Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มหามงคลวาร

Description: มหามงคลวาร

Search

Read the Text Version

มหามงคลวาร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๗ ปี



อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธกิ าร พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒

พระบรมสาทสิ ลักษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ และพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๖

คตธิ รรม เนือ่ งในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นปที ี่ ๑๒๗ ๑ เมษายน ๒๕๖๒ สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ทรงพระปรารภภาษติ ไวว้ ่า “อต̣ตานํ ทมยน̣ ปณ̣ฑติ า.” ความวา่ บัณฑติ ย่อมฝึกตน. บุคคลผู้ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิตท่ีแท้ คือผู้มีปัญญารู้รอบและรู้ท่ัวในความจริง แต่การมีปัญญาไม่อาจ เกิดขึ้นได้หากปราศจากการบ่มเพาะอบรมตนให้พรั่งพร้อมด้วยคุณธรรมนานัปการ อันเป็นเหตุปัจจัยให้เกิด ความรู้ ตัวอย่างของคุณธรรมที่ว่านั้นมีความจริงใจซ่ือตรงต่อบทบาทหน้าที่ท่ีตนดำ�รงอยู่ ความข่มใจมิให้เผลอ มวั เมาไปสหู่ นทางแหง่ ความเสอ่ื ม ความอดทนตอ่ ปญั หาและอปุ สรรคทก่ี ดี ขวางหนทางพฒั นาความรคู้ วามสามารถ และความเสียสละตนเพอ่ื ประโยชน์ของสว่ นรวม เปน็ ตน้ บคุ คลผมู้ ีหนา้ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษาของชาติ รวมถึง ผปู้ รารถนาความเจรญิ กา้ วหนา้ อนั เนอ่ื งมาแตก่ ารศกึ ษาเลา่ เรยี น จำ�เปน็ ตอ้ งเพยี รฝกึ ตนใหถ้ งึ พรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรม ดังกล่าวเป็นพน้ื ฐาน เพอ่ื ก้าวไปสูค่ วามเป็นบัณฑิตได้สมดงั พระพทุ ธานศุ าสนี กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าท่ีสร้างคนให้เป็นบัณฑิตมาอย่างต่อเนื่องและยาวนานถึง ๑๒๗ ปี เป็นที่น่าอนุโมทนาอย่างยิ่ง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจึงพึงฝึกฝนพัฒนาตนให้มี คณุ ภาพสูงย่ิงข้นึ อยู่เสมอ เพื่อยงั สมั ฤทธ์ผิ ลแห่งราชการ อนั จกั นำ�พาความรุง่ เรอื งมาสสู่ งั คมไทยได้อย่างยงั่ ยืน ขออำ�นวยพรใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร เจรญิ วฒั นาสถาพร สามารถสรรคส์ รา้ งคณุ ปู การใหแ้ กส่ งั คมไทย ไดอ้ ย่างเต็มกำ�ลงั ความสามารถตลอดกาลนาน เทอญ. (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ) สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วดั ราชบพิธสถติ มหาสีมาราม ๒๖ มกราคม ๒๕๖๒



“...การศึกษาเปน็ ปัจจยั ส�ำคญั ในการสร้างและพฒั นาความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคณุ ธรรมของบุคคล สังคมและบา้ นเมอื งใด ให้การศกึ ษาที่ดีแก่เยาวชนได้อย่างครบถ้วน ลว้ นพอเหมาะกนั ทกุ ๆ ด้าน สังคมและบา้ นเมอื งน้ัน กจ็ ะมพี ลเมืองทม่ี ีคุณภาพ ซ่ึงสามารถธ�ำรงรกั ษาความเจรญิ ม่ันคงของประเทศชาติไว้ และพัฒนาใหก้ ้าวหนา้ ต่อไปได้โดยตลอด...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแกค่ ณะครแู ละนกั เรียนท่ีได้รับพระราชทานรางวลั ณ ศาลาดุสิดาลยั พระต�ำหนักจติ รลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ติ วันจนั ทร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๒๔



“...งานของครูน้ัน ถือได้วา่ เปน็ งานสรา้ งสรรค์อยา่ งแท้จรงิ เพราะเปน็ การวางรากฐานความรู้ความดี และความสามารถทุกๆ ดา้ นแกศ่ ษิ ย์ เพ่ือชว่ ยใหส้ ามารถด�ำรงตนเปน็ คนดี มอี าชพี เปน็ หลักฐาน และเปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม. เพราะเหตทุ ่งี านของครูเปน็ งานท่หี นักและเปน็ งานสร้างสรรคท์ ีบ่ รสิ ุทธิ์ ผูเ้ ปน็ ครจู ึงต้องปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีด้วยความต้ังใจทแ่ี น่วแน่ด้วยความพากเพยี รอดทน และด้วยความเมตตากรณุ าอย่างสงู ทั้งตอ้ งส�ำรวมระวังตนในเรอื่ งความประพฤติปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครัด ไม่ปลอ่ ยตัวปล่อยใจตามความตอ้ งการทีไ่ ม่สมควรแก่ฐานะและเกยี รตภิ ูมขิ องครู...” พระราชดำ� รัส สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ในโอกาสทคี่ ณะครอู าวุโสเข้าเฝ้า ฯ รับพระราชทานเครอื่ งหมายเชิดชเู กียรติและเงนิ ช่วยเหลอื ณ ศาลาดสุ ิดาลัย สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสิต วันอังคารท่ี ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑





คำ� น�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ นบั เปน็ ปมี หามงคลอกี ปหี นง่ึ ของปวงชนชาวไทย ทจ่ี ะไดเ้ หน็ พระราชพธิ ี อนั ศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ ละยงิ่ ใหญ่ โดยสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู โปรดเกลา้ ฯ ให้ต้ังการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในวันที่ ๔ - ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมท้ังการเสด็จ เลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีขึ้นในช่วง การพระราชพธิ ที รงบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลถวายผา้ พระกฐนิ ปลายปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ หนงั สือวนั คล้ายวนั สถาปนากระทรวงศึกษาธกิ าร ครบรอบ ๑๒๗ ปี จึงได้รวบรวมความรู้ เกย่ี วกบั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกพระมหากษตั รยิ ์สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ตง้ั แตร่ ชั กาลที่๑–รชั กาลที่๙ รวมทงั้ ค�ำศพั ท์ รากศพั ท์ ความหมายของค�ำทเ่ี กย่ี วกบั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกพระมหากษตั รยิ ์ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ เพอื่ ประโยชนท์ างการศกึ ษา นอกจากนี้ ยังมีเรื่องอ่ืน ๆ ที่น่าสนใจภายในกระทรวงศึกษาธิการ คือ แนะน�ำพิพิธภัณฑ์ การศึกษาไทย ซึ่งตั้งอยู่ที่อาคารราชวัลลภ มีการจัดแสดงเนื้อหาสาระให้ความรู้ความเป็นมาของ การศกึ ษาไทย ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั โดยจดั แบง่ เปน็ หอ้ งตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ หอ้ งโถงตอ้ นรบั หอ้ งลายสอื ไทย ห้องสมุดการศึกษาไทย ห้องการศึกษาไทยสมัยสุโขทัยและอยุธยา ห้องแสดงพระราชกรณียกิจ ดา้ นการศกึ ษา หอ้ งเสนาบดแี ละผมู้ คี ณุ ปู การ เปน็ ตน้ ในส่วนของความก้าวหน้าด้านการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาของกระทรวงศึกษาธิการ ทไี่ ดข้ บั เคลอื่ นพฒั นางานดา้ นการศกึ ษา ๔ ดา้ น คอื ครู คณุ ธรรมน�ำการศกึ ษา ศาสตรพ์ ระราชา สสู่ ถานศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื และการศกึ ษายคุ ดจิ ทิ ลั ซง่ึ สอดคลอ้ งเชอื่ มโยงตามกรอบ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ทงั้ ๖ ดา้ น คอื ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ดา้ นความมนั่ คง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ดา้ นการสรา้ ง ความสามารถในการแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ ดา้ นการสรา้ ง การเจรญิ เตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม และยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ด้วยโลกปัจจุบันท่ีขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สยู่ คุ ดจิ ทิ ลั  การศกึ ษาในศตวรรษท่ี ๒๑ จ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารเรยี นรตู้ อ่ เนอ่ื งทงั้ ในดา้ นหลกั สตู ร ครผู สู้ อน และพฒั นาผเู้ รยี นเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นกา้ วทนั การมงี านท�ำ และรองรบั สโู่ ลกอนาคต หนังสือเล่มนี้ครอบคลุมเรื่องราวทั้งหมดข้างต้น ขอขอบคุณทุกท่านท่ีได้ร่วมแรงร่วมใจ ในการจดั ท�ำหนงั สอื ทรี่ ะลกึ วนั คลา้ ยวนั สถาปนากระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๗ ปี ใหส้ �ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี มา ณ โอกาสนี้ (นายการุณ สกลุ ประดิษฐ)์ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ คติธรรม ๒ พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ๔ พระราชดำ�รสั สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๖ คำ�นำ� ๙ พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ๑๒ พพิ ิธภัณฑ์การศกึ ษาไทย…แหล่งเรยี นรูร้ วั้ เสมา ๔๔ ตน้ ไมม้ งคลและต้นไม้เกา่ แก่ในกระทรวงศึกษาธกิ าร ๗๔ สารรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ ๘๔ สารรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ๘๖ ทำ�เนียบผ้บู รหิ ารกระทรวงศึกษาธกิ าร ๘๘

การขบั เคล่อื นพฒั นางานด้านการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๐๖ ศาสตรพ์ ระราชาสู่สถานศึกษาเพ่ือการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ๑๐๙ ครู ๑๒๑ คุณธรรมนำ�การศึกษา ๑๔๖ การศึกษายุคดจิ ิทลั ๑๖๓ ผลงานสรา้ งสรรคก์ ารประกวดภาพความประทับใจ ๑๗๔ เนอ่ื งในโอกาสวันครู คร้ังที่ ๓ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๑๘๔ เชดิ ชูผทู้ ำ�คณุ ประโยชน์ให้แก่กระทรวงศกึ ษาธิการ



พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ประทับ ณ พระที่น่ังภทั รบิฐ ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉตั ร พระที่นัง่ ไพศาลทักษณิ ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก วนั ที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ 14 I มหามงคลวาร

ชาติไทยแต่ดั้งเดิมมีวัฒนธรรมการปกครอง ซึ่งกษัตริย์ผู้ปกครองทรงคุ้มครองดูแล ราษฎรผใู้ ตก้ ารปกครองอยา่ งใกลช้ ดิ บทบาทของกษตั รยิ ห์ รอื พระมหากษตั รยิ ด์ จุ เปน็ พอ่ เมอื ง เป็นผนู้ �ำในยามมศี ึกสงคราม เปน็ ตลุ าการตัดสนิ ความเมอ่ื ราษฎรมีกรณีขดั แยง้ ววิ าท ประเทศอินเดียเป็นประเทศหน่ึงท่ีเจริญรุ่งเรืองมาแต่โบราณ เป็นบ่อเกิดอารยธรรม และวัฒนธรรมทั้งด้านการปกครอง ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี อันทรงอิทธิพล ต่อประเทศในแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้มาชา้ นาน วัฒนธรรมบางด้านของอินเดียได้ฝังรากในสังคมไทยมาหลายสมัยจนปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาพระราชพิธีท่ีเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และราชส�ำนัก แม้ว่าอินเดีย มไิ ดถ้ า่ ยทอดวัฒนธรรมนั้น ๆ แกไ่ ทยโดยตรงกต็ าม มหี ลกั ฐานอา้ งองิ วา่ ไทยไดร้ บั วฒั นธรรมส�ำคญั บางประการจากมอญซงึ่ รบั จากอนิ เดยี อีกทอด ประการหนึ่งคือ รับคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ การนิยมยกย่องพระมหากษัตริย์ ว่าเป็นธรรมิกราช ทรงตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม ซึ่งกล่าวได้ว่า เป็นธรรมเนียมท่ีเข้ากับ วัฒนธรรมไทยดั้งเดิมได้สนทิ เม่ือไทยสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเขมร ไทยได้รับขนบธรรมเนียมลัทธิเทวราชของเขมร มาใช้ ซงึ่ เขมรกร็ ับจากอินเดยี อกี ทอดเช่นกนั พระราชพธิ บี รมราชาภิเษกเมอ่ื พระมหากษัตรยิ ์ เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติจึงเป็นพระราชพิธีส�ำคัญของไทยมาช้านาน โดยพราหมณ์ สาธยายมนต์อัญเชิญพระเป็นเจ้าให้ลงสู่พระองค์พระมหากษัตริย์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ลทั ธเิ ทวราชของเขมรจะครอบคลมุ อยใู่ นพระราชพธิ ี เป็นเครื่องแสดงพระราชอิสรยิ ยศสงู สุด สว่ นความจงรกั ภกั ดอี ยา่ งยง่ั ยนื ของคนไทยทม่ี แี ดพ่ ระมหากษตั รยิ ข์ องตน และนอ้ มน�ำ จดั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกอนั แสดงเกยี รตภิ มู แิ ตโ่ บราณกาลนนั้ เนอื่ งดว้ ยส�ำนกึ เปน็ ลน้ พน้ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอยา่ งใหญห่ ลวงทีม่ ตี ่อปวงชนชาวไทยเป็นประการส�ำคัญ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 15

หมพู่ ระมหามนเทียร* ในพระบรมมหาราชวงั สถานท่ีจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ พระราชพิธีอันเน่ืองจากคติศาสนาพราหมณ์หรือศาสนาฮินดูจากอินเดีย ท่ีถือว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นสมมติเทพ เพ่ือแสดงความย่ิงใหญ่และความศักด์ิสิทธ์ินั้น นอกจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ยังมีพระราชพิธีโสกันต์ พระราชพิธีบรมศพ เป็นต้น ซ่ึงท้ังปวงถือได้ว่า พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นพระราชพิธีส�ำคัญและย่ิงใหญ่ เป็นพเิ ศษ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศส�ำหรับ พระมหากษัตริย์ไทยที่ปรากฏในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นเรื่องควรศึกษาอย่างยิ่ง ประเทศไทยก็ดี ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ดี มีสาระส�ำคัญของพระราชพิธี และเคร่อื งประกอบพระราชอิสริยยศคล้ายคลึงกัน แต่มีรายละเอยี ดแตกต่างกนั อนั แสดงถงึ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและอิทธิพลทางศาสนาของแต่ละประเทศ รวมท้ังพระราชนิยม ของพระมหากษตั ริย์แตล่ ะพระองค์ เรื่องราวของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและเคร่ืองประกอบพระราชอิสริยยศ ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ไทยต้ังแต่สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ มีหลักฐานด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ในท่ีน้ีขอน้อมน�ำ มากลา่ วอธบิ ายโดยสงั เขปดงั นี้ *มนเทยี ร คือ เรือนหลวงซึ่งใช้เป็นที่ประทับประจ�ำของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชมนเทียร, โบราณใช้ว่า พระราชมณเฑยี ร 16 I มหามงคลวาร

พระราชพิธบี รมราชาภิเษกแตล่ ะรชั สมยั พระทนี่ ัง่ ภทั รบิฐ (พัด-ทฺระ-บดิ ) ประดษิ ฐานภายในพระท่ีนัง่ ไพศาลทักษิณ มีลกั ษณะคล้ายเกา้ อ้ี มกี งเทา้ แขน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งขึน้ นามพระทน่ี ัง่ มคี วามหมายวา่ แท่นส�ำหรับเทพบดี หรอื พระมหากษตั ริยป์ ระทับ ถือวา่ เป็นมงคล ปรากฏนามพระท่ีน่ังนีแ้ ตค่ รง้ั กรงุ ศรีอยธุ ยา ใชใ้ นพระราชพิธรี าชาภเิ ษก กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๒๗ ปี I 17

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นโบราณราชประเพณีท่ีจัดขึ้นส�ำหรับพระประมุข ของประเทศ เพ่ือความเป็นพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าโดยสมบูรณ์ ขั้นตอนแห่งพระราชพิธี ได้ผสานความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ และความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเข้าไว้ด้วยกัน อย่างกลมกลืนสง่างาม สมพระเกยี รตยิ ศ และแสดงความเทิดทูนยกย่องอย่างสงู สุด พระราชพิธี แปลว่า พิธีท่ีพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก�ำหนดไว้ ตามราชประเพณี บรม แปลว่า อย่างยง่ิ , ที่สดุ (ใชน้ �ำหน้าค�ำราชาศพั ท์สำ� หรับพระเจ้าแผ่นดิน) ราช แปลวา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ อภเิ ษก แปลว่า แตง่ ตง้ั โดยการทำ� พธิ ีรดน�ำ้ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก จงึ หมายถงึ พธิ ที พ่ี ระมหากษตั รยิ ท์ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้จดั ท�ำขึ้นในการอภเิ ษกหรือแตง่ ตง้ั โดยการท�ำพิธรี ดน�้ำ เพ่อื ความเป็นพระมหากษัตรยิ โ์ ดย สมบูรณ์ สมัยสุโขทัย ปรากฏหลักฐานในศิลาจารกึ วัดศรชี มุ ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ กล่าวถึง การอภเิ ษกของพ่อขุนบางกลางหาว ไวว้ ่า “...พ่อขุนผาเมืองจึงอภิเษกพ่อขุนบางกลางหาว ให้เมืองสุโขทัย ใหท้ ง้ั ช่ือตนแก่พระสหายเรยี กชอ่ื ศรีอนิ ทรบดนิ ทราทติ ย.์ ..” สมยั อยธุ ยา เรยี กวา่ “พระราชพธิ รี าชาภเิ ษก” หรอื “พธิ รี าชาภเิ ษก” ปรากฏหลกั ฐาน เกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในค�ำให้การชาวกรุงเก่า ข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ข้นั ตอนของพระราชพิธีวา่ “...พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาจึงโปรดให้เอาไม้มะเด่ือน้ันมาท�ำตั่ง ส�ำหรับประทับสรงพระกระยาสนานในการมงคล เช่น พระราชพิธี ราชาภิเษก เป็นต้น พระองค์ย่อมประทับเหนือพระท่ีน่ังตั่งไม้มะเด่ือ สรงกระยาสนานกอ่ นแลว้ (จงึ เสดจ็ ไปประทบั พระทนี่ ง่ั ภทั รบฐิ ) มขุ อำ� มาตย์ ถวายเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ คือ มหามงกุฎ ๑ พระแสงขรรค์ ๑ พดั วาลวิชนี ๑ ธารพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู่ ๑” สมยั ธนบรุ ี ไมป่ รากฏหลกั ฐานการประกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก สนั นษิ ฐานวา่ ท�ำตามแบบอยา่ งรชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา แตค่ งท�ำอยา่ งสงั เขป ด้วยบ้านเมืองอย่ใู นภาวะสงคราม 18 I มหามงคลวาร

สมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ เรยี กวา่ “พระราชพิธีราชาภเิ ษก” หรอื “พธิ ีราชาภเิ ษก” ปจั จบุ นั เรยี กวา่ “พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก” สมยั รตั นโกสนิ ทรม์ พี ระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ตามล�ำดับดังนี้ พุทธศักราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงประดิษฐานพระบรมราชจักรีวงศ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบ การพระราชพธิ ีปราบดาภเิ ษก โดยสงั เขป และในพุทธศักราช ๒๓๒๖ โปรดเกล้าฯ ให้ช�ำระ ต�ำราว่าด้วยการบรมราชาภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร แล้วเรียบเรียงข้ึนไว้ เป็นต�ำรา เรียกว่า ตำ� ราราชาภิเษกคร้งั กรุงศรีอยุธยาส�ำหรบั หอหลวง ถอื เปน็ ต�ำราเกยี่ วกบั การราชาภิเษกที่เก่าท่ีสุดเท่าท่ีพบหลักฐานในประเทศไทย ทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง เครอ่ื งประกอบพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก แบบแผนดังกลา่ วนไ้ี ด้ยึดถอื ปฏบิ ัตสิ บื มา พุทธศักราช ๒๓๒๘ เม่ือพระราชมนเทียรสถานท่ีสร้างข้ึนใหม่แล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง การพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกอกี ครั้งหน่ึงใหส้ มบรู ณต์ ามแบบแผนอันเคยมีมาแตก่ าลกอ่ น พุทธศักราช ๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 19

พุทธศักราช ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ทรงครองราชสมบตั ิ สบื ตอ่ จากสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ขณะมพี ระชนมพรรษาเพียง ๑๕ พรรษา ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกครงั้ แรก พุทธศักราช ๒๔๑๖ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ ๒๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษกอีกคร้ัง 20 I มหามงคลวาร

พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมนเทียร เน่ืองจาก ยังอยู่ในช่วงไว้ทุกข์งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้ งดการเสด็จพระราชด�ำเนินเลยี บพระนครและการรื่นเริง พุทธศักราช ๒๔๕๔ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช เพ่ือเป็นการฉลอง และให้ นานาประเทศท่ีมสี มั พนั ธ์พระราชไมตรมี าร่วมงานพระราชพิธี พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ภายหลงั ทรงครองสริ ิราชสมบัติ เมอ่ื พุทธศักราช ๒๔๘๙ กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๗ ปี I 21

พิธเี จริญพระพุทธมนต์และพธิ พี ราหมณ์ พระท่ีน่ังอมรินทรวนิ จิ ฉยั มไหสูรยพิมาน 22 I มหามงคลวาร

พระราชพิธีอันส�ำคัญย่ิงของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย เบ้ืองต้นก่อนพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก ในสว่ นทเ่ี ปน็ พธิ กี รรมทางพระพทุ ธศาสนา ปรากฏหลกั ฐานในรชั สมยั พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในเวลาเย็นทรงจุดเทียนนมัสการพระรัตนตรัย พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ วันรุ่งขน้ึ ทรงถวายภตั ตาหารเชา้ เปน็ เวลา ๓ วัน เบ้ืองต้นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพิธีพราหมณ์อาจมีมาในอดีต แต่ปรากฏ หลักฐานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบพิธี ยกพระเศวตฉัตร ๗ ช้ัน ท่ีพระท่ีนั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ และพระท่ีน่ังภัทรบิฐ ในพระทนี่ ง่ั ไพศาลทกั ษณิ พรอ้ มทงั้ การถวายเครอื่ งพลกี รรมบวงสรวงเทวดา ณ เทวสถานตา่ งๆ ในพระนคร การถวายนำ้� สงั ข์ ถวายใบมะตมู ใหท้ รงทดั กบั ถวายใบสมติ เพอื่ ทรงปดั พระเคราะห์ จากนน้ั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปยงั พระแทน่ บรรทม เพอ่ื ทรงสดบั พระสงฆส์ วดเจรญิ พระปรติ ร ต่อเนื่องเป็นเวลา ๓ วัน พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาและพิธีพราหมณ์ดังกล่าวถือเป็น ธรรมเนยี มปฏิบตั ิสืบมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีการปรับเปลี่ยนข้ันตอนตามความเหมาะสม โดยก่อนวันพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีในเวลาเย็นวันเดียว คือ วันพฤหัสบดีท่ี ๔ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๔๙๓ พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนตบ์ นพระแท่นลา หนา้ ตงั่ ทกุ ตงั่ ตงั้ บัตรเทวรปู นพเคราะห์ ๓ ช้ัน ส�ำหรับโหรบูชาเทวดานพเคราะห์เฉพาะวันนี้ และจะถอนไปในวันรุ่งข้ึน รวมท้ังการจัดเคร่ืองบูชาพระมหาเศวตฉัตร ๕ แห่ง ประกอบด้วย พระมหาเศวตฉัตร ภายในพระทนี่ ง่ั อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั มไหสรู ยพมิ าน พระมหาเศวตฉตั รภายในพระทนี่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ พระมหาเศวตฉัตรภายในพระที่น่ังจักรีมหาปราสาท พระมหาเศวตฉัตรภายในพระที่น่ัง อนนั ตสมาคม พระมหาเศวตฉตั รภายในพระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ปชู นยี สถานและสง่ิ ส�ำคญั ๑๓ แห่งในพระนคร กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๗ ปี I 23

พธิ จี ารกึ พระสพุ รรณบฏั แกะพระราชลญั จกรประจำ� รชั กาล และดวงพระบรมราชสมภพ รัชกาลท่ี ๑ รชั กาลท่ี ๒ รชั กาลที่ ๓ รัชกาลท่ี ๔ รชั กาลท่ี ๕ รัชกาลท่ี ๖ รัชกาลท่ี ๗ รัชกาลท่ี ๘ รชั กาลท่ี ๙ พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลในสมยั รัตนโกสินทร์ 24 I มหามงคลวาร

การจารึกพระสุพรรณบัฏในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นข้ันตอนส�ำคัญ ขั้นตอนหนึ่งของการเตรียมประกอบพิธีบรมราชาภิเษก ในสมัยรัตนโกสินทร์ปรากฏพิธี กล่าวคือ เม่ือได้พระฤกษ์ โหรล่ันฆ้องชัย อาลักษณ์จารึกอักษรพระปรมาภิไธยลงใน พระสพุ รรณบฏั โหรจารกึ ดวงพระบรมราชสมภพในแผน่ ทอง สว่ นนายชา่ งแกะพระราชลญั จกร ประจ�ำรัชกาลไปพร้อมกัน พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถา พราหมณ์เป่าสังข์ เจ้าพนักงาน ประโคมแตร สงั ข์ และพิณพาทยต์ ลอดพธิ ี เม่ือเสร็จพิธี เจ้าพนักงานจะน�ำพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และ พระราชลัญจกรมาประดิษฐานบนธรรมาสน์ศิลาในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้อัญเชิญ พระสุพรรณบัฏสู่มณฑลพระราชพิธี ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณ คร้ันถึงวันพระราชพิธี บรมราชาภิเษก พระราชครูวามเทพมุนีทูลเกล้าฯ ถวายพระสุพรรณบัฏในพิธีถวาย สริ ริ าชสมบตั ิ และถวายเครื่องราชกกุธภณั ฑ์ สพุ รรณบฏั แปลวา่ แผน่ ทองค�ำ แผน่ ทองค�ำถอื เปน็ ของมคี า่ ไดน้ �ำมาใชใ้ นวาระส�ำคญั อย่างเช่นจารึกพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ หรือพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถงึ พระนามของสมเด็จพระสงั ฆราช เรียกวา่ พระสุพรรณบัฏ พระปรมาภิไธย อภิไธย แปลว่า ชื่อ พระปรมาภิไธย หมายถึง ชื่อใช้ส�ำหรับ พระมหากษตั รยิ ์ เชน่ รัชกาลท่ี ๙ เฉลิมพระปรมาภไิ ธยวา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร- มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพติ รสว่ นพระบรมวงศ์เชน่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์พระบรมราชนิ นี าถในรชั กาลที่๙ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใช้วา่ พระนามาภิไธย ดวงพระราชสมภพ สมภพ แปลวา่ การเกดิ ราชาศพั ทใ์ ชค้ �ำวา่ พระราชสมภพ ส�ำหรบั พระมหากษตั ริยใ์ ช้ว่า พระบรมราชสมภพ พระราชลัญจกร ลัญจกร หมายถึง ตราใช้ส�ำหรับประทับ ราชาศัพท์ใช้ พระราชลัญจกร เป็นเคร่ืองมงคลที่แสดงถึงพระราชอิสริยยศ และพระบรมเดชานุภาพของ พระมหากษัตริย์ ใช้เป็นดวงตราประทับก�ำกับพระปรมาภิไธย และเอกสารราชการแผ่นดิน ได้แก่ รัฐธรรมนูญ พระราชก�ำหนด พระราชกฤษฎีกา และเอกสารส�ำคัญส่วนพระองค์ ทเี่ กย่ี วกบั ราชการแผ่นดินท่ีออกในพระปรมาภิไธย เปน็ ต้น พระราชลญั จกรประจ�ำพระองค์ จะเชิญขึ้นทลู เกลา้ ฯ ถวายในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พรอ้ มกบั เครอื่ งมงคลอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ พระสพุ รรณบฏั เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๒๗ ปี I 25

พิธสี รงพระมรุ ธาภเิ ษกและถวายน�้ำอภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงพระภษู าเศวตพัสตร์ ทรงสะพกั ขาวขลบิ ทอง ในการสรงพระมุรธาภเิ ษก 26 I มหามงคลวาร

วิถีชีวิตของมนุษย์ผูกพันเก่ียวกับน้�ำและพึ่งพาแหล่งน�้ำมาโดยล�ำดับ น้�ำยังเป็น แหลง่ ก�ำเนดิ อารยธรรมทส่ี �ำคญั ของโลกมาแตอ่ ดตี กอ่ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรม ประเพณี และความเชอื่ มากมาย ลัทธพิ ราหมณ์จึงน�ำน�ำ้ มาใช้ในพธิ ีตา่ ง ๆ ท้ังพิธีมงคลและอวมงคล ในลัทธิพราหมณ์ ก่อนเร่ิมพิธีใดน้ันจะต้องมีพิธีสนาน คือ อาบน�้ำก่อนเข้าพิธี เพื่อช�ำระล้างร่างกายให้บริสุทธ์ิก่อน ส่งอิทธิพลต่อพิธีกรรมในราชส�ำนักไทยอย่าง พระราชพิธีบรมราชาภิเษกท่ีมีการอัญเชิญน้�ำท่ีจะสรงพระมุรธาภิเษกจากสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิ ในราชอาณาจักรมาท�ำพธิ ี เมือ่ สรงพระมุรธาภิเษกแลว้ จงึ มีพธิ ีอ่ืน ๆ ตอ่ ไป สรง แปลว่า อาบน�้ำ มุรธา หรือ มูรธา แปลว่า หัว, ยอด อภิเษก แปลว่า แตง่ ตง้ั โดยการท�ำพิธีรดน้�ำ สรงพระมรุ ธาภิเษก จึงหมายถึง การอภเิ ษกดว้ ยการรดนำ�้ ก่อนพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจะต้องมีพิธีพลีกรรม หรือพิธีบูชาตักน้�ำ ณ สถานทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นราชอาณาจกั ร ในแตล่ ะรชั กาล มกั ใชน้ ำ�้ จากแหลง่ นำ้� ส�ำคญั ทว่ั ประเทศ ดงั เชน่ รชั กาลกอ่ น และเปลย่ี นแปลงบา้ งตามทเี่ หน็ ส�ำคญั เมอื่ ถงึ วนั พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ก็จะมีพธิ ีสรงพระมุรธาภเิ ษกและถวายน�ำ้ อภเิ ษก ตามล�ำดับ เม่ือพุทธศักราช ๒๔๙๓ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ ๑๘ – ๑๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ โปรดเกล้าฯ ให้ท�ำพิธีพลีกรรมตักน้�ำ จากสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิในราชอาณาจักร และตั้งพิธีเสกน�้ำ ณ มหาเจดียสถานและพระอารามส�ำคัญในราชอาณาจักรส่วนภูมิภาค จ�ำนวน ๑๘ แห่ง เท่ากับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เปลี่ยนสถานที่จากเดิมในบางแห่ง แล้วจึงน�ำเข้ามาต้ังไว้ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามจนกว่าจะถึงวันพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก ในวันพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หรือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวคร้ังกระนั้น เสด็จข้ึนมณฑปพระกระยาสนาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 27

ประทบั เหนอื พระทนี่ ง่ั อฐั ทศิ อทุ มุ พรราชอาสน์ เจา้ พนกั งานไขสหสั ธาราทบ่ี รรจใุ นทงุ้ *สหสั ธารา** โปรยลงมายังท่ีสรงมุรธาภิเษก หลังจากน้ัน สมเด็จพระสังฆราชขึ้นถวายน�้ำพระพุทธมนต์ โหรหลวงทูลเกล้าฯ ถวายพระเต้านพเคราะห์ ทรงรับไปสรงที่พระอังสาทั้งซ้ายขวา พระราชครูวามเทพมุนีทูลเกล้าฯ ถวายน้�ำเทพมหาสังข์ น้�ำเทพมนต์ แล้วทูลเกล้าฯ ถวายใบมะตมู ทรงทดั และใบกระถนิ เพอ่ื ทรงถอื พระยาอนรุ กั ษร์ าชมณเฑยี ร ทลู เกลา้ ฯ ถวาย พระมหาสงั ข์ทกั ษิณาวรรต ขณะสรงพระมุรธาภิเษก พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานประโคมสังข์ แตร มโหระทกึ และเครอื่ งดรุ ยิ างค์ ทหารกองเกยี รตยิ ศถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลง สรรเสริญพระบารมี ทหารปืนใหญ่ยิงปืนเฉลิมพระเกียรติ หลังพิธีสรงพระมุรธาภิเษกแล้ว จะเข้าสพู่ ธิ ถี วายน�้ำอภเิ ษก คร้ันพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สรงพระมุรธาภิเษกแล้ว ทรงเคร่ืองบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์เสด็จพระราชด�ำเนิน สพู่ ระทนี่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ ประทบั พระทน่ี งั่ อฐั ทศิ อทุ มุ พรราชอาสนภ์ ายใตพ้ ระบวรมหาเศวตฉตั ร ผู้แทนสมาชกิ รัฐสภาถวายนำ�้ อภเิ ษก และพระราชครวู ามเทพมนุ ที ลู เกล้าฯ ถวายนำ�้ เทพมนต์ ประจ�ำทิศ ๘ ทิศ ทรงรับด้วยพระหัตถ์โดยเร่ิมจากทิศบูรพา แล้วเสด็จแปรท่ีประทับ ตามล�ำดบั โดยทกั ษิณาวรรต เม่อื ทรงผันพระองคเ์ วียนมาสทู่ ศิ บรู พาอกี ครงั้ ประธานวฒุ ิสภา กราบบังคมทูลถวายชัยมงคลเป็นภาษามคธ แลว้ ทูลเกลา้ ฯ ถวายนำ�้ อภเิ ษก จากนั้น พระราชครูวามเทพมุนีกราบบังคมทูลถวายชัยมงคลด้วยภาษามคธ และภาษาไทย แลว้ นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร*** ขณะนั้นพราหมณเ์ ป่าสังข์ ชาวพนกั งานแกวง่ บัณเฑาะว์ ประโคมฆ้องชยั แตร มโหระทึก และเคร่อื งดุริยางค์ *ทงุ้ ฝกั บวั ท่ีย้อยลงมา เช่น เปดิ น�้ำตามทุ้งสหสั ธารา **สหัสธารา (สะ-หัด-สะ-ทา-รา) เครื่องโปรยน้�ำให้เป็นฝอย (ใช้ในการอภิเษก) โดยปริยายหมายถึง การสรงน้ำ� ของพระเจา้ แผ่นดนิ ***พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร นพ แปลว่า เก้า ปฎล แปลวา่ ชน้ั มหา แปลว่า ยงิ่ ใหญ่ เศวต แปลว่า ขาว พระนพปฎลมหา- เศวตฉัตร จึงหมายถึง ฉัตรสีขาว ๙ ช้ันอันย่ิงใหญ่ แสดงความเป็นพระมหากษัตริย์ พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรเป็นเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ที่ส�ำคัญที่สุด จักน้อมเกล้าฯ ถวายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ใช้ปักหรือแขวน ณ สถานที่และโอกาสต่าง ๆ อาทิ ปกั เหนอื พระราชอาสนร์ าชบลั ลงั กใ์ นทอ้ งพระโรงแหง่ มหาปราสาทราชมนเทยี ร แขวนเหนอื พระแทน่ ราชบรรจถรณภ์ ายในพระมหามนเทยี ร แตส่ มยั หลงั ถอื วา่ พระมหาพชิ ยั มงกฎุ ส�ำคญั ทส่ี ุดตามธรรมเนียมนิยมของราชส�ำนกั ยุโรป 28 I มหามงคลวาร

พธิ ีถวายสิรริ าชสมบัติ และเครือ่ งราชกกธุ ภัณฑ์ พธิ ีถวายสริ ิราชสมบัติ และถวายเครือ่ งราชกกธุ ภณั ฑ์ ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก แหง่ บรุ พกษตั ราธริ าชเจา้ ตงั้ แตค่ รง้ั สมยั สโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา จนถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ มหี ลกั ฐาน ทางประวัติศาสตร์ที่ค้นพบว่ามีการถวายสิริราชสมบัติและถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ โดยพราหมณ์พระมหาราชครูกราบบังคมทูลถวายสิริราชสมบัติ แล้วถวายพระสุพรรณบัฏ และเครอื่ งเบญจกกธุ ภณั ฑ์ตามล�ำดบั สมัยสุโขทัย พบหลักฐานเกี่ยวกับการถวายเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ในศิลาจารึก วัดปา่ มะมว่ ง หลกั ท่ี ๔ (ภาษาเขมร) เรอื่ งพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลไิ ท) เมอ่ื พทุ ธศักราช ๑๘๙๐ มเี ครือ่ งราชกกุธภณั ฑป์ รากฏอยู่เพยี ง ๓ องค์ ความว่า “บัดน้ันจึงเสด็จพระราชด�ำเนินเข้าเสวยราชย์...ไอสูรยาธิปัตย์ ในเมืองสุโขทัยน้ีแทนพระบิดา พระอัยกา...กษัตริย์ทั้งหลายซึ่งมี ในทิศท้ัง ๔ ...น�ำ มกุฎ...พระขรรค์ชัยศรีและเศวตฉัตร อภิเษก แล้วถวายพระนามว่า พระบาทกัมรเดงอัญศรีสุริยพงศราม มหาธรรมราชาธริ าช...” นอกจากน้ียังพบภาพแกะสลักเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ท่ีจังหวัดสุโขทัย เป็นรูปแส้ ๑ พระขรรค์ ๑ กระบงั หน้า ๑ ฉลองพระบาท ๑ ธารพระกร ๑ ซึง่ รปู กระบังหน้า คลา้ ยเครอื่ งศริ าภรณท์ ใี่ ชใ้ นสมยั สโุ ขทยั จงึ เชอ่ื วา่ ภาพแกะสลกั นเี้ ปน็ เครอ่ื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑ์ ของพระมหากษตั ริยใ์ นสมยั สโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา เครอื่ งราชกกธุ ภณั ฑย์ งั คงใชต้ ามแบบสมยั สโุ ขทยั มี ๕ องค์ ประกอบดว้ ย พระมหาพิชัยมงกุฎ พระแสงขรรค์ชัยศรี ธารพระกร พัดวาลวิชนี และฉลองพระบาท แต่เม่ือคราวเสียกรุงศรีอยุธยาแก่ข้าศึกในพุทธศักราช ๒๓๑๐ ได้สูญหายไปหมด แม้ต่อมา ในสมัยธนบุรีหลังการกู้อิสรภาพแล้ว ก็มิได้มีหลักฐานว่าได้มีการสร้างเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ ใหมข่ นึ้ ทดแทน กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๗ ปี I 29

สมัยรัตนโกสินทร์ เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จข้ึนครองราชย์ เม่ือพุทธศักราช ๒๓๒๕ ได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกข้ึนโดยย่อ ครง้ั หนึง่ ก่อน ตอ่ มาทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้รอ้ื ฟืน้ ขนบธรรมเนียมประเพณี และสร้าง เครอื่ งราชปู โภคขน้ึ ใหมต่ ามแบบโบราณราชประเพณสี �ำหรบั ใชใ้ นพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ครั้งท่ี ๒ ในพทุ ธศักราช ๒๓๒๘ ดงั ความตอนหน่ึงวา่ “...พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงเครื่องขัตติย- ราชวราภรณ์ตามวัน และเสด็จข้ึนประทับบนตั่งไม้มะเดื่อ...ทรงรับ น้�ำอภิเษกและรับเวทเป็นพระมหากษัตริย์จากพราหมณ์ซ่ึงนั่งประจ�ำ ทิศท้ัง ๘ รอบพระแท่นท่ีประทับโดยล�ำดับ เมื่อเสด็จไปประทับ บนพระที่นั่งภัทรบิฐซ่ึงลาดด้วยผ้าขาวโรยแป้งวางหญ้าคาดุจกัน แต่มีแผ่นทองเขียนรูปราชสีห์วางทับไว้ ในท่ีน้ีทรงรับพระสุพรรณบัฏ เครื่องราชอสิ ริยยศ เครื่องราชปู โภค...” เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑด์ งั กลา่ วไดใ้ ชส้ บื เนอื่ งมาถงึ รชั กาลปจั จบุ นั ทง้ั นี้ มกี ารเปลย่ี นแปลง หรอื สรา้ งขึ้นเพมิ่ เติมตามกาลสมัย เคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ หรือ เคร่ืองสิริราชกกุธภัณฑ์ มีความหมายว่า ส่ิงท่ีเป็น เครอ่ื งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศแหง่ พระมหากษตั รยิ ์ ทงั้ น้ี ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ได้ก�ำหนดเครื่องราชกกุธภัณฑ์ท่ีส�ำคัญ ๕ สิ่ง เรียกว่า เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ ประกอบด้วย พระมหาพิชัยมงกุฎ พระแสงขรรค์ชัยศรี ธารพระกร พัดวาลวิชนี และ พระแสห้ างจามรี และฉลองพระบาทเชงิ งอน พระมหาราชครูเป็นผู้ประกอบพิธีถวายสิริราชสมบัติ และถวายเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ ณ พระทนี่ ง่ั ภทั รบฐิ ภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร โดยการทลู เกลา้ ฯ ถวายพระสพุ รรณบฏั เครื่องราชกกุธภัณฑ์ เคร่ืองขัตติยราชวราภรณ์ เครื่องราชูปโภค และพระแสงอัษฎาวุธ ซึ่งในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก การถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์แด่พระมหากษัตริย์ ถือเป็นขั้นตอนท่ีส�ำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นสิ่งของที่ใช้ประกอบพระราชอิสริยยศเพ่ือ แสดงความเปน็ ราชาธบิ ดีแห่งราชอาณาจกั รโดยสมบูรณ์ 30 I มหามงคลวาร

พระมหาพชิ ยั มงกุฎ พระมหาพิชัยมงกุฎ เป็นเครื่องศิราภรณ์ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ ที่พระมหาราชครู จะทลู เกลา้ ฯ ถวายพรอ้ มพานเปน็ ล�ำดบั แรก และขณะทพี่ ระมหากษตั รยิ ท์ รงรบั พระมหาพชิ ยั มงกฎุ จากพระมหาราชครูมาสวมบนพระเศียร ถือเป็นห้วงเวลาท่ีส�ำคัญที่สุดของการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก อนั มีความหมายวา่ ได้ทรงรับพระราชภาระของแผน่ ดนิ ท้งั ปวงแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมหาพิชัยมงกุฎนี้ขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๓๒๕ เพ่ือใช้ในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ท�ำด้วยทองค�ำบริสุทธิ์ จ�ำหลักลวดลายลงยาราชาวดี ประดับด้วยเพชร และทบั ทมิ เปน็ รปู ช่อดอกไมร้ วม ๔ จุด ดอกไม้แต่ละดอกประดบั ดว้ ยเพชร ๕ เม็ด น�้ำหนกั ๗.๓ กิโลกรมั ขนาดสูง ๕๑ เซนติเมตร คร้ันรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหค้ ณะผแู้ ทนสยามไปเสาะแสวงหาเพชรจากเมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย และโปรดเกล้าฯ ให้ประดับไว้ท่ียอดพระมหาพิชัยมงกุฎ พระราชทานชื่อเพชรนี้ว่า มหาวิเชียรมณี และยัง โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระกรรเจยี กจอนส�ำหรบั ทรงประดบั ดา้ นหลงั พระกรรณ (ห)ู ทงั้ สองขา้ ง เมือ่ ทรงพระมหาพิชยั มงกุฎ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงร้ือฟื้นการสวมพระมหาพิชัยมงกุฎ เมอ่ื มพี ระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เนอ่ื งจากในสมยั นนั้ เรมิ่ มคี วามสมั พนั ธท์ างการทตู กบั ประเทศ ในแถบทวีปยุโรปมากขึ้น จึงนิยมตามธรรมเนียมของราชส�ำนักยุโรปท่ีถือว่า ภาวะแห่ง ความเป็นพระมหากษัตริย์คือขณะท่ีทรงสวมมงกุฎ และได้ถือเป็นประเพณีสืบต่อมาว่า ในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั จะทรงพระมหาพชิ ัยมงกุฎ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 31

พระแสงขรรคช์ ยั ศรี พระแสงขรรคช์ ยั ศรี ถอื เปน็ เครอ่ื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑท์ สี่ �ำคญั ทสี่ ดุ องคห์ นงึ่ ในงานพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เปน็ ศาสตราทท่ี �ำดว้ ยเหลก็ กลา้ ด้ามและฝักท�ำด้วยทองค�ำลงยาราชาวดี ลายเทพนม ประดับอัญมณี โคนพระแสงตอนต่อกับด้ามสลักเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑคร่�ำทอง ส่วนก่ัน*พระขรรค์สอดเข้าด้ามไม้หุ้มทองจ�ำหลักลวดลายลงยาราชาวดี เฉพาะส่วนที่เป็นองค์พระขรรค์ยาว ๖๔.๕ เซนติเมตร ท่ีสันตอนใกล้จะ ถงึ ดา้ มครำ�่ ดว้ ยทองค�ำเปน็ ลวดลายงดงาม พระขรรคน์ เี้ มอ่ื ประกอบดา้ มแลว้ ยาว ๘๙.๙ เซนติเมตร หนัก ๑,๓๐๐ กรัม *ก่นั สว่ นทถี่ ัดจากโคนอาวธุ 32 I มหามงคลวาร

ธารพระกร ธารพระกร เป็นเคร่ืองเบญจราชกกธุ ภณั ฑล์ �ำดับท่ี ๓ ที่พระมหาราชครูได้ทูลเกล้าฯ ถวายตอ่ จากพระแสงขรรคช์ ยั ศรี ธารพระกร เปน็ ราชาศพั ท์ หมายถงึ ไมเ้ ทา้ เปน็ เครอื่ งเบญจ- ราชกกุธภัณฑ์ท่ีสร้างขน้ึ ในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ มี ๒ องค์ คอื ธารพระกรชัยพฤกษ์ ท�ำด้วยไม้ชัยพฤกษ์กลึงเป็นล�ำกลมหุ้มทองค�ำเกลี้ยงท้ังองค์ ส่วนหัวท�ำเป็นรูปหัวเม็ดรูปกลมหุ้มทองค�ำ ปลายสุดของธารพระกรท�ำเป็นลักษณะส้อม หรอื สามงา่ ม ธารพระกรองคน์ พ้ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งขน้ึ เมอ่ื ตน้ แผ่นดนิ เดมิ เรยี กว่า ธารพระกรงา่ ม ธารพระกรเทวรูป เป็นธารพระกรที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ ใหมอ่ กี องคห์ นง่ึ ทรงใชแ้ ทนธารพระกรชยั พฤกษอ์ งคเ์ ดมิ ท�ำดว้ ยทองค�ำ ลกั ษณะคลา้ ยพระแสงดาบ ยอดท�ำเปน็ รปู เทวดา จงึ เรยี กวา่ ธารพระกรเทวรปู เมอื่ ชกั ยอดออกจากองคธ์ ารพระกรแล้ว จะกลายเปน็ พระแสงเสน่า (คอื มีดส�ำหรับขว้าง) ตอ่ มาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้เชิญธารพระกรชัยพฤกษ์เป็นเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์อีก ด้วยมีพระราชประสงค์ ที่จะรักษาของเดิมในครั้งรัชกาลที่ ๑ ไว้เป็นเคร่ืองเชิดชูพระเกียรติสมเด็จพระปฐม บรมกษัตรยิ าธริ าชเจา้ แห่งพระบรมราชจกั รวี งศ์ กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๗ ปี I 33

พดั วาลวชิ นแี ละพระแส้หางจามรี ฉลองพระบาทเชิงงอน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ฉลองพระบาทเชิงงอน ท�ำด้วยทองค�ำท้ังองค์ มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ลงยาราชาวดฝี ังเพชร สลกั ลายช่อหางโตแบบดอกเทศ พัดวาลวิชนีและพระแส้หางจามรีข้ึน วาลวิชนี ลงยาสเี ขยี วแดง เฉพาะตวั ดอกลงยาสเี ขยี ว เกสรสแี ดง เป็นภาษาบาลี แปลว่า เครื่องโบก ท�ำด้วยขนวาล หัวงอนท�ำเป็นตุ่มแบบกระดุมหรือดอกล�ำดวน ตรงกบั ท่ีไทยเรยี กว่า จามรี พัดวาลวชิ นีท�ำด้วยใบตาล มคี าดกลาง สว่ นตรงทคี่ าดกลางท�ำเปน็ ลายกา้ นตอ่ ดอก แตป่ ิดทองท้งั ๒ ดา้ น ดา้ มและเครื่องประกอบท�ำด้วย ชนิดใบเทศ ฝังบุศย์น้�ำเพชร ฉลองพระบาทนี้มี ทองลงยา ส่วนพระแส้ท�ำด้วยขนจามรี ด้ามเป็นแก้ว น�้ำหนักถึง ๖๕๐ กรัม สร้างข้ึนในรัชสมัยพระบาท ข้อต่อระหว่างด้ามและใบพัดประดับด้วยทองลงยา สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เพ่ือใน ราชาวดี สีแดง เขียว ขาว น้�ำเงิน มีลวดลายลูกไม้ การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โดยพระมหาราชครู ฝังเพชรรอบดา้ มพัด เปน็ ผู้สอดฉลองพระบาทถวาย ตอ่ มาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เพ่ิมพระแส้ ที่ท�ำด้วยขนหางช้างเผือก ด้วยทรงพระราชด�ำริว่า เป็นการเหมาะสมยิ่งกว่า เพราะขนจามรีน้ันมิใช่ของ พ้ืนเมืองสยาม ต่อมาจึงใช้ท้ังพระแส้จามรีและ พระแส้หางช้างเผือก ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สืบมา 34 I มหามงคลวาร

พระปฐมบรมราชโองการ พระมหากษัตริย์ท่ีทรงรับพระบรมราชาภิเษก ทรงรับการถวายสิริราชสมบัติ และเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์แล้ว จะมีพระราชด�ำรัสสั่งเป็นปฐม ราชาศัพท์ใช้ว่า พระปฐม บรมราชโองการ* พระปฐมบรมราชโองการในพระมหากษตั รยิ ส์ มยั รตั นโกสนิ ทร์ สาระส�ำคญั ในแตล่ ะองค์ คลา้ ยคลงึ กนั กลา่ วคอื โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานโภคสมบตั แิ กอ่ าณาประชาราษฎรทพี่ งึ มพี งึ ได้ หากพระปฐมบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร มลี กั ษณะประดจุ พระราชปณธิ านหรอื พระราชสจั ปฏญิ ญา อนั เปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ มากว่า ๗๐ ปี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕ “พรรณพฤกษ แลสิง่ ของทงั ปวง ซึ่งมใี นแผ่นดินทัว่ ขอบเขตรแดนพระนคร ซ่ึงหาเจ้าของหวงแหนมไิ ดน้ ั้น ตามแต่สมณชีพราหมณอนาประชาราษฎรจะปราถนาเถิด” พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พุทธศกั ราช ๒๓๒๘ “พรรณพฤกษ ชลธี แลส่ิงของในแผ่นดิน ทว่ั เขตรพระนคร ซึ่งหาผู้หวงแหนมไิ ด้น้นั ตามแตส่ มณชพี ราหมณาจารยราษฎร ปราฐนาเทิด” *พระปฐมบรมราชโองการ สะกดตามฉบับเดมิ ซึ่งบางฉบับบางตอนอ้างองิ ไมต่ รงกัน แต่ใจความเดยี วกนั กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๒๗ ปี I 35

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย พทุ ธศักราช ๒๓๕๒ “แตบ่ รรดาพฤกษาและแมน่ �้ำใหญ่ นอ้ ย และส่งิ ของทั้งปวง ซงึ่ มีในแผน่ ดนิ ทัว่ ขอบเขตแดนพระนคร ซึง่ หาเจ้าของหวงแหนมไิ ด้ ให้พระราชทานแก่ สมณะ พราหมณ อณาประชาราษฎร์ท้ังปวง ตามแตป่ รารถนาเถิด” พระราชโองการปฏิสนั ถาร พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ “เจ้าพญา แลพญา ของซึง่ ถวายทังนี้ จงจดั แจงบ�ำรุงไว้ให้ดจี ไดร้ กั ษาแผ่นดนิ ” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั พทุ ธศักราช ๒๓๙๔ “พรรณพฤษ ชลธีแลส่งิ ของในแผน่ ดนิ ทัว่ เขตรพระนคร ซง่ึ หาผหู้ วงแหนมิไดน้ ้นั ตามแตส่ มณชีพราหมณาจารยร์ าษฎร จ่ปราถนาเถดิ ” พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั พุทธศกั ราช ๒๔๑๑ “แต่บรรดาทไี่ ม่ได้มีเจ้าของผลไม้ทงั้ น้�ำในหว้ ยละหารตรท่าก็ดี ตามแตส่ มณพราหมณาจารยอาณาประชาราษฎร จะมาแต่จตรุ ะทศิ ต่าง ๆ ตามแตจ่ ะปรารถนา” 36 I มหามงคลวาร

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั พุทธศักราช ๒๔๑๖ “คร้ังน้ที ่านท้งั ปวงพร้อมใจกัน ยอมให้เราเปนเจา้ ครองราชสมบัติไดร้ บั มุรธาภิเษก เปนใหญใ่ นสยามราษฎรว์ ราณาจกั รน้แี ลว้ เราอนญุ าต ยอมให้ โดยธรรมมิกราชประเพณี พรรณพฤกษชลธีในสยามราษฎร์ วราณาจักรน้ี ซึง่ ไมม่ เี จ้าของหวงแหนน้นั ตามแต่สมณพราหมณาจารย์ ประชาราษฎร ทง้ั ปวงจะปรารถนาใช้สอยเทอญฯ” พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พุทธศักราช ๒๔๕๓ “ดูกรพราหมณ์ บัดนี้เราทรงราชภาระ ครองแผ่นดินโดยธรรมสม�่ำเสมอ เพือ่ ประโยชน์เก้อื กลู และสุขแหง่ มหาชน เราแผร่ าชอาณาเหนือท่านท้ังหลายกับโภคสมบตั ิ เปนทีพ่ ่งึ จดั การปกครองรกั ษาปอ้ งกนั อนั เปนธรรมสบื ไป ทา่ นท้งั หลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญฯ” พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั พทุ ธศักราช ๒๔๖๘ “ดกู รพราหมณ์ บดั น้เี ราทรงราชภาระ ครองแผน่ ดินโดยธรรมสม�ำ่ เสมอ เพอื่ ประโยชนเ์ ก้ือกูลและสขุ แห่งมหาชน เราแผร่ าชอาณาเหนอื ท่านทง้ั หลายกบั โภคสมบัติ เปนที่พ่ึงจัดการปกครองรกั ษาป้องกนั อันเปนธรรมสบื ไป ท่านทง้ั หลายจงวางใจอยูต่ ามสบาย เทอญฯ” พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 37

พิธีส�ำคญั สบื เน่อื งในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว ประทบั พระทนี่ งั่ ราชยานพดุ ตานทอง เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดย ขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เลยี บพระนคร วนั ท่ี ๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๘ ภายหลังพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก วันที่ ๒๕ กุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๔๖๘ 38 I มหามงคลวาร

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก นอกจากมีพิธีและข้ันตอนดังกล่าวแล้ว ยังมีพิธีส�ำคัญ สืบเน่ืองเพื่อความสมบูรณ์ตามแบบแผนแห่งโบราณราชประเพณี เช่น พิธีประกาศพระองค์ เป็นอัครศาสนูปถัมภก พิธีถวายบังคมพระราชบุพการี พิธีเฉลิมพระราชมนเทียร และพิธี เสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนคร พิธีประกาศพระองคเ์ ป็นอัครศาสนปู ถัมภก พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยในอดตี ทกุ พระองคท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะ ทรงเปน็ อคั รศาสนปู ถมั ภก ทรงบ�ำรุงพระพทุ ธศาสนาและทกุ ๆ ศาสนาในราชอาณาจกั ร ในพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้มีพิธีประกาศพระองค์เป็น พุทธศาสนูปถมั ภก และพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัวได้ทรงปฏิบตั ิสบื มา ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย หมวด ๒ พระมหากษัตรยิ ์ มาตรา ๗ ระบุวา่ พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะและทรงเป็นอคั รศาสนปู ถัมภก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพิธีประกาศพระองค์เป็นอัครศาสนูปถัมภก ภายหลังพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดารามเพ่ือทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะและถวายต้นไม้ทอง ตน้ ไมเ้ งนิ บชู าพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากรพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงจุดธูปเทียนถวายนมัสการพระรัตนตรัย สมเด็จพระสังฆราชถวายศีล พระองค์ ทรงสมาทานศีลและมีพระราชด�ำรัสประกาศพระองค์เป็นอัครศาสนูปถัมภกในท่ีชุมนุมสงฆ์ และพระบรมวงศานุวงศ์กับข้าราชการ จากนั้นพระสงฆ์ ๘๐ รูป โดยมีสมเด็จพระสังฆราช เป็นประธาน พร้อมกันเปล่งสังฆวาจา “สาธ”ุ ๓ ครง้ั แล้วสมเดจ็ พระสงั ฆราชถวายอดิเรก กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 39

พิธถี วายบังคมพระราชบุพการี พิธีถวายบังคมพระราชบุพการีเป็นพิธีสืบเน่ืองพิธีหนึ่งในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หลังเสร็จพิธี ประกาศพระองค์เป็นอัครศาสนูปถัมภกแล้ว พระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเข้าสู่พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาท พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ทรงจุดธูปเทียนถวายนมัสการพระรัตนตรัย และเครื่องราชสักการะถวายบังคมพระบรมอัฐิ พระบรมราชบุพการี และพระอัฐิพระราชบุพการี แล้วทรงทอดผ้า พระสงฆ์สดับปกรณ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดเิ รก และถวายพระพรลา พิธเี ฉลิมพระราชมนเทียร การเฉลิมพระราชมนเทียรเป็นพิธีส�ำคัญเก่ียวเนื่องกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เปรียบเสมือนการข้ึนบ้านใหม่ของพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่เพื่อความเป็นสิริมงคล และความร่มเย็นเป็นสุข ในอดีตปรากฏในพระราชพงศาวดารว่าพิธีเฉลิมพระราชมนเทียร เคยท�ำแยกจากพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โปรดเกล้าฯ ให้มีการพิธีเฉลิมพระราชมนเทียรในวันรุ่งข้ึนของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในการนี้พระราชวงศ์เชิญพระแสง เครื่องเฉลิมพระราชมนเทียร และเครื่องราชูปโภค ตามเสดจ็ ไปยงั พระทน่ี งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน เมอ่ื ไดเ้ วลาพระฤกษพ์ ระบรมวงศผ์ ใู้ หญก่ ราบบงั คมทลู เชิญเสด็จเข้าสู่ห้องบรรทม พระองค์ประทับแรมในพระบรมมหาราชวังเป็นเวลา ๑ คืน ตามราชประเพณี นับแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระมหากษัตริย์ ทกุ พระองคแ์ หง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ จดั ใหม้ พี ธิ เี ฉลมิ พระราชมนเทยี ร ณ พระทนี่ งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน ในพระบรมมหาราชวัง 40 I มหามงคลวาร

พิธเี สดจ็ พระราชดำ�เนินเลียบพระนคร ครน้ั เสรจ็ งานพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกทป่ี ระกอบขน้ึ ในพระราชฐาน มกั สบื เนอ่ื งดว้ ย พิธีเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารคและทางชลมารค เพื่อให้อาณาประชาราษฎรได้เฝ้าชมพระบารมีและมีโอกาสแสดงความจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตรยิ ์ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีพิธีเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตรา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ท้ัง ๓ รัชกาลเสด็จพระราชด�ำเนิน เลยี บพระนครทางสถลมารคแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มีทั้งเสด็จพระราชด�ำเนินทางสถลมารคและทางชลมารค รัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มแี ตเ่ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ ทางสถลมารค และรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ทง้ั ทางสถลมารคและทางชลมารค สว่ นรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร มไิ ดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ เลยี บพระนครหลงั จากเสรจ็ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก แต่เสด็จพระราชด�ำเนินในพระราชพธิ อี ่ืน หลังจากพิธีเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราจึงเสร็จสิ้น พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษกอยา่ งสมบูรณแ์ บบตามโบราณราชประเพณี กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๒๗ ปี I 41

สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกอบการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ในวันที่ ๔ - ๖ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ นบั เปน็ มหามงคลวารย่งิ แก่ปวงพสกนกิ รไทยภายใต้ร่มพระบารมพี ระบรมราชจกั รีวงศ์ ท่จี ะได้แสดงออกซึง่ ความจงรักภักดีแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระองค์ใหม่ อย่างหาที่สดุ มไิ ด้ 42 I มหามงคลวาร

บรรณานุกรม กระทรวงวัฒนธรรม. ประมวลองค์ความรู้ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก. นครปฐม: รงุ่ ศลิ ป์การพมิ พ์ (1977) จ�ำกดั , ๒๕๖๒. กระทรวงวฒั นธรรม. พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก. นครปฐม: รงุ่ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (1977) จ�ำกดั , ๒๕๖๐. ยุพร แสงทักษิณ. เคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์และเครื่องสูง. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๓๙. ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔. พมิ พ์คร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๕๖. ส�ำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. เอกลักษณ์ไทย เล่ม ๑. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ วนพมิ พ,์ ๒๕๔๓. ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. ประมวลบทความเนื่องในพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก. กรงุ เทพฯ: อรุณการพิมพ,์ ๒๕๖๑. เรื่อง พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พระสาทสิ ลกั ษณ์ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ศิลปินผ้อู นเุ คราะห์ภาพ นายเทพพิทักษ์ โพธ์นิ าแค ผู้เรียบเรยี งและบรรณาธกิ าร นางปราณี ปราบริปู นางสาวปฤชญนี นาครทรรพ นางสาวจารุวรรณ เทียนเงิน นายสธิ ิชยั เหมือนยา ผ้รู ่วมบรรณาธกิ าร นางสาวพรรณงาม แย้มบุญเรือง นางสาวเพ็ชรา ว่องเกรยี งไกร กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๒๗ ปี I 43



พพิ ิธภณั ฑ์การศกึ ษาไทย…แหลง่ เรยี นร้รู ั้วเสมา

46 I มหามงคลวาร

ทุกพ้ืนท่ีย่อมมีเร่ืองราวในอดีตที่น่าจดจ�ำ ผา่ นค�ำพดู ทบี่ อกตอ่ ๆ กนั มาบา้ ง จารกึ เปน็ หลกั ศลิ าบา้ ง หรอื ผา่ นวตั ถสุ ง่ิ ของทที่ งิ้ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานในการบอกเลา่ เรื่องราวว่ามาจากยุคใดสมัยใด ความเป็นอยู่ของผู้คน ในสมัยนน้ั ทั้งด้านอาหารการกิน การแต่งกาย รวมถึง ด้านการศึกษา ซ่ึงเราสามารถศึกษาผ่านแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ของแต่ละชุมชน โดยเก็บรวบรวมไว้ในท่ีท่ีเรา เรยี กวา่ “พพิ ธิ ภณั ฑ”์ ซงึ่ รวบรวมขอ้ มลู ใหค้ นยคุ ปจั จบุ นั ไดเ้ ขา้ ไปศึกษาคน้ ควา้ ความเปน็ มาในอดีต ความหมายและคำ� จ�ำกดั ความของ “พพิ ิธภณั ฑ์” ๑. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหน้ ยิ ามค�ำ พิพิธภัณฑ์ พิพธิ ภณั ฑสถาน [พิพิดทะพัน – พันทะสะถาน] ว่าเป็นสถานท่ีเก็บ รวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความส�ำคัญ ดา้ นวฒั นธรรมหรอื ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ โดยมคี วามมงุ่ หมาย เพ่ือให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิด ความเพลิดเพลินใจ พิพิธภัณฑสถาน มาจากค�ำภาษาบาลี สนั สกฤต ๓ ค�ำรวมกนั . ค�ำว่า พพิ ธิ แปลว่า ต่าง ๆ. ภณั ฑ์ แปลวา่ เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้. ส่วน สถาน แปลว่า สถานที่ พิพิธภัณฑสถาน เป็นศัพท์ที่ใช้แทนค�ำภาษา อังกฤษว่า museum หมายถึง สถานที่รวบรวม เกบ็ รกั ษา และจดั แสดงสง่ิ ของตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ โบราณวตั ถุ หรือเป็นศิลปวัตถุของประเทศ เป็นสิ่งที่มีคุณค่าหรือ ที่หายาก ไม่ว่าจะเป็น ผลงานประดิษฐ์ของมนุษย์ หรอื วัตถตุ า่ ง ๆ ที่เกดิ ข้นึ ตามธรรมชาติ เพอ่ื ประโยชน์ ให้บุคคลเข้ามาศึกษาหาความรู้หรือชมเพื่อความ เพลิดเพลินใจ. กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๒๗ ปี I 47