Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรหน้า 128-231

หลักสูตรหน้า 128-231

Published by pm.insorn, 2018-06-19 06:01:08

Description: พระมหาอินสอน คุณวุฑโฒ

Search

Read the Text Version

๑๒๗กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมทาไมต้องเรียนสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การดารงชีวิตของมนษุ ย์ทง้ั ในฐานะปัจเจกบคุ คลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจดั การทรัพยากรทมี่ อี ยู่อยา่ งจากดั เข้าใจถงึ การพฒั นา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อ่ืน มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคณุ ธรรม สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสังคมโลกเรยี นรอู้ ะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมว่าด้วยการอยูร่ ว่ มกันในสงั คม ท่มี ีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมโดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดงั นี้  ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคดิ พนื้ ฐานเก่ยี วกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถอื การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏบิ ตั ิในการพัฒนาตนเอง และการอย่รู ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข เป็นผ้กู ระทาความดี มีค่านิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชนต์ ่อสังคมและส่วนรวม  หน้าท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญการเป็นพลเมอื งดี ความแตกตา่ งและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสนั ตสิ ุขในสังคมไทยและสงั คมโลก  เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรพั ยากรท่มี ีอย่อู ย่างจากัดอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การดารงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั  ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดตี ถงึ ปจั จุบนั ความสมั พนั ธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แหล่งอารยธรรมทส่ี าคญั ของโลก

๑๒๘  ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรพั ยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมภิ าคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนที่และเคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนษุ ยส์ ร้างขนึ้ การนาเสนอข้อมูลภูมสิ ารสนเทศ การอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมเพ่อื การพัฒนาที่ยง่ั ยนื คุณภาพผู้เรยี นจบช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓  มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคตา่ งๆในโลก เพื่อพฒั นาแนวคิด เร่อื งการอย่รู ว่ มกนั อย่างสันติสุข  มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชียออสเตรเลีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรมค่านิยม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมศิ าสตร์ ดว้ ยวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ และสงั คมศาสตร์  รู้และเขา้ ใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนนิ ชวี ิตและวางแผนการดาเนนิ งานได้อย่างเหมาะสมจบชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖  มคี วามร้เู ก่ียวกับความเป็นไปของโลกอย่างกวา้ งขวางและลกึ ซง้ึ ยง่ิ ข้นึ  เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมท้ังมีค่านยิ มอนั พึงประสงค์ สามารถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ ื่นและอย่ใู นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข รวมท้ังมีศักยภาพเพื่อการศกึ ษาตอ่ ในชั้นสูงตามความประสงคไ์ ด้  มคี วามรู้เรอื่ งภมู ิปญั ญาไทย ความภมู ิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทยยึดม่ันในวิถชี ีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข  มีนิสัยที่ดีในการบรโิ ภค เลือกและตัดสนิ ใจบริโภคได้อยา่ งเหมาะสม มจี ติ สานึก และมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม มีความรักท้องถ่ินและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิง่ ท่ีดีงามให้กบั สงั คม  มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ช้ีนาตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรจู้ ากแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆในสงั คมได้ตลอดชีวิต

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรมมาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศา หลกั ธรรม เพอื่ อยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ ตัวชี้วดั ชนั้ ปี ม. ๑ ม. ๒๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรอื ๑. อธิบายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนับถอื ส่ปู ระเทศไทย ศาสนาที่ตน นับถือสปู่ ระเทศเพอ่ื นบา้ น๒. วิเคราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธศาสนา ๒. วเิ คราะหค์ วามสาคัญของพระพุทธหรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือท่ีมตี ่อ ศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถือทีช่ ว่ ยสภาพแวดล้อม ในสังคมไทย รวมท้ังการ เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอนั ดกี บั ประเทศเพ่ือนพัฒนาตนและครอบครวั บา้ น๓. วเิ คราะห์พทุ ธประวตั ติ ง้ั แตป่ ระสูติจน ถงึ ๓. วิเคราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาบาเพ็ญทุกรกิริยาหรอื ประวัติศาสดาทตี่ น หรอื ศาสนาท่ีตน นับถือในฐานะท่ีเป็นนับถือตามที่กาหนด รากฐานของวัฒนธรรมเอกลักษณ์ของชาติ๔. วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอยา่ ง และมรดกของชาติการดาเนนิ ชีวิตและขอ้ คดิ จากประวตั ิสาวก ๔. อภิปราย ความสาคัญของพระพทุ ธ ศาสนาชาดก เรอื่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง หรือศาสนาทตี่ น นบั ถือกบั การพฒั นาตามที่กาหนด ชุมชนและการจดั ระเบยี บสงั คม๕. อธิบายพุทธคุณ และขอ้ ธรรมสาคญั ใน ๕. วเิ คราะห์พุทธประวัติหรอื ประวตั ศิ าสดา กรอบอรยิ สัจ ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนา ของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามที่กาหนด ทีต่ นนับถอื ตามท่กี าหนด เหน็ คุณคา่ และ นาไปพฒั นา แกป้ ญั หาของตนเองและ ๖. วเิ คราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่าง การดาเนินชีวิตและขอ้ คิดจากประวัติสาวก ชาดก เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่าง

๑๒๙าสนาหรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาทถี่ กู ตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏบิ ตั ติ าม ม. ๓ ตัวชวี้ ัดช่วงชั้น๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธ ศาสนาหรือ ม. ๔ – ม. ๖ ศาสนาที่ตนนับถือสปู่ ระเทศต่างๆ ท่วั โลก ๑. วเิ คราะหส์ ังคมชมพทู วีป และคติความเชอื่๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา ทางศาสนาสมยั กอ่ นพระพุทธเจา้ หรือสังคม หรอื ศาสนาท่ตี นนับถอื ในฐานะท่ชี ่วย สมยั ของศาสดาทีต่ นนับถอื สรา้ งสรรค์ อารยธรรมและความสงบสุข ๒. วเิ คราะหพ์ ระพุทธเจา้ ในฐานะเปน็ มนุษย์ผู้ แก่โลก ฝึกตนไดอ้ ย่างสงู สดุ ในการตรสั รู้ การกอ่ ตงั้๓. อภปิ รายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา วิธกี ารสอนและการ เผยแผพ่ ระพุทธ หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือกบั ปรัชญาของ ศาสนาหรือวิเคราะห์ประวตั ศิ าสดาทต่ี นนบั เศรษฐกจิ พอเพียงและการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื ถอื ตามทกี่ าหนด๔. วเิ คราะห์ พุทธประวัติจากพระพทุ ธรูป ๓. วเิ คราะห์พุทธประวัตดิ ้านการบริหาร และ ปางตา่ ง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ การธารงรักษาศาสนาหรือวิเคราะห์ประวัติ ตามท่กี าหนด ศาสดาทีต่ นนับถอื ตามที่กาหนด๕. วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่าง ๔. วเิ คราะห์ขอ้ ปฏบิ ัติทางสายกลางใน การดาเนินชีวติ และขอ้ คดิ จากประวตั ิสาวก พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาท่ี ชาดก เร่ืองเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตาม ตนนบั ถอื ตามทกี่ าหนด ทกี่ าหนด ๕. วิเคราะห์การพัฒนาศรทั ธา และปัญญาที่๖. อธบิ าย สังฆคุณ และ ขอ้ ธรรมสาคัญใน ถูกตอ้ ง ในพระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิด ของศาสนาทตี่ นนับถอื ตามท่กี าหนด

ม. ๑ ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี ครอบครวั ม. ๒๖. เห็นคุณคา่ ของการพัฒนาจิตเพือ่ การเรยี นรู้ ตามที่กาหนด ๗. อธบิ ายโครงสรา้ ง และสาระ สงั เขปของ และการดาเนนิ ชีวติ ดว้ ยวิธคี ดิ แบบโยนิโส พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์ ของศาสนา ท่ตี น มนสกิ ารคอื วิธคี ดิ แบบคณุ คา่ แท้-คุณค่า นับถือ ๘. อธบิ ายธรรมคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบ เทยี ม และวธิ คี ดิ แบบคุณ-โทษและทางออก อรยิ สจั ๔ หรือหลกั ธรรมของศาสนาทตี่ น นบั ถอื ตามที่กาหนด เห็นคุณคา่ และนาไป หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา พัฒนา แกป้ ัญหาของชุมชนและสงั คม ๙. เห็นคุณคา่ ของการพฒั นาจติ เพอ่ื การเรยี นรู้ ท่ตี นนบั ถอื และดาเนนิ ชีวิต ดว้ ยวธิ ีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร คือ วิธีคิดแบบอบุ าย๗. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และเจริญ ปลกุ เร้าคุณธรรม และวิธีคดิ แบบอรรถ ธรรมสัมพันธ์ หรือการพัฒนาจติ ตาม ปญั ญาดว้ ย อานาปานสตหิ รือตามแนวทาง แนวทางของศาสนาทตี่ นนับถอื ๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญ ของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามที่กาหนด ปัญญาด้วยอานาปานสติหรอื ตามแนวทาง๘. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตาม หลักธรรมทาง ของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ๑๑. วเิ คราะห์การปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมทาง ศาสนาทต่ี น นับถอื ในการดารงชวี ติ แบบ ศาสนาท่ตี นนบั ถือเพือ่ การดารงตนอย่าง พอเพียงและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพือ่ การ เหมาะสมในกระแสความเปลีย่ นแปลงของ อยู่ร่วมกันได้อยา่ งสันตสิ ุข โลก และการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ๙. วเิ คราะห์เหตผุ ลความจาเปน็ ท่ีทกุ คนตอ้ ง ศึกษา เรยี นร้ศู าสนาอื่นๆ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนต่อศาสนกิ ชนอน่ื ในสถานการณ์ ต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม๑๑. วเิ คราะหก์ ารกระทาของบคุ คลทีเ่ ป็น แบบอยา่ งดา้ น ศาสนสมั พันธ์ และ นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ขิ องตนเอง

๑๓๐ ม. ๓ ตวั ช้วี ดั ชว่ งช้นั กรอบอริยสัจ ๔ หรือหลกั ธรรมของศาสนา ม. ๔ – ม. ๖ ที่ตน นับถอื ตามทกี่ าหนด ๖. วิเคราะห์ ลกั ษณะประชาธิปไตยใน๗. เหน็ คุณคา่ และวเิ คราะห์การปฏิบัติตนตาม พระพทุ ธศาสนาหรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี ตนนบั ถือตามท่ีกาหนด หลักธรรมในการพัฒนาตนเพอื่ เตรยี ม ๗. วิเคราะห์หลกั การของพระพุทธศาสนากบั พร้อมสาหรับการทางานและการมี หลกั วิทยาศาสตร์หรือแนวคิดของศาสนาที่ ครอบครัว ตนนบั ถอื ตามที่กาหนด๘. เห็นคณุ คา่ ของการพัฒนาจิต เพ่อื การเรียนรู้ ๘. วเิ คราะห์การฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การ และดาเนินชีวิตดว้ ยวิธีคิด แบบโยนิโส- พง่ึ ตนเอง และการมงุ่ อิสรภาพใน มนสกิ ารคอื วิธคี ิดแบบอรยิ สัจ และวิธีคิด พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ี แบบสืบสาวเหตปุ ัจจัยหรือการพัฒนาจิต ตนนบั ถอื ตามทกี่ าหนด ตามแนวทางของศาสนาทต่ี น นับถอื ๙. วิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาวา่ เปน็ ศาสตรแ์ หง่๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจรญิ การศกึ ษา ซึ่งเนน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตุ ปัญญา ด้วยอานาปานสตหิ รือตามแนวทาง ปจั จัยกบั วธิ ีการแก้ปัญหาหรอื แนวคิดของ ของศาสนาทต่ี น นับถือ ศาสนาท่ตี น นับถอื ตามทกี่ าหนด๑๐. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งและยอมรบั วถิ ี ๑๐. วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนาในการฝกึ ตน การดาเนินชีวติ ของ ศาสนกิ ชนในศาสนา ไม่ให้ประมาท มงุ่ ประโยชนแ์ ละสันตภิ าพ อื่นๆ บคุ คล สังคมและโลกหรอื แนวคิดของ ศาสนาท่ตี นนับถอื ตามทก่ี าหนด ๑๑. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและการพฒั นาประเทศ แบบยง่ั ยืน หรือแนวคดิ ของศาสนาทตี่ นนับ

ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปีม. ๑ ม. ๒

๑๓๑ ตัวชีว้ ัดชว่ งชัน้ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖ ถอื ตามทก่ี าหนด ๑๒. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของพระพุทธศาสนา เกย่ี วกบั การศึกษาท่สี มบูรณ์ การเมอื ง และ สนั ติภาพหรอื แนวคิดของศาสนาทีต่ นนบั ถอื ตามทกี่ าหนด ๑๓. วเิ คราะหห์ ลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลกั คาสอนของศาสนาท่ีตนนบั ถือ ๑๔. วิเคราะห์ขอ้ คดิ และแบบอย่างการดาเนนิ ชีวติ จากประวตั ิสาวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศา สนกิ ชนตัวอย่างตามทกี่ าหนด ๑๕. วิเคราะหค์ ุณค่าและความสาคญั ของการ สงั คายนา พระไตรปฏิ กหรือคมั ภีร์ของ ศาสนา ท่ตี นนับถอื และการเผยแผ่ ๑๖. เช่อื ม่นั ตอ่ ผลของการทาความดี ความชว่ั สามารถวิเคราะห์สถานการณท์ ต่ี ้องเผชิญ และตัดสนิ ใจเลือกดาเนนิ การหรือปฏิบัติตน ไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล ถูกต้องตามหลักธรรม จรยิ ธรรม และกาหนดเป้าหมาย บทบาท การดาเนินชวี ิตเพอ่ื การอยูร่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ สขุ และอยู่รว่ มกันเป็นชาตอิ ยา่ งสมานฉันท์ ๑๗. อธิบายประวตั ศิ าสดาของศาสนาอืน่ ๆ

ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปีม. ๑ ม. ๒

๑๓๒ ตัวชีว้ ดั ชว่ งชัน้ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖ โดยสังเขป ๑๘. ตระหนักในคุณคา่ และความ สาคญั ของ ค่านิยม จริยธรรมที่เปน็ ตัวกาหนดความเชือ่ และพฤติกรรมทีแ่ ตกตา่ งกนั ของ ศาสนกิ ชนศาสนาต่างๆ เพ่อื ขจดั ความขัดแยง้ และ อยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่าง สันติสขุ ๑๙. เห็นคณุ คา่ เชื่อม่ันและมงุ่ ม่ันพัฒนาชวี ิต ดว้ ยการพัฒนาจติ และพัฒนาการเรยี นร้ดู ้วย วธิ ีคิดแบบโยนโิ ส-มนสกิ าร หรอื การพฒั นา จติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื ๒๐. สวดมนต์ แผเ่ มตตาและบรหิ ารจติ และ เจรญิ ปัญญาตามหลักสติปัฏฐาน หรอื ตาม แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ๒๑. วิเคราะหห์ ลักธรรมสาคญั ในการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอ่ืนๆ และ ชักชวน สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้บุคคลอืน่ เหน็ ความสาคญั ของการทาความดตี อ่ กนั ๒๒. เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม ความ รว่ มมอื ของทุกศาสนาในการแกป้ ัญหาและ พัฒนาสังคม

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรมมาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเป็นศาสนิกชนทดี่ ี และธารงรักษาพร ตัวชวี้ ดั ชัน้ ปี ม. ๑ ม. ๒๑. บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของ ๑. ปฏิบัตติ นอย่างเหมาะสมตอ่ บุคคลต่าง ๆศาสนาทต่ี น นับถือ ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่กี าหนด๒. อธิบาย จรยิ วตั รของสาวกเพือ่ เป็น ๒. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนที่ดีตามที่แบบอย่างในการประพฤตปิ ฏิบัติ และปฏิบัติ กาหนดตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวกของศาสนาท่ตี น ๓. วิเคราะหค์ ณุ คา่ ของ ศาสนพิธี และปฏบิ ตั ินับถือ ตนได้ถูกต้อง๓. ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ ๔. อธบิ าย คาสอนท่เี กย่ี วเนอ่ื งกบั วันสาคัญตามหลกั ศาสนา ท่ตี นนับถือตามท่กี าหนด ทางศาสนาและปฏิบัติตนไดถ้ ูกต้อง๔.จัดพิธีกรรมและปฏิบตั ติ นในศาสนพธิ ี ๕. อธิบายความแตกตา่ งของศาสนพธิ พี ิธกี รรม พธิ ีกรรมไดถ้ กู ต้อง ตามแนวปฏบิ ตั ขิ องศาสนาอนื่ ๆเพื่อนาไปสู่๕. อธิบาย ประวตั คิ วาม สาคัญและปฏิบตั ิตน การยอมรับ และความเขา้ ใจซ่ึงกันและกันในวันสาคัญทางศาสนาท่ตี นนบั ถือตามที่กาหนดไดถ้ กู ต้อง

๑๓๓ระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื ตัวชวี้ ัดชว่ งชน้ั ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. วเิ คราะห์หน้าทแี่ ละบทบาทของสาวกและ ๑. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนทด่ี ตี ่อสาวกปฏิบตั ิตนตอ่ สาวกตามทก่ี าหนดได้ถกู ตอ้ ง สมาชิกในครอบครวั และคนรอบขา้ ง๒. ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคลตา่ งๆ ๒. ปฏิบัตติ นถกู ตอ้ งตามศาสนพิธี พธิ ีกรรมตามหลักศาสนาตามท่ีกาหนด ตามหลักศาสนาที่ตนนบั ถือ๓. ปฏบิ ตั ิหน้าที่ของศาสนกิ ชนทด่ี ี ๓. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรอื แสดงตน๔. ปฏิบตั ิตน ในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมได้ เปน็ ศาสนิกชนของศาสนาทตี่ นนับถือถูกต้อง ๔. วิเคราะหห์ ลักธรรม คติธรรม ทเ่ี กี่ยวเน่อื ง๕. อธบิ าย ประวตั วิ ันสาคัญทางศาสนาตามที่ กบั วันสาคัญทางศาสนาและเทศกาลท่ีสาคญักาหนดและปฏิบัติตนไดถ้ ูกต้อง ของศาสนาที่ตนนับถอื และปฏบิ ัติตนได้๖. แสดงตน เป็นพุทธมามกะหรอื แสดงตน ถูกตอ้ ง เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาท่ตี นนับถอื ๕. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธารง๗. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาที่ รักษาศาสนาที่ตนนบั ถืออันสง่ ผลถงึ การตนนบั ถือ พัฒนาตน พัฒนาชาติ และโลก

สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คมมาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหน้าทขี่ องการเป็นพลเมอื งดี มีคา่ นยิ มทด่ีและสงั คมโลกอย่างสนั ติสุข ตวั ชวี้ ัดชั้นปีม. ๑ ม. ๒๑. ปฏิบตั ิตามกฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธขิ อง ๑. อธบิ ายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่บุคคล เก่ียวขอ้ งกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและ๒. ระบุความสามารถของตนเอง ในการทา ประเทศประโยชนต์ อ่ สังคมและประเทศชาติ ๒. เห็นคณุ คา่ ในการปฏบิ ัติตนตามสถานภาพ๓. อภิปรายเกี่ยวกบั คุณค่าทางวัฒนธรรมท่ีเป็น บทบาทสิทธิ เสรภี าพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองปัจจัยในการสร้างความสัมพนั ธ์ ดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตยที่ดี หรืออาจนาไปสูค่ วามเขา้ ใจผดิ ต่อกนั ๓. วเิ คราะหบ์ ทบาทความสาคญั และ๔. แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพ ความสมั พนั ธ์ของสถาบันทางสงั คมของตนเองและผอู้ นื่ ๔. อธบิ ายความคลา้ ยคลึงและความแตกต่าง ของวฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชยี เพื่อนาไปสู่ความ เขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างกัน

๑๓๔ดีงาม และธารงรักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอยูร่ ่วมกนั ในสังคมไทย ม. ๓ ตัวช้วี ดั ชว่ งชนั้๑. อธิบายความแตกต่างของการกระทา ม. ๔ – ม. ๖ ความผดิ ระหว่างคดีอาญาและคดเี พง่ ๑ วเิ คราะหแ์ ละปฏิบตั ติ นตามกฎหมายที่๒. มีสว่ นรว่ มในการปกป้องคุม้ ครองผอู้ นื่ ตาม เกยี่ วขอ้ งกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน หลกั สิทธมิ นุษยชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก๓. อนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับ ๒. วิเคราะห์ความสาคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขัดเกลาทางสงั คม และการ วัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม เปลยี่ นแปลงทางสงั คม๔. วิเคราะห์ปจั จัยที่กอ่ ให้เกดิ ปญั หาความ ๓. ปฏิบตั ติ นและมสี ว่ นสนบั สนุนใหผ้ ้อู ่นื ประพฤติปฏิบัติเพือ่ เปน็ พลเมอื งดขี อง ขดั แยง้ ในประเทศและเสนอแนวคดิ ในการ ประเทศชาติ และสงั คมโลก ลดความขัดแยง้ ๔. ประเมนิ สถานการณ์ สทิ ธิมนษุ ยชนใน๕. เสนอแนวคดิ ในการดารงชีวิตอย่างมี ประเทศไทย และเสนอแนวทางพฒั นา ความสขุ ในประเทศและสังคมโลก ๕. วิเคราะหค์ วามจาเป็นที่จะต้องมีการ ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงและอนรุ กั ษ์ วฒั นธรรมไทย และเลอื กรับวัฒนธรรม สากล

สาระท่ี ๒ หน้าทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คมมาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ ัน ยดึ ม่ัน ศรัทธ ทรงเปน็ ประมขุ ตวั ชว้ี ดั ช้นั ปีม. ๑ ม. ๒๑. อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง ๑. อธบิ ายกระบวนการ ในการตรากฎหมายและสาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราช ๒. วเิ คราะหข์ ้อมลู ข่าวสาร ทางการเมอื งการอาณา-จักรไทยฉบับปัจจบุ ันโดยสงั เขป ปกครอง ท่ีมผี ลกระทบต่อสงั คมไทยสมยั๒. วิเคราะหบ์ ทบาท การถว่ งดุลอานาจ ปจั จบุ ันอธปิ ไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราช-อาณาจกั รไทยฉบับปัจจบุ นั๓. ปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณา-จกั รไทยฉบับปัจจุบนั ท่ีเกยี่ วข้องกบั ตนเอง

๑๓๕ธา และธารงรักษาไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ ม. ๓ ตวั ชีว้ ดั ช่วงชัน้๑. อธบิ ายระบอบการปกครอง แบบต่าง ๆ ท่ี ม. ๔ – ม. ๖ ใชใ้ นยคุ ปัจจุบัน ๑. วิเคราะห์ปัญหาการเมอื งทีส่ าคัญในประเทศ๒. วเิ คราะห์เปรียบเทียบระบอบ การปกครอง จากแหล่ง ขอ้ มลู ตา่ งๆ พร้อมทั้งเสนอแนว ของไทยกบั ประเทศอืน่ ๆ ท่มี ีการปกครอง ทางแกไ้ ข ระบอบประชาธปิ ไตย ๒. เสนอแนวทาง ทางการเมอื ง การปกครอง๓. วเิ คราะหร์ ฐั ธรรมนญู ฉบบั ปัจจุบันใน ท่ีนาไปสูค่ วามเข้าใจ และการประสาน มาตราต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับการเลือกต้งั ประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ การมสี ่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้ ๓. วเิ คราะห์ความสาคัญและ ความจาเปน็ ที่ อานาจรฐั ตอ้ งธารงรักษาไว้ซ่ึงการปกครองตาม๔. วิเคราะห์ประเดน็ ปัญหา ทเ่ี ป็นอปุ สรรค ระบอบประชาธปิ ไตย อันมี ต่อการพัฒนาประชาธปิ ไตยของประเทศ พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ไทยและเสนอแนวทางแกไ้ ข ๔. เสนอแนวทางและมีสว่ นรว่ มในการ ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ

สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภค หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื การดารงชีวิตอยา่ งมดี ลุ ยภาพ ตวั ชี้วดั ช้นั ปี ม. ๑ ม. ๒๑. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของ ๑. วิเคราะหป์ ัจจัยท่มี ีผลต่อการลงทุนและการเศรษฐศาสตร์ ออม๒. วิเคราะห์คา่ นยิ มและพฤตกิ รรมการบริโภค ๒. อธบิ ายปัจจัยการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารของคนในสงั คมซ่ึงสง่ ผลต่อเศรษฐกจิ ของ และปัจจยั ทม่ี ี อิทธพิ ลตอ่ การผลิตสินค้าชมุ ชนและประเทศ และบรกิ าร๓. อธบิ ายความเป็นมา หลกั การและ ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในความสาคญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจ ท้องถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพอเพียงต่อสงั คมไทย ๔. อภปิ รายแนวทางการค้มุ ครองสิทธิ ของ ตนเองในฐานะผ้บู รโิ ภค

๑๓๖ค การใช้ทรพั ยากรท่ีมอี ยู่จากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทงั้ เข้าใจ ม. ๓ ตวั ชี้วัดชว่ งช้นั๑. อธบิ ายกลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ ม. ๔ – ม. ๖๒. มสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนา ๑. อภปิ รายการกาหนดราคาและค่าจา้ งใน ระบบเศรษฐกิจ ทอ้ งถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของปรชั ญาของ๓. วเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งแนวคิด เศรษฐกจิ พอเพยี งทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจสังคม ของประเทศ เศรษฐกิจพอเพยี งกับระบบสหกรณ์ ๓. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบสหกรณ์ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ในระดับชุมชนและ ประเทศ ๔. วิเคราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชน และเสนอแนวทางแกไ้ ข

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษ ตวั ชีว้ ัดชั้นปี ม. ๑ ม. ๒๑. วิเคราะห์บทบาทหนา้ ที่และความแตกตา่ ง ๑. อภิปรายระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆของสถาบันการเงนิ แต่ละประเภทและ ๒. ยกตวั อย่างท่สี ะทอ้ นใหเ้ ห็นการพึง่ พาอาศัยธนาคารกลาง กัน และการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกิจใน๒. ยกตัวอยา่ ง ทสี่ ะทอ้ นให้เหน็ การพง่ึ พา ภูมภิ าคเอเชยี อาศัยกนั และการแขง่ ขันกัน ทาง ๓. วิเคราะห์การกระจายของทรพั ยากรในโลก เศรษฐกจิ ในประเทศ ท่ีส่งผลต่อความ สัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ๓. ระบปุ ัจจัย ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ การกาหนด ระหวา่ งประเทศ อุปสงคแ์ ละอุปทาน .๔. วเิ คราะห์การแขง่ ขนั ทางการค้า ใน๔. อภิปรายผลของการมกี ฎหมายเก่ียวกบั ประเทศและต่างประเทศท่สี ่งผลต่อ ทรพั ยส์ ิน ทางปัญญา คุณภาพสินค้าปรมิ าณการผลติ และราคา สนิ คา้

๑๓๗ษฐกจิ และความจาเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตวั ช้ีวดั ชว่ งชน้ั ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. อธบิ ายบทบาทหนา้ ท่ีของรฐั บาลในระบบ ๑.อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกบั นโยบายเศรษฐกจิ การเงิน การคลังในการพฒั นาเศรษฐกจิ๒. แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ นโยบายและกจิ กรรม ของประเทศทางเศรษฐกจิ ของรัฐบาลทม่ี ตี ่อบุคคล กลุม่ ๒. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการเปดิ เสรีทาง คนและประเทศชาติ เศรษฐกิจในยุคโลกาภวิ ัตนท์ ีม่ ีผลต่อ๓.อภปิ รายบทบาทความสาคัญของการ สังคมไทย ๓. วเิ คราะห์ผลดีผลเสียของความรว่ มมือทาง รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรูปแบบตา่ ง ๆ๔. อภปิ รายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงนิ ฝืด๕.วิเคราะหผ์ ลเสยี จากการวา่ งงานและแนวทาง แกป้ ัญหา๖. วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกดี กันทาง การค้าในการค้าระหวา่ งประเทศ

สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าส ตัวช้ีวัดชัน้ ปีม. ๑ ม. ๒๑. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของเวลาในการศกึ ษา ๑. ประเมินความน่าเชื่อถอื ของหลกั ฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ในลกั ษณะต่างๆ๒. เทยี บศกั ราชตามระบบตา่ งๆ ที่ใช้ศึกษา ๒. วเิ คราะห์ความแตกต่างระหว่างความจรงิ ประวัติศาสตร์ กับขอ้ เท็จจรงิ ของเหตุการณท์ าง ประวัตศิ าสตร์๓. นาวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาใช้ศกึ ษา เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ ๓. เห็นความสาคญั ของการตคี วาม หลกั ฐาน ทางประวตั ศิ าสตรท์ น่ี ่าเช่อื ถือ

๑๓๘สตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชวี้ ัดชว่ งช้นัม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑.วเิ คราะหเ์ รือ่ งราว เหตุการณส์ าคัญทาง ๑. ตระหนกั ถึงความสาคัญของเวลาและยคุ ประวตั ิศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ตาม สมัยทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีแสดงถึงการ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ เปลยี่ นแปลงของมนษุ ยชาติ๒. ใช้วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรใ์ นการศึกษา ๒. สรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ทางประวตั ิศาสตร์ โดย เร่ืองราวต่างๆ ท่ตี นสนใจ ใชว้ ิธีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ

สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ยชาติจากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั ในด้านควาและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปีม. ๑ ม. ๒๑. อธิบายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และ ๑.อธบิ ายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งของประเทศตา่ ง ๆ ในภูมภิ าค การเมอื งของภูมภิ าคเอเชยีเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ๒. ระบคุ วามสาคญั ของแหล่งอารยธรรม๒. ระบคุ วามสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม ใน โบราณในภมู ิภาคเอเชียภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้

๑๓๙ามสัมพนั ธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนักถงึ ความสาคญั ตวั ชวี้ ดั ชว่ งชั้น ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ ๑. วิเคราะห์อิทธพิ ลของอารยธรรมโบราณและการเมอื งของภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก การติดตอ่ ระหวา่ งโลกตะวนั ออกกับโลกโดยสงั เขป ตะวนั ตกทมี่ ผี ลตอ่ พัฒนาการและการ๒. วิเคราะหผ์ ลของการเปลีย่ นแปลงทีน่ าไปสู่ เปลย่ี นแปลงของโลก ความ รว่ มมือ และความขดั แยง้ ใน ๒. วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์สาคัญต่าง ๆ ทีส่ ง่ ผลต่อ ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๐ ตลอดจนความ พยายามในการขจัดปัญหาความขัดแย้ง การเปล่ียนแปลงทางสงั คม เศรษฐกิจ และ การเมือง เขา้ สู่โลกสมยั ปจั จุบนั ๓. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการขยายอทิ ธพิ ล ของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวีปอเมรกิ า แอฟรกิ า และเอเชยี ๔. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกใน คริสต์ศตวรรษ ที่ ๒๑

สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย มีความ ตวั ชวี้ ัดชั้นปี ม. ๑ ม. ๒๑. อธบิ ายเร่ืองราวทางประวัต-ิ ศาสตร์สมัยกอ่ น ๑. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยาสโุ ขทัย ในดินแดนไทยโดยสังเขป และธนบุรี ในด้านตา่ งๆ๒. วิเคราะหพ์ ฒั นาการของอาณาจกั รสโุ ขทยั ๒. วเิ คราะห์ปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความม่ันคงและในดา้ นต่าง ๆ ความเจริญร่งุ เรืองของอาณาจักรอยธุ ยา๓. วเิ คราะหอ์ ทิ ธิพลของวฒั นธรรมและ ภมู ิ ๓. ระบภุ มู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยาปัญญาไทย สมยั สุโขทัยและสงั คมไทยใน และธนบรุ แี ละอิทธิพลของภูมิปัญญาปจั จบุ ัน ดังกล่าวต่อการพัฒนาชาตไิ ทยในยคุ ต่อมา

๑๔๐มรกั ความภมู ิใจและธารงความเป็นไทย ตวั ชี้วดั ช่วงช้นั ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖ ๑. วิเคราะหพ์ ัฒนาการของไทยสมัย ๑. วเิ คราะห์ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ รัตนโกสนิ ทร์ ในดา้ นต่างๆ ไทย ๒. วเิ คราะห์ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ความมั่นคงและ ๒. วเิ คราะหค์ วามสาคัญของสถาบัน ความเจริญรุ่งเรือง พระมหากษตั รยิ ต์ ่อชาตไิ ทย ของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ๓. วเิ คราะห์ปจั จยั ท่ีส่งเสรมิ การสรา้ งสรรค์ภูมิ ๓. วเิ คราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัย รตั นโกสนิ ทร์และอิทธพิ ล ต่อการพัฒนาชาติ ปญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซ่ึงมผี ลตอ่ ไทย สังคมไทยในยคุ ปัจจบุ ัน ๔.วเิ คราะห์บทบาทของไทยในสมยั ๔. วิเคราะหผ์ ลงานของบคุ คลสาคัญ ทัง้ ชาว ประชาธปิ ไตย ไทยและต่างประเทศท่มี ีส่วนสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรมไทย และประวัตศิ าสตรไ์ ทย ๕. วางแผนกาหนดแนวทางและมสี ว่ นรว่ ม การอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาไทยและวฒั นธรรม ไทย

สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพส่งิในการคน้ หา วิเคราะห์ สรุป และใชข้ อ้ มูลภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระ ตัวชวี้ ัดชน้ั ปีม. ๑ ม. ๒๑. เลอื กใชเ้ ครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ ๑.ใช้เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ในการรวบรวม (ลูกโลก แผนท่ี กราฟ แผนภมู ิ) ในการ วเิ คราะห์และนาเสนอข้อมลู เกี่ยวกบั สืบค้นข้อมูล เพอ่ื วเิ คราะห์ลักษณะทาง ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวปี กายภาพและสังคมของประเทศไทยและ ยโุ รปและ แอฟริกา ทวีปเอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย ๒.วิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งลักษณะทาง๒. อธิบายเส้นแบง่ เวลาและเปรยี บเทียบ วัน กายภาพและสงั คมของทวปี ยุโรปและ เวลาของประเทศไทยกบั ทวปี ตา่ ง ๆ แอฟริกา๓. วเิ คราะหเ์ ช่ือมโยงสาเหตุและแนวทางปอ้ งกันภัยธรรมชาติและการระวังภยั ที่เกิดขน้ึ ในประทศไทยและทวปี เอเชียออสเตรเลยี และ โอเชยี เนยี

๑๔๑งซ่งึ มผี ลตอ่ กนั และกนั ในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนทแ่ี ละเคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ะสิทธภิ าพ ตวั ช้ีวัดชว่ งชนั้ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. ใช้เครือ่ งมือทางภูมิศาสตรใ์ นการรวบรวม ๑. ใชเ้ คร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอขอ้ มลู เกยี่ วกบั วเิ คราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มูล ภมู ิสารสนเทศ ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวปี อยา่ งมีประสิทธิภาพ อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้ ๒. วิเคราะห์อิทธิพลของสภาพภูมศิ าสตร์ซ่ึงทา๒.วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างลกั ษณะทาง ให้เกิดปัญหาทางกายภาพหรอื ภยั พิบตั ิ ทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมภิ าค กายภาพและสังคมของทวีป อเมริกาเหนือ ตา่ ง ๆ ของโลก และอเมรกิ าใต้ ๓. วเิ คราะห์การเปลีย่ นแปลงของพ้ืนทซ่ี ่ึง ไดร้ ับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมศิ าสตรใ์ น ประเทศไทยและทวีปตา่ ง ๆ ๔. ประเมินการเปลย่ี นแปลงธรรมชาติในโลก วา่ เปน็ ผลมาจากการกระทาของมนุษยแ์ ละ หรอื ธรรมชาติ

สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร์มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทีก่ อ่ และ สิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ม. ๑ ตัวชีว้ ดั ชนั้ ปี๑. วเิ คราะห์ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง ม. ๒ ทางธรรมชาติของทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ๑.วเิ คราะห์การกอ่ เกิดสิง่ แวดล้อมใหมท่ าง๒. วิเคราะห์ความร่วมมอื ของประเทศต่างๆ ท่ี สังคม อนั เปน็ ผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง มีผลตอ่ ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติของทวปี ธรรมชาติและทางสงั คมของทวีปยโุ รปและ เอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี แอฟริกา๓. สารวจ และอธิบายทาเลท่ีตั้งกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ และสังคมในทวปี เอเชีย ๒. ระบุแนวทางการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี โดยใช้ ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มใน ทวปี ยโุ รป แหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย และแอฟรกิ า๔. วิเคราะห์ปจั จยั ทางกายภาพและสังคมท่ีมี ผลต่อการเล่อื นไหล ของความคดิ ๓. สารวจ อภปิ รายประเดน็ ปญั หาเก่ียวกับ เทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากรในทวปี ส่ิงแวดลอ้ ม ท่เี กิดข้นึ ในทวปี ยโุ รปและ เอเชีย ออสเตรเลยี และ โอเชียเนยี แอฟริกา ๔. วเิ คราะหเ์ หตุและผลกระทบทป่ี ระเทศไทย ได้รบั จากการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอ้ ม ในทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า

๑๔๒อให้เกิดการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มจี ติ สานึกและมสี ่วนรว่ ม ในการอนุรักษท์ รพั ยากร ม. ๓ ตวั ชี้วดั ชว่ งช้ัน๑. วเิ คราะหก์ าร กอ่ เกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทาง ม. ๔ – ม. ๖ สังคม อันเป็นผลจากการเปลย่ี นแปลง ๑.วิเคราะห์สถานการณแ์ ละวิกฤตการณด์ ้าน ทางธรรมชาติและ ทางสังคมของทวปี อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้ ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมของ๒. ระบุแนวทาง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยและโลก และสงิ่ แวดล้อมในทวปี อเมรกิ าเหนอื และ ๒ ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา อเมรกิ าใต้ บทบาทขององค์การและการประสานความ๓. สารวจ อภิปรายประเดน็ ปัญหาเกยี่ วกบั รว่ มมือทั้งในประเทศและนอกประเทศ สงิ่ แวดลอ้ ม ที่เกดิ ขน้ึ ในทวีป อเมริกาเหนือ เก่ยี วกบั กฎหมายสงิ่ แวดลอ้ ม การจัดการ และอเมรกิ าใต้ ทรัพยากร ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม๔. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบตอ่ เนือ่ งจาก ๓. ระบุแนวทางการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มในทวีป และสิ่งแวดล้อมในภูมภิ าคตา่ งๆ ของโลก อเมรกิ าเหนอื และอเมริกาใต้ ทสี่ ง่ ผลต่อ ๔. อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากสงิ่ แวดล้อมใน ประเทศไทย การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ ของท้องถ่นิ ทัง้ ในประเทศไทยและโลก ๕. มสี ว่ นรว่ มในการแก้ปัญหาและการ ดาเนนิ ชีวติ ตามแนวทางการอนุรักษท์ รัพยากรและ สิ่งแวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน

๑๔๓ คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาความสาคัญการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนั บถือ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย พุทธประวัติต้ังแต่ประสูติจนถึงบาเพ็ญทุกรกิริยาหรอื ประวตั ศิ าสดาทีต่ นนบั ถือ การประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและขอ้ คิดจากประวัตสิ าวก ชาดกหรอื เรือ่ งเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่าง อธิบายพทุ ธคณุ และขอ้ ธรรมสาคัญในกรอบอริยสจั ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดาเนินชีวิตดว้ ยวิธคี ดิ แบบโยนิโสมนสิการการสวดมนต์แผ่เมตตาบริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ เหตผุ ลความจาเป็นที่ทุกคนตอ้ งศกึ ษาเรียนร้ศู าสนา การปฏบิ ตั ิตนตอ่ ศาสนกิ ชนอื่น และการกระทาของบคุ คลที่เปน็ แบบอยา่ งด้านศาสนสมั พนั ธ์ การบาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ จริยวัตรของสาวกเพ่ือเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติและการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ การจัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนในศาสนพิธี พธิ กี รรม ประวตั ิความสาคัญ และ ปฏิบตั ิตนในวนั สาคญั ทางศาสนา การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายในการคุม้ ครองสทิ ธิของบุคคล ระบุความสามารถของตนเองในการทาประโยชนต์ ่อสังคมและประเทศชาติ การภิปรายเก่ียวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมท่ีเป็นปัจจัยในการสร้างความสมั พนั ธท์ ่ีดีหรืออาจนาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน การแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและผูอ้ ืน่ หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจบุ ัน บทบาทการถ่วงดุลของอานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน การปฏบิ ัติตนตามบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจบุ นั โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ด้านสงั คมอยา่ งมีวิจารณญาณ การแกป้ ัญหา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคณุ คา่ ทางสังคมไปใชส้ อ่ื สารในส่งิ ที่เรียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ยี นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้นั ยอมรับในความแตกต่าง สามารถนาความรูไ้ ปปรับใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารปูรหัสตวั ชวี้ ดั รวม ๒๓ ตัวชี้วัดมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓

๑๔๔ คาอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๒ กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๓ ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ ๒ ศกึ ษาความสาคัญของความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคม ความเป็นมาหลักการและความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย บทบาทหน้าท่ีและความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลาง การแขง่ ขนั กันทางเศรษฐกจิ ในประเทศ ปจั จัยทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ การกาหนดอุปสงค์และอุปทาน การมีกฎหมายเกีย่ วกับทรัพย์สินทางปัญญา การวิเคราะห์ความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ การเทียบศกั ราชตามระบบต่างๆ ท่ีใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ การนาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์สมยั ก่อนสโุ ขทยั ในดินแดนไทยโดยสังเขป พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทยั ในดา้ นต่างๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสงั คมไทยในปัจจุบนั การเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล เส้นแบ่งเวลาและการเปรียบเทียบวันเวลาของประเทศไทยกับทวปี ตา่ งๆ การเช่อื มโยงสาเหตแุ ละแนวทางปอ้ งกันภัยธรรมชาติ การระวังภัยท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย การวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติของทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ความร่วมมอื ของประเทศต่างๆ ท่ีมีผลต่อส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาตขิ องทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย การสารวจทาเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลายปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะหด์ ้านสังคมอย่างมวี ิจารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคณุ ค่าทางสังคมไปใชส้ ื่อสารในสิ่งทีเ่ รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ยี นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตุปจั จัยต่างๆ ทาให้เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรบั ในความแตกตา่ ง สามารถนาความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมที่เหมาะสมตามสมณสารปูรหัสตวั ช้ีวัด รวม ๒๒ ตัวช้วี ดัมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔

๑๔๕ คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ส ๒๒๑๐๑ กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาความสาคัญของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เปน็ รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติและมรดกของชาติ การอภิปรายความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือกับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม วิเคราะห์พุทธประวตั หิ รือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดกหรือเรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง อธิบายโครงสร้างและสาระสังเขปของพระไตรปิฎกหรอื คัมภีร์ของศาสนาท่ตี นนับถือ อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอรยิ สจั ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถอื การพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ การสวดมนตแ์ ผ่เมตตาบริหารจติ และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถอื และการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื การปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ การมีมรรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี วเิ คราะหค์ ณุ ค่าของศาสนพิธีและการปฏบิ ัติตน คาสอนท่ีเก่ยี วเนื่องกบั วนั สาคญัทางศาสนาและการปฏิบตั ติ น และความแตกตา่ งของศาสนพิธีพิธีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืนๆ อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ การปฏบิ ตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ หน้าทใี่ นฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาทความสาคัญและความสมั พันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภมู ิภาคเอเชีย กระบวนการในการตรากฎหมาย การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองทีม่ ผี ลกระทบตอ่ สังคมไทยสมัยปจั จุบนั โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วเิ คราะหด์ ้านสงั คมอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การแก้ปญั หา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคุณค่าทางสังคมไปใชส้ ือ่ สารในสิง่ ทเี่ รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ยี นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกตา่ ง สามารถนาความร้ไู ปปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัยและค่านิยมที่เหมาะสมตามสมณสารปูรหสั ตวั ชว้ี ัด รวม ๒๒ ตัวช้ีวัดมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ม.๒/๔ มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒

๑๔๖ คาอธบิ ายรายวชิ ารหัสวชิ า ส ๒๒๑๐๒ กลุม่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ ๒ ศกึ ษาความสาคัญของปัจจัยท่ีมีผลต่อการลงทุนและการออม ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการและปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ การพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องตนเองในฐานะผู้บริโภค ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ท่ีสะท้อนให้เหน็ การพ่ึงพาอาศัยกนั การแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชีย การกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพสินคา้ ปริมาณการผลติ และราคาสนิ คา้ การประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ความแตกต่างระหวา่ งความจริงกับขอ้ เท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ความสาคัญของการตีความหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ีน่ ่าเชือ่ ถือ การพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย และความสาคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีปจั จยั ที่ส่งผลต่อความมัน่ คงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี อิทธิพลของภูมิปัญญาต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา การใช้เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมลู เก่ียวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยโุ รป และแอฟรกิ า ความสัมพันธร์ ะหว่างลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวีปยุโรปและแอฟริกา การก่อเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยโุ รป และแอฟริกา การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริกา การสารวจ ประเด็นปัญหาเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในทวีปยุโรป และแอฟริกา การวิเคราะหเ์ หตุและผลกระทบทป่ี ระเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มในทวีปยุโรป และแอฟริกา โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะหด์ า้ นสังคมอย่างมวี ิจารณญาณ การแกป้ ญั หา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคณุ ค่าทางสงั คมไปใช้สือ่ สารในสงิ่ ที่เรียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลยี่ นแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยตา่ งๆ ทาใหเ้ กิดความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกลนั้ ยอมรบั ในความแตกตา่ ง สามารถนาความรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารูปรหัสตัวชว้ี ัด รวม ๒๒ ตัวชว้ี ัดมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔

๑๔๗ คาอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ส ๒๓๑๐๑ กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาความสาคัญของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน พุทธประวตั จิ ากพระพุทธรูปปางต่างๆ หรือประวัติศาสดาทตี่ นนบั ถอื การประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ติ และข้อคิดจากประวัติสาวกชาดกหรือเร่ืองเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง สังฆคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถือ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมในการพฒั นาตน การพฒั นาจิตเพอ่ื การเรียนร้แู ละดาเนินชีวิตด้วยวธิ คี ิดแบบโยนิโสมนสิการ การสวดมนต์ แผเ่ มตตาบรหิ ารจิตและเจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติวเิ คราะห์ความแตกตา่ งและการยอมรบั วิถกี ารดาเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ หนา้ ท่แี ละบทบาทของสาวกและปฏบิ ัติตนต่อสาวก การปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมตอ่ บคุ คลตา่ งๆการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องศาสนิกชนทด่ี ี การปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ ีพิธกี รรม ประวตั ิวันสาคัญทางศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาตามแนวทางในการธารงรักษาศาสนาท่ตี นนับถอื ความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง การปกป้องคุ้มครองผู้อ่ืนตามหลกั สิทธมิ นุษยชน การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยและเลอื กรับวัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในประเทศ การดารงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโ ลกระบอบการปกครองแบบต่างๆ ท่ีใช้ในยุคปัจจุบัน การเปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอืน่ ๆ ที่มีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย รัฐธรรมนูญฉบบั ปัจจบุ นั ในมาตราต่างๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การเลือกต้ัง การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ประเด็นและปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพฒั นาประชาธิปไตยของประเทศไทย โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ดา้ นสงั คมอยา่ งมวี จิ ารณญาณ การแกป้ ัญหา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถนาคุณค่าทางสงั คมไปใชส้ อ่ื สารในสิง่ ทีเ่ รียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปจั จัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้นั ยอมรับในความแตกตา่ ง สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวิต เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารูปรหสั ตัวชวี้ ดั รวม ๒๖ ตวั ช้วี ัดมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔

๑๔๘ คาอธบิ ายรายวิชารหสั วิชา ส ๒๓๑๐๒ กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาความสาคัญของกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ บทบาทหน้าท่ีของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ การแสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลท่ีมีต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ บทบาทความสาคัญของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ผลกระทบที่เกดิ จากภาวะ เงนิ เฟ้อ เงินฝืด ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแกป้ ญั หา สาเหตุและวิธกี ารกีดกนั ทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ วิเคราะห์เร่ืองราวเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรอื่ งราวต่างๆ พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ในโลก ผลของการเปลี่ยนแปลงท่นี าไปสคู่ วามร่วมมอื และความขัดแย้ง พฒั นาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมัน่ คงและความเจริญรงุ่ เรอื งของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั รัตนโกสินทรแ์ ละอิทธิพลตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทย บทบาทของไทยในสมยั ประชาธิปไตย การใช้เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมลู เก่ียวกบั ลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวีปอเมรกิ าเหนอื และอเมริกาใต้ ความสัมพันธร์ ะหว่างลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวปี อเมริกาเหนือ และอเมรกิ าใต้ การกอ่ เกิดสง่ิ แวดลอ้ มใหมท่ างสังคม การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ การสารวจประเด็นปัญหาเก่ียวกับสง่ิ แวดล้อมที่เกิดข้ึนในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสง่ิ แวดล้อมในทวปี อเมรกิ าเหนือและอเมรกิ าใต้ ท่ีสง่ ผลตอ่ ประเทศไทย โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความ คิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ดา้ นสงั คมอยา่ งมวี จิ ารณญาณ การแกป้ ญั หา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถนาคณุ คา่ ทางสงั คมไปใช้สื่อสารในสิง่ ทเ่ี รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ ัจจัยต่างๆ ทาให้เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกล้นั ยอมรับในความแตกต่าง สามารถนาความรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมที่เหมาะสมตามสมณสารูปรหสั ตัวชีว้ ัด รวม ๒๓ ตวั ชว้ี ดัมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔

๑๔๙ คาอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๑ กลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๑ ศึกษาความสาคัญของสังคมชมพูทวีป คติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าพระพทุ ธเจา้ ในฐานะเปน็ มนุษยผ์ ้ฝู ึกตนไดอ้ ย่างสงู สุดในการตรสั รู้ การก่อต้งั วิธีการสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พุทธประวัติดา้ นการบริหาร การธารงรกั ษาศาสนา ประวัติศาสดาท่ีตนนับถอื ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา แนวคิดของศาสนา การพัฒนาศรัทธาและปัญญาท่ีถูกต้องในพระพุทธศาสนา ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวทิ ยาศาสตร์ การฝกึ ฝนและพฒั นาตนเอง การพ่ึงตนเอง การมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา ศกึ ษาพระพุทธศาสนาท่ีเปน็ ศาสตร์แห่งการศกึ ษา การฝึกตนไมใ่ หป้ ระมาท พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศกึ ษา การเมอื งและสันติภาพ หลักธรรมในกรอบอริยสจั ๔ ขอ้ คดิ และแบบอย่างการดาเนินชีวติ จากประวัติสาวก ชาดก เร่อื งเล่า และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง การสงั คายนา พระไตรปิฎก หรอื คมั ภรี ข์ องศาสนาทตี่ นนบั ถือ การเผยแผ่ ผลการทาความดี ความชว่ั สถานการณท์ ่ตี อ้ งเผชญิ และตดั สนิ ใจ เป้าหมายบทบาทการดาเนนิ ชีวิต ประวัติศาสดาของศาสนาอน่ื ๆ คุณคา่ และความสาคญั ของค่านิยมจริยธรรม การพัฒนาจติ พัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ การสวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิตและเจรญิ ปัญญาตามหลักสตปิ ฏั ฐาน หลักธรรมสาคญั ในการอยูร่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ ของศาสนาอนื่ ๆ การจดักจิ กรรม ความรว่ มมอื ของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมการปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดีต่อสาวก สมาชกิ ในครอบครวั และคนรอบขา้ ง ตามศาสนพิธีพิธีกรรมตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หลักธรรมคติธรรมท่ีเก่ียวเน่ืองกับวันสาคัญทางศาสนา เทศกาลท่ีสาคัญของศาสนา การธารงรักษาศาสนาท่ตี นนบั ถืออนั ส่งผลถงึ การพฒั นาตน พัฒนาชาติและโลก การปฏิบตั ติ นตามกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกบั ตน ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลกโครงสร้างทางสังคมการขัดเกลาทางสังคมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการปฏิบัติตน การประเมินสถานการณ์สทิ ธิมนษุ ยชนแนวทางการพฒั นา การปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงและอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมไทยและเลือกรบั วฒั นธรรมสากล ปัญหาการเมอื งทส่ี าคัญในประเทศการเมอื งการปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ ความสาคัญและความจาเป็นที่ต้องธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข การมสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ดา้ นสังคมอยา่ งมวี จิ ารณญาณ การแกป้ ญั หา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถนาคณุ ค่าทางสงั คมไปใชส้ ่ือสารในส่งิ ทเ่ี รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยต่างๆ ทาให้เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกล้นั ยอมรบั ในความแตกตา่ ง สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวติ เปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมที่เหมาะสมตามสมณสารปูรหสั ตวั ชีว้ ัด รวม ๓๑ ตัวชีว้ ดัมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ม.๔/๑๐ ม.๔/๑๑ม.๔/๑๒ ม.๔/๑๓ ม.๔/๑๔ ม.๔/๑๕ ม.๔/๑๖ ม.๔/๑๗ ม.๔/๑๘ ม.๔/๑๙ ม.๔/๒๐ ม.๔/๒๑ ม.๔/๒๒ มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔

๑๕๐ คาอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ส ๓๑๑๐๑ กลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาความสาคัญการกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข บทบาทรฐั บาลด้านนโยบายการเงนิ การคลงั ในการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ท่ีมีผลต่อสังคมไทย ผลดี ผลเสียของความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรปู แบบตา่ งๆ ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติการสร้างองค์ความรใู้ หม่ทางประวัติศาสตร์ อทิ ธพิ ลของอารยธรรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกบั โลกตะวันตก เหตุการณ์สาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจและการเมือง ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชียสถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย ความสาคัญของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตอ่ ชาตไิ ทย ปจั จัยที่สง่ เสรมิ ความสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทย และวัฒนธรรมไทยผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตรไ์ ทย การมีส่วนร่วมการอนรุ ักษภ์ มู ปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศอทิ ธิพลของสภาพภูมศิ าสตร์ ปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ การเปล่ียนแปลงของพ้ืนภูมิศาสตร์ในประเทศไทยและทวีปต่างๆ การเปล่ียนแปลงธรรมชาติในโลก สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประเทศไทยและโลกมาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา บทบาทขององคก์ ารและการประสานความร่วมมือท้งั ในประเทศและนอกประเทศเกยี่ วกบั กฎหมายสง่ิ แวดลอ้ ม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในภูมิภาคต่างๆ การใช้ประโยชนจ์ ากสิง่ แวดล้อมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรม การแก้ปญั หาและการดาเนินชวี ิตตามแนวทางการอนุรกั ษท์ รพั ยากรและส่งิ แวดล้อม โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วิเคราะห์ดา้ นสังคมอยา่ งมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคณุ ค่าทางสังคมไปใชส้ ่ือสารในสงิ่ ท่เี รียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลยี่ นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตปุ ัจจยั ตา่ งๆ ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลน้ั ยอมรบั ในความแตกต่าง สามารถนาความรไู้ ปปรับใชใ้ นการดาเนินชีวติ เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารูปรหัสตัวช้ีวัด รวม ๒๒ ตวั ชว้ี ัดมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔

๑๕๑ คาอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ส ๓๒๑๐๑ กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาความสาคัญของสังคมชมพูทวีป คติความเช่ือทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าพระพทุ ธเจ้าในฐานะเป็นมนษุ ย์ผูฝ้ กึ ตนไดอ้ ยา่ งสูงสดุ ในการตรัสรู้ การก่อตัง้ วธิ กี ารสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พุทธประวัติดา้ นการบริหาร การธารงรักษาศาสนา ประวตั ิศาสดาท่ีตนนับถอื ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา แนวคิดของศาสนา การพัฒนาศรัทธาและปัญญาท่ีถูกต้องในพระพุทธศาสนา ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวทิ ยาศาสตร์ การฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การพง่ึ ตนเอง การมุง่ อสิ รภาพในพระพทุ ธศาสนา ศึกษาพระพทุ ธศาสนาทเี่ ปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศึกษา การฝกึ ตนไม่ให้ประมาท พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษา การเมอื งและสันติภาพ หลกั ธรรมในกรอบอริยสจั ๔ ข้อคดิ และแบบอย่างการดาเนินชีวิตจากประวตั สิ าวก ชาดก เรอื่ งเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่าง การสังคายนา พระไตรปิฎก หรือคมั ภีร์ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ การเผยแผ่ ผลการทาความดี ความชว่ั สถานการณท์ ีต่ อ้ งเผชญิ และตดั สนิ ใจ เป้าหมายบทบาทการดาเนนิ ชวี ิต ประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่นๆ คณุ ค่าและความสาคญั ของค่านิยมจริยธรรม การพัฒนาจิต พฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิตและเจรญิ ปัญญาตามหลกั สติปฏั ฐาน หลกั ธรรมสาคัญในการอย่รู ่วมกันอย่างสนั ตสิ ขุ ของศาสนาอน่ื ๆ การจัดกจิ กรรม ความร่วมมอื ของทุกศาสนาในการแกป้ ัญหาและพัฒนาสังคมการปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดีตอ่ สาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง ตามศาสนพิธีพิธีกรรมตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ หลกั ธรรมคติธรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับวันสาคัญทางศาสนา เทศกาลที่สาคัญของศาสนา การธารงรักษาศาสนาทีต่ นนบั ถอื อนั ส่งผลถงึ การพัฒนาตน พฒั นาชาติและโลก การปฏิบัตติ นตามกฎหมายที่เก่ยี วขอ้ งกับตน ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลกโครงสร้างทางสังคมการขัดเกลาทางสังคมการเปล่ียนแปลงทางสังคมการปฏิบัติตน การประเมินสถานการณ์สทิ ธมิ นุษยชนแนวทางการพฒั นา การปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงและอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล ปญั หาการเมืองท่ีสาคัญในประเทศการเมอื งการปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ ความสาคัญและความจาเป็นท่ีต้องธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ การมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ด้านสงั คมอยา่ งมวี จิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สร้างสรรค์ และสามารถนาคุณค่าทางสงั คมไปใชส้ ื่อสารในส่ิงท่เี รียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จยั ต่างๆ ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลนั้ ยอมรับในความแตกต่าง สามารถนาความรไู้ ปปรับใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารปูรหัสตวั ชีว้ ัด รวม ๓๑ ตัวชีว้ ัดมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ ม.๕/๖ ม.๕/๗ ม.๕/๘ ม.๕/๙ ม.๕/๑๐ ม.๕/๑๑ ม.๕/๑๒ ม.๕/๑๓ ม.๕/๑๔ ม.๕/๑๕ ม.๕/๑๖ ม.๕/๑๗ ม.๕/๑๘ ม.๕/๑๙ ม.๕/๒๐ ม.๕/๒๑ ม.๕/๒๒มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔

๑๕๒ คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๒ กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๒ ศกึ ษาความสาคัญการกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข บทบาทรัฐบาลด้านนโยบายการเงิน การคลงั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีผลต่อสังคมไทย ผลดี ผลเสียของความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรปู แบบต่างๆ ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติการสร้างองค์ความรใู้ หม่ทางประวตั ิศาสตร์ อิทธพิ ลของอารยธรรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวนั ออกกบั โลกตะวนั ตก เหตุการณ์สาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจและการเมือง ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชียสถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย ความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตริย์ต่อชาตไิ ทย ปจั จยั ท่ีส่งเสริมความสรา้ งสรรค์ภมู ปิ ัญญาไทย และวัฒนธรรมไทยผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวตั ิศาสตร์ไทย การมสี ว่ นร่วมการอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย การใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศอทิ ธิพลของสภาพภมู ิศาสตร์ ปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของพ้ืนภูมิศาสตร์ในประเทศไทยและทวีปต่างๆ การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลก สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประเทศไทยและโลกมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององคก์ ารและการประสานความรว่ มมือทงั้ ในประเทศและนอกประเทศเก่ียวกบั กฎหมายสง่ิ แวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในภูมิภาคต่างๆ การใช้ประโยชนจ์ ากสิ่งแวดลอ้ มในการสร้างสรรค์วฒั นธรรม การแก้ปัญหาและการดาเนินชีวติ ตามแนวทางการอนุรักษท์ รัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ดา้ นสงั คมอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถนาคุณคา่ ทางสังคมไปใช้ส่ือสารในส่ิงทีเ่ รียนรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ียนแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกตา่ ง สามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในการดาเนินชวี ิต เปน็ พลเมืองดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารปูรหสั ตวั ช้วี ัด รวม ๒๒ ตัวชีว้ ดัมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ มาตรฐาน ส ๔.๓ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔

๑๕๓ คาอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๑ กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๑ ศึกษาความสาคัญของสังคมชมพูทวีป คติความเช่ือทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าพระพทุ ธเจา้ ในฐานะเป็นมนุษยผ์ ู้ฝกึ ตนไดอ้ ยา่ งสงู สดุ ในการตรัสรู้ การกอ่ ตัง้ วิธีการสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พทุ ธประวัตดิ ้านการบริหาร การธารงรักษาศาสนา ประวัตศิ าสดาทตี่ นนบั ถอื ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา แนวคิดของศาสนา การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพ่ึงตนเอง การมงุ่ อิสรภาพในพระพทุ ธศาสนา ศึกษาพระพุทธศาสนาทีเ่ ป็นศาสตร์แหง่ การศึกษา การฝกึ ตนไมใ่ ห้ประมาท พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเก่ียวกับการศกึ ษา การเมืองและสันตภิ าพ หลกั ธรรมในกรอบอริยสจั ๔ ข้อคิดและแบบอย่างการดาเนินชวี ิตจากประวัตสิ าวก ชาดก เรอื่ งเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง การสังคายนา พระไตรปฎิ ก หรอื คัมภีร์ของศาสนาทีต่ นนับถือ การเผยแผ่ ผลการทาความดี ความช่ัว สถานการณท์ ่ตี ้องเผชิญและตัดสนิ ใจ เป้าหมายบทบาทการดาเนินชวี ิต ประวตั ิศาสดาของศาสนาอน่ื ๆ คุณคา่ และความสาคญั ของค่านิยมจริยธรรม การพัฒนาจิต พัฒนาการเรยี นรู้ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ การสวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐาน หลักธรรมสาคัญในการอยรู่ ่วมกนั อย่างสนั ตสิ ขุ ของศาสนาอนื่ ๆ การจดักจิ กรรม ความรว่ มมอื ของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมการปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีต่อสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง ตามศาสนพิธีพิธีกรรมตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หลักธรรมคติธรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับวันสาคัญทางศาสนา เทศกาลที่สาคัญของศาสนา การธารงรักษาศาสนาท่ตี นนับถอื อันส่งผลถึงการพัฒนาตน พฒั นาชาตแิ ละโลก การปฏิบตั ติ นตามกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับตน ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลกโครงสร้างทางสังคมการขัดเกลาทางสังคมการเปล่ียนแปลงทางสังคมการปฏิบัติตน การประเมินสถานการณ์สทิ ธิมนษุ ยชนแนวทางการพฒั นา การปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงและอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล ปญั หาการเมอื งทสี่ าคัญในประเทศการเมอื งการปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ ความสาคัญและความจาเป็นท่ีต้องธารงรักษาไว้ซ่ึงการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข การมสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคดิ วิเคราะหด์ ้านสังคมอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การแกป้ ญั หา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถนาคุณค่าทางสงั คมไปใช้สื่อสารในสงิ่ ทเี่ รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปล่ยี นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยตา่ งๆ ทาใหเ้ กิดความเข้าใจในตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกลน้ั ยอมรบั ในความแตกต่าง สามารถนาความรู้ไปปรับใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีวินัยและค่านิยมที่เหมาะสมตามสมณสารปูรหสั ตัวชวี้ ัด รวม ๓๑ ตัวชี้วดัมาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖ /๓ ม.๖ /๔ ม.๖/๕ ม.๖/๖ ม.๖/๗ ม.๖/๘ ม.๖/๙ ม.๖/๑๐ ม.๖/๑๑ม.๖/๑๒ ม.๖/๑๓ ม.๖/๑๔ ม.๖/๑๕ ม.๖/๑๖ ม.๖/๑๗ ม.๖/๑๘ ม.๖/๑๙ ม.๖/๒๐ ม. ๖/๒๑ ม.๖/๒๒มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ ม.๖/๕ มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ม.๖/๔

๑๕๔ คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๒ กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาความสาคัญการกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข บทบาทรัฐบาลดา้ นนโยบายการเงิน การคลงั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ท่ีมีผลต่อสังคมไทย ผลดี ผลเสียของความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบต่างๆ ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติการสรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณและการติดต่อระหว่างโลกตะวนั ออกกบั โลกตะวันตก เหตกุ ารณ์สาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจและการเมือง ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชียสถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริยต์ อ่ ชาติไทย ปจั จัยทสี่ ่งเสรมิ ความสร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทย และวัฒนธรรมไทยผลงานของบุคคลสาคัญท้ังชาวไทยและต่างประเทศ ท่ีมีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวตั ิศาสตรไ์ ทย การมีส่วนรว่ มการอนุรกั ษภ์ มู ปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศอิทธพิ ลของสภาพภูมศิ าสตร์ ปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ การเปลย่ี นแปลงของพื้นภูมิศาสตร์ในประเทศไทยและทวีปต่างๆ การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลก สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลกมาตรการป้องกนั และแก้ไขปญั หา บทบาทขององค์การและการประสานความรว่ มมือทงั้ ในประเทศและนอกประเทศเก่ยี วกับกฎหมายส่ิงแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมในภูมิภาคตา่ งๆ การใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรม การแก้ปญั หาและการดาเนินชีวติ ตามแนวทางการอนุรักษ์ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม โดยใช้กระบวนการสอนแบบพุทธวิธี การปฏิบัติงานกลุ่ม สร้างความคิดรวบยอด ฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะห์ด้านสังคมอย่างมวี ิจารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ความเขา้ ใจ ความคิดสร้างสรรค์ และสามารถนาคุณคา่ ทางสังคมไปใช้สอ่ื สารในสงิ่ ทเ่ี รยี นรู้ ตระหนักและเห็นคุณค่าสังคมไทย มีความสามารถในการตัดสินใจ เข้าใจถึงการพัฒนา การเปลย่ี นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตปุ ัจจยั ต่างๆ ทาให้เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลัน้ ยอมรบั ในความแตกต่าง สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวติ เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัยและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามสมณสารปูรหสั ตัวชว้ี ัด รวม ๒๒ ตวั ช้ีวัดมาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ มาตรฐานส ๔.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ ม.๖/๕ มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔

๑๕๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษาทาไมตอ้ งเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคมและทางปญั ญาหรอื จิตวญิ ญาณ สขุ ภาพหรือสุขภาวะจึงเป็นเร่ืองสาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซงึ่ ทุกคนควรจะได้เรยี นรู้เรือ่ งสขุ ภาพ เพ่อื จะได้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง มเี จตคติ คุณธรรมและค่านยิ มทีเ่ หมาะสม รวมท้งั มที กั ษะปฏิบตั ดิ ้านสุขภาพจนเป็นกจิ นิสยั อันจะส่งผลใหส้ ังคมโดยรวมมีคุณภาพเรยี นรอู้ ะไรในสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา สุขศกึ ษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพท่ีมีเป้าหมาย เพ่ือการดารงสุขภาพ การสร้างเสริมสขุ ภาพและการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยนื สขุ ศกึ ษา มงุ่ เนน้ ให้ผ้เู รียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ การปฏิบตั เิ กีย่ วกบั สขุ ภาพควบคไู่ ปดว้ ยกนั พลศึกษา มุ่งเนน้ ให้ผ้เู รยี นใช้กิจกรรมการเคล่อื นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกมและกีฬาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญ า รวมทั้งสมรรถภาพเพอื่ สุขภาพและกฬี า สาระทีเ่ ป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาประกอบดว้ ย  การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติของ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทางานของระบบตา่ งๆของรา่ งกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อใหเ้ จริญเติบโตและมีพัฒนาการท่สี มวยั  ชวี ติ และครอบครวั ผูเ้ รียนจะได้เรยี นรเู้ รอ่ื งคณุ ค่าของตนเองและครอบครวั การปรบั ตัวต่อการเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืนสุขปฏบิ ตั ิทางเพศ และทักษะในการดาเนนิ ชีวติ  การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้เรอ่ื งการเคลื่อนไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ท้ังประเภทบุคคล และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ ข้อตกลงในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกฬี า และความมนี ้าใจนกั กีฬา

๑๕๖  การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพ และการป้องกนั โรค ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรู้เกย่ี วกบั หลกั และวธิ ีการเลอื กบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบรกิ ารสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ และการป้องกนั โรคทัง้ โรคติดต่อและโรคไมต่ ดิ ตอ่  ความปลอดภยั ในชีวติ ผ้เู รียนจะได้เรยี นรเู้ ร่อื งการปอ้ งกนั ตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงตา่ งๆท้งั ความเส่ยี งตอ่ สขุ ภาพ อุบตั เิ หตุ ความรนุ แรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึงแนวทางในการสรา้ งเสริมความปลอดภยั ในชวี ิต คุณภาพผูเ้ รยี นจบช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓  เขา้ ใจและเห็นความสาคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีตอ่ สขุ ภาพและชวี ิตในช่วงวัยต่าง ๆ  เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรสู้ กึ ทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรกั ษาสมั พันธภาพกบั ผ้อู นื่ และตัดสินใจแก้ปัญหาชวี ติ ดว้ ยวิธีการท่ีเหมาะสม  เลอื กกินอาหารทเ่ี หมาะสม ได้สัดสว่ น ส่งผลดีตอ่ การเจริญเติบโตและพฒั นาการตามวัย  มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพ่ือน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีต่อเจตคติ ค่านิยมเกีย่ วกับสุขภาพและชวี ิต และสามารถจดั การได้อยา่ งเหมาะสม  ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุการใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง รู้จักสร้างเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน  เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนานและปฏิบตั เิ ปน็ ประจาสม่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ  แสดงความตระหนกั ในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การดารงสุขภาพ การจดั การกับอารมณ์และความเครียด การออกกาลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี  สานึกในคณุ ค่า ศักยภาพและความเป็นตวั ของตวั เอง

๑๕๗  ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกา หน้าท่ีความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน ให้ความร่วมมือในการแข่งขนั กีฬาและการทางานเป็นทมี อยา่ งเป็นระบบ ดว้ ยความม่งุ ม่ันและมนี ้าใจนักกฬี า จนประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายดว้ ยความชืน่ ชม และสนุกสนานจบช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖  สามารถดูแลสขุ ภาพ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกนั โรค หลีกเลี่ยงปจั จยั เสี่ยง และพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการวางแผนอย่างเป็นระบบ  แสดงออกถงึ ความรัก ความเอื้ออาทร ความเขา้ ใจในอทิ ธพิ ลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมทีม่ ีตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ การดาเนินชวี ิต และวถิ ชี วี ติ ทีม่ ีสุขภาพดี  ออกกาลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพโดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้อง สม่าเสมอด้วยความชื่นชมและสนกุ สนาน  แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ หลักความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมทางกาย และเล่นกีฬาจนประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของตนเองและทีม  แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแขง่ ขัน ดว้ ยความมีนา้ ใจนกั กฬี าและนาไปปฏิบตั ใิ นทกุ โอกาสจนเปน็ บุคลิกภาพที่ดี  วิเคราะหแ์ ละประเมนิ สุขภาพสว่ นบุคคลเพอ่ื กาหนดกลวธิ ีลดความเสยี่ ง สร้างเสริมสุขภาพดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการจัดการกบั อารมณ์และความเครียดได้ถกู ต้องและเหมาะสม  ใชก้ ระบวนการทางประชาสงั คม สรา้ งเสริมใหช้ มุ ชนเขม้ แขง็ ปลอดภัย และมีวิถีชีวิตทดี่ ี

สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ตวั ชวี้ ดั ชนั้ ปีม. ๑ ม. ๒๑. อธิบายความสาคญั ของระบบประสาท ๑. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และระบบ ต่อมไรท้ อ่ ท่ีมผี ลต่อสุขภาพ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาในวัยรุ่น การเจรญิ เติบโต และพฒั นาการของวัยร่นุ ๒. ระบุปจั จยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การ๒. อธิบายวธิ ดี ูแลรักษาระบบประสาท และ เจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา ใน ระบบต่อมไรท้ อ่ ให้ทางานตามปกติ วัยร่นุ๓. วิเคราะหภ์ าวะการเจรญิ เติบโตทางร่างกายของตนเองกบั เกณฑ์มาตรฐาน๔. แสวงหาแนวทางในการพฒั นาตนเองให้เจริญเติบโตสมวยั

๑๕๘ ม. ๓ ตัวชวี้ ดั ช่วงชั้น๑. เปรยี บเทยี บการเปลยี่ นแปลงทางด้าน ม. ๔ – ม. ๖ ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสรมิ และดารง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ ประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบอวัยวะ สตปิ ญั ญา แต่ละช่วงของชวี ติ ตา่ ง ๆ๒. วเิ คราะหอ์ ิทธพิ ลและความคาดหวงั ของ ๒. วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการ สงั คมตอ่ การเปลี่ยนแปลงของวยั รนุ่ เจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเองและ๓. วิเคราะห์ สื่อ โฆษณาทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การ บุคคลในครอบครัว เจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวัยรนุ่

สาระท่ี ๒ ชีวิตและครอบครัวมาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมที กั ษะในการ ตวั ชี้วดั ชนั้ ปีม. ๑ ม. ๒๑. อธิบายวิธกี ารปรบั ตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลง ๑. วิเคราะหป์ ัจจยั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ เจตคติในเรือ่ ง ทางร่างกายจติ ใจ อารมณ์ และพฒั นาการ เพศ ทางเพศอย่างเหมาะสม ๒. วเิ คราะห์ปัญหาและผลกระทบ ทเ่ี กิดจาก การมีเพศสมั พนั ธ์ในวัยเรียน ๓. อธบิ ายวิธปี อ้ งกันตนเองและหลีกเลยี่ งจาก โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และการ ตั้งครรภ์โดยไม่พงึ ประสงค์ ๔. อธิบายความสาคญั ของความเสมอภาค ทางเพศ และวางตวั ได้อย่างเหมาะสม

๑๕๙รดาเนินชีวติ ตวั ชี้วัดช่วงชัน้ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖ ๑. อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผน ๑. วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ลของครอบครวั เพื่อน ครอบครวั และวธิ กี ารปฏิบตั ติ นที่ สงั คม และวฒั นธรรม ทมี่ ผี ลต่อพฤติกรรม เหมาะสม ทางเพศและ การดาเนินชีวติ ๒. วเิ คราะห์ปจั จยั ทมี่ ผี ลกระทบต่อ การ ๒. วเิ คราะหค์ ่านยิ มในเรือ่ งเพศ ตาม ตัง้ ครรภ์ วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมอ่นื ๆ ๓. วเิ คราะหส์ าเหตุ และเสนอแนวทาง ๓. เลือกใชท้ ักษะทเ่ี หมาะสมในการป้องกนั ป้องกนั แก้ไขความขดั แย้งในครอบครวั ลดความขดั แย้งและแก้ปัญหาเรอื่ งเพศ และครอบครวั ๔. วเิ คราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งท่ี อาจเกิดขนึ้ ระหว่างนักเรยี น หรือเยาวชน ในชมุ ชน และเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา

สาระท่ี ๓ การเคล่อื นไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกีฬาสากลมาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลือ่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และ ตวั ชว้ี ดั ชนั้ ปี ม. ๑ ม. ๒๑. เพม่ิ พนู ความสามารถของตน ตามหลักการ ๑. นาผลการปฏิบัติตนเก่ยี วกับทกั ษะกลไกเคลื่อนไหว ทใี่ ช้ทักษะกลไกและทักษะ และทักษะการเคลื่อนไหว ในการเล่นกฬี าพนื้ ฐานที่นาไปสกู่ ารพฒั นาทกั ษะการเล่น จากแหลง่ ขอ้ มูล ที่หลากหลายมาสรปุ เป็นกฬี า วิธที ่เี หมาะสมในบริบทของตนเอง๒. เล่นกฬี าไทยและกฬี าสากลประเภทบุคคล ๒. เล่นกีฬาไทยและกฬี าสากล ท้ังประเภทและทีมโดยใช้ทักษะพนื้ ฐานตามชนิดกีฬา บคุ คลและทมี ได้ อย่างละ ๑ ชนิดอยา่ งละ ๑ ชนดิ ๓. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรปู แบบการ๓. ร่วมกจิ กรรมนันทนาการอยา่ งนอ้ ย ๑ เคล่อื นไหว ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเลน่ กีฬากิจกรรมและ นาหลกั ความรู้ ที่ไดไ้ ป และกิจกรรมในชีวติ ประจาวนัเชื่อมโยงสัมพันธ์กับ วชิ าอน่ื ๔. ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการอย่างนอ้ ย ๑ กจิ กรรม และนาความรแู้ ละหลกั การทีไ่ ด้ ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวนั อย่างเป็น ระบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook