สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ลิขสิทธข์ิ องสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท 0 2288 5735 โทรสาร 0 2281 2602 สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ดำเนนิ การจัดพิมพ ISBN 978-616-202-861-8 พมิ พครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2556 จำนวนพมิ พ 34,000 เลม พมิ พที่ โรงพิมพช มุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด 79 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผูพิมพผ โู ฆษณา
คำนำ คุณคาในการเรียนรูประวัติศาสตรไทย คือ การกอใหเกิด “การเขาใจ รากเหงาความเปนไทย รักและภาคภูมิใจในชาติไทย” ซ่ึงการพัฒนาผูเรียน ใหเกิดคุณลักษณะดังกลาว ครูผูสอนประวัติศาสตรจะตองเขาใจและสามารถ จัดกระบวนการเรียนรูไดถูกตองตามธรรมชาติของวิชา หลักการ หลักคิด และวิธีการ ทางประวัติศาสตร ซึ่งเปนวิธีการศึกษาเรื่องราวสำคัญท่ีเกิดข้ึนในอดีตดวยการสืบคน จากหลักฐานรองรอยทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ ผานการคิด วิเคราะห วินจิ ฉยั บนพ้นื ฐานของความเปน เหตแุ ละผลจากขอ เท็จจรงิ ทหี่ ลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทำ ส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร เปนส่ือการเรียนรูออนไลนท่ีเสนอเน้ือหาสาระในรูปแบบ ท่ีหลากหลายท้ังวีดิทัศน สาระความรูเพิ่มเติมจากวีดิทัศน ภาพ 360 ํ แบบทดสอบ กอนเรยี น - หลงั เรยี น มมุ สนทนาแลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกนั ซึ่งเปนสอื่ ทสี่ ง เสริมใหท ุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเองไดทุกเวลาทุกสถานที่ตามความสนใจ อีกทั้งชวยกระตุน ใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเรื่องราวความเปนมาของชาติไทยที่สะทอนใหเห็นถึง ความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตที่ไดสรางสรรคเปนมรดก ทางวัฒนธรรมสืบตอมาจวบจนปจจุบัน นอกจากน้ี ยังเปนเคร่ืองมือชวยใหครูผูสอน สามารถจัดการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตรไดบ รรลผุ ลตามเจตนารมณข องหลกั สูตร เอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip” เปนสวนหน่ึงของสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง ซึ่งจัดพิมพข้ึนเพ่ือ รองรับกลุมผูเรียนที่ไมสามารถเรียนรูผานระบบออนไลนได ภายในเลมแบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสำหรับครู และสวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสำหรับนักเรียน ในสวนของ เนื้อหานำเสนอ 5 ประเด็นหลัก คือ เกาะรัตนโกสินทร พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรุงรัตนโกสินทร อาหารไทย : ครวั ไทยสูครวั โลก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผูเขียน ผูตรวจ และผูท ม่ี สี ว นเก่ยี วของในการจดั ทำเอกสารนใี้ หส ำเร็จลุลว งดวยดีไว ณ โอกาสน้ี (นายชนิ ภัทร ภมู ิรตั น) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
สารบัญ หนา สว นท่ี 1 การจดั การเรยี นรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสนิ ทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั ครู ♦ แนวทางการใชช ุดส่อื การเรียนรปู ระวัตศิ าสตรรัตนโกสินทร 2 ♦ คำชี้แจงการใชช ดุ สื่อการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรรตั นโกสินทร 9 10 ❂ กรอบเนือ้ หาสาระของเอกสารการเรียนรปู ระวัตศิ าสตรรตั นโกสินทร 12 ❂ การวิเคราะหหลักสตู รสาระประวตั ิศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 17 ❂ การวเิ คราะหเนอื้ หาและการนำเสนอในชุดส่อื การเรียนรูป ระวัติศาสตรร ัตนโกสินทร 20 ❂ โครงสรา งของเอกสารการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรรัตนโกสนิ ทร 21 ❂ วิธกี ารใชช ุดสอื่ การเรียนรปู ระวัติศาสตรร ัตนโกสนิ ทร 23 ♦ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรร ตั นโกสนิ ทร สว นท่ี 2 การเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรรัตนโกสนิ ทร ผา นส่อื Virtual Field Trip สำหรับนักเรยี น 36 39 ♦ ความรูพืน้ ฐานประวัติศาสตรรตั นโกสินทร 58 ❂ ชุดท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร 76 ❂ ชุดที่ 2 พระบรมมหาราชวงั 93 ❂ ชดุ ที่ 3 วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม 108 ❂ ชุดที่ 4 พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรงุ รตั นโกสินทร 119 ❂ ชุดที่ 5 อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก 120 ♦ บรรณานกุ รม ♦ คณะผูจ ัดทำ
เกริ่นนำ บางคร้ังในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตร นักเรียนหลายคนมักตั้งคำถามวา “จริงหรือไม” “เชื่อไดหรือไม” “รูไดอยางไร” รวมถึงยังสงสัยคลางแคลงใจวาที่เรียนกันมาในหนังสือเรียน ประวตั ศิ าสตรน ้ัน เปน เร่ืองถกู ตอ งหรอื ไม อันที่จริงเร่ืองราวในประวัติศาสตรแมไดผานระยะเวลามาเน่ินนานมาก บางเรื่องยาวนาน มากกวา 10,000 ป แตยังคงปรากฏรองรอยบางประการหลงเหลือใหไดศึกษา รองรอยที่หลงเหลือ ใหศึกษาไดในปจจุบันน้ีเราเรียกวา หลักฐานทางประวัติศาสตร ซึ่งมีทั้งส่ิงของเคร่ืองใช อาวุธ เคร่ืองประดบั โครงกระดูก รอ งรอยคนั นำ้ คดู ิน กำแพงเมอื ง แสดงรองรอยการสรา งบานเมือง ส่งิ กอ สราง ทท่ี รุดโทรมปรกั หักพัง รปู เคารพ เชน เทวรูป พระพทุ ธรูป ภาพตามผนังถำ้ หรอื ตามศาสนสถาน เหลา น้ี คือ หลักฐานโบราณคดี ซึ่งนักโบราณคดีที่มีความรูไดศึกษาวิเคราะหดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร และโบราณคดี แลวจึงตีความอธิบายใหเราไดเขาใจ นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานที่เปนตัวหนังสือ เรียกวา หลักฐานลายลักษณอักษร เชน ศิลาจารึก เอกสารโบราณเขียนในใบลานหรือวัสดุตาง ๆ รวมทั้งจารึก ตามเสา ท่ีตองใชนักภาษาศาสตรที่เชี่ยวชาญทางตัวหนังสือโบราณชาติตาง ๆ ศึกษา และวิเคราะห ตีความอธิบายใหเราไดรับรูเร่ืองราวท่ีบอกเลาผานวัตถุน้ัน ๆ สวนนักประวัติศาสตร คือผูที่สืบคน ความจริงในอดีต โดยรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่มีท้ังหลักฐานของนักโบราณคดี นักภาษาศาสตร นักภูมิศาสตร นักวิทยาศาสตร รวมทั้งบันทึกท่ีเปนจดหมาย แผนที่ ภาพวาด หรือเอกสารในภาษาตาง ๆ ของนักเดินทางท่ีเกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาทั้งหมดมาประมวลเขาดวยกัน และศึกษาวิเคราะหอยางเปนระบบดวยวิธีการที่เรียกวา วิธีการทางประวัติศาสตร เพ่ือใหไดความจริง ในอดตี ทมี่ ีเหตุผลเชอ่ื ถือได เปน ประวัตศิ าสตรใ หอ นุชนรนุ ตอมาไดเรยี นรูกัน ดังนั้น เร่ืองราวที่นักเรียนไดเรียนรูจึงไมใชเปนเรื่องท่ีเชื่อถือไมได เพราะแตละเร่ืองไดผาน กระบวนการศึกษาวิเคราะหจากหลักฐานทางประวัติศาสตรทั้งสิ้น แตบางเรื่องอาจมีการเปล่ียนแปลงได หากมกี ารพบหลกั ฐานใหม หรอื การศกึ ษาวิเคราะหใ หมที่นาเช่ือถือมากกวา วีดิทัศนชุด สื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip และเน้ือหาสาระ ประเด็นตาง ๆ ทเ่ี พ่มิ เติมในเอกสารการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip เลมนี้ จะชวยใหนักเรียนเขาใจประวัติศาสตรรัตนโกสินทรไดดีย่ิงขึ้น เพราะไดเห็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตรที่สะทอนความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตท่ีไดสรางสรรค เปน มรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ มาจวบจนปจ จบุ ัน
“บางครัง้ ในการเรยี นประวตั ิศาสตร นกั เรยี นหลายคนตง้ั คำถามวา “จริงหรอื ไม” “เช่ือไดหรอื ไม” “รไู ดอ ยา งไร” รวมถงึ ยังสงสัยคลางแคลงใจวาท่ีเรียนมาน้นั เปนเร่ืองถกู ตองหรือไม ”
สวนที่ 1 สำหรบั ครู
แนวทางการใชช ดุ ส่ือการเรยี นรูป ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip เปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปแลววา คุณคาทางการเรียนรูประวัติศาสตรคือการกอใหเกิด “การเขาใจรากเหงาความเปนไทย รัก และภูมิใจในชาติตน” ซึ่งประโยชนดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ ครูผูสอนประวัติศาสตรเขาใจและสามารถจัดกระบวนการเรียนรูไดถูกตองตามธรรมชาติของวิชา หลักการ และหลักคิด (Concept) และวิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) ซ่ึงเปนวิธีการศึกษา เร่ืองราวสำคัญท่ีเกิดขึ้นในสังคมมนุษยในอดีต ดวยการสืบคนจากหลักฐานรองรอยตาง ๆ อยางเปนระบบ ผานการคิดวิเคราะห คิดวิพากษวิจารณ และคิดวินิจฉัยบนพ้ืนฐานของความเปนเหตุและผลจากขอเท็จจริง ทีห่ ลากหลาย จากวดี ิทศั นป ระกอบส่อื การเรียนรนู อกหองเรียนเสมือนจรงิ : Virtual Field Trip ประวตั ิศาสตร เปนส่ือการเรียนรูอีกรูปแบบหน่ึงท่ีจะชวยกระตุนใหผูเรียนสนใจความเปนมาของชาติบานเมือง และ การศึกษาจากเอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip” อันเปนเน้ือหาสาระท่ีเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสาระประวัติศาสตรที่นำเสนอในวีดิทัศน จะเปนเครื่องมือ ที่ชวยใหครูผูสอนประวัติศาสตรสามารถจัดการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตร ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น อันที่จริงองคประกอบของการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรน้ันเหมือนกับสาระอื่น ๆ คือ ประกอบดวย (1) หลักสูตร (2) ครูผูสอน (3) วิธีสอน (4) ส่ือการเรียนการสอน และ (5) การวัดและ ประเมินผล ทั้งน้ี เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรชุดน้ี จะมีบทบาทเปนสื่อการเรียนการสอน ที่ครูผูสอนสามารถนำไปใชท้ังในหองเรียน นอกหองเรียน ประกอบกิจกรรมการเรียนรอู ื่น ๆ หรือมอบหมาย ใหผ เู รยี นศกึ ษาดว ยตนเองตามความสนใจ อยางไรก็ตาม องคประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว ครูผูสอนนับวามีความสำคัญ ที่สุดท่ีจะตองเปนผูจัดการดึงศักยภาพของผูเรียนใหสามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการสังเกต การศึกษาจากสถานการณจริง และการคิดวิเคราะหเพ่ือบูรณาการความรู ไดด วยตนเองโดยสอดคลองกบั ระดบั วฒุ ภิ าวะท่ีเหมาะสม คุณสมบัติสำคัญท่ีสุดที่ครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีอยางนอยท่ีสุด 3 ประการ ประการแรก คือ ความเขา ใจหลักสตู ร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้วี ัดชั้นป ประการท่สี อง คือ การมีพืน้ ฐานความรูในเรือ่ ง เนือ้ หาสาระ และ Concept ทางประวตั ิศาสตรท ี่ดพี อสมควร ซ่ึงในกรณนี หี้ ากครูผูสอนมไิ ดม ีพื้นฐานมากอ น 2 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ก็สามารถศึกษาไดดวยตนเอง ในท่ีนี้ขอแนะนำเอกสาร 2 เลม ที่สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ไดจัดพิมพและแจกใหสถานศึกษาทุกแหง รวมทั้งแจกใหผูเขาประชุมสัมมนาประวัติศาสตรที่สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดจัดขึ้นในระหวาง พ.ศ. 2545 - 2554 คือ เอกสาร คูมือการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร : ประวัติศาสตรไทยจะเรียนจะสอนกันอยางไร (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2543) และคูมือครู การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร (เอกสาร โรเนียว, 2554) และประการสุดทาย คือ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบรรลุตามหลักสูตร (เปา หมายในการพฒั นาผเู รยี น สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค) และคณุ คา ของ ประวตั ศิ าสตร ดังนั้น เพือ่ สรา งความเขาใจดังกลา วจึงวิเคราะหหลักสตู รใหเห็นชดั เจนดังนี้ 1. เปา หมายในการพฒั นาผเู รียน เน่ืองจากประวัติศาสตรเปนวิชาหนึ่งในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งความใน “ทำไมตองเรียน สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม” ทค่ี รูผูสอนประวตั ิศาสตรค วรจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หสอดคลอ งกบั เปา หมายดงั น้ี ทำไมตองเรยี นสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชวยใหผเู รยี นมีความรู ความเขา ใจ การดำรงชีวิตของมนุษยทั้งในฐานะปจเจกบุคคลและการอยูรวมกันในสังคม การปรับตัว ตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจำกัด เขาใจถึงการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลง ตามยคุ สมยั กาลเวลาตามเหตุปจจัยตาง ๆ เกดิ ความเขาใจในตัวเองและผูอ ื่น มีความอดทนอดกลนั้ ยอมรับในความแตกตา ง และมคี ุณธรรม สามารถนำความรไู ปปรับใชใ นการดำเนนิ ชวี ติ เปนพลเมอื งดี ของประเทศชาติและสังคมโลก ภารกิจของครูผสู อนในการจดั การเรยี นรูจ งึ ควรเนน การพัฒนาผูเ รยี นดังนี้ 1) พัฒนาตนเองเปนปจเจกบุคคลท่ีมีคุณภาพ เชน ใฝเรียนรู เพ่ิมศักยภาพตนเองใหกาวหนา ทนั สมยั ทนั เหตุการณ 2) สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข เชน การยอมรับในความสามารถ ของตนเองและผูอนื่ ยอมรับและเคารพในความแตกตา ง อดทนอดกล้นั 3) เขาใจและเห็นคุณคาของการอยูรวมกันในสังคม เชน การเปนพลเมืองไทยและพลโลกที่มี ประสทิ ธิภาพ มีจิตสำนึกในความเปนชาติ มจี ิตสาธารณะ เสียสละสวนตนและพวกพอง เพื่อรักษาประโยชน ของสังคมและประเทศชาติ 3 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
4) เขาใจและเห็นคุณคาทรัพยากรและส่ิงแวดลอม เชน การมีจิตสำนึกและจิตอาสาในการ รกั ษาธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม 5) รูเทาทันและปรับตัวในโลกปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ โลกปจจุบันยุคโลกาภิวัตน ท่ีกาวไกล และเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะทางดานขอมูลและการส่ือสารท่ีมีทั้งเท็จและจริง ปะปนกันอยู ดังนั้น นอกจากการพัฒนาผูเรียนใหสามารถใชเทคโนโลยีไดแลว ยังควรใหความสำคัญกับ การตรวจสอบขอ มลู เพ่อื ใหเ ปน บุคคลทร่ี ูเ ทาทนั ขอ มลู ขา วสารดวย 2. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดระบุวาการพัฒนาผูเรียน ใหบรรลมุ าตรฐานการเรียนรู จะชวยใหผูเรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ คือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแกปญ หา 4) ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี สมรรถนะสำคัญท่ีหลักสูตรกำหนดดังกลาวเปนส่ิงที่หลักสูตรคาดหวังวากิจกรรมการจัด การเรียนรูควรพฒั นาผเู รยี นใหมีความสามารถทั้ง 5 ดาน ในทน่ี ้ขี อยกตวั อยางสมรรถนะสำคญั เพยี ง 1 ดา น เพือ่ แสดงใหเหน็ วา สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นจะนำไปสูการออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรไู ดอยางไร ความสามารถในการสอื่ สาร ประกอบดว ย 1. การรับสาร เชน การฟง - การอาน จบั ใจความสำคัญได การดู - การเหน็ - การสำรวจ แยกแยะรายละเอียดของเร่ืองราวได 2. การสง สาร เชน การเลา เร่อื ง การเขียนเรอื่ ง การจดั นิทรรศการ 3. การตอรอง เชน การแสดงเหตผุ ล การใชภาษาโนมนาวเพอ่ื ลดความขัดแยง 4. การเลือกรับ - ไมร ับขอมูล เชน การตรวจสอบความนาเช่อื ถือแหลง ท่ีมาของขอมูล จะเห็นวาขอพิจารณาดังกลาว จะทำใหครูผูสอนไดกรอบแนวคิดนำมาซ่ึงวิธีการออกแบบกิจกรรม การเรียนรูในการฝกทักษะผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การใหศึกษาวีดิทัศน และใหตอบคำถาม ตามลำดบั ขนั้ ตอนท่ีถูกตอง โดยเริ่มจากคำถามทเี่ ปนขอเทจ็ จริง (เชน ใคร ทำอะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร) อันเปนการทบทวนเรื่องที่ไดศึกษาจากส่ือ จากนั้นจึงเปนคำถามวิเคราะห (ทำไม) ตามดวยการแสดง ความคิดเห็นตอเร่ืองท่ีไดศึกษาอยางมีเหตุผล (นักเรียนคิดวา) หรืออาจแสดงความคิดเห็นตอส่ือวีดิทัศน ทางดานคณุ ภาพหรอื ความนา เช่อื ถอื ของขอมูลหลักฐาน เปน ตน 4 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค หลักสูตรไดระบุไวชดั เจนถงึ “คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค” อนั เปรยี บเสมอื นเจตคติ คา นิยม ท่สี ำคัญในการเปน พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน กษตั ริย 2) ซ่ือสัตยสจุ ริต 3) มีวินยั 4) ใฝเ รียนรู 5) อยอู ยางพอเพียง 6) มุงม่นั ในการทำงาน 7) รกั ความเปนไทย 8) มีจติ สาธารณะ ท้ังเปาหมายในการพัฒนาผูเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ลวนเปนส่ิงท่ีคาดหวังวาจะปรากฏในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอนในทุกสาระวิชา เพ่ือให “บรรลุผลตามหลักสูตร” สวนคุณคาของประวัติศาสตรที่หวังวาจะเกิดในตัวผูเรียน คือกระบวนการ สรางภูมิปญญาทจี่ ะพัฒนาผเู รียนใหเ ปน ปญญาชนของชาติ ไดแก 1) สงเสริมจิตใจใฝรู (Inquiring Mind) ในเรื่องราวท่ีเก่ียวของกับสังคมมนุษยท้ังในระดับ ทอ งถิ่น ประเทศชาติ และสังคมมนษุ ยอ ่นื ๆ 2) มีทักษะในการจัดระบบขอมูล ตรวจสอบ และประเมินคา เพ่ือหาขอเท็จจริง ในประวัติศาสตร 3) ปลูกฝงแนวคิดวิเคราะห (Critical Thinking) คิดวิพากษวิจารณบนพื้นฐานขอเท็จจริง ที่ไดจากหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร 4) มีทักษะในการวินิจฉัยขอเท็จจริงจากขอสนเทศท่ีหลากหลาย ที่สืบคนไดจากหลักฐาน ทางประวัติศาสตร 5) มีทักษะในการเขียนความเรียง การเลาเร่ือง และการนำเสนอดวยวิธีการตาง ๆ ไดอ ยางมเี หตผุ ล กระชับชดั เจน นาสนใจ และเชือ่ ถอื ได ท่ีสำคัญประวัติศาสตรในยุคโลกาภิวัตน หรือโลกของขอมูลขาวสารท่ีรวดเร็ว และมีอิทธิพล ตอคานิยมและวิถีการดำเนินชีวิตของผูคนอยางกวางขวางนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประวัติศาสตรอยางถูกตอง จะมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผูเรียนใหเปนผูรูจักใชวิจารณญาณในการรับรู และประเมินความนาเชื่อถือหรือความไมนาเชื่อของขอมูลตาง ๆ ในขั้นตอนที่เรียกวา “วิพากษวิธี ทางประวัติศาสตร” ดวยการท่ีครูผูสอนตั้งคำถามเพื่อประเมินแหลงท่ีมาของขอมูลของผูเรียนทุกคร้ัง เชน “ขอมูลมาจากแหลงใด ใครทำข้ึน ผูทำมีความรูดานใด หรือรูเรื่องนั้นดีหรือไม ทำขึ้นทำไม ของจริง หรือของปลอม” ซึ่งเปนขั้นตอนของการวิพากษตัวหลักฐาน กอนที่จะตรวจสอบวาขอเท็จจริงที่ไดน้ัน 5 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
สอดคลองหรือขัดแยงกับหลักฐานอ่ืน ๆ หรือไม ทำไมจึงเหมือนกัน ทำไมจึงแตกตาง ส่ิงเหลาน้ีถือวา เปนกระบวนการศึกษาขอมูลท่ีจำเปน อันเปนการพัฒนาภูมิปญญา เพ่ือท่ีจะฝกฝนผูเรียนใหยึดถือเหตุผล เปนสำคญั ขจัดความอคติสว นตวั และความเช่ือด้งั เดิมออกไป อยางไรก็ตาม ครูผูสอนประวัติศาสตรควรเขาใจดวยวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรที่ดี โดยเนนกระบวนการพัฒนาภูมิปญญาดังกลาว จะกอใหเกิดคุณคาดานเจตคติและคานิยมที่ดีใหแกผูเรียนดวย ทงั้ ตอ ตนเอง ครอบครัว ทอ งถิน่ และประเทศชาติ ตอบสนองคุณลกั ษณะอันพึงประสงคที่ระบุไวในหลกั สตู ร คือ “ความรักชาติ ศาสน กษัตริย และรักความเปนไทย” (ขอ 1 และขอ 7) นอกจากนี้ ยังสามารถ สรางเจตคตแิ ละคานิยมอันเปน คุณคาสำคัญของประวตั ิศาสตรไดดวย ดังน้ี 1. รกั และภูมิใจในบรรพบุรุษ 2. ใชเหตผุ ลในการดำเนนิ ชีวติ 3. สรา งความรูสึกรว มเปนอันหน่งึ อันเดยี วกนั ในสังคม 4. ตระหนักในคณุ คา ของมรดกทางวัฒนธรรมของทองถิน่ และชาติ 5. ยอมรับและเขาใจความแตกตางของมนุษยชาติท่ีเปนผลจากปจจัยทางภูมิศาสตร และสังคม 6. อยรู วมกับสังคมอน่ื ไดอ ยางสันตสิ ุข และมีจติ สำนึกตอสังคมไทยโดยรวม แมวาการเรียนรูประวัติศาสตรสามารถทำไดหลายรูปแบบ ท้ังการอานหนังสือดวยตนเอง การฟงคำบรรยายจากครูหรือผูเช่ียวชาญเฉพาะสาขา การสำรวจและศึกษาจากสถานท่ีจริง การวิเคราะห จากเสนเวลา (Time Line) การชมภาพยนตรหรือวีดิทัศน การสืบคนโดยผานกระบวนการเรียนรู ทางการศกึ ษา เชน การบรรยาย การอภปิ ราย การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การเลนละคร การศึกษานอกสถานที่ หลากหลายวิธีท่ีครูผูสอนสามารถนำมาใชในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ แตส่ิงสำคัญท่ีสุดคือ การพัฒนาภูมิปญญาของผูเรียนใหเขาถึงคุณคาของประวัติศาสตรอยางแทจริง ซึง่ จะเกดิ ไดจ ากการจดั การของครผู สู อนท่มี ีประสทิ ธิภาพเปนสำคัญ โดยเฉพาะอยางย่ิงการจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดเขาถึงสภาพสังคมในความเปนจริง ที่ปรากฏในปจจุบันซึ่งลวนเปนผลมาจากอดีตทั้งส้ิน ดังนั้น การกระตุนใหผูเรียนไดสนใจเหตุการณในสังคม ปจจุบัน แลวหันมาสืบคนวา ปญหาและส่ิงแวดลอมในสังคมปจจุบันนั้นเกิดข้ึนเพราะเหตุใด อันเปนการ ยอนศึกษาอดีตเพ่ือสรางความเขาใจปจจุบัน และหาแนวทางกาวสูอนาคตท่ีดีกวา จึงนับเปนวิธีการจัดการเรียนรู ทม่ี คี ณุ คาตอประวัติศาสตรไ ดอยางแทจรงิ วิธีการกระตุนใหผูเรียนสนใจสภาพสังคมไทยในปจจุบันทำไดหลายวิธี เชน มอบหมายใหไป รวบรวมภาพเหตุการณในสังคมแลวนำมาศึกษาวิเคราะห หรือมอบประเด็นศึกษาใหผูเรียนไปสำรวจชุมชน หรือสถานทท่ี ่ีมผี ูคนหลากหลาย เชน ตลาด สำนักงานอำเภอ สำนกั งานเทศบาล แลวนำขอ มูลมาวเิ คราะห เชื่อมโยงอดีตกับปจจุบัน หรือนำวีดิทัศนที่เกี่ยวของกับชุมชน ทองถ่ิน แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร การศึกษานอกสถานที่ รวมทั้งการจัดนิทรรศการภาพเหตุการณสำคัญในประวัติศาสตร ลวนเปนวิธี ที่สามารถกระตนุ ใหผเู รียนเกิดความอยากรอู ยากเหน็ และนำไปสูการสบื คนอดตี ไดเปนอยา งดี 6 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
สำหรับการจัดการเรียนการสอนโดยการศึกษานอกสถานท่ี แมวาจะทำใหเกิดการเรียนรู อยา งเปนรูปธรรม ซง่ึ จะกระตุนใหเกดิ ความตอ งการสืบคน เรือ่ งราวในอดตี ผเู รยี นจะไดส ัมผัสกบั แหลง เรียนรู ในรูปแบบตาง ๆ เกิดประสบการณตรง มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณกับบุคคลภายนอกโรงเรียน ซง่ึ เทากบั เปน การเพิ่มพนู ความรไู ปในตัวดวย อีกทั้งยงั ไดรบั ความสนุกสนานจากการเรียนรู แตย งั มีขอ จำกดั หลายประการ เชน แหลงเรียนรูตาง ๆ อยูไกลทำใหประสบปญหาในการเดินทาง การดูแลนักเรียน การประกันความปลอดภัย มีการลงทุนสูง รวมถึงขาดวิทยากรท่ีมีความรูที่จะขยายประสบการณ ทเี่ กยี่ วเนื่องกบั แหลง เรียนรนู ้ัน ๆ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีแนวคิดในการนำส่ือเทคโนโลยีมาใช ในการจัดการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตร จงึ ไดจดั ทำสอื่ การเรียนรูนอกหอ งเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรส โุ ขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร เพอ่ื ใหผ เู รยี นไดเ รียนรูแ ละรบั ประสบการณต าง ๆ จากนอก หองเรียน โดยมีการออกแบบใหเสมือนไดเรียนรูในสถานที่จริง เปนการชวยใหครูผูสอนไดกาวพนขอจำกัด ของการเรยี นรนู อกสถานท่ีที่ตองเดนิ ทางไปในแหลง เรยี นรูจริง ซึง่ การเรียนรเู สมอื นจริงมีจุดเดนดงั นี้ 1. ผูเรียนไดเรียนรูนอกหองเรยี น ไดพบกบั ส่งิ แวดลอมที่แปลกใหมแ ตกตา งหลากหลาย 2. ผูเรียนสามารถยอนกลับไปศึกษาความรูเก่ียวกับสถานท่ีน้ันซ้ำไดอีกจนกวาการเรียนรู จะบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคของผูเรยี น 3. ผูเรียนไดเรียนรูในแงมุมท่ีิไมสามารถเรียนรูไดตามปกติ อาจเน่ืองมาจากเหตุผล ดานความปลอดภยั ความหางไกล 4. ผูเรยี นสามารถเรียนรสู ถานทตี่ า ง ๆ ที่สนใจไดทุกเวลาทกุ สถานที่ 5. ผูเรียนไมจำเปนตองเดินทางไปยังแหลงเรียนรูดวยตนเอง ทำใหปลอดภัยจากอันตราย ทีอ่ าจจะเกิดข้ึนจากการเดินทางได 6. ผูเรียนสามารถซักถามความรจู ากวทิ ยากรหรอื ผูเช่ียวชาญไดก รณีมีการออนไลน เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip ชุดน้ี จัดทำขึ้น เพื่อเปน “ส่ือ” หรือเคร่ืองมือสำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สามารถนำไปใช ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรไดตามศักยภาพ ซึ่งอาจนำไปใชเปนส่ือหลัก ในการจัดกิจกรรม หรือนำไปเปนส่ือกระตุนการนำเขาสูบทเรียน ส่ือท่ีใชในระหวางจัดกิจกรรมการสอนอื่น ๆ สื่อท่ีใหแสดงความคิดเห็น หรือเปนส่ือสรุปความเขาใจก็สามารถทำได ทั้งนี้ สื่อวีดิทัศนจะกระตุนใหผูเรียน สนใจเรียนรูประวัติศาสตรไดเปนอยางดี เพราะเปนเครื่องมือท่ีสรางขึ้นเพื่อแสดงความเจริญรุงเรืองของ อาณาจักรไทยในอดีต ผานรองรอยทางสถาปตยกรรมและประติมากรรม อันเปนภูมิปญญาของชาวไทย ในแตละยุคสมัยท่ีมีเอกลักษณทางศิลปกรรมที่แตกตางกัน รวมทั้งเปนสิ่งท่ีจะเชื่อมโยงเร่ืองราวท่ีเปน นามธรรมใหเห็นเปนรูปธรรมได สวนเอกสารท่ีเปนเนื้อหาเสริมความรูนั้น ครูผูสอนสามารถนำไปประยุกตใช เปน “ใบความรู” หรอื เพม่ิ พนู ความรูในประเดน็ ตาง ๆ เพิม่ เตมิ ได 7 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
แมวาเอกสารเลมนี้มีสาระสำคัญเปนประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 แตครูผูสอนประวัติศาสตรระดับช้ันอ่ืนสามารถนำไปใช ในฐานะที่เปนเคร่ืองมือที่จะกระตุนใหผูเรียนเขาใจถึงความเปนชาติไทยที่บรรพบุรุษไทยไดกอรางสรางตัว จนเปน ประเทศไทยในปจ จบุ ัน อนึ่ง เน้ือหาสาระท่ีนำเสนอในเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรฉบับน้ีเปนเพียง สวนหน่ึงของส่ือการเรียนรู Virtual Field Trip ท่ีจัดทำข้ึน ซ่ึงสามารถเปนส่ือหรือเครื่องมือสำหรับครู นักเรียน และผูสนใจใชเปนแนวทางในการศึกษาเรียนรูผานส่ือออนไลน Virtual Field Trip ท่ีทุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจไดตลอดเวลา เปนส่ือท่ีนำเสนอเนื้อหาสาระในรูปแบบส่ือท่ี หลากหลาย ทั้งวีดิทัศนในรูปแบบของสารคดีส้ัน เนื้อหาสาระซึ่งเปนความรูเพิ่มเติมจากวีดิทัศนแตละตอน กจิ กรรม แบบทดสอบ ภาพน่งิ ภาพเคลือ่ นไหว และสอ่ื ประสมแบบ 360 ํ ท้ังน้ี คาดหวงั วา จะเปน แนวทางหนึ่ง ที่จะกระตุนใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเร่ืองราวความเปนมาและสืบคนความรูเก่ียวกับประวัติศาสตรชาติไทย ไดดว ยตนเองตอไป 8 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
คำช้ีแจง การใชชุดส่ือการเรยี นรูป ระวัติศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip การจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสอื่ Virtual Field Trip ประกอบดว ย เคร่ืองมือ 2 ชดุ คือ 1. วีดิทัศนประกอบส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัตศิ าสตรส โุ ขทยั อยุธยา รัตนโกสนิ ทร สำหรับประวัติศาสตรร ัตนโกสินท มีเนือ้ หา 5 ตอน คอื 1) เกาะรตั นโกสนิ ทร 2) พระบรมมหาราชวงั 3) วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 4) พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรงุ รัตนโกสนิ ทร 5) อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก 2. เอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip ซงึ่ แบงออก เปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip สำหรบั ครู สวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั นกั เรยี น วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ใหครผู ูสอนและผูเรยี นใชส่ือวีดทิ ศั นฯ และเอกสารการเรยี นรปู ระวัตศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip ประกอบการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตร 2. เพื่อเพิ่มพูนความรูใหแกครูผูสอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร รตั นโกสนิ ทรท งั้ ดานเนื้อหาสาระ กจิ กรรมการเรยี นรู การวัดและการประเมนิ ผล 3. เพ่ือใหเด็ก เยาวชน และคนไทยมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความสำคัญของ ประวตั ิศาสตรช าติไทย เกิดความรกั ความผกู พัน ความหวงแหน และความภมู ิใจในแผน ดนิ ไทย 9 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
กรอบเน้ือหาสาระของเอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรรตั นโกสินทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip สวนที่ 1 การจัดการเรยี นรปู ระวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip สำหรับครู ประกอบดวยรายละเอยี ดดังน้ี ❖ การวิเคราะหหลักสูตรสาระประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เปนการนำเสนอสาระ เก่ียวกับการวิเคราะหหลักสูตรประวัติศาสตรกับสาระที่ปรากฏในส่ือวีดิทัศนการเรียนรูนอกหองเรียน เสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร เพ่ือใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัด กจิ กรรมการเรยี นรทู เ่ี หมาะกับผูเรียน ❖ โครงสรางของเอกสารการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนการนำเสนอเก่ียวกับโครงสรางของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือใหครูผูสอนเขาใจภาพรวมของเอกสารท้ังหมด จะไดนำไปใชในการจัดกิจกรรม ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ❖ วิธีการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เปนการนำเสนอสาระเก่ียวกับวิธีการใชชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือใหค รูผูส อนสามารถนำไปปรับใชต ามความเหมาะสม สวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip สำหรับนักเรียน ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระท่ีจะเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสื่อวีดิทัศนทั้ง 5 ตอน โดยจำแนกเน้ือหาเพ่ิมเติม จากวีดทิ ัศนอ อกเปน ประเดน็ ยอยเพ่ือใหค รอบคลุมเน้อื หาสาระของวีดิทัศนแตละตอน ดังนี้ 1. เกาะรตั นโกสินทร 1. จากอยุธยาสรู ัตนโกสนิ ทร 2. การสถาปนากรงุ รัตนโกสนิ ทร 3. คลอง : เสน ทางคมนาคมทีส่ ำคญั ของกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองและปอมปราการเพอื่ สรางความมัน่ คงใหร าชอาณาจักรไทย 5. พระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หนา) 2. พระบรมมหาราชวงั 1. ประวตั ิการกอสรางพระบรมมหาราชวัง 2. แบบแผนการสรางพระบรมมหาราชวงั 3. พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑยี รสถาน 4. หมพู ระมหามณเฑียรในสมยั รัชกาลที่ 1 5. หมพู ระท่นี ่ังดุสติ มหาปราสาท 6. หมพู ระท่นี ั่งจกั รมี หาปราสาท 10 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
3. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม 1. รูจักวัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2. พระพทุ ธมหามณีรัตนปฏมิ ากร 3. ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ในวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 4. ยกั ษว ัดพระแกว 5. พระบรมราชสัญลักษณ 6. ปราสาทพระเทพบิดร 4. พระอารามหลวงประจำรชั กาลกรงุ รตั นโกสนิ ทร 1. วัดประจำรัชกาลท่ี 1 วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร 2. วดั ประจำรัชกาลที่ 2 วดั อรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร 3. วัดประจำรัชกาลที่ 3 วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 4. วัดประจำรัชกาลที่ 4 วดั ราชประดิษฐสถติ มหาสมี ารามราชวรวิหาร 5. วัดประจำรัชกาลที่ 5 วัดราชบพติ รสถติ มหาสมี ารามราชวรวิหาร 5. อาหารไทย : ครัวไทยสูครวั โลก 1. การหลอมรวมวฒั นธรรมในอาหารไทย 2. คุณคาและภูมิปญญาในอาหารไทย 3. อาหารไทยในงานบุญ 11 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
การวเิ คราะหหลกั สตู รสาระประวัติศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ปญหาของการเรียนการสอนประวัติศาสตรสวนหน่ึงมาจากการท่ีครูผูสอนไมเขาใจหลักสูตร วาจะสอนอะไร สอนแคไหน สอนไปทำไม หรือเปาหมายในการสอนแตละเรื่องคืออะไร ทำใหไมสามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ยังไมรวมถึงคำถามท่ีมักเกิดข้ึนในใจครูผูสอน ตลอดเวลาวาจะสอนอยางไร (ในเนื้อหาแตละเร่ือง) ใหบรรลุผลตามที่หลักสูตรคาดหวัง คือ รักถ่ิน รกั ชาติ ภูมิใจในชาติตน ตระหนักในคุณคาของมรดกทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย ดังไดกลาวแลววาคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดที่ครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีประการแรก คือ ความเขาใจหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้ีวัดชั้นป สำหรับมาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระบุหลักการสำคัญของการเรียนรู ประวัตศิ าสตรใ นมาตรฐานการเรยี นรู 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานการเรียนรูประวตั ิศาสตร ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร สามารถใชว ิธกี ารทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเ หตกุ ารณต าง ๆ อยา งเปน ระบบ จะเหน็ วามาตรฐาน ส 4.1 วาดวยเรื่องประวตั ศิ าสตรและวธิ กี ารศึกษาประวตั ิศาสตร ซงึ่ กำหนด ใหเรียนเนื้อหาสำคัญ 2 เร่อื ง คอื 1. เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร 2. วิธีการทางประวตั ศิ าสตร เน่ืองจากครูผูสอนประวัติศาสตรสวนใหญไมไดศึกษามาทางประวัติศาสตรโดยตรงจึงอาจไมเขาใจ เปาหมายของหลักสตู รในมาตรฐาน ส 4.1 ซ่ึงมลี ักษณะเปนหลักการหรอื Concept ประวัติศาสตรอ ยูมาก จงึ ขออธิบายสน้ั ๆ พอใหเขาใจดังน้ี เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร มีเปาหมายดงั นี้ 1. เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร การเขาใจเร่ืองเวลา จะทำใหเขาใจเรื่องราวในเอกสารนั้น ๆ แมวาจะอยูตางพ้ืนที่ก็จะทำใหเชื่อมโยงไดวามีใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร จนสามารถเรยี งลำดับเหตุการณต ามเสนเวลา (Time Line) ได 12 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
2. เพื่อใหผูเรียนเขาใจเหตุการณทางประวัติศาสตร การเขาใจเร่ืองเวลาจะทำใหเขาใจ เหตกุ ารณวา แตละเหตุการณม ีความสำคญั อยางไร ปจจัยใดเปน เหตุ (เหตุการณทีเ่ กดิ กอน) ปจ จยั ใดเปน ผล (เหตุการณท่ีเกิดหลัง) นอกจากน้ี ยุคสมัยทางประวัติศาสตรยังแสดงภาพรวมของเหตุการณในแตละชวงเวลา ไดช ดั เจน หรือแสดงลักษณะเดน ในแตล ะชว งเวลานน้ั 3. เคร่ืองมือบอกเวลาเปนภูมิปญญาของมนุษย อันเน่ืองมาจากมนุษยตองปรับตัวใหเขากับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังน้ัน การสอนเร่ืองน้ีอยางถกู ตองจะสรา งความภาคภมู ิใจในความเปนชาติไดดวย 4. เพื่อใหผูเรียนใชคำบอกเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร บอกเลาเรื่องราวไดอยางถูกตอง ซงึ่ จะกลายเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรไ ดตอ ไปในอนาคต ท้ังนี้ การเรียนรูเร่ืองเวลา เนื้อหาสาระในแตละปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรับ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ไมไดมีเน้ือหาใหเ รยี น วิธีการทางประวตั ิศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) หมายถึง กระบวนการแสวงหาขอเท็จจริง ในอดีตของสังคมมนุษยอยางเปนระบบ ดวยการศึกษาวิเคราะหขอมูลหลักฐานประเภทเอกสารเปนหลัก และศึกษาหลักฐานอน่ื ๆ ประกอบ เพอ่ื ใหไดมาซึ่งความรใู หมท างประวัตศิ าสตรบ นพ้นื ฐานของความมีเหตผุ ล วิธีการทางประวัติศาสตร มีเปาหมายดงั นี้ 1. เพ่ือใหผูเรียนไดออกนอกหองเรียนไปสูโลกแหงความเปนจริง ดวยการสืบคน (สำรวจ สอบถาม ลงมือปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดวยการอาน ฟง สังเกต จดบนั ทึกขอ มลู ) เร่ืองราวท่ตี นอยากรูด วยตนเอง 2. เพื่อใหผูเรียนรูเทาทันขอมูลขาวสารในโลกยุคโลกาภิวัตนดวยการตรวจสอบ กลั่นกรอง ขอมูลเพอ่ื ใหไ ดขอเท็จจรงิ 3. เพื่อใหผ เู รยี นฝก ฝนทกั ษะการคิดวเิ คราะหอ ยางเปนเหตเุ ปน ผลกอนวินิจฉยั เรือ่ งราวตาง ๆ 4. เพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิต โดยนำกระบวนการตาง ๆ ที่ไดเรียนรู ในหองเรียนไปใชในการดำเนินชีวิต และการอยูรวมกันในสังคม รูจักแกปญหาและความขัดแยงตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสม ท้ังนี้ การเรียนรูเร่ืองวิธีการทางประวัติศาสตรในแตละช้ันปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 ไดก ำหนดไวใ นตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางดังน้ี ตัวชี้วัด 1. วิเคราะหเร่ืองราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตรไดอยางมีเหตุผลตามวิธีการ ทางประวตั ิศาสตร 2. ใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรใ นการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ 13 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตรสำหรับการศึกษาเหตุการณทางประวัติศาสตรท่ีเกิดขึ้น ในทอ งถน่ิ ของตนเอง 2. นำวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรมาใชในการศกึ ษาเรอ่ื งราวท่เี กยี่ วของกบั ตนเอง ครอบครวั และ ทองถ่นิ ของตน 3. วิเคราะหเหตุการณสำคญั ในสมยั รัตนโกสินทร โดยใชว ธิ กี ารทางประวัติศาสตร มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปจจุบันในดานความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณอยางตอเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวเิ คราะหผลกระทบที่เกดิ ข้นึ จะเห็นวามาตรฐาน ส 4.2 วาดวยเรื่องพัฒนาการของมนุษยชาติ สวนการเปล่ียนแปลงของ สังคมมนุษยที่มีอยูอยางตอเนื่องตามกาลเวลาและมีความแตกตางกันในแตละพ้ืนที่ ซ่ึงรวมทั้งความขัดแยง ที่กอใหเกิดสงคราม การลมสลายของอาณาจักรหรือแวนแควนตาง ๆ รวมท้ังความรวมมือทางดานตาง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในสงั คมมนษุ ย ดงั น้ัน หลักสูตรกำหนดใหเรียนเนือ้ หาสำคัญ 2 เรอื่ ง คอื 1. วฒั นธรรมและอารยธรรมของสงั คมมนุษยในพืน้ ท่ตี าง ๆ 2. การเปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติ เปา หมายในการเรยี นรเู ร่อื งพัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาติ เน่ืองจากอดีต ปจจุบัน และอนาคตแสดงธรรมชาติของสังคมมนุษยที่มีการเปล่ียนแปลง อยูตลอดเวลา และแมในชวงเวลาเดียวกัน สังคมมนุษยในแตละพ้ืนท่ียังมีความเหมือนและความตาง ประวัติศาสตรจึงใหความสำคัญอยางมากกับความแตกตางที่เปนลักษณะเฉพาะในสังคมมนุษยท่ีเกิดจาก สาเหตุปจจัยของส่ิงแวดลอมที่แตกตางกัน ซ่ึงยอมสงผลกระทบตอส่ิงอ่ืน ๆ ในสังคมดวย (ทั้งการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม) ดังน้ัน เปาหมายในการเรียนรูพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของ มนุษยชาติ คอื 1. เพ่ือใหนักเรียนเขาใจเหตุการณในประวัติศาสตร โดยเร่ิมตนดวยการสืบคนหาขอเท็จจริง วา “มีใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร” เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานที่จะวิเคราะหตอไปไดวา ทำไมจึงเกิด เหตุการณน้ันข้ึน เหตุการณน้ันมีการเปล่ียนแปลงอยางไร และมีผลกระทบทางดานใดบาง “ทำไม และอยางไร” จงึ เปน คำถามสำคัญ 2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจสังคมมนุษยในพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งมีพัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ซ่ึงมีความแตกตางกันเพราะสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและทางสังคม อันสงผลใหเกิดความแตกตาง ทางดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม 14 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
3. เพ่ือใหนักเรียนรูเทาทันโลกในยุคปจจุบัน สามารถคิดวิเคราะหถึงความรวมมือและ ความขัดแยงท่ีกอใหเกดิ “พัฒนาการและการเปล่ยี นแปลง” ของสงั คมมนษุ ย สามารถปรบั ตนเอง 4. เพื่อใหนักเรียนเขาใจลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม (ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา ศาสนา และวิถีการดำเนินชีวิต) ท่ีมีความแตกตาง และคลายคลึงกันในสังคมมนุษย การสอนเร่ืองนี้ อยางถูกตองจะทำใหนักเรียนมีความรักและความภาคภูมิใจในความเปนทองถ่ินและความเปนชาติไทย รวมทง้ั แหลง อารยธรรมในพน้ื ท่ีตา ง ๆ ที่แสดงถึงความเจริญของมนุษยชาติ ท้ังน้ี การเรียนรูเนื้อหาสาระในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 กำหนดไวในตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลางดงั นี้ ตัวชีว้ ัด 1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภมู ิภาคตาง ๆ ในโลกโดยสงั เขป สาระการเรยี นรูแกนกลาง 1. ท่ีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตรของภูมิภาคตาง ๆ ของโลก (ยกเวนเอเชีย) ท่ีมีผลตอ พัฒนาการโดยสงั เขป 2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคตาง ๆ ของโลก (ยกเวนเอเชีย) โดยสงั เขป ตวั ชี้วัด 2. วิเคราะหผลของการเปลี่ยนแปลงท่ีนำไปสูความรวมมือ และความขัดแยงในคริสต ศตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความพยายามในการขจดั ปญหาความขัดแยง สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลตอพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก โดยสังเขป 2. ความรวมมือและความขัดแยงในคริสตศตวรรษที่ 20 เชน สงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 สงครามเย็น องคการความรวมมือระหวา งประเทศ มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาไทย มคี วามรกั ความภูมิใจ และธำรงความเปน ไทย จะเห็นวามาตรฐาน ส 4.3 วา ดว ยเน้อื หาสำคญั 3 เร่อื ง คือ 1. ความเปนมาของชาติไทย ซ่ึงรวมวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย และผูทำคุณงามความดี สรางสรรคความเจริญใหป ระเทศ 2. วฒั นธรรมไทย 3. ภูมปิ ญญาไทย 15 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
สาระการเรียนรูในเร่ืองน้ีไดบรรจุอยูในหลักสูตรต้ังแตเร่ิมมีการจัดการเรียนการสอนใหเปนระบบ ตามแบบตะวันตก ซึ่งนาจะเปนความเช่ียวชาญของครูผูสอนท่ีนาจะมีพัฒนาการดานการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหตอเนื่องและดียิ่งข้ึนได แตกลายเปนวาเนื้อหาดังกลาวกลับเปนปญหาของสังคมไทย ในปจจุบนั ท่ี “ความเปนไทย” กลายเปนเร่อื งลาสมัย “บรรพบุรษุ ไทย” ที่ไดเสยี สละเพอื่ ชาติ กไ็ มไดใ สใ จ ท่ีจะนำมาเปนแบบอยางในการประพฤติปฏิบัติท่ีสำคัญ อดีต “ความบกพรองหรือความสำเร็จ” ที่นาจะ เปนบทเรยี นของปจ จบุ ัน กม็ ิไดถูกนำพาหรอื หยิบยกมาเปน อุทาหรณไ ดอ ยา งแทจ รงิ ทั้งน้ี เขาใจวาปจจัยหน่ึงที่ทำใหเกิดสภาพดังกลาวมาจากโลกยุคโลกาภิวัตน และเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมหรือตลาดเสรี ทำใหเยาวชนไทยนิยมชมชอบวัฒนธรรมของชาติท่ีเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ คนเกง คนรวย ไดรับความชื่นชมมากกวาคนดีมีคุณธรรม อยางไรก็ตาม นาจะเปนเร่ืองทาทายครูมืออาชีพ ท่ีจะนำเยาวชนของชาติใหเขาถึงเปาหมายของหลักสูตร คือ “มีความรัก ความภูมิใจ และสราง ความเปนไทย” การเรียนรูเรื่องความเปนชาติไทยนี้ หลักสูตรกำหนดเน้ือหาสาระในชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ใหเรียนเร่ืองประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร และพัฒนาการของสมัยรัตนโกสินทรทางดานตาง ๆ โดยกำหนดไวใ นตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู กนกลางดังน้ี ตวั ชีว้ ัด 1. วเิ คราะหพ ัฒนาการของไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรใ นดานตาง ๆ สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. พัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทรทางดานการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสมั พนั ธร ะหวา งประเทศตามชว งสมัยตา ง ๆ 2. เหตุการณสำคัญสมัยรัตนโกสินทรท่ีมีผลตอการพัฒนาชาติไทย เชน การทำสนธิสัญญา เบาวริ่งในสมัยรัชกาลที่ 4 การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 5 การเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ครง้ั ท่ี 2 โดยวเิ คราะหส าเหตุปจจยั และผลของเหตกุ ารณตาง ๆ ตวั ชี้วัด 2. วเิ คราะหป จ จัยที่สง ผลตอความมั่นคงและความเจรญิ รงุ เรืองของไทยในสมยั รัตนโกสินทร สาระการเรยี นรแู กนกลาง 1. การสถาปนากรุงเทพมหานครเปนราชธานีของไทย 2. ปจ จยั ท่ีสงผลตอความม่ันคงและความเจริญรงุ เรอื งของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร ตวั ชีว้ ดั 3. วิเคราะหภ ูมิปญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร และอทิ ธิพลตอการพัฒนาชาติไทย สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทรที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาชาติไทย จนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ 16 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ตวั ชีว้ ดั 4. วเิ คราะหบทบาทสำคญั ของไทยในสมยั ประชาธิปไตย สาระการเรยี นรูแกนกลาง 1. บทบาทของพระมหากษัตริยไทยในราชวงศจักรีในการสรางสรรคความเจริญและความมั่นคง ของชาติ 2. บทบาทของไทยตัง้ แตเปลีย่ นแปลงการปกครองจนถงึ ปจจบุ ันในสังคมโลก การวิเคราะหเนื้อหาและการนำเสนอ ในชุดสื่อการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip ประกอบดวย 1. ส่อื ประกอบการเรยี นรูนอกหองเรยี นเสมือนจริง ซ่งึ เปนวดี ทิ ศั นเรอื่ ง ประวตั ิศาสตรร ัตนโกสนิ ทร 2. เอกสารการเรียนรปู ระวัตศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสอ่ื Virtual Field Trip ชุดสอื่ การเรยี นรูด ังกลา ว ทัง้ เน้อื หาและการนำเสนอจะสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ส 4.1 และ ส 4.3 ในบางตวั ชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางของช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ดงั น้ี ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถ ใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรมาวเิ คราะหเหตกุ ารณต าง ๆ อยางเปนระบบ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วเิ คราะหเ ร่ืองราวเหตกุ ารณส ำคญั 1. ขั้นตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรสำหรับการศึกษา ทางประวัติศาสตรไดอ ยางมเี หตผุ ล เหตุการณทางประวตั ิศาสตรทเี่ กดิ ขึน้ ในทองถิ่นของตนเอง ตามวิธีการทางประวตั ิศาสตร 2. วเิ คราะหเหตกุ ารณสำคัญในสมัยรัตนโกสนิ ทร 2. ใชว ิธีการทางประวัติศาสตรใ นการศึกษา โดยใชว ธิ กี ารทางประวัติศาสตร เรอื่ งราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ 17 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปน ไทย ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วิเคราะหพัฒนาการของไทย 1. พฒั นาการของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทรท างดา นการเมือง สมยั รตั นโกสนิ ทรใ นดา นตา ง ๆ การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสมั พันธระหวาง ประเทศตามชว งสมัยตาง ๆ 2. เหตกุ ารณสำคัญสมัยรตั นโกสินทรทม่ี ผี ลตอการพัฒนา ชาติไทย เชน การทำสนธสิ ัญญาเบาวร่งิ ในสมยั รชั กาลท่ี 4 การปฏริ ูปประเทศในสมยั รัชกาลท่ี 5 การเขา รวม สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และครง้ั ที่ 2 โดยวิเคราะหสาเหตุ ปจจัยและผลของเหตุการณตา ง ๆ 2. วเิ คราะหปจจยั ท่สี ง ผลตอความม่นั คง 1. การสถาปนากรงุ เทพมหานครเปนราชธานีของไทย และความเจรญิ รงุ เรอื งของไทย 2. ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความมั่นคงและความเจริญรงุ เรอื ง ในสมยั รัตนโกสินทร ของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร 3. วิเคราะหภูมปิ ญ ญาและวฒั นธรรมไทย 1. ภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร สมัยรตั นโกสนิ ทร และอทิ ธพิ ลตอ การพฒั นา ที่มอี ิทธิพลตอ การพัฒนาชาตไิ ทยจนถงึ ปจ จบุ นั โดยเฉพาะ ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศรรามาธิบดี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และสมเดจ็ พระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ 4. วิเคราะหบทบาทสำคัญของไทยในสมยั 1. บทบาทของพระมหากษัตรยิ ไทยในราชวงศจักรี ประชาธปิ ไตย ในการสรางสรรคค วามเจรญิ และความม่นั คงของชาติ 2. บทบาทของไทยตั้งแตเปลยี่ นแปลงการปกครอง จนถึงปจ จุบันในสังคมโลก 18 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ทั้งนี้ ครูผูสอนควรไดศึกษาชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรสมัยรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip จะเห็นวาในบางเร่ือง สาระท่ีปรากฏจะมีบางเร่ืองท่ีเกินหรือลุมลึกกวาท่ีกำหนดใหเรียน ในหลักสูตรซ่ึงจะเปนความรูเพ่ิมเติมสำหรับนักเรียน ท่ีจะสงผลใหนักเรียนมีความภูมิใจในความเปนชาติไทย ที่มีพัฒนาการตอ เนอ่ื งจนถึงปจจบุ นั สวนสาระการเรียนรูแกนกลางที่ขาดไปหรือมีไมค รบถว น (เฉพาะมาตรฐาน ส 4.1 และ ส 4.3) ตามท่ีหลักสูตรกำหนดใหนักเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูสอนอาจเชื่อมโยงโดยมอบหมายใหศึกษา เพิ่มเติมและเช่อื มโยงกันกไ็ ด 19 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
โครงสรา งของเอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip เอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip มจี ุดมงุ หมายใหเ ปน เครื่องมือสำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร ไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ จึงไดจดั ทำโครงสรางของเอกสารดงั กลา ว ประกอบดว ยสาระสำคัญดงั นี้ 1. การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนสาระ เก่ียวกับพ้ืนฐานความเขาใจในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรที่มีประสิทธิภาพ โดย ใหความสำคัญกับหลักสูตร ความรูพื้นฐานในเน้ือหาสาระ รวมท้ัง Concept ทางประวัติศาสตร และ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหไดผลตามท่ีหลักสูตรคาดหวัง และคุณคาของประวัติศาสตร ท่ีใหความสำคัญกับกระบวนการสรางปญญาใหผูเรียน ทั้งนี้ เพ่ือใหครูผูสอนเห็นแนวทางการนำชุดสื่อ การเรยี นรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสินทรไ ปใชไ ดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. วิธีการใชเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนสาระเกี่ยวกับวิธีการนำชุดส่ือการเรียนรูไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร รตั นโกสินทรไ ดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ชุดสอ่ื การเรียนรปู ระกอบดวย (1) วดี ิทัศนส ื่อการเรียนรูนอกหอ งเรยี น เสมือนจริงประวัตศิ าสตร จำนวน 1 ชุด (2) เอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip จำนวน 1 เลม ซึง่ รายละเอยี ดประกอบดว ย ❖ กรอบเนื้อหาสาระของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ❖ การวเิ คราะหห ลกั สตู รสาระประวัตศิ าสตร ❖ โครงสรา งของเอกสารการเรียนรปู ระวตั ิศาสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ❖ วิธกี ารใชชุดสอ่ื การเรียนรูประวัติศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip 3. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร ซ่ึงเปนตัวอยางการเสนอแนะการจัด กิจกรรมการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรทีเ่ นน การปฏิบัตจิ ากสภาพจรงิ และการคดิ วเิ คราะหเพอ่ื ทจี่ ะพัฒนาผเู รยี น ใหบ รรลผุ ลตามความคาดหวงั ของหลกั สูตร และคุณคาของประวัติศาสตรไดอ ยางแทจรงิ 4. ตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู เปนการเสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปน ตัวอยางใหก ับครใู นการบูรณาการใชชุดส่อื การเรียนรดู งั กลา วสหู อ งเรยี น 5. การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรับนักเรียน ซึง่ เปนเน้ือหาสาระสวนท่จี ะใหผ เู รียนศกึ ษาเรียนรเู พมิ่ เติมจากวีดิทัศนทงั้ 5 ตอน ประกอบดว ย ❖ เกร่ินนำ เพ่ือกระตุนใหผูเรียนสนใจศึกษาประวัติศาสตร โดยศึกษาจากหลักฐาน ประวตั ศิ าสตรดว ยชดุ สือ่ การเรียนรูประวตั ิศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ❖ ความรูพ้ืนฐานประวัติศาสตรรัตนโกสินทร เพื่อใหผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูเก่ียวกับ ประวัตศิ าสตรรัตนโกสนิ ทรก อนทีจ่ ะศกึ ษาจากวดี ิทัศนและเอกสารความรู ❖ เอกสารความรูเพิ่มเติม แยกเปนประเด็นยอยที่สอดคลองกับสื่อวีดิทัศน ซ่ึงครูผูสอน อาจนำไปปรับใชในการจัดกิจกรรมการสอนหรืออาจเสนอแนะใหเด็กสืบคนประเด็นตาง ๆ เพ่ิมเติม ตามความสนใจ 20 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ท้งั นี้ ในเอกสารความรูเพ่มิ เตมิ แตล ะประเดน็ ประกอบดวยโครงสรา งดงั น้ี 1. แบบทดสอบกอนเรียน เพ่ือใหผูเรียนตรวจสอบพ้ืนฐานความรูกอนศึกษาชุดส่ือ การเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร 2. เนื้อหาสาระความรูเพิ่มเติม เปนรายละเอียดประเด็นยอยซ่ึงสอดคลองกับ ส่ือวดี ทิ ศั นท่ีนำเสนอเกี่ยวกบั ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรแตล ะตอน 3. แบบทดสอบหลังเรียน เปนแบบวัดและประเมินผลที่มุงเนนการตรวจสอบ Concept และสาระความรูที่จำเปนสำหรับผูเรียน ขอมูลท่ีไดจากการประเมินจะชวยในการปรับกิจกรรม การเรยี นรูใ หเ หมาะสมกบั ระดับความรูของผเู รยี นมากขึ้น 6. บรรณานุกรม ในเน้ือหาแตละเรื่องเปนสาระเพิ่มเติมเพ่ือใหผูเรียนศึกษาเรียนรูดวยตนเอง ไดนำเสนอหนังสืออางอิง ซ่ึงเปนที่มาของขอมูลไวทายเนื้อหา ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาเพ่ิมเติมได ตามความสนใจของแตละคน หรือหากผูเรียนมีขอสงสัยในขอมูล ผูเรียนสามารถตรวจสอบความถูกตองได นอกจากนี้ ยังรวบรวมหนังสือท่ีมีเน้ือหาสาระท่ีเก่ียวของท้ังหมดไวทายเลมดวย ซึ่งเปนเคร่ืองมือในการ ศึกษาคนควา สำหรับผูเรียน ครผู ูส อน และผสู นใจศึกษาประวัติศาสตรตอ ไป วธิ ีการใชช ุดส่ือการเรยี นรูป ระวตั ิศาสตรร ัตนโกสินทร ผา นสอ่ื Virtual Field Trip เน่ืองจากชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip ชุดนี้ ประกอบดว ย (1) สอ่ื วีดทิ ัศนการเรียนรูน อกหอ งเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสนิ ทร จำนวน 1 ชดุ (2) เอกสารการเรยี นรูประวัติศาสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ซึ่งครูผูสอนประวัติศาสตรจำเปนตองเตรียมการกอนการจัดการเรียนการสอนในแตละขั้นตอน ตงั้ แตก ารนำเขาสบู ทเรยี น กจิ กรรมการเรียนการสอน การสรุปผล และการวัดผลประเมินผล ดงั น้ี 1. การเตรียมการกอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือใหการดำเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรเู กิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด ครูผสู อนตอ งเตรยี มการดังน้ี 1) การเตรียมหองเรียนและแหลงเรียนรู เน่ืองจากการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตร รตั นโกสินทร ตอ งใชส ือ่ อุปกรณประกอบ เชน คอมพิวเตอร โปรเจกเตอร หรอื อปุ กรณอน่ื ๆ 2) ศึกษาวีดิทัศนประกอบส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง เนื่องจากในการจัดทำ ชุดสื่อดังกลาวประกอบดวยเนื้อหาสาระประวัติศาสตรสุโขทัยสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ประวัติศาสตรอยุธยาสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 และประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ดังนั้น กอ นใชค รูผสู อนจำเปน ตองจำแนกหรอื แยกแยะเฉพาะเนอื้ หาทจี่ ะใชใ นการจัดการเรยี นการสอนตามระดบั ช้นั อนงึ่ ในสาระประวตั ศิ าสตรร ตั นโกสนิ ทร ยงั จำแนกเน้ือหาออกเปน 5 สวน คอื 1. เกาะรตั นโกสินทร 2. พระบรมมหาราชวงั 3. วัดพระศรีรตั นศาสดาราม 21 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
4. พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรุงรตั นโกสินทร 5. อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก ดังน้ัน ครูผูสอนจึงตองวางแผนลวงหนาวาจะใชส่ือดังกลาวอยางไร และใชเวลาเทาใด จึงจะเหมาะสม การนำเขาสูบทเรียนเพ่ือกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจตอการเรียนการสอนควรเปน อยางไร เปนตน 3) ศึกษาเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ซงึ่ เปนสอื่ คขู นานกนั เพอ่ื ทำความเขาใจใหช ัดเจนวามีเน้ือหาเพ่ิมเติมในเร่อื งใดบาง 4) จดั เตรียมเอกสารใหเพยี งพอสำหรับนกั เรยี น เชน แบบทดสอบกอ น - หลังเรยี น ภาพ แผนที่ แผนผงั หรอื เน้ือหาสาระทจี่ ะใหนกั เรยี นศึกษาเพม่ิ เตมิ 5) จัดทำแผนการจัดการเรียนรู เพื่อเตรียมการสอนลวงหนา โดยใหการใชชุดส่ือการเรียนรู ประวัตศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ไดเ สนอแนะตัวอยาง แผนการจัดการเรียนรูไ วใ นลำดับตอไป 2. การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ครูผูสอนประวัติศาสตรสามารถดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูท่ีกำหนดไว หรือ อาจใชตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูท ีเ่ สนอแนะไว อาจมีการปรบั เปลี่ยนกจิ กรรมไดต ามความเหมาะสม 1) กิจกรรมกระตุนใหนักเรียนสนใจศึกษาชุดสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรตั นโกสนิ ทร 2) ทำแบบทดสอบกอ นเรียน 3) ชมสอื่ วดี ิทัศนการเรยี นรนู อกหอ งเรยี นเสมือนจรงิ ตอนที่กำหนดใหศ กึ ษา 4) สนทนาและแสดงความคิดเหน็ รว มกนั 5) ศึกษาเอกสาร “ความรเู พ่มิ เติมเก่ียวกับประเดน็ ท่ีเกยี่ วขอ งกบั วีดทิ ศั นตอนท่ีศกึ ษา” 6) ทำแบบทดสอบหลังเรยี น ท้ังนี้ ครูผูสอนอาจจะใหนักเรียนทำกิจกรรมการเรียนรูเก่ียวกับประวัติศาสตรรัตนโกสินทร กอนการทำแบบทดสอบกอนเรียนหรือแบบทดสอบหลังเรียน แลวจึงเพ่ิมเติมกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือฝกฝน ทักษะกระบวนการเรยี นรูท างประวตั ศิ าสตร และสรางเจตคติคา นยิ มทางประวัติศาสตรกไ็ ด 3. การสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผูสอนสามารถสรุปผลการจัดกิจกรรม ไดห ลายลักษณะ เชน ❖ การบันทึกผลการเรียนรูเน้ือหาสาระ ดวยการใหนักเรียนชวยกันระดมความคิดวา ไดรับความรเู ก่ยี วกบั เรือ่ งใดบาง และบนั ทกึ เพ่ือเตอื นความจำรวมกัน ❖ การใชแ บบทดสอบ เพื่อประเมินความกาวหนา ในการเรียนรูข องนักเรยี น และอาจนำมา ใชในการสรุปเนื้อหากไ็ ด ❖ การสอบถามความคิดเห็น เพือ่ ใชเปนขอ มูลในการปรับปรงุ การเรยี นการสอนตอไป 22 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ประวัตศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร กจิ กรรมท่ี 1 ลองแมน ำ้ เจาพระยา : ชมสถานท่สี ำคญั ในสมยั รตั นโกสินทร ความสอดคลอ งกับหลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.1 ม.3/1 ส 4.1 ม.3/2 และ ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด สถานที่สำคัญ ๆ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน มักตั้งอยูริมแมน้ำเจาพระยาซึ่งเปนเสนทาง คมนาคมที่สำคัญ เปนแหลงอาหารและเอ้ือประโยชนอ่ืน ๆ อีกหลายประการแกชาวไทยต้ังแตอดีต จนถงึ ปจจุบนั จุดประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักรูคุณคาของสถานที่สำคัญในสมัย รตั นโกสินทรท ่ีต้ังอยรู มิ แมน ำ้ เจา พระยา 2. เพื่อฝกทักษะการสังเกต การฟง การคิดวิเคราะห การคิดสรางสรรค และทักษะ การจดบันทกึ 3. เพื่อฝก ทกั ษะการทำงานรว มกนั “การทำงานเปน ทีม” แนวทางจัดกิจกรรม 1. นักเรียนที่เขารวมกิจกรรมลองแมน้ำเจาพระยา ศึกษาแผนที่แมน้ำเจาพระยาท่ีไดรับ แจกจากผสู อนหรอื ผนู ำกิจกรรม 2. นักเรียนต้ังใจฟงพรอมจดบันทึกขอมูลขณะฟงวิทยากรบรรยายเร่ือง “ความสำคัญของ แมน ้ำเจาพระยาจากอดีตจนถึงปจ จบุ ัน” ❂ เปน เสนทางคมนาคมหลักของชาวไทย ❂ แหลง อาหาร ❂ ท่ีตง้ั ของสถานทสี่ ำคัญในอดีต ฯลฯ 23 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
3. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมแนะนำการปฏิบัติตนขณะทำกิจกรรมลองแมน้ำเจาพระยา เพือ่ ความปลอดภัยของนักเรยี น 4. ผูสอนหรือผนู ำกิจกรรมมอบหมายงานและชี้แจงวิธกี ารทำงาน ดังนี้ ❂ ฟง สังเกต และจดบันทึกขณะฟงวทิ ยากรบรรยายสถานที่สำคัญ ❂ ลงที่ต้งั ของสถานท่สี ำคญั ในแผนท่แี มนำ้ เจา พระยาทีก่ ำหนดให 5. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมนำนักเรียนลงเรือเพื่อชมทัศนียภาพของแมน้ำเจาพระยา วิถีชีวิต ริมฝงแมน้ำ และที่สำคัญคือ สถานท่ีสำคัญ ๆ ริมฝงแมน้ำเจาพระยา โดยวิทยากรบรรยายประกอบ และตอบขอ ซักถาม 6. เม่ือเสร็จส้ินการลองแมน้ำเจาพระยาแลวใหนักเรียนสืบคน/ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม เกย่ี วกับสถานทส่ี ำคัญในประเดน็ ที่สนใจ 7. นักเรยี นนำเสนอผลการศึกษาใหน า สนใจอยา งเสรีตามแนวคดิ และความสามารถของตนเอง 8. จดั นิทรรศการหนา ช้นั เรียนเพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรูรวมกนั 9. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมแสดงความช่ืนชมในความสามารถและผลงานของนักเรียนทุกคน และกระตุนใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจผลงานของตนเอง และชื่นชมผลงานของเพ่ือนท่ีเขารวมกิจกรรม ทุกคน ขอ ควรคำนึง กจิ กรรมนีจ้ ะประสบผลสำเรจ็ ตองมีการเตรียมการทดี่ ี ดังน้ี 1. วิทยากรตองเปนผูท่ีมีความรู ความสามารถ และมีประสบการณเกี่ยวกับสถานที่สำคัญ ๆ ริมฝงแมน้ำเจาพระยา สามารถอธิบาย ช้ีแจง และใหความรู รวมถึงคำแนะนำตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ชัดเจน ถูกกาลเทศะ มอี ารมณข นั ทำใหนักเรียนมีความสุขและสนกุ สนาน 2. ผูนำกิจกรรมควรมีการประเมินความเส่ียงของเสนทาง การเลือกพาหนะที่เหมาะสม เพราะความปลอดภัยของนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมเปนสิ่งที่ผูนำกิจกรรมตองคำนึงถึงตลอดเวลา ตั้งแต การเตรียมความพรอมกอ นการเดนิ ทาง ระหวางการเดินทาง จนสนิ้ สดุ การเดนิ ทาง 3. มกี ารประสานงานกบั หนวยงานหรอื บคุ คลที่เกยี่ วของ 4. ผูนำกิจกรรมตองคอยใหความชวยเหลือและดูแลนักเรียนที่เขารวมกิจกรรมอยางใกลชิด ตลอดเวลาในระหวา งการเดนิ ทาง 5. นักเรียนที่เขารวมกิจกรรมควรใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันตลอดเวลาในระหวาง การเดนิ ทาง 24 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
วันแรก กำหนดการกิจกรรมลองแมน ้ำเจาพระยา 09.00 - 10.00 น. ฟงบรรยายสรปุ ความสำคญั ของแมน ำ้ เจา พระยา ประกอบวีดทิ ัศน 10.00 - 10.30 น. ศึกษาแผนที่ในฐานะเปนเคร่ืองมือในการศึกษาความรู ท่ีต้ังของสถานท่ีสำคัญตาง ๆ โดยใหนักเรียนสังเกตตำแหนงของถนน คลอง เสนทางแมน้ำ ตลอดจนวิถีชีวิต 10.30 - 11.00 น. รมิ ฝง แมน ำ้ ฯลฯ 13.00 - 15.00 น. มอบหมายบัตรงานใหน ักเรียนแตละกลุมวางแผนการทำงานตามทไี่ ดรบั มอบหมาย วันทีส่ อง ลองเรือแมน้ำเจาพระยา พรอมฟงวิทยากรบรรยายถึงสถานที่สำคัญในอดีต 09.00 - 12.00 น. ตามบรเิ วณท่ีต้ังตามริมแมน้ำเจา พระยา 13.00 - 15.00 น. ศึกษาเพิ่มเติมจาก Internet และสือ่ อืน่ ๆ เกย่ี วกบั สถานทท่ี ่ีนกั เรยี นสนใจ นำเสนอผลงานตามแนวคดิ และความสามารถของนกั เรยี น ท่ีมาของภาพ : www.amphur.in.th 25 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ตัวอยางบตั รงาน กิจกรรม “ลอ งแมนำ้ เจาพระยา : ชมสถานทส่ี ำคัญในสมยั รตั นโกสินทร” จุดประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักรูคุณคาของสถานท่ีสำคัญในสมัย รตั นโกสนิ ทรท ีต่ ้งั อยรู มิ แมนำ้ เจา พระยา 2. เพื่อฝกทักษะการสังเกต การฟง การคิดวิเคราะห การคิดสรางสรรค และทักษะ การจดบนั ทึก 3. เพ่ือฝกทกั ษะการทำงานรว มกนั “การทำงานเปน ทมี ” กิจกรรมที่ 1 1. ใหน กั เรยี นศกึ ษาแผนท่ีแมน้ำเจาพระยาท่ีไดร ับ 2. ต้ังใจฟงพรอมจดบันทึกขอมูลขณะฟงวิทยากรบรรยายเร่ือง “ความสำคัญของแมน้ำ เจาพระยาจากอดีตจนถึงปจจบุ นั ” 3. ลงทต่ี ง้ั ของสถานทสี่ ำคัญในแผนท่ีแมน ้ำเจาพระยาทก่ี ำหนดให กิจกรรมที่ 2 1. เม่ือเสร็จส้ินการลองแมน้ำเจาพระยาแลวใหนักเรียนสืบคน/ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ สถานทส่ี ำคญั ในประเด็นทีส่ นใจ 2. นกั เรยี นนำเสนอผลการศึกษาใหน า สนใจอยางเสรตี ามแนวคิดและความสามารถของตนเอง 3. จดั นิทรรศการหนา ชั้นเรียนเพอ่ื แลกเปลยี่ นเรยี นรูรว มกัน 26 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
บัตรงาน “ลอ งแมน ำ้ เจา พระยา : ชมสถานทส่ี ำคญั ในสมยั รัตนโกสินทร” ช่ือ.........................................................................................................................ชน้ั ...................................... กจิ กรรมท่ี 1 ใหน ักเรียนลงท่ีตัง้ ของสถานท่ีสำคญั ในแผนทแ่ี มน ำ้ เจา พระยาทีก่ ำหนดให 27 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
เฉลยกจิ กรรมท่ี 1 28 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
กจิ กรรมท่ี 2 อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก กิจกรรม เสนห ป ลายจวกั ความสอดคลอ งกับหลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด อาหารไทยจากอดีตจนถึงปจจุบัน เปนท่ีช่ืนชอบของคนไทยและชาวตางประเทศมากย่ิงข้ึน ขึ้นอยูกับปจจัยหลัก 3 ประการ คือ ปจจัยทางวัฒนธรรมไทยที่หลอมรวมภูมิปญญาไทยกับภูมิปญญา ตางชาติทางดานอาหารเขาดวยกันอยางกลมกลืน จนกลายเปนเอกลักษณของตนเองอยางโดดเดน ปจจัย ภูมิศาสตร อันเปนที่มาของพืชพันธุธัญญาหาร อันอุดมสมบูรณบนผืนแผนดินไทย ท่ีเอื้อตอการนำมา ปรุงอาหารอยางหลากหลาย และปจจัยลักษณะนิสัยและทักษะการประดิดประดอย จัดแตงรูปลักษณ ของอาหารใหส วยงาม มเี สนห และถูกหลกั โภชนาการของคนไทยนั่นเอง ท่ีทำใหค นไทยสามารถนำครัวไทย สูครวั โลกได จดุ ประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนไดสืบคนที่มาของอาหารไทยบางชนิดท่ีไดพัฒนามาจากอาหารตางชาติ จนกลายเปน อาหารไทย เชน ฝอยทอง เปน ตน 2. เพอ่ื ใหนักเรียนมปี ระสบการณใ นการทำอาหารไทย 3. เพ่อื พัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะหแ ละสรางสรรค 4. เพือ่ ปลกู ฝง คานยิ มรบั ประทานอาหารไทยในชีวิตประจำวัน แนวทางจัดกิจกรรม 1. นักเรียนศึกษาเร่ือง อาหารไทย : ครัวไทยสูครัวโลก จากสื่อวีดิทัศนและเอกสารประกอบ และอภิปรายรวมกันวา “ทำไมอาหารไทยจึงไดชื่อวาเปนตัวแทนของวัฒนธรรมไทย ที่มีเอกลักษณ โดดเดน เปนท่ยี อมรับของชาวโลก” 2. แบงกลุมนักเรียน กลุมละ 5-6 คน สืบคนตามวิธีการทางประวัติศาสตรตามประเด็นที่วา อาหารไทยชนิดใดที่คนไทยไดพัฒนามาจากชาวตางชาติ และผสมผสานกลมกลืนจนกลายเปนอาหารไทย ท่ีโดดเดน เชน ฝอยทอง แกงมสั มัน่ แกงกะหรี่ เปนตน 3. นักเรียนแตล ะกลมุ ฝกหัดทำอาหารไทยทชี่ าวตางชาติช่นื ชอบ เชน ตมยำกุง ผัดไทย ตมขาไก สมตำ ไกย า ง เปนตน 29 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
4. นักเรียนแตละกลุม สงผูแทนนำเสนอผลงานตามภาระงานที่มอบหมายในขอท่ี 2 และ 3 พรอ มนำอาหารที่กลมุ ทำมารว มจดั เปนงาน Thai Food Party Day และรับประทานอาหารรว มกนั 5. ผูสอนกระตุนใหนักเรียนรูจักชื่นชมผลงานของตนเองและของเพื่อนกลุมอ่ืน ๆ เพ่ือให นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ และใหนักเรียนปรับเปล่ียนคานิยมหันมารับประทานอาหารไทยเพ่ิมขึ้น แทนการรบั ประทานอาหารขยะ (Junk Food) การสะทอนคิด กิจกรรมเสนหปลายจวักนี้เปนการกระตุนใหนักเรียนไดคิดวิเคราะหถึงคุณคาของอาหารไทย และ ฝกหัดทำอาหารไทยมากย่ิงข้ึน ซ่ึงผูปกครองควรใหความรวมมือในกิจกรรมน้ีอยางจริงจัง และสนับสนุน ใหนักเรียนมีเสนหปลายจวักติดตัวไป เพราะอาจจะเปนประโยชนตอนักเรียนในอนาคตตอการทำธุรกิจ ทางดานอาหาร เปนการยกครัวไทยสูครัวโลกโดยแทจริง จึงนับไดวาเรียนรูประวัติศาสตรเพื่อความเปนเลิศ ในปจ จบุ ันและอนาคตน่ันเอง ท่ีมาของภาพ : www.watch333.blogspot.com, www.bloggang.com, www.rongrean.com 30 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
กิจกรรมท่ี 3 วดั พระศรีรตั นศาสดาราม กิจกรรม “วัดพระศรีรตั นศาสดาราม” วัดกษัตริยส รา ง ศนู ยรวมจิตใจของชาวไทยทงั้ ประเทศ ความสอดคลองกบั หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.1 ม.3/1 ส 4.1 ม.3/2 และ ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เปนพระอารามหลวงท่ีสำคัญยิ่งแหงราชวงศจักรี และเปนแหลงรวม ศิลปกรรมชั้นเย่ียมทุกสาขาสวยงามวิจิตรย่ิง สมกับเปนพระอารามหลวงคูบานคูเมืองโดยแท อีกทั้งเปน ศูนยรวมจิตใจของชาวไทยทั้งประเทศ จดุ ประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักในคุณคา ความสำคัญของวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม ทม่ี ตี อพระมหากษัตรยิ แ หงราชวงศจ กั รีและชาวไทยทง้ั ประเทศ 2. เพ่ือฝกทักษะการรวบรวมขอมูลทางประวัติศาสตรของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ดวยการ สังเกต การสำรวจ และการฟงการบรรยายจากผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา น 3. เพื่อปลูกฝงความรักชาติ ความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยท่ีเกิดมาใตรมพระบารมี ของพระมหากษัตรยิ แ หงราชวงศจ ักรี แนวทางจดั กิจกรรม 1. นกั เรยี นศึกษาสือ่ วีดทิ ัศนและเอกสารประกอบ ตอนท่ี 3 วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ท่ีกำหนดให แลวอภิปรายรวมกันในรายละเอียดถึงประวัติความเปนมา แผนผังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และ ความสำคัญของสิ่งกอสรางภายในวัด พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัด พระศรรี ตั นศาสดาราม ยกั ษว ัดพระแกว พระบรมราชสญั ลกั ษณ และปราสาทพระเทพบิดร โดยเนนใหนักเรียน ตระหนกั ถึงบทบาทและความสำคัญของวดั ดงั กลา วท่มี ีตอ ราชวงศจกั รี และประชาชนชาวไทยท้งั ประเทศ 2. นักเรียนรวมกันวางแผนอยางรอบคอบ เพื่อเขาไปศึกษาภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยางเปนระบบ โดยแบงกลุมเพื่อเวียนฐานศึกษาตามจุดตาง ๆ และมอบหมายงานกันทำตามบัตรงาน ทีว่ ทิ ยากรหรอื ครผู ูส อนกำหนดภาระงานโดยฟงวทิ ยากรบรรยายสรุปประกอบวดี ิทัศน กอนนำชมเกี่ยวกับ ❂ แผนผังวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม และความสำคัญของสิง่ กอ สรา งภายในวดั ❂ พระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากร ❂ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภายในวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 31 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
❂ ยกั ษว ดั พระแกว ❂ พระบรมราชสญั ลักษณ ❂ ปราสาทพระเทพบิดร 3. นักเรียนเดินทางไปวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และแบงกลุมศึกษาตามบัตรงานท่ีระบุ จนครบทุกฐาน 4. นกั เรียนสืบคน ขอมลู เพม่ิ เติมตามความสนใจ 5. นกั เรยี นนำเสนอผลงานและภาพถา ยประกอบ 6. ผูสอนเพ่มิ เติมขอ มลู และกลาวคำชมเชยผลงานของนักเรียนทกุ คน ขอสังเกต กิจกรรมนอกสถานท่ีชวยใหผูเรียนไดพินิจพิจารณาศิลปกรรมทุกแขนงในสถานท่ีศึกษา อยางใกลช ดิ ซ่ึงจะสง ผลใหน ักเรียนชนื่ ชมความสวยงาม ความวิจิตรบรรจงของศิลปกรรมน้นั ๆ ซ่ึงเกดิ จากฝม ือ ชา งศิลปไทย เกดิ ความภาคภูมิใจในภูมปิ ญ ญาของคนไทย และภมู ิใจในตนเองท่ไี ดเ กดิ มาบนผืนแผน ดินไทย ผูเรียนไดบูรณาการทักษะตาง ๆ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห ความคิดสรางสรรค เขาใจความเปนมาของชาติไทย ตระหนักในความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริยและพระพุทธศาสนา เขาใจผอู ื่น และมุมมองของผูอ น่ื เปนตน ทีม่ าของภาพ : www.thaigoodview.com, www.watrongsao.blogspot.com, www.unseentravel.com 32 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ตวั อยา ง แผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรียนรู : พระมหากษตั ริยไ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทร กลุม สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวตั ิศาสตร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 เวลา 3 ชว่ั โมง มาตรฐานการเรียนรู ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปญญา มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปนไทย ตัวชีว้ ดั วิเคราะหป จ จยั ทีส่ งผลตอความมน่ั คงและความเจรญิ รุง เรืองของคนไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร สาระสำคัญ 1. พระราชประวตั ิและพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริยในราชวงศจกั รี 2. ความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณยี กิจในดา นตา ง ๆ จุดประสงคก ารเรียนรู 1. สรุปพระราชประวัติและพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตรยิ ในราชวงศจักรีไดโดยสงั เขป 2. อธิบายความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณยี กจิ ทสี่ งผลตอ การพัฒนาชาติไทยได สาระการเรียนรู 1. พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยใ นราชวงศจ ักรี 2. ความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณียกจิ ในดา นตา ง ๆ 33 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
กิจกรรมการเรียนรู 1. นำเขาสูบทเรียนโดยใหนักเรียนดูสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร โดยเนนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับพระราชกรณียกิจท่ีสำคัญ ของพระมหากษัตริย แลวรว มกนั อภิปราย เชน ❂ รสู กึ อยางไรในพระราชกรณยี กจิ เหลานน้ั ❂ พระราชกรณยี กิจเหลาน้ันมสี ว นในการพัฒนาชาติไทยอยา งไร 2. ครผู สู อนแจง จุดประสงคการเรยี นรแู ละสาระการเรยี นรู 3. ครูผูส อนใหนักเรียนรว มกนั อภิปรายถึงพระมหากษตั ริยท ่นี ักเรยี นชื่นชอบ พรอ มบอกเหตุผล ประกอบวาเพราะเหตใุ ด 4. แบงกลุมนักเรียน กลุมละ 5-6 คน เพ่ือสืบคนรายละเอียดของพระราชประวัติและ พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ท นี่ ักเรียนช่นื ชอบ 5. แตละกลุมรวมกันวิเคราะหพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ ท่ีมีประโยชน ในการพฒั นาชาตไิ ทยจากประสบการณ จากขอมลู และขอ เท็จจรงิ ท่ีไดจากการสบื คน 6. แตละกลุมบูรณาการขอมูลเปนองคความรูของตนเองดวยวิธีการตาง ๆ ตามความถนัด และความสนใจของกลมุ 7. นักเรียนแตละกลุมแลกเปล่ียนเรียนรูซึ่งกันและกันโดยการจัดปายนิทรรศการแสดงผลงาน ของพระมหากษัตริยท ่ีตนเองช่นื ชอบ ประกอบการนำเสนอ 8. ครผู สู อนและนักเรียนรว มกันสรุป พระราชกรณียกจิ สำคญั ของพระมหากษัตรยิ ร าชวงศจ ักรี ในภาพรวมอีกคร้ัง เพ่ือใหไดองคความรทู ีช่ ดั เจนยง่ิ ข้ึน 9. ทดสอบนักเรียนเปนรายบุคคล โดยใหนักเรียนเขียนเรียงความเร่ืองพระราชกรณียกิจ พระมหากษตั รยิ ร าชวงศจ กั รีที่ขา พเจา ช่นื ชอบและใชเปนแนวทางในการดำเนนิ ชีวิต สือ่ และแหลง เรียนรู 1. สื่อวีดิทัศนการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตร รัตนโกสินทร 2. แหลงเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุดโรงเรียน หองคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต การสอบถามผูรู แหลง ขอ มูลภายนอกโรงเรียน หองสมดุ ประชาชน เปนตน การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ พฤตกิ รรมการทำงาน และการนำเสนอผลงาน 2. ตรวจผลงานการเขียนเรยี งความ 3. ทดสอบนกั เรียนโดยใชแ บบทดสอบ และจากการรว มกจิ กรรมท่กี ำหนด 34 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
สวนท่ี 2 สำหรับนักเรียน
ความรูพื้นฐานประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรเปนชวงสมัยที่มีความสำคัญมากชวงหนึ่งในประวัติศาสตรไทย เนื่องจากเปนชวงเชื่อมตอจากสมัยอยุธยาและธนบุรีจึงสืบทอดความเจริญรุงเรืองของอารยธรรมไทย ครงั้ “บานเมอื งด”ี ไว และพัฒนาตอ เนอ่ื งมาถงึ สมัยปจจบุ นั ดงั นน้ั การศึกษาประวตั ศิ าสตรส มัยรัตนโกสินทร จะชว ยใหผ ูศึกษาเขาใจถงึ พัฒนาการของประวตั ิศาสตรไ ทยไดชัดเจนมากขน้ึ ประวัติศาสตรสมัยรัตนโกสินทร โดยท่ัวไปหมายถึงชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2325 - 2475 สวนชวงเวลาหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบันเรียกวา ประวัติศาสตรสมัยใหมห รอื ประวตั ศิ าสตรไทยยุคประชาธปิ ไตย สมัยรัตนโกสินทร เริ่มตนเม่ือสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก แมทัพใหญและสมุหนายก ในสมัยธนบุรีไดรับการสนับสนุนจากขุนนางและไพรฟาประชาชนใหปราบดาภิเษกข้ึนเปนพระมหากษัตริย เม่ือวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 นบั เปนปฐมกษัตริยแ หง ราชวงศจ ักรี และมพี ระมหากษตั รยิ ส ืบสันตติวงศ เปน ลำดบั มาถงึ ปจจุบนั รวม 9 พระองค คอื 1. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 2325 - 2352) 2. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลยั (พ.ศ. 2352 - 2367) 3. พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยหู ัว (พ.ศ. 2367 - 2394) 4. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) 5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว (พ.ศ. 2411 - 2453) 6. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั (พ.ศ. 2453 - 2468) 7. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู วั (พ.ศ. 2468 - 2477) 8. พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั อานนั ทมหดิ ล (พ.ศ. 2477 - 2489) 9. พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ภูมิพลอดลุ ยเดช (พ.ศ. 2489 - ปจ จบุ ัน) 36 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
พัฒนาการของอาณาจักรรตั นโกสินทรแบง ออกไดเ ปน 3 ระยะ คือ 1. สมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2394) เริ่มต้ังแตรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ถึงรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจา อยูหัว เปนชว งเวลาทีว่ างรากฐาน บานเมืองใหเปนปกแผนทั้งดานอาณาจักรและศาสนจักร ในชวงเวลาน้ีพมายังคงขยายอำนาจเขามารุกรานไทย ตอเนื่องจากสมัยอยุธยา ทำใหตองทำสงครามเพ่ือปองกันประเทศใหพนภัยจากการคุกคามของศัตรู และ เพื่อรักษาอาณาเขตใหม่ันคงปลอดภัย พรอมท้ังขยายอาณาเขตออกไป ไดลาว เวียงจันทน หลวงพระบาง จำปาศักด์ิ เขมร และมลายู เปนเมืองประเทศราช นอกจากนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ไทยไดทำสงครามกับ เวยี ดนาม (ญวน) เรียกวา ศึกอนั นัมสยามยุทธ (พ.ศ. 2376 - 2390) เปน เวลายาวนานถงึ 14 ป ในชวงสมัยน้ีการคากับตางประเทศโดยเฉพาะการคาสำเภากับจีนขยายตัวอยางกวางขวาง และเริ่มทำการคากับตะวันตก มีการทำสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชยกับชาติตะวันตก การเผยแพรคริสตศาสนาและวิทยาการความเจริญดานตาง ๆ ของชาวตะวันตก ทำใหผูนำไทย เร่ิมเปลย่ี นแปลงแนวคิดกาวเขาสคู วามทนั สมัยในเวลาตอมา 2. สมัยปรับตัวใหทนั สมยั (พ.ศ. 2395 - 2475) เร่ิมต้งั แตร ัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) ถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนประชาธิปไตย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลา เจาอยหู วั เปนชว งเวลาที่ไทยมกี ารเปล่ยี นแปลงทางการเมือง การปกครอง สังคม และเศรษฐกิจ จากเดิมที่เคยดำเนินมาหลายรอยปอยางรวดเร็ว เนื่องจากไทยตองเผชิญกับการคุกคามของจักรวรรดินิยม ตะวันตก จึงตองปรับปรุงบานเมืองใหทันสมัยในทุกดาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหปฏิรูปประเทศอยางกวางขวางและครอบคลุมทุกดาน ซ่ึงเปนผลใหไทยสามารถรักษา เอกราชไวได ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไทยไดกาวเขาสูสังคมโลก และทรงพยายามที่จะแกไ ขสญั ญาทไี่ มเ ปนธรรมตา ง ๆ จนประสบผลดีในระดับหนึ่ง 3. สมยั ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2475 - ปจจบุ ัน) เรมิ่ ต้งั แตประเทศไทยเปล่ยี นแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนประชาธิปไตย โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงเปน พระมหากษตั ริยอ งคสุดทา ยในระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย และเปน พระองคแ รกในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากสภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำท่วั โลก และความแตกแยกทางความคดิ ทางการเมอื ง ทำใหพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหัวทรงสละราชสมบัติ เปดโอกาสใหรัฐบาลแตงตั้งพระมหากษัตริยพระองคใหม ตามวถิ ีทางการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดลุ ยเดช สังคมไทยไดม ีการเปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ ท้ังทางดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม สืบจนถึงปจ จบุ ัน 37 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
คำชี้แจงการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั การศกึ ษาดวยตนเอง 1. ศกึ ษาความรูพน้ื ฐานประวัติศาสตรร ัตนโกสินทร 2. ทำแบบทดสอบกอ นเรียน 3. ชมสื่อวีดิทศั น “ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร” 4. ศึกษาเน้ือหาสาระที่จัดใหเ พิ่มเตมิ เพื่อเตมิ เตม็ ความรู 5. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 6. เฉลยแบบทดสอบและเปรียบเทียบผลการเรียนรกู อ น - หลงั ดว ยตนเอง 7. ศึกษาเพ่ิมเติมจากหนังสือที่ปรากฏในบรรณานุกรมทายเน้ือหาหรือสื่ออื่น ๆ เมอ่ื ตอ งการความรเู พม่ิ ขึน้ พกั และหาเวลาศกึ ษาประเดน็ ตอ ไปเมื่อนกั เรียนพรอ ม 38 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ชุดท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร ความสอดคลองกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การศึกษาชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ชุดที่ 1 เกาะรัตนโกสินทร นกั เรยี นจะไดรบั ความรซู ง่ึ สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชวี้ ัดช้นั ป ดังนี้ ส 4.1 เขา ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชว ิธีการทางประวัตศิ าสตรม าวิเคราะหเหตกุ ารณต า ง ๆ อยางเปนระบบ ม.3/ส 4.1 ขอ 1 วิเคราะหเรื่องราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตร ไดอยางมเี หตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร ม.3/ส 4.1 ขอ 2 ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ทีต่ นสนใจ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จ และธำรงความเปน ไทย ม.3/ส 4.3 ขอ 1 วิเคราะหพฒั นาการของไทยสมัยรตั นโกสินทรในดานตา ง ๆ ม.3/ส 4.3 ขอ 2 วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความมั่นคงและความเจริญรงุ เรือง ของไทยในสมัยรตั นโกสินทร ม.3/ส 4.3 ขอ 3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอทิ ธิพลตอการพฒั นาชาติไทย 39 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ชดุ ที่ 1 เกาะรัตนโกสินทร PRE-TEST คำชี้แจง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ กู ตอ งทีส่ ดุ เพียงขอ เดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ปจ จัยในขอ ใดท่ที ำใหพ ระมหากษัตริยอ ยุธยาโปรดใหขดุ คลองลัดบางกอกขนึ้ ก. อำนวยความสะดวกในการคา นานาชาติ ข. ขยายเสน ทางคมนาคมตามเสน ทางระหวางกรงุ ธนบุรีกับกรุงศรีอยุธยา ค. เพ่มิ พื้นท่ีทางการเกษตร โดยเฉพาะพืน้ ท่ีนาในเขตเมืองธนบรุ ศี รมี หาสมุทร ง. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ หวั เมือง โดยเฉพาะเมอื งบางกอกท่ีเปน เมืองหนาดา น 2. ในสมยั อยธุ ยา บางกอกมีบทบาทอยา งไร ก. เมอื งปอ มปราการ ข. เมืองหนาดานการคานานาชาติ ค. ศนู ยกลางการคา ของชาตติ ะวันตก ง. เปนท่ตี ั้งปอมวชิ ัยประสิทธ์ิ 3. บริเวณฝง ตะวันออกของแมนำ้ เจาพระยากอ นการสถาปนากรงุ รตั นโกสินทร เปน อยา งไร ก. ท่ีต้งั ของชมุ ชนชาวจีน และยา นการคา ข. เมอื งอกแตก ทม่ี ีแมน ้ำเจาพระยาผานกลางเมือง ค. ทีต่ ้งั พระราชวงั หลวงของพระเจาตากสนิ มหาราช ง. ถกู ทุกขอ 4. ปอมทีส่ มเด็จพระนารายณโปรดเกลาฯ ใหทหารฝร่งั เศสสรา งขน้ึ ทเ่ี มอื งบางกอก ก. ปอมสุเมรุ และปอ มยุคนธร ข. ปอ มมหาปราบ และปอมมหากาฬ ค. ปอ มมหาชยั และปอมจักรเพชร ง. ปอมวิชัยประสทิ ธิ์ และปอมวิไชเยนทร 5. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช จึงโปรดเกลา ฯ ใหย ายราชธานี ก. เพราะทรงเห็นวากรงุ ธนบรุ มี ชี ัยภมู ไิ มเ หมาะสม ข. พระราชวังเดิมมอี าณาเขตคับแคบ ขยายพระราชวงั ใหส งา งามไมได ค. กรงุ ธนบุรมี ีแมน ำ้ ผานกลางเสมือนเมืองอกแตก ขาศึกยกมาทำลายไดงาย ง. ถกู ทุกขอ 40 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
6. ขอบเขตพระราชวงั แหง ใหมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชคือขอ ใด ก. บริเวณคลองบางลำพู - คลองโอง อาง ข. พื้นทีร่ ะหวา งปอมวิชัยประสิทธิก์ ับปอ มวไิ ชเยนทร ค. พื้นทภี่ ายในคลองรอบกรงุ ง. บริเวณคลองคเู มอื งเดิมกบั คลองหลอด 7. ขอใดไมใ ชป ระโยชนของคลองในสมยั พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช ก. เสนทางคมนาคมภายในกรุงรตั นโกสินทร ข. แนวปอมปราการสำหรับปอ งกันกรุงรัตนโกสนิ ทร ค. เสน ทางขนสง อาวธุ ยทุ โธปกรณ และกำลังไพรพลในยามสงคราม ง. ขยายพ้นื ทเ่ี พาะปลูก และใหช าวพระนครลงเรือเลน เพลงสกั วา 8. ขอ ใดคือวัตถปุ ระสงคสำคัญในการขุดคลองเพ่ิมขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั และพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจาอยหู ัว ก. เสน ทางคมนาคมกับเมอื งหนาดา นและหัวเมอื งอ่นื ๆ ข. เพ่ิมเสน ทางคมนาคมภายในกรงุ รัตนโกสนิ ทร ค. ขยายและเพมิ่ พืน้ ทที่ างการเกษตร ง. ถกู ทกุ ขอ 9. ขอใดคือวัตถปุ ระสงคใ นการสรา งปอมปราการเพมิ่ ข้ึนในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจา อยูหัว ก. เตรยี มทำสงครามกบั ญวน ข. ปองกนั เรือรบของชาติตะวนั ตก ค. สรางแนวปองกันรอ งนำ้ ลกึ ทใ่ี ชเ ปนเสนทางเดนิ เรอื ง. สรางความมนั่ คงใหพระราชวงั หลวงท่กี รงุ เทพมหานคร 10. ตำแหนงกรมพระราชวังบวรสถานมงคลยกเลิกในสมัยใด ก. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหวั ข. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั ง. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจา อยูหวั เฉลย 1. ก 2. ข 3. ก 4. ง 5. ง 6. ค 7. ค 8. ก 9. ข 10. ข 41 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
ชดุ ที่ 1 เกาะรตั นโกสินทร 1 จากอยุธยาสูร ตั นโกสินทร เมืองรตั นโกสินทร ในชว งเวลาทีก่ รุงศรีอยุธยาเจรญิ รุง เรอื งเปนศูนยก ลางทางการเมอื ง การปกครอง และศูนยก ลาง การคานานาชาติน้ัน เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรหรือเมืองบางกอก ท่ีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงตั้งข้ึน เม่ือ พ.ศ. 2106 เปนเมืองท่ีมีฐานะเปนเมืองหนาดานการคานานาชาติท่ีสำคัญสำหรับการเก็บภาษีและ การตรวจสนิ คา ทางเรอื ทจ่ี ะเดนิ ทางเขา ออกคา ขายกบั อาณาจกั รอยธุ ยา อาณาจกั รอยุธยาอยลู กึ จากปากแมน ้ำเขาไปราว 140 กิโลเมตร ลำนำ้ คดเคยี้ วใชเ วลาเดินทางนาน ซึง่ เปน ปญ หาในการเดินทาง และการคาจากปากแมน ำ้ ถงึ กรุงศรีอยธุ ยา พระมหากษตั ริยอ ยธุ ยาหลายพระองค โปรดใหขุดคลองลัดเพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางและยนระยะทาง เชน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดใหขุดคลองเชื่อมระหวางคลองบานพราวถึงคลองเชียงรากข้ึนเปนคลองแรก ตอมาขุดคลองลัด แมน้ำเจาพระยาอีก 5 แหง คือ คลองลัดตำบลบางกรวย คลองลัดหนาเมืองนนทบุรี คลองลัดตำบลบางกอก ท่มี าของภาพ : แนง นอ ย ศกั ดศ์ิ ร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม. หนา 10. 42 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
คลองลัดปากเกร็ด และคลองลัดนครเข่ือนขันธ สวนคลองลัดบางกอกน้ันขุดในสมัยพระไชยราชาธิราช ซึ่งยนระยะทางไปไดถึง 40 กิโลเมตร แตก็ยังอยูหางไกลจากอาวไทย เรือสินคาสวนใหญจึงมักหยุดพัก ท่ีเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรกอนจะเดินทางตอไปยังกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเรือที่จะเขาไปไดตองเปนเรือขนาดเล็ก สวนเรอื สินคาขนาดใหญจ ะเขา ไปไดถงึ เมืองธนบรุ ศี รีมหาสมุทรเทาน้นั เมืองแหงนี้จงึ เปนแหลง ชุมชนคาขาย ที่สำคัญมาต้ังแตโบราณ โดยมีปอมวิชัยประสิทธิ์และปอมวิไชเยนทร ท่ีสมเด็จพระนารายณมหาราช โปรดใหทหารฝรง่ั เศสสรา งขนึ้ เปนปอ มปราการสำคญั อยสู องฝง ของแมน ำ้ เจา พระยา รัตนโกสินทรในอดตี ท่ีมาของภาพ : ราชบัณฑติ ยสถาน. ใตร มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามนิ ทราธิราช. หนา 80. 43 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
เมอื่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาลมสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 ภั ย จ า ก ส ง ค ร า ม ท ำ ใ ห ผู ค น ส ว น ห น่ึ ง อ พ ย พ ไ ป ต้ังถิ่นฐานที่เมืองบางกอก ประกอบกับเมื่อสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรี เปนราชธานีแหงใหมทางฝงตะวันตกของแมน้ำ เจา พระยา และสรางพระราชวงั ใกลปอมวิชยั ประสิทธ์ิ สวนทางฝงตะวันออกของแมน้ำเปนท่ีตั้งชุมชนชาวจีน และยานการคาขนาดใหญ ดังนั้น เม่ือสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราชโปรดใหขุดคูเมืองครอบคลุม ท้ังสองฝงแมน้ำเม่ือ พ.ศ. 2314 ทำใหเมืองธนบุรี ศรีมหาสมุทร มีแมน้ำเจาพระยาผานกลางเมือง โดยมีศูนยกลางการปกครองอยูฝงตะวันตกของ แมน้ำเจาพระยา มีปอมวิชัยประสิทธ์ิไวปองกันเมือง สวนยานการคาอยูฝงดานตะวันออก มีปอมวิไชเยนทร ต้ังเปน ปราการอยูท างฝง น้ีดวย เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกเสด็จขึ้นครองราชย ใน พ.ศ. 2325 ทรงเห็นวากรุงธนบุรีเปนเมืองที่มีแมน้ำผานกลางเมือง ซ่ึงมีชัยภูมิไมเหมาะสม เสมือนเมืองอกแตก ขาศึกยกทัพมาทำลายไดงาย พระราชวังมีอาณาเขตคับแคบ เพราะมีวัดขนาบอยู ทั้งสองขาง ถือเปนท่ีอุปจาร ขยายพระราชวังใหสงางามไมได จึงโปรดใหยายราชธานีมาอยูฝงตะวันออก ของแมน้ำเจาพระยาเพียงฝงเดียว ราชอาณาจักรไทยจึงไดเชื่อมตอจากอยุธยาสูธนบุรีและรัตนโกสินทร ดังกลาว ซ่ึงศูนยกลางอาณาจักรยังคงมีบทบาทสำคัญทางการคานานาชาติ เมืองหลวงแหงใหมคือ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนศนู ยกลางการปกครองของอาณาจักรรัตนโกสนิ ทรสบื มาถงึ ปจจบุ ันน้ี บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จดั ทำสารานุกรมประวัติศาสตร, 2547. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสินทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2525. ที่มาของภาพ : www.thaigoodview.com/files/u4617/pano_03.jpg 44 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126