ธัตถะทงั้ หมด แลว้ ได้ยกมอื ขึน้ ชี้นิ้วเดยี วแลว้ พูดข้นึ ว่า “เจ้าชายสิทธัตถะจะ ไม่ได้ครองราชย์ จะเสด็จออกบวชและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เทา่ นัน้ ” พระเจ้าสุทโธทนะเมื่อได้รับรู้ค�ำท�ำนายจากพราหมณ์ท้ัง ๘ คนแลว้ มคี วามไมส่ บายพระทยั เพราะไดต้ งั้ ความหวงั เอาไวว้ า่ จะใหพ้ ระราชโอรสสืบทอดพระราชวงศ์ตอ่ ไป ในชว่ งตอ่ มาเม่อื พระราชโอรสเจริญวัย ได้ส่งไปเรียนหนังสือที่กรุงตักศิลากับ ครูวิศวามิตร เมื่อศึกษาจบไตรเพทและวิชาส�ำหรับกษัตริย์ ๑๘ ศาสตร์ ก็เสด็จกลับกรุงกบิลพัสดุ์ ในวัยนี้มีอายุ ๑๖ ปี เร่ิมเป็นวัยหนุ่ม พระราชบิดามีความกังวลพระทัยเป็นอย่างย่ิง มีพระด�ำริในค�ำท�ำนายของโกณฑัญญพราหมณ์อยู่เสมอว่า เจ้าชายสิทธัตถะจะไม่ได้ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ เป็น พระบรมจักรพรรดิแต่อย่างใด ในพระราชหฤทัย ด�ำริหาวิธี วางแผนเพอ่ื จะใหเ้ จา้ ชายสทิ ธตั ถะมคี วามลมุ่ หลงในโลกยี วสิ ยั นี้ ใหไ้ ด้ ในทส่ี ดุ ทรงดำ� รวิ า่ ดว้ ยนสิ ยั วยั หนมุ่ ถา้ มหี ญงิ สาวสวยงาม มาอยู่ใกล้ชิด ความคิดที่จะออกบวชนั้นจะหมดไปจากใจ เม่ือ

ชวี ิตวัยเด็กและวัยหนุ่ม ๗ดำ� รอิ ยา่ งนแ้ี ลว้ จงึ ไดส้ รา้ งพระราชวงั ขน้ึ มา แลว้ จดั หาสาววยั รนุ่ทสี่ วยงามมาปรนนบิ ตั ติ ลอดทงั้ วนั ทง้ั คนื มมี หรสพเตน้ รำ� ขบั รอ้ งดดี สตี เี ปา่ ดว้ ยเครอื่ งบรรเลงนานาชนดิ มคี วามสนกุ สนานรา่ เรงิตลอดทั้งวันคืน จัดหาสาวสวยมาเป็นสนมรับใช้หกหม่ืนนางเจ้าชายสิทธัตถะในวัยนี้ก็มีความสุขตามโลกียวิสัยในทางโลกอยู่บ้าง น้ีเป็นแผนการของพระราชบิดาหาวิธีผูกมัดใจของเจ้าชายสิทธัตถะ เพ่ือให้เกิดความหลงระเริงอยู่ในกามคุณท่ีทางโลกมตี อ่ กัน และไดส้ ร้างปราสาท ๓ หลังให้พกั ผอ่ นในชว่ งฤดูกาลตา่ งๆ คอื ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว แผนการท้งั หมดน้ีพระราชบดิ าจัดการใหท้ ้ังหมด เจ้าชายสทิ ธัตถะในขณะน้ียังไม่รู้ตวั ว่าพระราชบิดาหลอกพระองค์ จากนั้นพระราชบิดาก็ได้จัดพิธีอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธราพิมพา พระราชบิดาต้ังความหวังไว้ว่าอีกเวลาไม่นานก็จะมีทายาทเกิดข้ึน ด�ำริว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะมีความลุ่มหลงในพระนางยโสธราและพระราชโอรสที่เกิดร่วมกัน ดังค�ำว่า“ปุตโฺ ต คีเว บตุ รบ่วงหนึ่งเกี่ยวพนั คอ ธนํ ปาเท ทรพั ย์สมบัติผกู บาทากรอเหนยี่ วไว้ ภรยิ าหตฺเถ ภรรยาเยี่ยงอย่างปอรงึ รดัมือนา สามบว่ งนี้ ใครแกไ้ ด้ จึงจะพ้นสงสาร”

๘ จดุ ประกายแห่งปัญญา พระราชบิดาด�ำริและเชื่อว่า ๓ บ่วงนี้จะผูกมัดเจ้าชาย สทิ ธตั ถะไดแ้ น่ แตล่ ะคนื วนั กจ็ ะมคี วามสขุ อยใู่ นทางโลกจนลมื ตวั พระราชบิดาวางแผนให้สร้างก�ำแพงวังที่แน่นหนาแข็งแรง มีประตูเข้าออก ๔ ประตู ประตูแต่ละช่องมีบานประตูปิดเปิด ไว้ ๓ ช้ัน ประตูแต่ละบานใช้ก�ำลัง ๘ บุรุษจึงจะเปิดปิดได้ ทหารเวรยามรักษาประตูแต่ละช่องๆ ละ ๒๐๐ นาย ทหาร ทงั้ หมดนเี้ ปน็ ทหารของพระราชบดิ าสง่ มารกั ษาพระราชวงั และ เจ้าชายสิทธัตถะโดยเฉพาะ มีค�ำส่ังอย่างเด็ดขาดว่าประตูไหน ให้เจ้าชายสทิ ธตั ถะเสด็จออกไปไดโ้ ดยล�ำพงั ทหารในประตูนัน้ ตอ้ งหวั ขาดทง้ั หมด เวน้ เฉพาะจะไดร้ บั สงั่ จากพระเจา้ สทุ โธทนะ พระราชบดิ าเพยี งผเู้ ดยี วเทา่ นนั้ ฉะนน้ั หมทู่ หารตอ้ งอยเู่ วรยาม กนั ๒๔ ชวั่ โมง การใชแ้ ผนการอยา่ งนเ้ี พอื่ ไมใ่ หเ้ จา้ ชายสทิ ธตั ถะ ออกไปนอกพระราชวังน่ันเอง หรือจะเรียกว่าคุกวีไอพีก็ไม่ผิด ถ้าเป็นไปตามแผนนี้ เจ้าชายสิทธัตถะก็จะไม่ได้ออกบวชแต่ อยา่ งใด เมอื่ วยั ของพระราชบดิ าชราลง เจา้ ชายสทิ ธตั ถะกจ็ ะได้ ขึ้นครองราชย์ตอ่ ไป ในเหตกุ ารณอ์ ยา่ งน้ี เจา้ ชายสทิ ธตั ถะไมร่ ตู้ วั วา่ พระราชบดิ า มีแผนการทำ� อะไร ในช่วงนีย้ งั ไมม่ เี หตปุ ัจจัยท่จี ะบอกให้รูว้ ่าจะ

ชวี ิตวัยเด็กและวยั หนุ่ม ๙ไดอ้ อกบวชดว้ ยวธิ ใี ด หลายปตี อ่ มาพระนางยโสธราไดใ้ หก้ ำ� เนดิพระราชโอรส มีนามว่า ราหุล ในเหตุการณ์จากน้ีไปให้ท่านผอู้ า่ นตงั้ ใจอา่ นใหด้ ี ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาอยา่ งมเี หตผุ ล เพราะเปน็พทุ ธประวัติของประเทศลาว พทุ ธประวตั ขิ องประเทศลาวทขี่ า้ พเจา้ จะไดอ้ ธบิ ายตอ่ ไปนี้จะมคี วามแตกตา่ งจากประเทศไทยอยบู่ า้ ง ในบางจดุ กเ็ หมอื นกนัข้าพเจ้าจะได้อธิบายควบคู่กันไป เพื่อให้เรื่องมีความสมบูรณ์พร้อมด้วยเหตุและผล เมื่อพระราชบิดาหาวิธีป้องกันไม่ให้เจ้าชายสิทธัตถะได้ออกบวช โดยวิธีสร้างพระราชวังกักขังถ่วงเวลาเพ่ือไม่ให้ออกบวช ให้ท่านท้ังหลายอ่านให้ดี จะรู้เหตุปจั จยั ทเี่ จา้ ชายสทิ ธตั ถะจะไดอ้ อกบวชในครง้ั น้ี ทผ่ี า่ นมาเจา้ ชายสทิ ธตั ถะไดเ้ สดจ็ ไปเขา้ เฝา้ พระราชบดิ าอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครงั้กอ่ นเสดจ็ ไปเขา้ เฝ้าพระราชบดิ าแต่ละครงั้ พระองค์มีสาสนใ์ ห้มหาดเล็กรักษาพระองค์แจ้งความประสงค์เพื่อเสด็จเข้าเฝ้าใหพ้ ระราชบดิ ารลู้ ว่ งหนา้ ทกุ ครงั้ เมอ่ื พระราชบดิ าอนญุ าตจงึ ได้เสด็จให้เข้าเฝ้าตามเวลาท่ีก�ำหนดเอาไว้ การเสด็จไปเข้าเฝ้าพระราชบดิ าทกุ ครง้ั เปน็ คณะใหญบ่ า้ งนอ้ ยบา้ ง เฉพาะพระนางยโสธราพิมพาจะตามเสด็จด้วยทุกครั้ง พระราชบิดาก็มีสาสน์

๑๐ จุดประกายแหง่ ปญั ญา รับสั่งให้ทหารที่รักษาเวรยามให้ทราบว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะ ได้เสด็จเข้าเฝ้าพระราชบิดา ถ้าไม่มีสาสน์ของพระราชบิดา ทหารผู้รักษาเวรยามจะไม่เปิดประตูให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จ ออกจากพระราชวงั ไดโ้ ดยล�ำพัง เพราะกลัวเจ้าชายสทิ ธตั ถะจะ หนีไปบวช จึงใช้พระราชอ�ำนาจข้อบังคับเป็นกฎเกณฑ์อย่างนี้ ตลอดมา

เสดจ็ ประพาสกรงุ กบลิ พสั ด์ุ คร้นั เมอื่ เจา้ ชายสิทธตั ถะอายยุ ่างเข้า ๒๙ ปี ในชว่ งนเี้ องบญุ บารมที ไ่ี ดบ้ ำ� เพญ็ มาพรอ้ มทงั้ ความปรารถนาเปน็ พระพทุ ธเจา้ก็มาบรรจบกันพอดี ในวันหน่ึงเจ้าชายสิทธัตถะได้เสด็จเข้าเฝ้าพระราชบิดา เพ่อื ขออนุญาตเสดจ็ ประพาสชมกรงุ กบิลพัสดว์ุ า่มีความเป็นอยู่อย่างไร นับแต่พระราชสมภพมายังไม่ได้เห็นกรุงกบิลพัสดุ์เลย ในขณะนั้นพระราชบิดาไม่สบายพระทัยเพราะกลัวเจ้าชายสิทธัตถะจะได้ทอดพระเนตรเห็นในสิ่งท่ีไม่สวยงาม อาจเกดิ ความเบ่ือหน่ายในสิ่งนนั้ ๆ จะทำ� ใหจ้ ิตเกิดความพลิกผันไปในทางออกบวชได้ พระราชบิดาจึงได้ตรัสแก่เจา้ ชายวา่ “เจา้ ชายสทิ ธตั ถะเอย การเสดจ็ ประพาสกรงุ กบลิ พสั ด์ุในคร้ังน้ีพระราชบิดายังไม่พร้อม อีกระยะหน่ึงเมื่อพร้อมแล้ว

๑๒ จดุ ประกายแห่งปัญญา พระราชบิดาจะสง่ สาสน์ให้ร้ใู นภายหลงั ” เจ้าชายสทิ ธตั ถะและ พระนางยโสธราพมิ พาพรอ้ มดว้ ยคณะกไ็ ดเ้ สดจ็ กลบั พระราชวงั ในช่วงนี้พระเจ้าสุทโธทนะทรงมีความวิตกกังวลพระทัย อยา่ งหนกั เมอื่ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะมคี วามประสงคเ์ สดจ็ ประพาสกรงุ กบลิ พสั ด์ุ ถา้ จะทรงหา้ มไมใ่ หเ้ สดจ็ กจ็ ะมปี ญั หาตามมาในภายหลงั จึงได้ตรัสออกไปเพื่อถ่วงเวลาเอาไว้ จากน้ันพระเจ้าสุทโธทนะ ก็ได้เรียกปุโรหติ ราจารย์และมหาอำ� มาตย์ให้เข้าเฝ้า ได้เล่าเร่ือง ที่เจ้าชายสิทธัตถะขอเสด็จประพาสพระนครกรุงกบิลพัสดุ์ ให้ร่วมกันปรึกษาหารือว่าเห็นสมควรเป็นอย่างไร ทุกท่านเห็น สมควรท่จี ะใหเ้ จ้าชายสิทธัตถะเสด็จประพาสได้ เพราะเจา้ ชาย สทิ ธตั ถะมอี ายเุ จรญิ วยั มาถงึ ปานนี้ มพี ระชายาและพระราชโอรส พร้อมด้วยพระราชวังที่มีความสุขสบาย ผูกพันอยู่ในลาภ ยศ สรรเสริญ และมีความสุขอยู่ในกามคุณอย่างสมบรูณ์เต็มที่ คงไมค่ ิดจะออกบวชแต่อยา่ งใด ทกุ ท่านจึงลงมติเหน็ สมควรให้ เจ้าชายสิทธตั ถะเสด็จประพาสกรุงกบลิ พสั ด์ุได้ จากนน้ั พระเจา้ สทุ โธทนะกไ็ ดป้ รกึ ษาปโุ รหติ ราจารยแ์ ละ มหาอ�ำมาตย์ท้ังหลายว่า จะให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จประพาส อยา่ งไร เสน้ ทางท่ีจะเสด็จท�ำอยา่ งไรจงึ จะเหมาะสม ทุกทา่ นให้

เสดจ็ ประพาสกรุงกบิลพสั ดุ์ ๑๓ความเหน็ วา่ เสน้ ทางทจ่ี ะเสดจ็ นน้ั ตอ้ งปรบั ปรงุ ใหม้ คี วามสวยงามปลกู ดอกไมน้ านาชนดิ ตามรมิ ทางประดบั ประดาดว้ ยธงทวิ โบกไสวในทุกพื้นท่ี เพราะจะมีผู้ตามเสด็จเป็นจ�ำนวนมาก จากนั้นจึงประกาศให้ประชาชนทุกหัวเมืองในขอบเขตกรุงกบิลพัสดุ์ได้รบั ทราบ และใหม้ ารว่ มกนั ทำ� ถนน เพอื่ ทจ่ี ะใหเ้ จา้ ชายสทิ ธตั ถะได้เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดยพรอ้ มเพรียงกัน ประชาชนทุกพ้ืนท่ไี ด้ทราบขา่ วกพ็ ากนั หลงั่ ไหลมาจากทกุ แหง่ หน ทกุ คนมคี วามยนิ ดีพอใจมาก จึงร่วมแรงร่วมใจกันท�ำเส้นทางพระราชด�ำเนินได้สำ� เรจ็ อยา่ งรวดเร็วและสวยงาม ไดม้ ีการจดั ระเบียบการเฝา้ รบั เสดจ็ ตามชาติ ชน้ั วรรณะให้เหมาะสม กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ให้มีความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย เฉพาะคนแกค่ นเจบ็ ปว่ ย ไดจ้ ดั สถานทร่ี บั เสดจ็ไวต้ า่ งหาก ทำ� เปน็ อโุ มงคก์ อ่ ดว้ ยกอ้ นอฐิ ใหม้ ชี อ่ งมอง ใหท้ กุ คนอยู่ในอโุ มงคน์ น้ั ไดม้ องเหน็ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ พระนางยโสธราพมิ พาพระราหลุ และคณะทต่ี ามเสดจ็ ได้อยา่ งทว่ั ถงึ กัน เมอื่ ทุกอยา่ งมีความเรียบร้อยสมบูรณ์ท้ังหมดแล้ว พระเจ้าสุทโธทนะจึงได้มีพระราชสาสน์ถึงเจ้าชายสิทธัตถะราชกุมารให้รับทราบถึงก�ำหนดวันเสด็จประพาสกรุงกบิลพัสดุ์ ให้เจ้าชายสิทธัตถะ

๑๔ จดุ ประกายแห่งปญั ญา พระนางยโสธราพมิ พา พระราหลุ พรอ้ มดว้ ยบรวิ ารตดิ ตามเสดจ็ ได้ตามวันเวลาดังกล่าว และได้ประกาศอย่างเป็นทางการให้ มหาชนทงั้ หลายไดร้ บั ทราบโดยทวั่ ถงึ กนั ในวนั อยา่ งนจี้ ะมอี ะไร เกิดข้ึนกับเจ้าชายสิทธัตถะ ขอทุกท่านจงตั้งใจอ่าน จะได้รู้จุด เริม่ ตน้ ในการออกบวชของเจา้ ชายสทิ ธัตถะ ณ บดั นี้ เม่ือถึงวันดังกล่าว หมู่มหาชนที่มารับเสด็จมืดฟ้ามัวดิน มาจากทกุ ทอ้ งถนิ่ เขตแดน เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจทหารไดจ้ ดั ระเบยี บ การรบั เสดจ็ อยา่ งเตม็ ท่ี และทำ� ตามกฎกตกิ าตามพระราชบญั ชา ของพระเจา้ สทุ โธทนะทอ่ี อกระเบยี บไวท้ กุ ประการ สำ� หรบั คนแก่ คนเจ็บป่วย ก�ำลังไม่ดี ถ้าต้องมาเดินเบียดเสียดกับหมู่คน จำ� นวนมาก อาจเสียชีวิตได้ เหตนุ น้ั จึงจดั ที่อย่ใู หเ้ ปน็ กรณพี เิ ศษ นบั แตเ่ จา้ ชายสทิ ธตั ถะพระราชสมภพ มหาชนทง้ั หลายไมเ่ คยได้ ยลโฉมพระพกั ตรข์ องเจา้ ชายสทิ ธตั ถะและพระนางยโสธราพมิ พา เลย ทุกคนจอ้ งตารอคอยเส้นทางที่เสดจ็ พระราชดำ� เนินแทบไม่ กะพรบิ ตา เมอื่ ถึงเวลา เจา้ ชายสิทธัตถะ พระนางยโสธราพิมพา พระราหลุ กเ็ สดจ็ ประทบั รถมา้ ทปี่ ระดบั ประดาดว้ ยดอกไมข้ อง หอมอย่างสวยงาม มีทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์พร้อม ดว้ ยนางสนมก�ำนลั ตดิ ตามเปน็ จำ� นวนมาก เป็นขบวนเสดจ็ ท่ีมี

เสด็จประพาสกรงุ กบิลพสั ดุ์ ๑๕ความสวยงามยิ่งนัก มหาชนพากันพนมมือและกล่าวค�ำว่า“สาธุๆ” พร้อมกนั ดงั กระห่มึ ไม่ขาดเสยี ง เปน็ ประวัตกิ ารณท์ ่ียงิ่ ใหญใ่ นชวี ติ ของหมมู่ หาชนในสมยั ครง้ั นน้ั ขบวนเสดจ็ ผา่ นไปทีต่ รงไหน มหาชนก็พนมมือกลา่ วค�ำวา่ “สาธๆุ ” พรอ้ มกนั เขา้ ถงึ จดุ ทสี่ ำ� คญั แลว้ หมมู่ หาชนคนแกค่ นเจบ็ ปว่ ยจำ� นวนมากที่อยู่ในอโุ มงค์ มีความแออัดกนั ชอ่ งอิฐทีม่ ีอยกู่ ไ็ ม่พอเพยี งจงึ ได้แยง่ กันดู ตา่ งคนก็อยากจะดู จงึ ดงึ กนั ไปดึงกันมา ผมู้ กี ำ� ลังน้อยเพราะวยั แกแ่ ละผูเ้ จบ็ ป่วยท่มี กี ำ� ลังนอ้ ยอยู่แล้ว ก็อยากจะดูเหมือนคนอ่ืนเขา ก็ปีนตัวคนอ่ืนข้ึนเพื่อจะดู เมื่อก�ำลังไม่พอก็ล้ม จึงกลายเป็นบันไดให้คนอ่ืนได้เหยียบขึ้นเพ่ือจะดู คนนั้นเหยียบบา้ ง คนนี้เหยียบบ้าง คนแก่คนเจบ็ ปว่ ยอยูแ่ ลว้ ก็ได้ตายเปน็ จำ� นวนมาก เพราะคนอน่ื เหยยี บย�่ำไปมาน้ันเอง ผ้ทู ่ีมีกำ� ลังอยู่ก็ปีนตัวผู้อื่นขึ้นไปเพ่ือจะได้ดู ผู้ดูอยู่ก่อนก็ไม่ยอมถอยออกมาให้ผู้อื่นดูบ้าง จึงมีเสียงร้องตะโกนใส่กันดังสนั่นเลยทีเดียวและเสียงน้นั ไดเ้ ล็ดลอดออกมาจากชอ่ งในอุโมงค์น้นั มเี สยี งดงัออกมาวา่ “ขอดดู ว้ ยๆ” เสยี งทวี่ า่ “สาธๆุ ” และเสยี ง “ขอดดู ว้ ยๆ”ประสานกันดงั สนั่นหวน่ั ไหว เหมือนกับเทพบันดาลเสียง “ขอดูด้วยๆ” ได้กระทบ

๑๖ จุดประกายแหง่ ปัญญา พระกรรณของเจ้าชายสิทธัตถะอย่างเต็มที่ เสียงนี้ไม่หลุดหาย ไปไหนเลย เจ้าชายสทิ ธตั ถะไม่ทราบว่าเสยี ง “ขอดดู ้วยๆ” เปน็ เสียงใคร เขาขอดูอะไร พระองค์จึงได้ตรัสถามนายฉันน์ไปว่า “นน้ี ายฉนั น์ เสยี งทเี่ ราไดย้ นิ ในขณะนวี้ า่ ขอดดู ว้ ยๆ เปน็ เสยี งใคร เขาอยากดูอะไร” นายฉนั นไ์ ดก้ ราบทลู วา่ “เสยี งนี้เปน็ เสียงของ หมู่คนแก่ คนเจ็บป่วย ท่ีต�ำรวจทหารได้จัดให้ไปอยู่ในอุโมงค์ ทุกคนอยากจะชมพระพกั ตรข์ องพระองค์ มคี นเป็นจำ� นวนมาก แออัดกนั อยู่ในท่ีแหง่ นน้ั แต่ชอ่ งท่ีจะดูไมพ่ อเพียง จงึ ไดต้ ะโกน รอ้ งวา่ “ขอดดู ว้ ยๆ พระเจา้ ขา้ ” เจา้ ชายสทิ ธตั ถะไดย้ นิ นายฉนั น์ ทลู อยา่ งนน้ั จงึ ดำ� รแิ ละพดู ตอ่ นายฉนั นว์ า่ “นนี้ ายฉนั น์ เราเสดจ็ ในครง้ั น้ีเพอื่ จะดกู รงุ กบลิ พสั ด์ุและเพอื่ ใหห้ มู่มหาชนไดด้ เู รา” เจา้ ชายสทิ ธตั ถะจงึ สงั่ ใหต้ ำ� รวจทหารทร่ี กั ษาความปลอดภยั อยู่น้ัน ขอแหวกทางในหมู่มหาชนพอให้เป็นช่องทางเสด็จ พระราชดำ� เนินเขา้ ไปได้ แลว้ ตรัสว่า “เราจะเขา้ ไปในอุโมงค์น้นั เรามาในคร้งั นีก้ ็เพอ่ื ใหม้ หาชนทกุ คนไดด้ ูเราอยา่ งท่ัวถึง ไม่ควร ปดิ กน้ั คนกลมุ่ นน้ั ไวเ้ ลย” จากนนั้ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะกบั นายฉนั นก์ ไ็ ด้ เขา้ ไปในอโุ มงคน์ นั้ เมอ่ื เสดจ็ เขา้ ไปในอโุ มงค์ พระองคไ์ ดต้ กตะลงึ เกิดความสลดสงั เวชในพระทัย เกิดความสงสารต่อคนท้งั หลาย

เสดจ็ ประพาสกรงุ กบลิ พัสด์ุ ๑๗ในขณะนน้ั ทอดพระเนตรเหน็ คนแก่ คนเจบ็ ปว่ ย และคนตายอยูใ่ นท่ีแหง่ เดยี วกัน

พบเทวทูตท้ัง ๔ ในช่วงขณะนั้น พระวิษณุกรรมเทพบุตรได้รับส่ังจากพระอินทร์ให้มาแปลงร่างเป็นนักบวชนั่งสมาธิในที่มุมหนึ่ง ให้เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทอดพระเนตรเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เพศนกั บวชน้ีจะปรากฏให้เห็นเฉพาะเจ้าชายสิทธัตถะเพียงพระองค์เดียวเท่านั้น เม่ือพระองค์ทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บป่วยคนตาย และนักบวช อยู่ในท่ีแห่งเดียวกัน ที่เรียกว่าเทวทูตทง้ั ๔ กเ็ พราะเหตเุ ปน็ อยา่ งน้ี และแมพ้ ระองคจ์ ะทอดพระเนตรเหน็ เทวทูตทงั้ ๔ อย่างนี้แลว้ แตด่ ้วยท่าทีของกษตั ริยย์ ่อมจะไม่แสดงอากปั กริ ยิ าออกมาทางพระวรกายใหป้ ระชาชนไดเ้ หน็ เมอื่เสดจ็ กลบั มาประทบั ยงั ราชรถ พระองคก์ ค็ งมพี ระพกั ตรท์ นี่ งิ่ เฉยเป็นปกติ เพื่อไม่ให้พระนางยโสธราพิมพาและมหาดเล็กรักษา

พบเทวทูตท้ัง ๔ ๑๙พระองคไ์ ดร้ วู้ า่ มอี ะไรเกดิ ขน้ึ แตใ่ นพระทยั กลบั มคี วามรสู้ กึ เปน็นมิ ติ ตดิ ตาตดิ ใจอยตู่ ลอดเวลา และทรงดำ� รวิ า่ ตลอดชวี ติ ทพ่ี ระองค์ได้เกิดมา ไม่เคยใช้ปัญญาพิจารณาในเรื่องคนแก่ คนเจ็บป่วยคนตาย มากอ่ นเลย แตล่ ะคนื วนั มแี ตพ่ ระดำ� รเิ พลดิ เพลนิ ไปตามอารมณท์ ีม่ คี วามสนุกสนานในทางโลกยี วิสยั อยู่ตลอดเวลา เมอ่ื เสดจ็ ถงึ พระราชวงั แลว้ กเ็ กบ็ อารมณแ์ ละเกบ็ อาการไมแ่ สดงพระพกั ตรใ์ หพ้ ระนางยโสธราพมิ พาไดร้ ู้ แตม่ คี วามผดิ ปกติอย่อู ยา่ งหน่ึง คือไม่ทรงมาทอดพระเนตรในหมนู่ างสนมกรมวังถวายการแสดงเต้นร�ำ ดีดสีตีเป่าอันไพเราะเหมือนคร้ังก่อนมาแต่ก็ไม่คิดอะไร เพียงคิดว่าพระองค์ทรงเหน่ือยพระทัยและพระวรกาย ตอ้ งการบรรทมพักผ่อนเท่านั้น ไม่ค่อยพูดจาร่าเรงิและแย้มพระสรวลเหมือนในครั้งก่อน พระนางยโสธราพิมพาและนางสนมก�ำนัลก็ไม่รู้ว่ามีเหตุอันใดเกิดข้ึน แต่ผิดสังเกตอีกอย่างหน่ึง คอื เม่อื พระองค์ทรงต่นื จากพระบรรทมแล้ว จะเสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปมาในพระราชวงั เปน็ นสิ ยั ในชว่ งนเี้ องพระองค์ได้ทรงด�ำริใช้ปัญญาครุ่นคิดในภาพท่ีทอดพระเนตรเห็นคนแก่คนเจ็บป่วย คนตาย มาเป็นอารมณ์ แต่ก่อนมาพระองค์ก็เคยเหน็ คนแก่ คนเจบ็ ปว่ ย คนตายมากอ่ นแลว้ กถ็ อื เปน็ เรอ่ื งธรรมดา

๒๐ จุดประกายแหง่ ปญั ญา จึงไม่ได้ด�ำริแต่อย่างไร แต่คร้ังนี้พระองค์อดด�ำริในเรื่องเหล่านี้ ไม่ได้ พระปัญญาได้ด�ำริพิจารณาในเร่ืองท่ีทอดพระเนตรเห็น คนแก่ คนเจ็บป่วย คนตาย อยูต่ ลอดเวลา กร็ ู้อยูว่ า่ คนเกิดมา ตอ้ งมาแกเ่ จบ็ ตายเปน็ ปกตวิ สิ ยั พระองคไ์ ดท้ รงพระดำ� รพิ จิ ารณา ลึกเข้าไปอีกว่า จะมีวิธีใดหรือไม่ที่จะท�ำให้คนไม่เกิดแก่เจ็บ ตายอกี ตอ่ ไป ตอ้ งมชี อ่ งทางที่สามารถแกก้ นั ได้ เปรยี บไดว้ ่า เม่อื มกี ลางคืนตอ้ งมีกลางวนั เม่ือมีหนาวก็ตอ้ งมีร้อน เปน็ สงิ่ ท่ีแก้กันได้ เรื่องการเกิดแก่เจ็บตายก็ต้องมีวิธีแก้ได้เช่นกัน พระองคม์ พี ระดำ� รพิ จิ ารณาดว้ ยพระปญั ญาเปน็ อยา่ งมากทเี ดยี ว เม่ือพระองค์ใช้พระปัญญาด�ำริพิจารณาลึกลงไปอีกว่า การท่ีมนุษย์ท้ังหลายได้เกิดมา มีเหตุอันใดท�ำให้มนุษย์เกิด ในจุดนี้เองพระองค์หาค�ำตอบไม่ได้ว่ามีเหตุอันใดมนุษย์จึงได้ เกดิ มา พระองคด์ ำ� รพิ จิ ารณาคน้ เทา่ ไรกไ็ มไ่ ดค้ ำ� ตอบ ในชว่ งขณะ นน้ั เองพระองคด์ ำ� รไิ ดว้ า่ ในขณะทพี่ ระองคไ์ ดท้ อดพระเนตรเหน็ คนแก่ คนเจบ็ และคนตาย พระองคไ์ ดท้ อดพระเนตรเหน็ นกั บวช นั่งสมาธิดูท่าทีมีความสงบ ถ้าเราได้เป็นนักบวชเช่นนั้นอยู่ในท่ี สงบสงดั อาจจะรเู้ หตปุ จั จยั ทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยม์ าเกดิ ได้ ดงั นนั้ พระองค์ จึงมีความด�ำริคิดอยากออกบวชเป็นก�ำลัง และด�ำริหาวิธีที่จะ

พบเทวทูตทัง้ ๔ ๒๑ออกบวชใหไ้ ด้ ในคนื นนั้ เปน็ เวลาดกึ สงดั พระจนั ทรเ์ ตม็ ดวงแสงเฉดิ ฉายสวา่ งจา้ มสี ายลมพดั ไปมาออ่ นๆ ใบไมใ้ บหญา้ ไมด้ อกไมป้ ระดบัในพระราชวังพลิ้วไปมาเป็นระยะๆ อากาศมีความหนาวเย็นยะเยือก น้ำ� หมอกถกู สายลมพดั มาเปน็ ชว่ งๆ ดวงดาวในท้องฟา้มีความสว่างแจ่มใส แสงจันทร์กระทบไฟกระพริบระยับไปมาน้�ำค้างตกเป็นหยดหยาดจากใบไม้เป็นพักๆ จิ้งหรีดและเรไรส่งเสียงอ้อยอ่ิงสอดคล้องประสานเสียงกันเป็นจังหวะๆ ใบไม้ในแนวป่าโบกไสวไปมา บรรยากาศในพระราชวังมีความวังเวงยงิ่ นกั ในเวลาอนั ดกึ สงดั พระนางยโสธราพมิ พา พระราหลุ บรรทมอยูใ่ นปราสาท แสงไฟในหอ้ งบรรทมสวา่ งพอสลวั พระนางกอดพระราหลุ ไวใ้ นทรวงอกอนั แนบนงิ่ ไมร่ ตู้ อ่ เหตกุ ารณท์ จี่ ะเกดิ ขนึ้ในคนื นเี้ ลย เจา้ ชายสทิ ธตั ถะเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปชา้ ๆ ยงั หอ้ งบรรทมของพระนางยโสธราพมิ พา พระองคเ์ ออื้ มพระหตั ถไ์ ปแยม้เปดิ ประตเู บาๆ ทอดพระเนตรไปทบ่ี รรทม เหน็ พระนางยโสธราและพระราหุลบรรทมหลับสนิท จึงร�ำพึงในพระทัยเพื่อสั่งลาพระนางยโสธราและราหลุ เป็นครง้ั สดุ ท้าย “ยโสธรา ราหลุ เอย ในคืนนีพ้ ่ขี อลา ท่ผี า่ นมาเราทั้งสอง

๒๒ จดุ ประกายแห่งปญั ญา ไดบ้ รรทมเคยี งคอู่ ยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ ไมเ่ คยมเี รอื่ งขนุ่ เคอื ง ในพระทยั แมแ้ ตน่ อ้ ย นอ้ งไมม่ คี วามผดิ ทท่ี ำ� ใหพ้ ไ่ี มส่ บายพระทยั ในคืนนี้พ่ีจะได้จากพระนางไปเพื่อออกบวช ถ้าพี่ได้ตรัสรู้เป็น พระพุทธเจา้ จะมาเยีย่ มนอ้ งยา ถา้ ไมไ่ ดต้ รัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้า พีข่ อลาตายกอ่ น พมิ พา ราหลุ ลูกนอ้ ยอ่อน พีข่ อจรจากแล้วใน คนื น้ไี มก่ ลบั มา พข่ี อลาแล้วนอ้ งเอย”

เสด็จออกบวช จากน้ันเจ้าชายสิทธัตถะได้เดินออกไปอย่างช้าๆ ก้าวขาแตล่ ะครงั้ กอ็ อ่ นแรง ทรงหนั พระพกั ตรม์ าดแู สงไฟในหอ้ งบรรทมของพระนางยโสธราและพระราหุลด้วยความอาลัย เห็นเป็นแสงระยิบระยับ ก็ย่ิงมีความสงสารต่อพระนางยโสธราและพระราหลุ ยิง่ นัก ทอดลมหายใจยาวๆ เป็นชว่ งๆ น้ำ� ตาซึมคลอแทบจะก้าวเดินต่อไปไม่ได้ จากน้ันได้เดินออกไปหานายฉันน์เรียกหานายฉนั นด์ ้วยนำ�้ เสยี งทีแ่ ผ่วเบาว่า “นายฉนั น์ๆ ตนื่ ขึ้นเรามธี รุ ะทจ่ี ะไปในคนื นอี้ ยา่ งรบี ดว่ น รบี ใสอ่ านมา้ กณั ฐกะ พาเราออกไปจากพระราชวงั เดย๋ี วน”ี้ นายฉนั นต์ นื่ นอนขน้ึ มา หนา้ ยงั ไม่ไดล้ ้าง รีบจดั แจงใส่อานมา้ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว เจา้ ชายสิทธัตถะขึ้นประทับหลังม้ากัณฐกะในทันที ในขณะนั้นม้ากัณฐกะได้

๒๔ จุดประกายแห่งปญั ญา แผดเสยี งรอ้ งสนน่ั ไปทัว่ สารทศิ ถงึ ๓ ครงั้ ตามปกติมา้ กัณฐกะ แผดเสยี งรอ้ งแตล่ ะครง้ั เสยี งดงั ไดไ้ กลถงึ ๘ โยชน์ ทกุ คนจะไดย้ นิ ท่วั ถึงกัน แม้นอนหลับอยูก่ ็ต้องตน่ื แตใ่ นคืนน้ันเปน็ ปาฏิหาริย์ ที่ทุกคนยังหลับสนิทโดยไม่รู้สึกตัว เป็นเพราะเทพบันดาลและ บารมีธรรมของเจา้ ชายสทิ ธัตถะที่จะไดอ้ อกบวชในคนื น้ี จากนั้นพระองค์ชักบังเหียนม้ากัณฐกะบ่ายหน้าไปทาง ประตดู า้ นทศิ ตะวนั ออก ประทบั บนหลงั มา้ เดนิ ชา้ ๆ นายฉนั นเ์ ดนิ เคยี งขา้ งมา้ ไป ไมร่ วู้ า่ พระองคจ์ ะไปธรุ ะอะไรในคนื น้ี และจะออก ไปด้วยวธิ ใี ด เพราะประตูใหญ่แต่ละช่องมบี านประตูขนาดใหญ่ ปดิ ไว้ถึง ๓ ชัน้ ประตูแต่ละบาน ๘ บรุ ษุ จงึ จะเปิดปิดได้ และมี นายทหารของพระเจ้าสุทโธทนะอยู่รักษาเวรยามแต่ละประตู ถงึ ๒๐๐ คน จะออกไปไดอ้ ยา่ งไร ดว้ ยบารมขี องเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ และวิษณุกรรมเทพบุตรได้ลงมาช่วยเหลือ ท�ำให้ทหารเวรยาม นอนหลับอย่างสนิทโดยไมร่ สู้ กึ ตัว ประตขู นาดใหญ่ได้เปดิ ออก อย่างปาฏิหาริย์ เม่ือเจ้าชายสิทธัตถะประทับม้ากัณฐกะพร้อม ด้วยนายฉันน์ออกพ้นประตูไปแล้ว เกิดปาฏิหาริย์บานประตู ขนาดใหญก่ ็ได้ปดิ ไว้อยา่ งสนิทเช่นเดมิ เหมือนไมม่ ีอะไรเกิดขึ้น ทหารเวรยามตนื่ ข้ึนมาก็ยงั ไม่รู้ตวั

เสด็จออกบวช ๒๕ ต่ืนเช้ามา นางสนมผู้ปรนนิบัติคอยรับใช้น่ังคอยอยู่ข้างประตูวังก็เห็นผิดสังเกต ทั้งตะวันก็สายแล้วยังไม่เห็นเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกมา จึงได้ไปเข้าเฝ้าพระนางยโสธราเพื่อกราบทูลให้รู้ว่าในเช้านี้ไม่เห็นเจ้าชายสิทธัตถะออกมาจากห้องบรรทม พระนางยโสธราพิมพาจึงแปลกพระทัยว่ามีอะไรเกิดข้ึนกับพระองค์หรือ จึงได้เดินไปยังห้องบรรทมและได้แย้มประตูเปิดดู เห็นแต่ท่ีบรรทมว่างเปล่า ไม่รู้ว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงบรรทมอยู่ที่ปราสาทหลังไหน ทั้งมหาดเล็กรักษาพระองค์ทงั้ นางสนมกำ� นลั พากนั ไปดตู ามปราสาททงั้ ๓ หลงั และออกหาทว่ั ขอบเขตพระราชวงั กไ็ มพ่ บเหน็ พระองคแ์ ตอ่ ยา่ งใด ไปถามหมู่ทหารเวรยามก็ไม่รเู้ รื่องเช่นเดยี วกนั เม่อื ไปดูคอกมา้ ท่นี ายฉันน์รักษาอยู่ ก็ไม่มีนายฉันน์และไม่เห็นม้ากัณฐกะแต่อย่างใดความเข้าใจของทุกคนมีความเห็นตรงกันว่าเจ้าชายสิทธัตถะได้เสด็จออกจากพระราชวังไปแล้ว พระนางยโสธราพิมพามีพระอาการร้องไห้น้�ำตาไหลนองหน้า นางสนมก�ำนัลก็ร้องไห้ฟมู ฟายโอบกอดกนั อยา่ งสาละวน เฉพาะพระนางยโสธราพมิ พาอุ้มพระราหุลไว้ในทรวงอก แล้วร้องไห้แทบใจจะขาดสิ้นสลายครำ�่ ครวญไปว่า

๒๖ จุดประกายแห่งปญั ญา “คณุ พ่เี อย น้องมีความผิดอะไรหรอื จงึ ปล่อยให้นอ้ งกบั ราหุลลูกน้อยได้เป็นทุกข์ใจถึงเพียงน้ี หรือพ่ีขัดเคืองพระทัย ในเรื่องอะไร ท�ำไมจึงไม่บอกให้น้องได้รู้ หรือพ่ีเกลียดชังน้อง ไม่พอพระทัยในสิ่งใด ถ้าน้องรู้ก็จะได้แก้ไขให้ถูกพระทัยทุก ประการ ทำ� ไมเจ้าพจ่ี ึงได้หักหาญน�้ำใจของน้องถึงเพยี งน้ี ชีวติ ที่ มอี ยู่ไมร่ วู้ ่าจะให้น้องไปพงึ่ ใคร โอ้ อนิจจา ยโสธราขอวอนไหว้ ขอสมเด็จพ่อี ยา่ พง่ึ ด่วนทงิ้ น้องไป ไมอ่ าลยั ราหลุ นอ้ ยพ่งึ ก�ำเนดิ ขน้ึ มา พระพ่ยี าทรงพระกรณุ ายโสธราเทอญ” เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จถึงแม่น�้ำอโนมา พระองค์ก็ได้ บวชในทแี่ หง่ นนั้ รายละเอยี ดมีในตำ� ราอยแู่ ลว้ เม่อื พระองค์ได้ บวชแลว้ ในสมมตจิ ะเรยี กวา่ พระสทิ ธตั ถะภกิ ขกุ ม็ คี วามเหมาะสม จากน้ันพระองคไ์ ดท้ ราบขา่ วของดาบสท้ังสองวา่ เปน็ ผปู้ ฏิบัติดี มหี มชู่ นใหค้ วามเคารพนบั ถอื พระองค์กไ็ ดไ้ ปศกึ ษาและปฏบิ ัติ ตามบา้ ง ดาบสทงั้ สองกส็ อนในวธิ ที ำ� สมาธเิ พอ่ื ใหจ้ ติ มคี วามสงบ เท่าน้ัน พระองค์ก็ท�ำสมาธิให้จิตมีความสงบตามดาบสท้ังสอง สอนให้ทกุ ประการ อภิญญา ๕ สมาบตั ิ ๘ รปู ฌาน อรูปฌาน พระองค์ปฏิบัติได้อย่างมีความช�ำนาญจนเป็นวสี พระองค์ท�ำ สมาธจิ ติ มคี วามสงบถงึ ทส่ี ดุ ทกุ ครงั้ ในชว่ งทำ� สมาธิ จติ มคี วามสงบ

เสดจ็ ออกบวช ๒๗อยู่ เหมือนจิตไม่มีกิเลสตัณหาอะไร เม่ือจิตเส่ือมจากสมาธิความสงบแล้ว จิตก็มีความเศร้าหมอง คิดถึงพระนางพิมพาพระราหุลอยเู่ สมอ พระองค์ท�ำสมาธิให้จิตมีความสงบติดต่อกันนานร่วมปีไม่มีว่ีแววว่าปัญญาของพระองค์จะเกิดข้ึนแต่อย่างใด ในอดีตท่ีผ่านมา พระองค์ได้บ�ำเพ็ญปัญญาบารมีมาแล้วอย่างสมบรูณ์เต็มท่ี เม่ือพระองค์ทำ� สมาธิจติ มคี วามสงบถงึ ทส่ี ุดแล้ว ปญั ญาก็ไม่ไดเ้ กิดข้นึ แตอ่ ยา่ งใด ทสี่ อนกันในยุคปัจจบุ ันนว้ี า่ “ท�ำสมาธิจิตมีความสงบได้แล้ว ปัญญาจะเกิดขึ้น” สมาธิที่สอนกันในขณะน้ีเป็นสมาธิแบบไหน ในครั้งพุทธกาล พระพุทธเจ้าไม่ได้อบรมสั่งสอนในหมู่พุทธบริษัทอย่างนี้เลย หรือถ้าพระพุทธเจ้าสอนอยา่ งนจี้ รงิ พอจะยกบคุ คลมาเปน็ พยานหลกั ฐานอา้ งองิ มาอธิบายให้ข้าพเจ้าฟังสักหน่ึงท่านได้ไหม นี้เรียกว่าสอนกันไปโดยไม่ดูต�ำรา พระองคไ์ ดท้ ำ� สมาธคิ วามสงบมาพอเป็นตวั อย่างดงั ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายมาแลว้ และพระองคไ์ ดป้ ฏเิ สธไวแ้ ลว้ วา่ วธิ อี ยา่ งน้ีไมเ่ ป็นไปเพ่อื ละกเิ ลสตณั หา ไม่เป็นไปเพ่ือความบรสิ ทุ ธิ์ ไม่เปน็ไปในมรรคผลนพิ พาน และไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื การตรสั รู้ ดงั นน้ั พระองค์จงึ ได้ลาดาบสทั้งสองจากไปเพอื่ หาแนวทางปฏบิ ัติในวิธีอนื่

๒๘ จุดประกายแหง่ ปัญญา ต่อมาไดพ้ บกับปญั จวัคคียท์ ั้ง ๕ ทกี่ ำ� ลงั ตามหาพระองค์ ในชว่ งนน้ั พระองคไ์ ดบ้ ำ� เพญ็ ทกุ รกริ ยิ าทเี่ ขาดงคสริ ดิ ว้ ยการอดนำ้� และอาหารนานถึง ๔๙ วัน จนรา่ งกายซบู ผอมแทบจะเอาชีวติ ไม่รอด ในขณะน้ันพระองค์เกิดนิมิตเห็นพระอินทร์เอาพิณ สามสายมาดดี ให้ฟงั สายทหี่ นึ่งหย่อนเกนิ ไป เสียงไม่ไพเราะ สายที่สองตึงเกินไป เสียงพิณก็ไม่ไพเราะเช่นกัน สายท่ีสาม ไมต่ งึ ไมห่ ยอ่ น เสยี งพณิ มคี วามไพเราะ เมอื่ พระองคเ์ หน็ อยา่ งนน้ั จงึ เอาพณิ สามสายมาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั ขิ องพระองค์ เอง จึงรู้ว่าความเพียรของพระองค์ตึงเกินไป ถ้าฝืนทำ� อย่างนี้ ต่อไป ชวี ิตคงไมร่ อดแน่ จากน้ันพระองค์จึงหยุดบ�ำเพ็ญทุกรกิริยา แล้วกลับมา ฉันอาหารเหมือนเดิม ปัญจวัคคีย์ไม่พอใจจึงพากันหนีจาก พระองค์ไป พระองค์อยู่โดดเดี่ยวล�ำพังและได้ไปดูวิธีปฏิบัติใน ส�ำนักต่างๆ หลายแหง่ แต่พระองคก์ ็รู้วา่ ไมถ่ ูกทาง วธิ ที ่ถี กู เปน็ อย่างไรพระองค์ยังไม่รู้ พระองค์ออกเดินทางไปเร่ือยๆ ท้ังมี ความเหน็ดเหน่ือยเม่ือยล้า จึงได้พักผ่อนใต้ร่มโพธิ์ฝั่งแม่น�้ำ เนรญั ชรา รบั ขา้ วมธปุ ายาสจากนางสชุ าดา แลว้ นำ� เอาถาดทองคำ� ไปลอยในแมน่ ำ�้ เนรญั ชราเพอ่ื เสยี่ งทาย มคี ำ� กลา่ ววา่ “ถา้ ขา้ พเจา้

เสดจ็ ออกบวช ๒๙จะไดต้ รสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในชาตนิ ้ี ขอใหถ้ าดทองคำ� ทวนกระแสน�้ำข้ึนไป ถา้ จะไมไ่ ดต้ รสั ร้เู ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในชาติน้ี ขอใหถ้ าดทองคำ� ได้ไหลไปตามกระแสนำ้� ”

ทรงค้นพบแนวทางตรสั รู้ดว้ ยพระองค์เอง เมอื่ พระองคป์ ลอ่ ยมอื ถาดทองคำ� ก็ได้ทวนกระแสนำ้� ข้ึนไปทันที พระองค์จึงมีความมั่นใจว่าในชาตินี้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพทุ ธเจา้ อยา่ งแนน่ อน จากนไี้ ปจะเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ในการปฏบิ ตั ิเสียใหม่ ๕ ปีกว่าทผ่ี ่านมา พระองคไ์ มเ่ คยใช้ปญั ญาพจิ ารณาในสจั ธรรมใด นเ้ี ปน็ การเรมิ่ ตน้ ทพี่ ระองคจ์ ะไดใ้ ชป้ ญั ญาเปน็ ครงั้ แรกการใช้ปัญญาในครั้งนี้มีอุบายท่ีจะเอาถาดทองค�ำน�ำมาคิดท่านผู้อ่านทั้งหลายจงเข้าใจจุดเร่ิมต้นของการปฏิบัติด้วยการใชป้ ญั ญานำ� หนา้ นจ้ี งึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั อยา่ งยง่ิ ใหท้ า่ นตดิ ตามอา่ นใหด้ ี มเี หตผุ ลรองรบั ในความถกู ตอ้ งเอาไวอ้ ยา่ งชดั เจน เพราะการปฏิบัติน้ีจะไม่เหมือนกันกับดาบสทั้งสองที่สอนมาก่อน

ทรงคน้ พบแนวทางตรัสรดู้ ้วยพระองคเ์ อง ๓๑แต่อยา่ งใด ในจุดเริ่มตน้ น้ี พระองคไ์ ด้ค้นพบหลักสัมมาทิฏฐิความเหน็ ทถี่ ูกตอ้ งชอบธรรม สมั มาสังกปั โป การด�ำรพิ จิ ารณาด้วยปัญญาในเหตผุ ล กม็ ีความถูกตอ้ งชอบธรรมไปเสยี ทั้งหมด เมอ่ื พระองคไ์ ดอ้ บุ ายฝกึ ปญั ญาจากการลอยถาดทองคำ�น�ำมาคิดพิจารณา ท�ำให้ใจของพระองค์ได้รู้เห็นตามหลักไตรลกั ษณค์ อื อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา อยา่ งเปดิ เผย หลกั เสย่ี งทายในชวี ติ เปน็ ของคกู่ บั โลกมนษุ ยน์ มี้ ายาวนาน ตวั อยา่ ง การไปยกพระหรือเส่ียงทายด้วยวิธีใด ต้องอธิษฐานไว้สองอย่างเสมอ เช่นถา้ จะได้ ขอใหย้ กพระขน้ึ ถา้ จะไมไ่ ด้ ขอใหย้ กพระไมข่ นึ้ นฉ้ี นั ใดพระองค์จึงเส่ียงทายว่า “ถ้าจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ให้ถาดทองค�ำทวนกระแสน้�ำข้ึนไป ถ้าไม่ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใหถ้ าดทองคำ� ไหลไปตามกระแสน�้ำ” แต่คร้งั นถ้ี าดทองค�ำทวนกระแสน้�ำขึน้ ไป จงึ ทำ� ให้พระองค์มีความมั่นใจในตนเอง ไดเ้ อาถาดทองคำ� มาเปน็ อบุ ายพจิ ารณาดว้ ยปญั ญา แลว้ ตคี วามหมายวา่ถาดทองค�ำทวนกระแสน้�ำ ก็เอาถาดทองค�ำมาเปรียบเทียบกบั ใจของพระองคเ์ อง ทรงดำ� รวิ า่ พระองคจ์ ะฝกึ สตปิ ญั ญามาอบรมใจ ไม่ปล่อยให้ใจเกิดความยินดีในส่ิงท่ีชอบใจไปตามกระแสโลก ตามปกติใจมีความตอ้ งการในทางทตี่ ่ำ� ในกามคุณ

๓๒ จดุ ประกายแห่งปัญญา ทงั้ ๕ ใจมคี วามยนิ ดใี นรปู ใจมคี วามยนิ ดีในเสยี ง ใจมีความยนิ ดี ในกล่ิน ใจมีความยินดีในรส ใจมีความยินดีในสัมผัสท่ีอ่อนนุ่ม เรอื่ งอยา่ งนพี้ ระองคไ์ ดเ้ คยมคี วามยนิ ดมี าแลว้ จากนไ้ี ปพระองค์ จะใชป้ ญั ญาทวนกระแส ไมใ่ หใ้ จมคี วามยนิ ดใี นสง่ิ เหลา่ นี้ ใจกจ็ ะ ไม่เกิดความเห็นผิดความเข้าใจผิดไปตามกระแสโลกเหมือนท่ี เคยเปน็ มา เรยี กวา่ พระองคม์ ปี ญั ญาปฏเิ สธไมใ่ หใ้ จเกดิ ความยนิ ดี ยนิ รา้ ยโดยประการทงั้ ปวง และปฏเิ สธในลาภ ยศ สรรเสรญิ สขุ ท่เี ก่ยี วกบั กามคุณในทางโลก พระองคก์ ม็ ปี ัญญาฝกึ ใจ ไม่ให้ใจ มีความผูกพันในสิ่งเหล่าน้ี ได้ฝึกใจปฏิเสธว่า ส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่ิง ท่ผี กู ใจ กอ่ ให้เกดิ ความหลงใหลยดึ ติดผกู พนั อยูใ่ นโลกน้ีท้งั นน้ั

ปญั ญาสอนใจใหม้ คี วามรรู้ อบ พระองคจ์ งึ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาอบรมสอนใจใหม้ คี วามรรู้ อบอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้ใจได้รู้ในสรรพสังขารท่ีเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดบั ไป การพจิ ารณาด้วยปัญญา ต้องมีการพจิ ารณาเข้าการพิจารณาออก ตามเหตุการณ์เช่น ไปเห็นเร่ืองภายนอกเห็นคนแก่ เห็นคนเจ็บ เห็นคนตาย ก็น้อมเข้ามาภายในคือตวั เองวา่ เราก็ต้องเปน็ อย่างนั้น หรอื นอ้ มตัวเองออกไปเทียบกบั ส่งิ ภายนอกให้ร้เู ห็นเปน็ สภาพเดียวกนั วา่ เรากม็ คี วามแก่ความเจ็บ ความตาย เหมอื นคนอ่นื คนอื่นเปน็ อย่างไร เราก็เปน็ อย่างน้ัน คนอนื่ ไมเ่ ทย่ี ง เราก็ไม่เทยี่ ง คนอื่นมีความทุกข์เรากม็ คี วามทกุ ข์ รา่ งกายคนอนื่ เปน็ อนตั ตา ไมใ่ ชต่ วั ตน รา่ งกายเราก็เป็นอนัตตา สูญไปจากความเป็นตัวตนเช่นกัน ไปเห็น

๓๔ จุดประกายแหง่ ปญั ญา ซากศพคนตายเป็นไปในลักษณะใด ก็น้อมเข้ามาดูร่างกาย ตวั เองใหเ้ ห็นเปน็ ซากศพเหมือนกนั เร่ืองอดีต อนาคต ก็น�ำมาพิจารณาให้ลงปัจจุบัน การพิจารณาเรื่องในอดีตต้องอาศัยสัญญา การพิจารณาใน เรอื่ งอนาคตกต็ อ้ งอาศยั สมมติ สญั ญาและสมมตนิ เ้ี ปน็ ทร่ี องรบั ของปญั ญา สญั ญา คอื ความจำ� ความจำ� นกี้ ต็ อ้ งเลอื กจำ� ในสง่ิ ท่ีมีโทษมภี ยั เพื่อให้ใจได้กลวั ต่อโทษภยั นัน้ ๆ เรื่องโทษภัยนี้มี อยูป่ ระจำ� โลก ทกุ คนทีเ่ กดิ มาแลว้ ตอ้ งไดป้ ระสบพบเหน็ และได้ รับไม่มากก็น้อย ฉะนั้น ความจ�ำจึงเลือกจ�ำในส่ิงที่มีโทษมีภัย เพ่ือไม่ให้ใจมีความก�ำเริบในส่ิงที่ชอบใจ ถ้าสิ่งไหนที่ท�ำให้เกิด ราคะ ตัณหา รักใคร่ ก�ำหนัดยินดี มรี ูป เสยี ง กลนิ่ รส สมั ผสั ถา้ ปัญญาไม่มแี ลว้ กไ็ ปหลงติดอยูก่ บั สิ่งเหลา่ นี้ ถ้าผมู้ ีปญั ญาดี ก็หาจ�ำเอาแต่สิ่งที่มีโทษมีภัยมาท�ำความเข้าใจอยู่เสมอ เช่น รูปของเราและรูปของคนอ่ืน ก็ให้พิจารณาด้วยปัญญาว่าเป็น โทษภยั ดว้ ยกนั ทง้ั นน้ั รปู รา่ งกายของเรามโี ทษอยา่ งไร รปู รา่ งกาย ของคนอ่ืนกม็ ีโทษอยา่ งนัน้ รูปรา่ งกายทง้ั หมดนี้กย็ ่อมมโี รคภยั การเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยหรอื การตายกเ็ ปน็ ภยั แกช่ วี ติ ทงั้ นน้ั ในชาตอิ ดตี ทีผ่ า่ นมา ร่างกายนีก้ ็มโี ทษภยั เหมอื นกับชาติปัจจบุ ัน

การพิจารณารปู ขนั ธ์ ความไมส่ วยงามในรา่ งกายน้ี ผมู้ ปี ญั ญาเทา่ นนั้ จงึ จะรเู้ หน็ตามความเปน็ จรงิ ธรรมชาตเิ ดมิ ของรา่ งกายแลว้ ไมม่ สี งิ่ ใดเปน็ของสวยงาม มีแตส่ ่งิ สกปรกโสโครก ถึงจะอาบน�ำ้ ชำ� ระรักษาอยู่ก็ตาม ความสกปรกในร่างกายนี้หาหมดไปไม่ ถ้าไม่อาบน�้ำภายในสบิ วนั ความสกปรกของรา่ งกายกจ็ ะสง่ กลน่ิ ออกภายนอกจนเปน็ ท่ีขยะแขยงของสังคม เชน่ ผม ขน เลบ็ ฟนั หนัง ก็ไมม่ ีสง่ิ ใดเปน็ ของสวยงาม และกไ็ มไ่ ดป้ ระกาศตวั วา่ เปน็ ของสวยงามแตอ่ ยา่ งใด ความสวยงามน้นั มีอย่ทู ี่กเิ ลส สังขาร โมหะ อวชิ ชามีความเข้าใจผิด รูปน้ันจึงมีความสวยงาม รูปสวยงามเพราะความรกั รปู สวยงามเพราะความยนิ ดี รปู สวยงามเพราะความใคร่รูปสวยงามเพราะมคี วามกำ� หนัด ถา้ จิตไม่มีความรกั ความใคร่

๓๖ จุดประกายแหง่ ปัญญา ความกำ� หนดั แลว้ รปู นน้ั จะไมม่ สี ง่ิ ใดเปน็ ของสวยงามเลย เพราะ ความสวยงามนั้นไม่ข้นึ อยู่กับรูปรา่ งกลางตัวแต่อย่างใด ถึงจะมี เครอ่ื งประดบั ประดาตกแตง่ ไว้ กเ็ พยี งเปน็ เครอื่ งฉาบทาไวข้ า้ งนอก และฉาบทาไวต้ ามผวิ หนงั เพยี งผวิ เผนิ เทา่ นน้ั เหมอื นกนั กบั หบี ศพ ท่ีประดับด้วยแสงสแี ละลวดลายตา่ งๆ ไว้ภายนอก สว่ นภายใน หบี ศพนน้ั ยอ่ มเปน็ ซากศพทมี่ คี วามสกปรกเปอ่ื ยเนา่ และสง่ กลน่ิ อนั เหมน็ คลงุ้ อยตู่ ลอดเวลา ฉนั ใด รปู รา่ งกายเราและรปู รา่ งกายของ คนอนื่ ถงึ จะมเี ครอ่ื งประดบั ทส่ี วยงามและเอานำ�้ หอมฉาบทาไว้ ก็เพียงกลบกล่ินอันเหม็นคาวของร่างกาย ฉันน้ัน และเพื่อให้ สงั คมมนษุ ยเ์ ราอยู่ร่วมกนั ได้ การพิจารณาด้วยปัญญาเพื่อให้ใจได้รู้ความจริงของ ธาตขุ นั ธ์ ใหร้ คู้ วามเกดิ ขน้ึ ของธาตขุ นั ธ์ ใหร้ คู้ วามเปน็ อยขู่ อง ธาตขุ ันธ์ ให้รู้ความดบั ไปของธาตขุ ันธ์ เพราะการเกิดขนึ้ ของ ธาตขุ นั ธไ์ มใ่ ช่จะเกิดขน้ึ ได้ภายในวนั เดยี ว สง่ิ เหล่านีจ้ ะคอ่ ยๆ เจริญข้ึน เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ความทุกข์กายความทุกข์ใจก็ เป็นเงาตามตัว ความไม่เท่ียง ก็เปล่ียนสภาพมาต้ังแต่เป็น กอ้ นเลอื ดแปรสภาพเปน็ เดก็ จากเดก็ แปรสภาพเปน็ หนมุ่ สาว แลว้ ก็แปรสภาพเปน็ คนเฒา่ คนแก่ และเป็นคนเจบ็ ตายไปใน

การพิจารณารปู ขันธ์ ๓๗ที่สุด เม่ือตายแล้วธาตุขันธ์ท้ังหมดนั้นก็จะลงสู่อนัตตา คือความไม่เป็นสัตว์ ไม่เป็นบุคคล ไม่เป็นเรา ไม่เป็นเขาท้ังสิ้นความเข้าใจเดิมว่าเป็นตัวตนของเราก็จะเป็นโมฆะ ธาตุท้ังส่ีคือ ดิน นํ้า ลม ไฟ ที่เขา้ ใจวา่ เป็นตวั ตน กจ็ ะแตกสลายไปเป็นธาตุเดิม คือ ดิน นา้ํ ลม ไฟ ไปตามมลู ความจรงิ ของอนัตตาคือความสญู เปล่า ไม่มีสง่ิ ใดเปน็ ของของเราตามความเข้าใจแตอ่ ยา่ งใด เมอื่ ใจไมม่ ปี ญั ญาจงึ หลงยดึ เมอ่ื ไมส่ มปรารถนาสงิ่ ใดไม่ได้สมใจนึกก็เป็นทุกข์ ความปรารถนาน้ันย่อมปรารถนาเอาแต่ส่ิงที่ถูกใจและชอบใจด้วยกันท้ังน้ัน การเกิดก็ต้องการแต่ตระกูลท่ีมีลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ถ้าสมปรารถนาด้วยกันหมดทกุ คนแลว้ สภาพความเปน็ อยขู่ องมนษุ ยใ์ นโลกกจ็ ะไมเ่ ปน็อยู่ในสภาพน้ี ถ้าทุกคนมีฐานะความเป็นอยู่เท่าเทียมกัน ก็จะไม่มีใครว่าใครได้ เพราะมีลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เหมือนกันทงั้ หมด หรอื ถา้ คนกำ� พรา้ อนาถา ไมม่ ที รพั ยส์ มบตั ิ ไมม่ ยี ศ มแี ต่ค�ำกล่าวร้ายนินทา มีความทุกข์กายความทุกข์ใจตลอดเวลาโลกมนุษย์น้ีก็ไม่มีใครต้องการมาเกิด เพราะมนุษย์เราต้องการแตค่ วามสขุ คำ� วา่ เสอ่ื มจากลาภ เสอ่ื มจากยศ คำ� นนิ ทาวา่ รา้ ย และ

๓๘ จดุ ประกายแหง่ ปัญญา ความทกุ ข์นานาชนดิ เหล่าน้ี กย็ อ่ มไมม่ ใี ครต้องการทั้งสน้ิ แต่ กห็ นไี มพ่ น้ เพราะโลกนมี้ สี จั ธรรมครอบไวแ้ ลว้ อยา่ งพรอ้ มมลู จะเลือกเอาแตค่ วามสุขอย่างเดียวไม่ได้ ชอบในสิ่งใด ยินดีใน สงิ่ ใด กม็ แี ตค่ วามตอ้ งการอยากใหส้ งิ่ นนั้ ๆ มคี วามจรี งั ถาวรตลอดไป เม่ือไมไ่ ด้สิ่งน้ันๆ สมปรารถนากเ็ กิดความทุกขใ์ จ นเี้ ราพยายาม อยากจะฝืนธรรมชาติท่ีเป็นสัจธรรมอยู่เสมอ แต่ก็ไม่มีใครใน โลกน้ีจะสมความปรารถนาสักคนเดียว รายไหนก็รายนั้น ไม่มี ใครสมหวังดังความตั้งใจเอาไว้เลย เม่ือเกิดมาแล้วก็ต้องมาแก่ เจบ็ ตายดว้ ยกนั ทงั้ น้ัน

เหตแุ หง่ ทุกขท์ ่พี าใหเ้ กิดในภพทง้ั สาม ในอีกมุมหนึ่ง พระองค์ได้คิดเปรียบเทียบว่า “ถ้าถาดทองคำ� ไดไ้ หลไปตามกระแสนำ้� ถาดทองคำ� จะไปตกอยใู่ นทไ่ี หน”แล้วโอปนยิโก น้อมเอาถาดทองค�ำเปรียบกับใจพระองค์ดูว่า“ถา้ ถาดทองคำ� ไหลไปตามกระแสนำ�้ จะไหลไปเรอ่ื ยๆ นำ�้ ไหลไปทางไหนถาดทองคำ� กไ็ หลไปตามนนั้ ในทส่ี ดุ กไ็ หลลงสมู่ หาสมทุ รอันกว้างใหญ่ ไหลวนไปเวียนมาในมหาสมุทรไม่มีที่จบสิ้นได้นฉ้ี นั ใด ถา้ ใจมกี เิ ลสตณั หาฝงั อยู่ ใจกจ็ ะเทย่ี วเกดิ ตายในมหาสมมติโลกนไ้ี มม่ ที จี่ บสน้ิ เชน่ กนั เมอื่ เวลานำ้� ลด ถาดทองคำ� กจ็ ะตกคา้ งอยู่ในหาดทรายหรือเกาะแห่งนั้นชั่วคราว เม่ือถึงเวลาน�้ำขึ้นถาดทองคำ� กจ็ ะไหลไปตามกระแสนำ�้ ตอ่ ไป ไมม่ ที างสนิ้ สดุ ลงได้

๔๐ จดุ ประกายแหง่ ปญั ญา นี้ฉันใด” พระองคใ์ ช้ปัญญาคิดเปรยี บเทยี บกบั ใจว่า “ความรัก ความต้องการของใจอันไมม่ ที ส่ี ้ินสุด ความอยากของใจก็ไม่มี ขอบเขตไมม่ ปี ระมาณ กฉ็ นั นนั้ ” ดงั คำ� วา่ “นตถฺ ิ ตณหฺ า สมานที แม่น้�ำเสมอด้วยตัณหาไม่มี มหาสมุทรไม่มีความอ่ิมด้วยน้�ำ ฉนั ใด ใจกไ็ ม่มีความอม่ิ ในความอยาก ฉนั นัน้ ” พระองคไ์ ด้ปญั ญาคิดพิจารณาว่า การท่ีถาดทองค�ำไดไ้ ป ตกคา้ งตามหาดทรายในเวลานำ�้ ลด หรอื ตกคา้ งอยใู่ นเกาะตา่ งๆ เปรียบเหมือนกับใจที่ได้ไปตกค้างเกิดเป็นมนุษย์ เป็นคนชาติ ตระกลู ตา่ งๆ เปน็ กษัตริยบ์ า้ ง เปน็ พราหมณ์บา้ ง เปน็ แพศยบ์ ้าง เปน็ ศทู รบา้ ง เปน็ จณั ฑาลบา้ ง เกดิ ในภพนอ้ ยภพใหญใ่ นกามภพ รปู ภพ อรปู ภพ และภพของหม่สู ัตว์ดริ ัจฉานทวั่ ไป พระองค์ใช้ ปัญญาพิจารณาอยู่อย่างน้ี พระองค์ได้เกิดมีญาณทัสสนะข้ึน เกดิ ปญั ญาหยงั่ รแู้ ละมคี วามเขา้ ใจในเหตทุ ที่ ำ� ใหม้ นษุ ยไ์ ดเ้ กดิ มา อยา่ งชัดเจน ในสมยั ทพี่ ระองคย์ งั เปน็ ฆราวาส ไดท้ อดพระเนตร เห็นคนแก่ คนเจ็บป่วย คนตาย ก็เพราะมีเหตุคือการเกิด แต่อะไรเปน็ เหตุใหค้ นไดเ้ กิด ในชว่ งน้นั พระองค์ยังไมร่ ู้ พ่งึ จะ รู้ในเหตุที่ท�ำให้มนุษย์ได้เกิดมาก็จากอุบายการใช้ปัญญา พิจารณาในถาดทองคำ� นี้เอง นนั้ คอื ตัณหาความอยากท่ีพาให้

เหตแุ ห่งทกุ ขท์ พี่ าใหเ้ กิดในภพทง้ั สาม ๔๑มาเกดิ เปน็ ภพเปน็ ชาตหิ มนุ เวยี นอยใู่ นภพทงั้ สาม มกี ามตณั หาภวตัณหา วภิ วตัณหา ๑. กามตณั หา หมายถงึ วัตถุกามและกิเลสกาม ๑.๑ วัตถกุ าม หมายถงึ วตั ถุสมบัติท่ีเรามคี วามผกู พันยินดี ให้พิจารณาว่า วัตถุสมบัตินี้เป็นวัตถุธาตุประจ�ำโลกเป็นเพียงส่ิงอาศัยในชีวิตประจ�ำวัน แม้จะถือเป็นกรรมสิทธิ์ไดก้ เ็ พยี งถอื ไดต้ ามกฎหมาย และถอื ไดเ้ ทา่ ทเี่ รามชี วี ติ อยเู่ ทา่ นน้ัแต่เมื่อใจออกจากธาตุขันธ์ไปแล้ว วัตถุธาตุเหล่าน้ันก็หมดความหมายในความเปน็ ตัวเราและของของเราทนั ที ผ้ทู ่ียงั มีชวี ติ อยกู่ ย็ ดึ ครองถอื เปน็ กรรมสทิ ธใ์ิ นวตั ถธุ าตนุ น้ั ตอ่ ไป ไมก่ เี่ ดอื นกป่ี ีกจ็ ะตายจากสมบตั ินั้นไป ไมม่ ีใครจะเอาวตั ถธุ าตตุ ิดตวั ไปได้เลยแม้แต่น้อย ค�ำพูดว่าเป็นของของเราก็กลายเป็นโมฆะไปทนั ที ไมม่ อี ะไรเปน็ ของของเราทแ่ี นน่ อน ถา้ เรามคี วามยนิ ดีผกู พนั กย็ อ่ มจะเกดิ ความทกุ ขใ์ จตามมา แตเ่ มอ่ื ใจไดร้ เู้ หน็ จรงิว่าวัตถุธาตุและทรัพย์สมบัติทั้งหลาย เป็นเพียงปัจจัยอาศัยประจำ� วนั อยา่ งมนั่ ใจแลว้ การยดึ ถอื ในวตั ถสุ มบตั ทิ มี่ อี ยภู่ ายในใจก็จะเริ่มถอนตัว ไม่ยึดม่นั ถือมั่นดังที่เคยเป็นมา ความโลภ

๔๒ จดุ ประกายแหง่ ปัญญา ความเข้าใจผิดภายในใจก็จะค่อยๆ หมดไป นี้เป็นอุบายละ ความโลภภายในใจ ตอ้ งมสี ตปิ ญั ญาสอนใจใหร้ เู้ หน็ ความจรงิ ใจก็จะคอ่ ยๆ ถอนตัวจากความอยากคือตณั หาออกไปได้ ๑.๒ กิเลสกาม หมายถงึ ใจทีม่ ีความยินดผี กู พันอยกู่ บั กามคุณ มีรูป เสยี ง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ ใจมีความรัก ใจมี ความใคร่ ใจมคี วามกำ� หนดั เปน็ อารมณ์ ใจมคี วามตอ้ งการอยู่ กับกามคณุ น้ี เมอื่ ใจมีความฝักใฝ่อยใู่ นกาม การแสวงหาเพ่อื กามกพ็ ยายามดนิ้ รนทกุ วถิ ที าง ความตอ้ งการของใจทลี่ มุ่ หลง อยใู่ นกเิ ลสกามนม้ี ปี ระจำ� โลก แตพ่ ระองคม์ สี ตปิ ญั ญาพจิ ารณา เพอื่ ลบลา้ งความเขา้ ใจผดิ และความหลงผดิ ใหใ้ จมคี วามรเู้ หน็ “ทกุ ข์ โทษ ภยั ” ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากกามคุณอย่างชดั เจน ๒. ภวตณั หา คอื ใจมคี วามยนิ ดอี ยใู่ นภพทเ่ี กดิ ไมอ่ ยาก เปลยี่ นแปลงจากภพเดมิ นไี้ ป เคยอยกู่ บั ภพชาตอิ ะไรกอ็ ยากอยู่ กับภพชาตินัน้ ๆ ตอ่ ไป ถ้าเกดิ ในภพชาติทีเ่ ป็นมนษุ ย์ กอ็ ยากอยู่ ในภพชาติท่ีเป็นมนุษย์นี้ตลอดไป ใครจะว่าภพชาติของสวรรค์ พรหมโลก มคี วามสขุ ดกี วา่ กไ็ มส่ นใจ ตวั เองมคี วามเปน็ อยอู่ ยา่ งไร กอ็ ยากอยไู่ ปตามภพเดมิ หรอื มเี หตทุ จี่ ะตายจากภพทเ่ี ปน็ มนษุ ย์ นไ้ี ป จติ ก็มีความผูกพันยึดมัน่ อยกู่ ับสงิ่ ใดสิ่งหนง่ึ เชน่ ลกู หลาน

เหตุแห่งทุกขท์ ่พี าใหเ้ กิดในภพทัง้ สาม ๔๓หรอื วตั ถสุ มบตั ิทีต่ วั เองมีความยินดี ๓. วภิ วตณั หา คอื ไมอ่ ยากไปเกดิ ในภพชาตทิ ไี่ มช่ อบใจเชน่ พวกเทพทอ่ี ยใู่ นโลกทเี่ ปน็ ทพิ ย์ เขากไ็ มอ่ ยากมาเกดิ เปน็ มนษุ ย์หรอื ผทู้ เ่ี กดิ เปน็ มนษุ ยใ์ นฐานะทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ มคี วามเพยี บพรอ้ มด้วยกามคุณ เขาก็ไม่อยากมาเกิดในตระกูลที่ต�่ำต้อยยากจนหรือไม่อยากเกิดเป็นคนพิกลพิการ เสียหูเสียตา มีอวัยวะไม่สมประกอบ ไมอ่ ยากไปเกดิ ในภพของอบายภมู ิ มนี รก เปรต อสรุ กายสัตว์ดริ ัจฉาน ถงึ ไม่อยากเกิดในภพดังกล่าวกจ็ �ำเป็นต้องไปเกดิเมอ่ื ตวั เองทำ� กรรมไวไ้ มด่ ี เมอื่ กรรมชว่ั สง่ ผลใหไ้ ปเกดิ ในภพไหนก็ตอ้ งไปตามกรรม ไม่มสี ทิ ธิเ์ รียกรอ้ งเอาตามใจชอบของตน ตณั หาทง้ั สามน้ี จงึ เปน็ เหตปุ จั จยั ใหม้ กี ารหมนุ เวยี นอยู่ในภพทงั้ สาม ถา้ “ดบั ” เหตนุ ไ้ี ดแ้ ลว้ ภพทงั้ สามกห็ มดปญั หาไป ความเข้าใจว่าตัณหาพาให้เรามีความสุขน้ันเป็นความเขา้ ใจผดิ ของตนเอง

ความทกุ ข์ท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ ความทกุ ข์ที่หลกี เลยี่ งไม่ไดน้ ั้นคอื สภาวทุกข์ เปน็ ทุกข์ประจ�ำขันธ์ ถึงคนนั้นจะมีความเป็นอยู่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรพั ยส์ มบตั ิ และเพยี บพรอ้ มดว้ ยกามคณุ กต็ าม สภาวทกุ ขย์ อ่ มแสดงตวั ขึน้ ที่ขันธอ์ ยเู่ สมอ เชน่ รปู ขันธท์ ีจ่ ติ ยังครองร่างอยยู่ ่อมปรากฏความทุกขข์ ึ้นที่กายท่ีใจ ถึงไม่มีใครปรารถนา แต่จำ� เปน็ก็ต้องไดร้ ับเพราะเป็นธรรมชาติท่ีมอี ยู่กับตวั ถงึ จะพยายามทุกวถิ ที างทจ่ี ะใหค้ วามทกุ ขด์ บั ไป แตก่ ไ็ มส่ ำ� เรจ็ เชน่ แสวงหากามคณุคอื รูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐพั พะ มากลบเอาไว้ แต่กไ็ ม่มใี ครในโลกนป้ี ดิ บังทกุ ขไ์ ว้ได้ เพราะทุกข์เปน็ สัจธรรมประจ�ำธาตขุ นั ธ์และเปิดเผยกับตัวเองอยู่ทุกวันคืน จะยืน เดิน น่ัง นอน ในอิรยิ าบถตา่ งๆ นนั้ เปน็ เพียงหลบหลีกทุกขช์ ัว่ คราวเทา่ น้นั และ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook