Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดที่2

ตัวชี้วัดที่2

Published by อุษา สิ้วนัด, 2022-05-20 06:47:38

Description: ตัวชี้วัดที่2

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ แผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ 2565 ของ ครูอาสาสมัคร กศน.อําเภอท่ามะกา จัดทํา ข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปีงบประมาณ 2565 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปี 2565 ของสํานักงาน กศน. ตลอดจนบริบทและความต้องการของกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนที่ เพ่ือกําหนด เป็นแนวทางในการดําเนินงานของ กศน.ตําบลท่าไม้ กศน.ตําบลยางม่วง กศน.ตําบลสนามแย้ และ กศน.ตาํ บลเขาสามสิบหาบ ให้เปน็ ไปตามเปาู หมายทว่ี างไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดทําแผนปฏิบัติการ ของครูอาสาสมัคร กศน.อําเภอท่ามะกา เล่มน้ี สําเร็จลุล่วงด้วยดี โดยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็นโดยนําสภา พ ปัญหาและผลการดําเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย กศน.ตําบลท่าไม้ กศน.ตําบลยางม่วง กศน.ตําบลสนามแย้ และกศน.ตําบลเขาสามสิบหาบ เพ่อื สนองความต้องการของประชาชนในชุมชนอยา่ งแทจ้ รงิ คณะผู้จดั ทาํ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ 265 ของครูอาสาสมัคร กศน.อาํ เภอทา่ มะกา จะเป็นเครือ่ งมือในการดําเนินงานของผู้บริหาร บุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเปูาหมายที่กําหนด ตลอดจนเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้มีส่วนเกย่ี วข้องตอ่ ไป ครูอาสาสมัคร กศน.อําเภอทา่ มะกา 20 ธันวาคม 2564

สารบญั หนา้ คาํ ขออนมุ ตั แิ ผนการปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 คํานาํ สารบัญ บทท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐานทวั่ ไป 1.1 ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.อาํ เภอท่ามะกา 1.2 ข้อมลู พ้นื ฐานของ กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ 1.3 ข้อมลู พืน้ ฐานของ กศน.ตําบลยางมว่ ง 1.4 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของ กศน.ตาํ บลสนามแย้ 1.5 ข้อมูลพน้ื ฐานของ กศน.ตําบลเขาสามสบิ หาบ บทที่ 2 นโยบายจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งานของสาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ 2565 2.1 นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่ือร่วมขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 2.2 ยทุ ธศาสตร์กระทรวง จดุ เนน้ สาํ นักงาน กศน. กศน.จังหวดั กศน.อําเภอ 2.3 เปูาประสงค์และตัวช้วี ดั ความสําเรจ็ บทท่ี 3 วเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.1 วิเคราะหข์ อ้ มลู สภาพแวดล้อมระดับตาํ บล (SWOT Analysis) 3.2 สรปุ สภาพปญั หาความต้องการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พัฒนาระดบั ตาํ บล บทที่ 4 แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 4.1 ตารางบัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 4.2 โครงการตามแผนการจัดสรรงบประมาณ 1) โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื 2) โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานนอกระบบ 3) โครงการจดั การศึกษาศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 4) โครงการจดั การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน (อาชีพระยะสั้น ๓๑ ชม.ขนึ้ ไป) 5) โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต 6) โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน 7) โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4.3 โครงการตามจุดเนน้ เฉพาะกจิ ระดับสถานศกึ ษา 1) โครงการ 1 อําเภอ 1 คุณภาพ 2) โครงการด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชีพ 4.4 โครงการตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1) โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการจัดทาํ แผนงานและการจดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2) โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของสถานศกึ ษา 3) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศข้อมลู สารสนเทศของ กศน.ตําบลบา้ นตะวันตก 4) โครงการนเิ ทศการศึกษา 5) โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศัยรูปแบบบ้านหนังสอื ชุมชน 6) โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรูช้ มุ ชนในระดบั ตาํ บล 7) โครงการขับเคลื่อนการดาํ เนนิ งาน กศน.ตําบล 5 ดีพรีเมี่ยม 8) กจิ กรรมเด่นประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (กจิ กรรมขับเคลอ่ื นนวตั กรรมทางการศึกษา) เอกสารอา้ งองิ ภาคผนวก บญั ชตี าราง คณะผจู้ ดั ทาํ

บทท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของกศน.อาํ เภอทา่ มะกา แผนทแี่ สดงที่ตง้ั กศน.อาํ เภอท่ามะกา

ความเปน็ มา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอท่ามะกา 1. ชื่อสถานศึกษา เลขท่ี - หมทู่ ี่ - ถนน - ตําบลทา่ เรอื อาํ เภอทา่ มะกา 2. ทีต่ งั้ /การติดต่อ จังหวดั กาญจนบุรี 71130 โทรศพั ท์ 034 – 561779 โทรสาร 034 – 561779 3. สงั กัด เวบ็ ไซด์ www.nfe.go.th/thamaka สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด กาญจนบุรี สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ประวตั สิ ถานศกึ ษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอท่ามะกา จัดสร้างขึ้นตามประกาศ ของกระทรวงศึกษาธิการ “เร่ืองการจัดสร้างศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน/ก่ิงอําเภอ ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2536” โดยได้ใช้ชื่อสถานศึกษาว่า “ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอท่ามะกา” โดยมี นายกอบชัย ต้ังวิลัย เป็นผู้ประสานงานในการก่อต้ังศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอท่ามะกา ในขณะน้ัน ได้แก่ พระครูกาญจนวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่เจริญผลซึ่งได้มอบอาคาร 2 ชั้นบริเวณด้านหน้า ภายในวัดใหม่เจริญผล ให้เป็นอาคารสํานักงาน ช้ันบนเป็นห้องสมุดประชาชนวัดใหม่เจริญผล (ปัจจุบันเป็น ห้องสมุดประชาชนอําเภอท่ามะกา ) ชั้นล่างเป็นสํานักงานของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ ทา่ มะกา มเี น้อื ท่ปี ระมาณ 1.50 ไร่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก พระมหาเมธี เจ้าอาวาสวัดใหม่เจริญผล และ พระครูกาญจนธีรวงศ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่เจริญผล (ปัจจุบัน) มาตลอดจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2551 ได้มีการ

ประกาศใช้ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ข้ึน “ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอท่ามะกา ” จึงได้เปล่ียนชื่อมาเป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอท่ามะกา” โดยมี นายพลธนวัฒน์ วังวงศ์ทอง เป็นผู้อํานวยการสถานศึกษา คนปัจจุบัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอท่ามะกา ต้ังอยู่ในบริเวณ วัดใหม่เจริญผล ตําบลท่าเรือ อําเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี มีสถานภาพเป็นสถานศึกษาในราชการ บริหารส่วนกลาง สังกัดสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีบทบาทหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบดังน้ี 1. จดั และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ส่งเสริมการศกึ ษาเพือ่ สว่ นรวม ในระบบโรงเรียนและจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามความต้องการและสภาพปัญหาของทอ้ งถนิ่ 2. จัดและประสานงานให้มีศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเป็นเครือข่ายได้ อย่างกว้างขวางและทั่วถึง และส่งเสริมให้ชุมชนจัดการศึกษาของตนเองในลักษณะศูนย์การเรียนชุมชน เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางในการจดั การศกึ ษา วางแผนบรกิ ารการศกึ ษาตอ่ สมาชิกในชุมชน และระหวา่ งชมุ ชน 3. สนับสนุนสิ่งจําเป็นต่าง ๆที่ใช้ในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของเครือข่ายท้ังภาครัฐ และภาคเอกชน เพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนการสอน และการบริการแก่ กลุ่มเปาู หมาย 4. กาํ กบั ดแู ลตดิ ตาม และรายงานผลการดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั คณะกรรมการการสถานศึกษา กศน.อาํ เภอท่ามะกา ลาํ ดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ ตาํ แหนง่ 1 พระครกู าญจนธีรวงศ์ ประธานกรรมการ 2 นายโกวิท ทว่ั จบ กรรมการ 3 นายนราธปิ สุภากาญ กรรมการ 4 นายวุฒชิ ัย โชควเิ ฉยี รฉาย กรรมการ 5 นางสกาวเดอื น ระดมกจิ กรรมการ 6 นายกิตตชิ ัย ดํารงศักดวิ์ ิทยา กรรมการ 7 ร.ต.ต.ไชยวัฒน์ โพธิท์ อง กรรมการ 8 นายเกรยี ไกร จันหอม กรรมการ 9 นายศักดิช์ ัย นาคเอยี่ ม กรรมการและเลขานุการ ผอู้ ํานวยการ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี รักษาการในตําแหน่ง ผู้อาํ นวยการ กศน.อําเภอ ท่ามะกา

ทําเนยี บผู้บรหิ าร ตําแหนง่ ระยะเวลาท่ี ลาํ ดับท่ี ชือ่ -สกลุ ดาํ รงตาํ แหนง่ 1 นายสจั จา จันทรวิเชียร 2 นางธัญลักษณ์ มุกดาวจิ ิตร หัวหนา้ ศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียน 18 มกราคม 2537 3 นายปรชั ญา พวงแกว้ 4 นายประเสรฐิ จินดารตั น์ อําเภอท่ามะกา ถงึ 26 มถิ นุ ายน2545 5 นายศักดช์ิ ัย นาคเอย่ี ม ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 23 กรกฎาคม 2545 การศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอท่ามะกา ถึง 2 มกราคม 2552 ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 16 ตลุ าคม 2552 การศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอทา่ มะกา ถึง 9 พฤษภาคม2554 ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 10 พฤษภาคม2554 การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอทา่ มะกา ถงึ 30 กนั ยายน2555 ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 1 ตลุ าคม 2555 การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอท่ามะกา ถงึ พฤศจกิ ายน 2558 ๖ นายพลธนวัฒน์ วังวงศท์ อง ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 23 พฤศจิกายน 2558 การศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอท่ามะกา ถงึ 28 ตลุ าคม 2564 7 นายศักดช์ิ ัย นาคเอ่ียม ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ 29 ตุลาคม 2564 ถึง ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ปจั จบุ นั ก า ญ จ น บุ รี รั ก ษ า ก า ร ใ น ตํ า แ ห น่ ง ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอท่ามะกา โครงสรา้ งการบริหารงาน กศน.อาเภอท่ามะกา บุคลากรสังกัดสานักงาน กศน.อาเภอท่ามะกา สานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหน่วยงานทางการศึกษาและมีสถานะเป็นผู้บังคับบัญชา สถานศึกษาในจังหวัด โดยมีบุคลากรแบ่งตาม ประเภทดงั ต่อไปน้ี (ท่ีมา : กศน.อาเภอทา่ มะกา จงั หวัดกาญจนบุรี ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 ตลุ าคม 2564 ) ตาราง 1 จานวนบคุ ลากรของ กศน.อาเภอทา่ มะกา ท่ี ตาแหนง่ จานวน (คน) หมายเหตุ 1 ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา 1 2 ขา้ ราชการครู 2 3 พนักงานราชการ (ตําแหน่งนักวิชาการศกึ ษา) 1 4 พนักงานราชการ (ตาํ แหน่ง ครอู าสาสมคั รฯ) 4 5 พนกั งานราชการ (ตําแหน่ง ครู กศน.ตําบล) 17 6 บคุ ลากรทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค.(2) 4

แผนทแ่ี สดงทีต่ ง้ั กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ กศน.ตาํ บลทา่ ไม้

ขอ้ มลู พืน้ ฐาน กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ กศน.ตําบลท่าไม้ เป็นศูนย์การเรียนชุมชนซ่ึงต้ังอยู่ในที่หมู่ 7 ตําบลท่าไม้ อําเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี และได้จัดต้ังเป็นศูนย์การเรียนชุมชนเม่ือวันที่ 1 พฤศจิกายน 2542 โดยเปิดให้บริการด้าน การศึกษาแก่ประชาชนในพื้นท่ีได้แก่การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถ นาํ ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาตนเพอื่ การศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี ไดต้ ามความเหมาะสม กศน.ตําบลท่าไม้ เปน็ สถานท่ีใชใ้ นการพบกลุ่มและจัดการเรียนรู้ โดยมีนางสาวปานวดี เสือหนู ปฏิบัติหน้าท่ี ครูศูนย์การเรียนชุมชน ตงั้ แตว่ นั ท่ี 18 กนั ยายน 2550 และในปี พ.ศ.2553 ได้ปรบั เปลี่ยนช่ือจากศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนตําบลทา่ ไม้ มาเป็น กศน.ตําบลทา่ ไม้ เม่ือวันท่ี 2 มถิ นุ ายน 2553 โดยทาํ พิธเี ปิดอย่างเปน็ ทางการมีนักศึกษาท้ัง ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ปัจจบุ นั มี นางสาวชนัญชดิ า ทองเมือง เป็นครูประจํา กศน.ตาํ บลท่าไม้ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ บุคลากรสังกัด กศน.ตําบลท่าไม้ ข้อมูลบุคลากรในสังกัด กศน.ตําบลท่าไม้ สํานักงาน กศน. จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหน่วยงานทางการศึกษาและมีสถานะเป็นผู้บังคับบัญชา สถานศึกษาในจังหวัด โดยมี บุคลากรแบ่งตามประเภทดังต่อไปน้ี (ท่ีมา : สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ตุลาคม 2564 ) ตาราง 1 จาํ นวนบุคลากรของ กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ ประเภท รายละเอยี ด 1) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา นายศักด์ิชัย นาคเอ่ยี ม ตําแหน่ง ผอ.กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบุรี รักษาการในตาํ แหน่ง ผอ.กศน.อําเภอทา่ มะกา 2) ครอู าสาสมัคร นางอษุ า ส้วิ นดั ตําแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน วฒุ กิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขาการจัดการท่ัวไป 3) ครู กศน.ตาํ บล นางสาวชนญั ชิดา ทองเมอื ง ตาํ แหน่ง ครู กศน.ตาํ บล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ เอกการ ประชาสมั พนั ธ์

ตาราง 2 ประชากรแยกเป็นรายหมูบ่ ้าน หมบู่ า้ น หมทู่ ี่ ครวั เรอื น พื้นที จาํ นวนประชากร รวม ช่อื ผนู้ าํ หมู่บา้ น ตร.กม. ชาย หญงิ บ้านดอนแจง 1 403 608 647 1,255 นายคะนึง สขุ ศรี บา้ นกระต่ายเต้น 2 271 427 424 851 นายสพุ จน์ เพียงน้นั บ้านท่งุ ฝืด 3 256 386 433 819 นายบุญทง้ิ เสมทบั บ้านท่าหวา้ 4 322 209 248 457 นายสมหวัง สงเคราะห์ บา้ นท่าไม้ 5 463 271 292 563 นายฉัตรชยั ฉุนฟุูง บ้านทา่ ไม้ 6 700 726 736 1,462 นายบนั ลอื ศักด์ิ สร้อยทอง บ้านครอ้ พนนั 7 551 734 758 1,492 นายถาวร ใจเย็น บา้ นรางโปุง 8 303 281 308 589 นายสากล เจตสกิ พฒั บา้ นหลังวัดคาทอลิก 9 295 383 381 764 นายบญุ สม บญุ ลอ้ บ้านโรงหีบเล็ก 10 248 440 532 972 นายวานิตย์ โพธชิ์ ื่น รวม 3,812 4,465 4,759 9,224 ทม่ี า : สํานักงานเทศบาลตาํ บลท่าไม้ (ปี พ.ศ.2564)

แผนทแ่ี สดงทตี่ ง้ั กศน.ตาํ บลยางมว่ ง กศน.ตาบลยางม่วง

ข้อมลู พื้นฐาน กศน.ตาํ บลยางมว่ ง กศน.ตาบลยางม่วง เป็น กศน.ตาบล ซ่ึงตั้งอยู่หมู่ท่ี 1 บ้านห้วยกระดาน ตาบลยางม่วง อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(หลังเก่า) และได้เปิดเป็น กศน.ตาบล เมอ่ื วนั ท่ี 30 เดือนมิถุนายน 2553 โดยเปิดให้บริการด้านการศึกษาแก่ประชาชนในพื้นที่ได้แก่ การศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ประชาชนในตาบล และตาบลใกล้เคียง มาศึกษาหาความรู้ และ สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสงั คม เพ่อื การศึกษาต่อและประกอบอาชีพไดต้ ามความเหมาะสม กศน.ตาบลยางม่วง เป็นสถานท่ี ท่ีใช้ใน การจัดการเรียนการสอน จัดการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยมี นายสุรสิทธ์ิ บุญเสนันท์ หัวหน้า กศน.ตาบลยางม่วง พ.ศ. 2545 - 2565 โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.ตาํ บลยางมว่ ง บุคลากรสังกัด กศน.ตําบลยางม่วง ข้อมูลบุคลากรในสังกัด กศน.ตําบลยางม่วง สํานักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี เปน็ หน่วยงานทางการศึกษาและมสี ถานะเป็นผ้บู ังคบั บญั ชา สถานศกึ ษาในจังหวัด โดย มีบุคลากรแบ่งตามประเภทดังต่อไปนี้ (ที่มา : สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 ) ตาราง 1 จาํ นวนบุคลากรของ กศน.ตาํ บลยางมว่ ง ประเภท รายละเอยี ด 1) ผู้บริหารสถานศึกษา นายศักด์ิชัย นาคเอย่ี ม ตําแหน่ง ผอ.กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบุรี รกั ษาการในตําแหน่ง ผอ.กศน.อาํ เภอทา่ มะกา 2) ครูอาสาสมัคร นางอุษา ส้ิวนัด ตําแหนง่ ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น วฒุ กิ ารศึกษา ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขาการจดั การทว่ั ไป 3) ครู กศน.ตําบล นายสรุสิทธ์ิ บุญเสนนั ท์ ตาํ แหนง่ ครู กศน.ตาํ บล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (วท.บ) สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา เอกการฝึก และการจัดการกีฬา

ตาราง 2 ประชากรแยกเป็นรายหมูบ่ า้ น หมบู่ า้ น หมทู่ ี่ ครวั เรอื น พน้ื ที จาํ นวนประชากร รวม ชื่อผนู้ าํ หมู่บา้ น ตร.กม. ชาย หญงิ 1,095 นายแสวง ฟกั แก้ว 498 นายโยธิน สุขศรี บา้ นหว้ ยกระดาน 1 283 529 566 847 นายประยรู บรรณาการ 970 นายดาํ เนนิ เชดิ แสง บา้ นยางมว่ ง 2 152 244 254 764 นายเรืองฤทธ์ิ เปรมศักด์ิ 1,290 นายเสถยี ร โพธ์ิเย็น บา้ นห้วยตะเคยี น 3 221 415 432 707 นายจักรพงศ์ บตุ ดาพวง 409 นายณฐั พล ทองร้อยยศ บ้านห้วยตะเคียน 4 233 476 494 356 นายณรงค์ อึ้งจิ๋ว 6,936 บา้ นหนองกรด 5 198 344 420 บ้านหนองโรง 6 266 448 842 บ้านหว้ ยเจริญ 7 204 341 366 บา้ นหว้ ยรางพงษ์ 8 82 205 204 บ้านไรร่ ่วมเจรญิ 9 90 173 183 รวม 1,729 3,175 3,761 ทม่ี า : องค์การบริหารส่วนตําบลยางมว่ ง (ปี พ.ศ.2564)

แผนทแ่ี สดงที่ตง้ั กศน.ตาํ บลสนามแย้ กศน.ตําบลสนามแย้ กศน.ตาบลสนามแย้

ขอ้ มูลทั่วไปของตาํ บล สนามแย้ ประวตั คิ วามเปน็ มาของตาํ บล ทมี่ าของชือ่ ตาํ บลสนามแยจ้ ากตาํ นานเลา่ ขานกนั วา่ บริเวณท้องทุ่งได้มีการทาํ นาท่ีเนินดนิ เป็นลานกว้างขวาง โดยรอบเนินดินเป็นบริเวณปุาไผ่ และที่แห่งน้ันมีสัตว์เล้ือยคลานชนิดหน่ึงซ่ึงชาวบ้านเรียกกันว่า “แย้” มาอาศัยอยู่เป็นจํานวนมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “สนามแย้” จึงนําคําน้ีมาต้ังช่ือเป็นชื่อตําบลจนถึงปัจจุบัน โดยมี นายชนุ รุ่งเรอื งศักด์ิ เป็นกํานันตาํ บลสนามแย้เปน็ คนแรก ตํานานเรื่องเลา่ ในตํานานมีเรือ่ งเลา่ สบื ตอ่ ๆ กนั มาว่า บรเิ วณหมบู่ า้ นท่ี 2 ของตําบลสนามแยม้ เี ขาโทนลูกหนึ่งมีช่ือ ว่า ”เขาน้อยดง” สมัยตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์บริเวณนเ้ี ป็นปุาดงดิบ มสี ตั ว์ปุาทุกชนิดชุกชุมมาก และเคยเป็นท่ี อยู่ของมนษุ ยส์ มัยทาราวดี หลกั ฐานยืนยันได้คือ ขุดพบวัตถุโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อารยธรรมยุคหิน ใหม)่ เชน่ มโหระทึก เคร่ืองสัมฤทธ์ิ ลูกปดั เครอ่ื งปัน้ ดินเผา และเคร่ืองใช้อื่น ๆ แต่ไม่มีใครให้ความสนใจ มากนักของท่ีขุดพบส่วนมากจะนําไปเป็นสมบัติส่วนตัวจนกระทั่ง พ.ศ 2519 เจ้าอาวาสวัดเขาสะพายแร้ง พระครูสมณธรรมนิวิฐ (หลวงพ่อจุ่น) พร้อมด้วยคณะกรรมการพัฒนาการศึกษาหมู่บ้าน ได้ไถดินเพื่อปรับ ที่ดินบริเวณเชิงเขา ได้พบหม้อดินที่อยู่ในสภาพดี และของท่ีชํารุดอีหลายอย่างเช่น ลูกปัด เครื่องสัมฤทธิ์ รวมทั้งกระดูกคนจํานวนหน่ึง ศึกษานิเทศก์กรมสามัญศึกษาในขณะนั้น (นายนิวิฐ ดวงสงค์) ได้นําหม้อดิน เผา กระดูก และสิ่งของอ่ืน ๆ ที่ขุดพบได้ไปให้ผู้เช่ียวชาญกรมศิลปากรตรวจสอบ และได้ให้ความเห็นว่า โบราณวัตถุทขี่ ดุ พบเป็นวตั ถุก่อนสมยั ทวาราวดี แต่อยูย่ ุคหลังบ้านเชียงและได้นําวัตถุเหล่าน้ีไปเก็บรักษาไว้ ท่ี วหิ ารบนยอดเขานอ้ ยกลางดง เม่ือโรงเรียนนิวิฐราฎร์อุปถัมป์ ได้สร้างพิพิธภัณฑ์โรงเรียนขึ้น จึงได้ขออนุญาต ท่านเจ้าอาวาส เพ่ือนําโบราณวัตถุต่าง ๆ มาเก็บไว้ให้นักเรียน และประชาชนได้ศึกษา ชาวบ้านได้เล่า ประวัติความเป็นมาในสมัยที่พม่า (เมียนม่า) กับไทยทําสงครามในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นายทหารพม่า คนหนึง่ ถูกฝาุ ยไทยฟันขาดสะพายแล่งท่เี ชงิ เขาลกู หน้ี จงึ เรยี กภูเขาลูกน้ี เปน็ อนุสรณ์ว่า “เขาสะพายแล่ง” ใน สมัยต่อ ๆ มามีการถ่ายเสียงจากภาษาพูดของชาวไทยพ้ืนเมืองเชื้อสายเวียงจันทร์ซ้ึงต้ังถ่ินฐานอยู่ในละแวกน้ี มาเป็นภาษาไทยกลางผิดพลาดไป เลยเพี้ยนเสียงจาก “เขาสะพายแล่ง” มาเป็น “เขาสะพายแร้ง” จนทุก วันนี้ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.ตาํ บลสนามแย้ บุคลากรสังกัด กศน.ตําบลสนามแย้ ข้อมูลบุคลากรในสังกัด กศน.ตําบลสนามแย้ สํานักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี เป็นหนว่ ยงานทางการศึกษาและมีสถานะเปน็ ผูบ้ งั คับบญั ชา สถานศกึ ษาในจังหวัด โดย มีบุคลากรแบ่งตามประเภทดังต่อไปนี้ (ที่มา : สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 )

ตาราง 1 จาํ นวนบคุ ลากรของ กศน.ตาํ บลสนามแย้ ประเภท รายละเอยี ด 1) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา นายศกั ด์ิชัย นาคเอีย่ ม ตาํ แหน่ง ผอ.กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบุรี รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอ.กศน.อาํ เภอทา่ มะกา 2) ครอู าสาสมคั ร นางอุษา สวิ้ นัด ตําแหนง่ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น วุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขาการจัดการทั่วไป 3) ครู กศน.ตาํ บล นางภัสสราลักษณ์ ลพี ร้อม ตาํ แหนง่ ครู กศน.ตาํ บล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (บธ.บ.) แขนงวิชาการตลาด ตาราง 2 ประชากรแยกเปน็ รายหมู่บา้ น หมบู่ า้ น หมทู่ ี่ ครวั เรอื น พืน้ ที จาํ นวนประชากร รวม ชือ่ ผนู้ าํ หมบู่ า้ น ตร.กม. ชาย หญงิ บา้ นเดน่ 1 241 470 485 955 นายอภิชาต สายคราํ้ บ้านเขาสะพายแร้ง 2 265 498 524 1,022 นายสมเกียรติ โรจน์เจริญชัย บา้ นทุ่งขวี้ วั 3 145 324 309 633 นายสมหมาย บณั ฑิตพรรณ บา้ นไผ่แถว 4 196 373 387 760 นายวันชยั ปกั ษาสุวรรณ บ้านอ้อกระทุง 5 160 302 307 609 นายปถัมภ์ ร่งุ เรอื ง บ้านสนามแย้ 6 183 290 328 618 นายวโิ รจน์ พฒุ ศรี บ้านสนามแย้ 7 210 484 474 958 นายสกุ ิจ สงั ค้มุ (ตอ่ ประดู่) รวม 1,217 2,741 2,814 5,555 ทีม่ า : องค์การบริหารส่วนตําบลสนามแย้ (ปี พ.ศ.2564)

แผนทแ่ี สดงทีต่ ง้ั กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ

ประวตั คิ วามเปน็ มาของตําบลเขาสามสบิ หาบ มีประชาชนที่หนีจากเรือล่มได้อพยบมาแล้วแบกทองคํามาถึงพ้ืนที่แห่งหนึ่งแล้วนับหาบทองคําได้ 30 หาบ จงึ เรยี กบา้ นนน้ั ว่าเขาสามสบิ หาบจนถึงปัจจบุ นั สภาพพ้นื ทท่ี ว่ั ไป พืน้ ท่ีส่วนใหญเ่ ป็นทร่ี าบสูง และราบลมุ่ มีภูเขาเตยี้ ๆ และมีคลองชลประทานผา่ นทุกหมู่บ้านเหมาะ แก่การทาํ การเกษตรทุกประเภท ตาํ บลอยู่ห่างจากท่ีวา่ การอาํ เภอท่ามะกาประมาณ 5 กิโลเมตร การตดิ ต่อกับ พ้ืนท่ีอื่นเปน็ ไปด้วยความสะดวก มีถนนลาดยางเชือ่ มทุกหมู่บ้าน เกษตรกรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือ ค้าขาย อาณาเขต ทิศเหนอื ตดิ กบั ตาํ บลหวายเหนียว อาํ เภอท่ามะกา จงั หวดั กาญจนบุรี ทิศใต้ จรดกบั อาํ เภอจอมบึง จงั หวดั ราชบุรี ทิศตะวันออกจรดตาํ บลพงตกึ อาํ เภอท่ามะกาจังหวัดกาญจนบุรแี ละตําบลเขาสามสิบหาบ ทิศตะวนั ตก จรดตําบลแสนตอ อําเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบุรี 1.3 การปกครอง ตาํ บลเขาสามสบิ หาบตัง้ อยู่ในเขตการปกครองของอําเภอทา่ มะกาประกอบดว้ ย8หมู่บา้ นคือ 1) หมทู่ ี่ 1 บา้ นหนองหนิ 2) หมทู่ ี่ 2 บา้ นเขาขี่คราด 3) หมู่ที่ 3 บ้านเขาสามสิบหาบ 4) หมทู่ ่ี 4 บ้านเขาสามสบิ หาบ 5) หม่ทู ่ี 5 บา้ นหนองแหน 6) หม่ทู ่ี 6 บ้านเขาชอ่ ง 7) หมทู่ ่ี 7 บ้านเขากะอาง 8) หมทู่ ่ี 8 บ้านหนองเกวียนหัก โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ บุคลากรสังกัด กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ ข้อมูลบคุ ลากรในสงั กดั กศน.ตาํ บลเขาสามสิบหาบ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบรุ ี เป็นหน่วยงานทางการศึกษาและมีสถานะเป็นผู้บังคับบัญชา สถานศึกษาใน จงั หวดั โดยมีบุคลากรแบ่งตามประเภทดังตอ่ ไปน้ี (ทม่ี า : สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 )

ตาราง 1 จาํ นวนบุคลากรของ กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ ประเภท รายละเอยี ด 1) ผู้บริหารสถานศึกษา นายศักดิ์ชยั นาคเอีย่ ม ตาํ แหนง่ ผอ.กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี รกั ษาการในตําแหนง่ ผอ.กศน.อาํ เภอท่ามะกา 2) ครอู าสาสมคั ร นางอุษา สว้ิ นัด ตําแหน่ง ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขาการจดั การทัว่ ไป 3) ครู กศน.ตําบล นายอนุรกั ษ์ จานแกว้ ตาํ แหน่ง ครู กศน.ตําบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ค.บ.) โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษา ตาราง 2 ประชากรแยกเปน็ รายหมู่บา้ น หมบู่ า้ น หมทู่ ่ี ครวั เรอื น พ้นื ที จาํ นวนประชากร รวม ชอื่ ผนู้ าํ หมบู่ า้ น ตร.กม. ชาย หญิง บ้านหนองหนิ 1 202 321 316 687 นายวนิ ยั สวัสด์มิ งคล บ้านเขาพระ 2 100 170 170 340 นายจรญู จนั ทร์มา บา้ นเขาสามสิบหาบ 3 120 203 230 433 นายอดิศักด์ิ ฟักโต บา้ นเขาสามสบิ หาบ 4 165 237 260 497 นายเรือง ละเภท บา้ นหนองพงษ์ 5 224 284 304 588 นายอทุ ยั ม่วงน้อย บา้ นเขาช่อง 6 147 436 430 866 นายสมเกียรติ จิตประเสริฐ บ้านเขากะอาง 7 95 193 168 361 นายบญุ ทิ้ง พิมพา บา้ นหนองเกวียนหัก 8 147 278 282 560 นายวรวัช ศระรรมรงค์ รวม ท่ีมา : องคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลเขาสามสิบหาบ (ปี พ.ศ.2564)

ผ้ไู มร่ หู้ นังสอื การรู้หนังสือ เป็นคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีจําเป็นต่อการเรียนรู้และการสื่อสารในสังคมปัจจุบัน เปน็ บนั ไดขั้นแรกของการแสวงหาความรู้อันมหาศาลในโลกน้ี และเป็นการเชื่อมโยงการส่ือสารของผู้คนต่าง ๆ ในสังคมนี้เข้าด้วยกัน องค์การยูเนสโกถือวํา การรู้หนังสือเป็นประตูสู่อิสรภาพของมนุษยชาติ ประชาชนชาว ไทยทุกคนมีสิทธิไดร้ ับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานอยา่ งเทา่ เทียมและมคี ุณภาพ ซ่ึงรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญ ในการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลได้เรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการติดต่อส่ือสารให้เข้าใจตรงกัน และสามารถนํา ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามความ ต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคล รวมทั้งการใช้ ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ได้อย่างต่อเน่ือง ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภาษาประจําชาติ เป็นภาษา กลางในการสื่อสาร เป็นมรดกทาง วัฒนธรรม การรู้หนังสือไทยเป็นความสามารถพ้ืนฐานในการ ตดิ ต่อส่ือสาร การเรียนรู้ การแสวงหา ความรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต คนไทยทุกคนและผู้อาศัยอยู่ในประเทศ ไทย จึงจําเป็นต้องเรียนรู้ ภาษาไทยให้เขม้แข็ง อันเป็นเคร่ืองแสดงความเป็นไทยความภาคภูมิใจความมี เอกลักษณ์ มอี ารยธรรม และความเจริญของชาติไทยผูไ้ ม่รู้หนังสอื กระทรวงศึกษาธิการ โดย สาํ นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (สํานกั งาน กศน.) ไดเ้ ล็งเหน็ ความสําคัญ ดังน้ันจึงได้จดั ทําหลักสตู รการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 ตาม คําส่ังกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สป 503/2557 สั่ง ณ วันท่ี 28 พฤษภาคม 2557 เรื่อง ใหใ้ ช้หลักสูตรการรู้ หนงั สือไทย พุทธศกัราช 2557 เพอ่ื ประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนใหผ้ ู้ไมร่ หู้ นังสือ ผู้ลืมหนังสือไทยและ ประชาชนทั่วไปท่ีสนใจจะเรียนรภู้ าษาไทย ได้เรียนรหู้ นังสือไทย สามารถฟงั พดู อ่าน เขยี นภาษาไทย และคิด คาํ นวณเบื้องต้นเพื่อนําใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้ ขอ้ มลู ผไู้ มร่ หู้ นงั สอื /ลมื หนงั สอื ลาํ ดับท่ี ชื่อ - นามสกลุ หมบู่ า้ น โทรศพั ท์ 1 เด็กหญงิ กลั ยา นาพิมพ์ บา้ นห้วยตะเคียน ต.ยางมว่ ง 080-6062289 2 นางสาวปราณี คูหา บา้ นหนองโรง ต.ยางม่วง 065-6942599 3 นางสาวสดุ ารัตน์ คหู า บ้านหนองโรง ต.ยางม่วง 065-6942599 4 นางลูกอนิ ทร์ ทองดอนน้อย บ้านเขาสะพายแรง้ ต.สนามแย้ 5 นายสมนึก นนั ดี บ้านเขาสะพายแร้ง ต.สนามแย้ 6 นายเจยี น เหลาออ้ บ้านเขาสะพายแร้ง ต.สนามแย้ 7 นางสนิ จันทร์ดี บ้านเขาสะพายแรง้ ต.สนามแย้ 8 นางสาวพรม บัวเผ่ือน บา้ นเขาสะพายแร้ง ต.สนามแย้ 9 นางพลู บัวเผอ่ื น บ้านเขาสะพายแรง้ ต.สนามแย้

ลาํ ดับท่ี ชอ่ื - นามสกลุ หมบู่ า้ น โทรศัพท์ 10 นางกล่ิน ปีสงิ ห์ บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 11 นางทองใบ คาํ ในนา บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 12 นางสาํ อาง นนั ดี บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 13 นายสําเนยี ง ทายา บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 14 นางหยุด อินทรหสั บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 15 นางสทุ ิน เซ็งเสง็ บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 16 นางสาวภิรมย์ ศรีทา บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 17 นางมะปรุง ศรีวิชยั บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 18 นางประเสรฐิ ยางวดั หลวง บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 19 นางสาวจาํ เลียง ทองกัญญา บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 20 นายอดิศักด์ิ เซ่ียงวอ่ ง บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 21 นางสมบรู ณ์ บุดดศี รี บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 22 นางสาํ เภา ปีสงิ ห์ บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 23 นางส้มจนี ศรลี าคาํ บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 24 นางประไพรศรี ดวงจิตร บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 25 นายเหลอื ปีสิงห์ บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 26 นางรุ่งนภา เดชจิต บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 27 นางศันสนีย์ ศรีลาคํา บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 28 นางอ้อยทิพย์ ขนุ เณรรัก บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 29 นางสาวสาํ รี กองแก้ว บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 30 นายอารีย์ ขนั นาค บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 31 นางอุทยั จนี เลีย้ ง บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 32 นางนอ้ ย กจิ รักษา บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ 33 นางภทั รา ศรสี วสั ดิ์ บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้

ลาํ ดบั ที่ ชอื่ - นามสกลุ หมบู่ า้ น โทรศัพท์ 34 นางน้อย ปานสังข์ บา้ นสนามแย้ ต.สนามแย้ 35 นางมาลัย นาคนารี บ้านสนามแย้ ต.สนามแย้ ข้อมูล ผู้ไมร่ หู้ นงั สือ : พ.ศ.2564

บทที่ 2 นโยบายจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งานของ สนง.กศน.ประจําปงี บประมาณ 2565 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้กําหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เก่ียวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคล่ือนได้แก่ การพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต ท่ีมุง่ เน้นการสรา้ งสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับ ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ การพัฒนาการเรียนรู้ ท่ีตอบสนองต่อการ เปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา นโยบายรัฐบาลท้ังในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเร่ืองการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 นโยบายและจุดเน้นการ ดําเนินงานสํานักงาน กศน.ประจําปี 2565 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวงั ว่าการพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต จะไดร้ ับการพัฒนาการเรยี นรูใ้ ห้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ สคู่ วามมน่ั คง มั่งคงั่ และยง่ั ยืน สํานักงาน กศน. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตระหนักถงึ ความสาํ คัญของการพัฒนาคนตลอดชว่ งชวี ติ ไดม้ ่งุ ม่ันขับเคล่ือนภารกิจหลัก ตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคํานึงถึงหลักการบริหารจัดการ ทงั้ ในเร่อื งหลักธรรมาภบิ าล หลกั การกระจายอํานาจ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทํางานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน การศึกษาต่อเน่อื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ได้แก่ การ จัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนําไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหล่ือมล้ําทางการศึกษา การ ยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการสําหรับกลุ่มเปูาหมายทุกกลุ่ม และสร้างความพึงพอใจ ให้กบั ผเู้ รียน ผ้รู ับบรกิ าร หลักการ กศน.เพ่ือประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” ซึ่งได้กําหนดนโยบายและจุดเน้นการ ดําเนินงาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ2565 ดังน้ี 1.ดา้ นการจัดการเรียนร้คู ณุ ภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํารทิ กุ โครงการ และโครงการอันเกย่ี วเนือ่ งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายและจุดเน้นการ ดาํ เนนิ งานของสํานกั งาน กศน.และกระทรวงศึกษาธิการ

1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมัน่ ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถึงการมจี ติ อาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคลอ้ งกับบริบททเี่ ปล่ียนแปลง ความตอ้ งการและความหลากหลายของผูเ้ รยี น/ผู้รับบริการ รวมถึง ปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลกั สูตร เช่น หลกั สูตรการศกึ ษาสาํ หรับกลุ่มเปูาหมายบนพ้ืนท่ี สูง และพน้ื ทช่ี ายแดน รวมทง้ั กลุ่มชาตพิ ันธุต์ า่ งๆ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผลและประเมนิ ผลโดยเนน้ การใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือให้ผู้เรียน สามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพ่ือการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้ความสําคัญ กับการเทียบระดับการศึกษาและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผเู้ รยี น ใหต้ อบโจทย์การประเมนิ ในระดับประเทศและระดับสากล 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบ วงจร ต้ังแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่ือจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กลุม่ เปาู หมายท่ีสามารถเรียนรู้ไดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามต้องการของผเู้ รียนได้อยา่ งหลากหลาย 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสํานักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อสารการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ ง่ายต่อการ สบื คน้ และนําไปใช้ในการจัดการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย 1.8 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกํากับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทงั้ ส่งเสริมการวจิ ยั เพอื่ เปน็ ฐานในการพฒั นาการดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศกึ ษาและการเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเปาู หมายและบริบทพ้นื ที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นท่ีเน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ บริบทพ้ืนที่ ความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดับผลิตภณั ฑ์สินค้า บรกิ ารจากโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน ทเ่ี นน้ “สง่ เสรมิ ความรู้ สร้างอาชพี เพ่มิ รายได้ และมคี ุณภาพชีวิตทด่ี ี” ให้มคี ุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั ของตลาด ต่อยอด ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เพ่อื สรา้ งมูลคา่ เพ่ิม พฒั นาสวู่ สิ าหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพิ่มชอ่ งทางประชาสัมพนั ธแ์ ละ ชอ่ งทางการจําหนา่ ย 2.4 สง่ เสริมการจดั การศึกษาของผ้สู ูงอายุเพ่ือให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดาํ รงชวี ิตทเ่ี หมาะกับช่วงวยั

2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาท่ีพัฒนาทักษะท่ีจําเป็นสําหรับกลุ่มเปูาหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทสิ ติก เดก็ เร่รอ่ น และผู้ดอ้ ยโอกาสอืน่ ๆ 2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน.และผู้เรียนเพ่ือ รองรบั การพฒั นาประเทศ 2.7 ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมของผูเ้ รยี น กศน. 2.8 สร้างอาสาสมคั ร กศน.เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอด ชวี ติ รองรบั การพฒั นาประเทศ 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน.รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่ เพ่ือใหห้ น่วยงาน/สถานศกึ ษา นาํ ไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรียนรรู้ ว่ มกัน 3. ดา้ นองคก์ ร สถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้คณุ ภาพ 3.1 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตําบลและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง (ศศช.)” ให้เปน็ พน้ื ทก่ี ารเรียนรู้ตลอดชีวิตท่สี าํ คญั ของชุมชน 3.2 ปรับรปู แบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน เน้น Library Delivery เพ่ือเพ่ิมอัตรการอ่าน และการร้หู นงั สอื ของประชาชน 3.3 ประสานการจัดกิจกรรมและการให้บริการการศึกษาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์จังหวัด กาญจนบุรี โดยใช้เทคโนโลยีเปน็ เคร่อื งมือนาํ วิทยาศาสตรส์ ู่ชีวิตประจาํ วันในทกุ ครอบครวั 3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพ้ืนท่ีการเรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพือ่ การสร้างนิเวศการเรียนรใู้ หเ้ กิดข้นึ สังคม 4. ด้านการบรหิ ารคณุ ภาพ 4.1 การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่งให้ตรงกับสาย งาน และทักษะท่จี ําเปน็ ในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 4.2 ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาใหม้ ีความครอบคลมุ เหมาะสม 4.3 ปรบั ปรงุ ระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เชน่ ขอ้ มลู การรายงานผลการดําเนินงาน ข้อมลู เด็กตกหล่นจากการศกึ ษาในระบบ เด็กเรร่ อ่ น ผพู้ กิ าร 4.4 ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เครือ่ งมือในการบรหิ ารจดั การอย่างเตม็ รูปแบบ 4.5 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพ และความโปร่งใสการดาํ เนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.6 เสริมสรา้ งขวัญและกําลังใจให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่างๆ เช่น ประกาศเกียรตคิ ณุ การมอบโล/่ วุฒิบตั ร 4.7 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และส่งเสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน

ทศิ ทางการดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้กําหนดทิศทางการดําเนินงานปี 2565 โดยใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในหน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็น ปัจจัยต่อการดําเนินงานของหน่วยงาน เพื่อนําผลไปใช้ในการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของหน่วยงานซึ่ง ไดผ้ ลการประเมินสถานการณ์วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพพร้อมกําหนดเปูาหมายการดําเนินงานของ หนว่ ยงาน ดังนี้ 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) จดุ แขง็ จดุ อ่อน 1. มโี ครงสร้างการบริหารงานและการมอบหมายงานท่ี 1. อตั รากําลงั ของหน่วยงานและสถานศึกษา ไมเ่ ปน็ ไป ชัดเจน ตามโครงสรา้ ง ทําให้การบรรจแุ ตง่ ตง้ั บุคลากรไม่ 2. มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนนุ และอบรมพฒั นาบุคลากร เพยี งพอตามกรอบอัตรากาํ ลังสง่ ผลให้การ ปฏิบตั ิงานไม่ อยา่ งต่อเนอื่ ง ตอ่ เน่อื ง 3. มกี ารนิเทศติดตามและพฒั นางาน 2. บคุ ลากร/ครผู สู้ อน จบการศึกษาไมต่ รงสาขาในการ 4. มีการสํารวจกล่มุ เปาู หมายเพื่อจดั การเรียน ปฏิบตั ิงาน ขาดความรู้/เชย่ี วชาญเฉพาะด้าน การสอน 3. บคุ ลากรขาดขวญั และกาํ ลังใจในการปฏิบัตงิ านและ 5. มบี รกิ ารจุดเชอ่ื มโยง ภาคเี ครอื ข่าย และใหบ้ ริการ ขาดความมน่ั คงในอาชีพ เชิงรุกถงึ กลุ่มเปาู หมาย ตอบสนองต่อความต้องการ 4. งบประมาณในการจดั การศึกษาตามอัธยาศัยมีน้อย ของประชาชน โดยเฉพาะห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด 6. บุคลากรมีความรู้ความสามารถทหี่ ลากหลาย โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ยึดมน่ั ในจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู มคี วามรับผดิ ชอบ เสียสละ พรอ้ มปฏบิ ัติงาน ตามนโยบายครอบคลุมทุก พน้ื ที่ และได้รับการพัฒนา อยา่ งต่อเนื่อง ภาคี เครอื ข่ายยอมรับในศกั ยภาพ 7. มรี ะบบเบกิ จา่ ยทม่ี ีประสทิ ธิภาพ มคี วามนา่ เช่อื ถอื โดยใช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสนบั สนุน การ ดําเนินงานและมรี ะเบียบกฎเกณฑ์ คูม่ อื แบบฟอร์มการ เบิกจ่ายทชี่ ดั เจน โดยยดึ หลัก ธรรมาภิบาลและมีภาคเี ครือข่ายให้การสนบั สนุน

จดุ แขง็ จดุ อ่อน 8. มีอาคารสถานทท่ี ีเ่ หมาะสม เปน็ สดั ส่วน 1. อตั รากาํ ลังของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ไมเ่ ป็นไป 9. ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรัชญา ตามโครงสรา้ ง ทาํ ให้การบรรจแุ ตง่ ต้งั บุคลากรไม่ คิดเปน็ เพียงพอตามกรอบอัตรากําลงั ส่งผลให้การ ปฏิบตั ิงานไม่ 10. มกี ารบรหิ ารจัดการทีเ่ ปน็ ระบบและตรวจสอบได้ ตอ่ เนอ่ื ง เชน่ ระบบประกันคณุ ภาพ 2. บุคลากร/ครูผ้สู อน จบการศึกษาไม่ตรงสาขาในการ 11. มกี ารทาํ งานเป็นทมี ปฏิบตั งิ าน ขาดความร/ู้ เช่ียวชาญเฉพาะดา้ น 3. บุคลากรขาดขวญั และกาํ ลังใจในการปฏิบัติงานและ โอกาส ขาดความม่ันคงในอาชีพ 4. งบประมาณในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มีน้อย โดยเฉพาะห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด อุปสรรค 1. มภี าคเี ครือขา่ ยท่ีเขม้ แข็งและมสี ว่ นรว่ มในการจดั 1. เกิดโรคระบาด โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 กจิ กรรม (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อการดาํ เนินงานอย่าง 2. มอี าสาสมคั รในชมุ ชนท่ชี ่วยเหลือการดําเนนิ งาน ต่อเน่อื ง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกิจของผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ ารไมเ่ อื้อตอ่ 3. มีการผลติ สื่อ นวตั กรรมด้านเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย การทาํ กจิ กรรมกล่มุ เปาู หมายท่ีเรยี นกับ กศน. อพยพไป ช่วยใน การจัดการเรียนการสอน ใช้แรงงานต่างถิ่น 3. นโยบายส่วนกลางมีการเปลี่ยนแปลงบอ่ ยทาํ ให้ การ ดาํ เนนิ งานไมต่ ่อเนื่อง 4. กฎ ระเบียบ วา่ ด้วยงาน กศน. ยงั ไมเ่ อื้อต่อการจดั การศกึ ษาของ กศน. ส่งผลตอ่ การดําเนินงานใน ดา้ น อ่นื ๆ 5. ทักษะดา้ นฝีมือแรงงาน การประกอบอาชีพยังต้อง มี การพฒั นาให้มีทักษะตรงกับความตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน 6. ครภุ ัณฑไ์ ม่เพียงพอ ขาดงบประมาณในการจัดซือ้ สอ่ื เทคโนโลยี จากการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หนว่ ยงานควรเสริมสร้างการทํางานเปน็ ทีมเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไป อย่างต่อเน่อื งและควรสรา้ งระบบการจัดการความรู้ขององค์กรการพัฒนางานให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น และพัฒนาคนโดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงาน โดยมีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ควบคู่กับการให้ภาคี

เครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี กําหนดทิศทางการดําเนินงานของ หน่วยงาน ไดแ้ ก่ ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เปูาประสงค์ ตัวช้ีวัด ความสําเร็จ และกลยทุ ธ์ ดังน้ี ปรชั ญา มุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรให้มีความคิดสร้างสรรค์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย รปู แบบ โดยการทํางานรว่ มกับภาคเี ครือข่าย วสิ ยั ทัศน์ “ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรีได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดาํ รงชีวติ ที่เหมาะสมกับชว่ งวยั บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” พนั ธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงและการปรับตัวในการดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างย่งั ยนื 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทาง การศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ เรียนรูแ้ ละบริบทของหน่วยงานของสถานศึกษา 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพ่ือเพ่ิมช่องทาง และโอกาส การเรยี นรู้ รวมถงึ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้กบั ประชาชนกลมุ่ เปูาหมายอย่างท่ัวถึง 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามี สว่ นรว่ ม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน รูปแบบต่างๆ ใหก้ ับประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการที่ดีบน หลักของธรรมมาภบิ าล มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผลและคล่องตัวมากย่ิงขนึ้ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มากยิ่งขน้ึ

นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงานของ กศน.อําเภอท่ามะกา ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้กําหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เก่ียวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ การพัฒนา ศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต ทมี่ งุ่ เน้นการสร้างสภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ ต่อการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กต้ังแต่ช่วงการต้ังครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับ ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ การพัฒนาการเรียนรู้ ท่ีตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายและจุดเน้นการ ดําเนินงานสํานักงาน กศน.ประจําปี 2565 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวังวา่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต จะไดร้ ับการพฒั นาการเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ สู่ความม่นั คง มั่งคั่ง และยัง่ ยืน กศน.อําเภอท่ามะกา เป็นสถานศึกษาที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งม่ันขับเคล่ือนภารกิจหลักตาม แผนพฒั นาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคํานึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งใน เรอ่ื งหลักธรรมาภบิ าล หลกั การกระจายอํานาจ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การ มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทํางานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ คุณภาพและการบรหิ ารจัดการคุณภาพ อนั จะนาํ ไปส่กู ารสรา้ งโอกาสและลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา การ ยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการสําหรับกลุ่มเปูาหมายทุกกลุ่ม และสร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้เรียน ผ้รู ับบรกิ าร หลักการ กศน.เพือ่ ประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” ซงึ่ ได้กําหนดนโยบายและจุดเน้น การดําเนนิ งาน ประจําปงี บประมาณ พ.ศ2565 ดังนี้ 1.ดา้ นการจัดการเรยี นร้คู ณุ ภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการ ดําเนินงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริทุกโครงการ และโครงการอันเกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายและจุดเน้นการ ดําเนินงานของสํานกั งาน กศน.และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบันหลักของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคลอ้ งกับบริบทท่ีเปล่ยี นแปลง ความตอ้ งการและความหลากหลายของผเู้ รียน/ผู้รับบริการ รวมถึง ปรบั ลด ความหลากหลายและความซาํ้ ซอ้ นของหลกั สูตร เช่น หลกั สูตรการศึกษาสาํ หรบั กลมุ่ เปูาหมายบนพ้ืนที่ สงู และพนื้ ท่ชี ายแดน รวมท้งั กลมุ่ ชาติพนั ธตุ์ ่างๆ 1.5 ปรบั ระบบทดสอบ วัดผลและประเมินผลโดยเนน้ การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้ผู้เรียน สามารถเขา้ ถึงการประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพ่ือการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้ความสําคัญ กับการเทียบระดับการศึกษาและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผเู้ รียน ให้ตอบโจทย์การประเมนิ ในระดับประเทศและระดับสากล 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบ วงจร ต้ังแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กลุ่มเปาู หมายท่ีสามารถเรียนรไู้ ดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผ้เู รยี นได้อย่างหลากหลาย 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสํานักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อสารการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังส่ือการเรียนรู้ ง่ายต่อการ สืบค้นและนําไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย 1.8 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกํากับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง ส่งเสรมิ การวิจัยเพอ่ื เปน็ ฐานในการพฒั นาการดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตท่ีเน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปาู หมายและบรบิ ทพน้ื ที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเน้น New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคล้องกับ บริบทพ้ืนที่ ความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดบั ผลิตภัณฑ์สนิ ค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ทีเ่ นน้ “ส่งเสริม ความรู้ สร้างอาชพี เพม่ิ รายได้ และมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ี” ให้มคี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรับของตลาด ต่อยอด ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพ่อื สรา้ งมูลคา่ เพมิ่ พฒั นาสวู่ ิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพ่มิ ชอ่ งทางประชาสัมพันธแ์ ละ ชอ่ งทางการจําหนา่ ย 2.4 สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดาํ รงชีวิตท่ีเหมาะกบั ช่วงวัย

2.5 ส่งเสริมการจดั การศึกษาที่พัฒนาทักษะท่ีจําเป็นสําหรับกลุ่มเปูาหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสติก เด็กเรร่ ่อน และผู้ดอ้ ยโอกาสอืน่ ๆ 2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน.และผู้เรียนเพ่ือ รองรบั การพฒั นาประเทศ 2.7 สง่ เสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมของผ้เู รยี น กศน. 2.8 สรา้ งอาสาสมัคร กศน.เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอด ชีวิตรองรับการพัฒนาประเทศ 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน.รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่ เพอื่ ให้หน่วยงาน/สถานศึกษา นําไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 3. ด้านองคก์ ร สถานศึกษาและแหลง่ เรยี นรู้คุณภาพ 3.1 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตําบลและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง (ศศช.)” ใหเ้ ป็นพนื้ ที่การเรียนรตู้ ลอดชีวิตที่สาํ คัญของชมุ ชน 3.2 ปรับรปู แบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน เน้น Library Delivery เพื่อเพ่ิมอัตรการอ่าน และการรู้หนังสอื ของประชาชน 3.3 ประสานการจัดกิจกรรมและการให้บริการการศึกษาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์จังหวัด กาญจนบรุ ี โดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ เคร่อื งมอื นําวิทยาศาสตรส์ ชู่ วี ิตประจาํ วนั ในทกุ ครอบครัว 3.4 สง่ เสริมและสนับสนุนการสร้างพ้ืนท่ีการเรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพ่ือการสร้างนเิ วศการเรียนรูใ้ หเ้ กิดข้ึนสังคม 4. ด้านการบรหิ ารคณุ ภาพ 4.1 การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่งให้ตรงกับสาย งาน และทกั ษะทจ่ี ําเป็นในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 4.2 ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษาให้มีความครอบคลุมเหมาะสม 4.3 ปรบั ปรงุ ระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมลู การรายงานผลการดําเนนิ งาน ข้อมลู เดก็ ตกหลน่ จากการศกึ ษาในระบบ เดก็ เรร่ ่อน ผ้พู กิ าร 4.4 ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เคร่อื งมอื ในการบรหิ ารจดั การอย่างเต็มรปู แบบ 4.5 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพ และความโปร่งใสการดาํ เนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.6 เสรมิ สรา้ งขวญั และกาํ ลงั ใจให้กับขา้ ราชการและบคุ ลากรทกุ ประเภทในรูปแบบต่างๆ เช่น ประกาศเกยี รตคิ ุณ การมอบโล่/วุฒบิ ัตร 4.7 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน

ทศิ ทางการดําเนนิ งาน กศน.อาํ เภอท่ามะกา กศน.อําเภอท่ามะกา ได้กําหนดทิศทางการดําเนินงานปี 2565 โดยใช้การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน หน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็นปัจจัยต่อการดําเนินงาน ของหน่วยงาน เพ่ือนําผลไปใช้ในการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของหน่วยงานซ่ึงได้ผลการประเมิน สถานการณ์วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพพรอ้ มกาํ หนดเปาู หมายการดําเนนิ งานของหนว่ ยงาน ดงั น้ี 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาของ กศน.อําเภอทา่ มะกา การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 1. มโี ครงสร้างการบรหิ ารงานและการมอบหมายงานท่ี 1. บุคลากร/ครผู สู้ อน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาในการ ชัดเจน ปฏบิ ตั ิงาน ขาดความร้/ู เชย่ี วชาญเฉพาะด้าน 2. มีการสง่ เสริมสนบั สนุนและอบรมพัฒนาบุคลากร 2. บุคลากรขาดขวัญและกาํ ลังใจในการปฏิบตั ิงานและ อย่างต่อเนื่อง ขาดความม่ันคงในอาชพี 3. มกี ารนเิ ทศติดตามและพฒั นางาน 4. งบประมาณในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยมีน้อย 4. มีการสาํ รวจกลุ่มเปาู หมายเพื่อจดั การเรยี น การสอน 5. มบี ริการจุดเช่อื มโยง ภาคีเครือข่าย และใหบ้ ริการ เชงิ รกุ ถงึ กลุ่มเปูาหมาย ตอบสนองตอ่ ความต้องการ ของประชาชน 6. บุคลากรมีความรู้ความสามารถทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยี ยึดมัน่ ในจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู มีความรับผิดชอบ เสยี สละ พร้อมปฏบิ ตั ิงาน ตามนโยบายครอบคลุมทุก พ้นื ที่ และไดร้ บั การพัฒนา อยา่ งต่อเน่ือง ภาคี เครอื ขา่ ยยอมรับในศักยภาพ 7. มีอาคารสถานท่ที ีเ่ หมาะสม เป็นสดั ส่วน 8. ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรัชญา คิดเป็น 9. มกี ารบริหารจัดการทีเ่ ปน็ ระบบและตรวจสอบได้ เช่น ระบบประกันคุณภาพ 10. มีการทาํ งานเปน็ ทมี

จดุ แขง็ จดุ อ่อน 11.มวี สิ ัยทศั น์ที่ชดั เจน อปุ สรรค 12.คณะกรรมการสถานศกึ ษามีสว่ นรว่ มในการจัด การศึกษา โอกาส 1. มีภาคีเครอื ข่ายท่เี ขม้ แข็งและมสี ว่ นร่วมในการจดั 1. เกิดโรคระบาด โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 กิจกรรม (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อการดําเนนิ งานอย่าง 2. มีอาสาสมัครในชุมชนทช่ี ว่ ยเหลอื การดาํ เนินงาน ต่อเนอ่ื ง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกิจของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการไมเ่ อื้อต่อ 3. มกี ารผลติ ส่ือ นวตั กรรมด้านเทคโนโลยที ่หี ลากหลาย การทาํ กจิ กรรมกลุ่มเปาู หมายทเี่ รยี นกับ กศน. อพยพไป ช่วยใน การจัดการเรยี นการสอน ใช้แรงงานตา่ งถ่ิน 4.มภี มู ปิ ัญญาแหลง่ เรยี นรตู้ ามชุมชน 3. นโยบายสว่ นกลางมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยทาํ ให้ การ ดําเนนิ งานไม่ตอ่ เนื่อง 4. กฎ ระเบียบ ว่าดว้ ยงาน กศน. ยังไม่เออื้ ต่อการจัด การศึกษาของ กศน. ส่งผลต่อการดําเนินงานใน ดา้ น อ่นื ๆ 5. ทักษะดา้ นฝีมือแรงงาน การประกอบอาชีพยังต้อง มี การพฒั นาให้มที ักษะตรงกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน 6. ครภุ ณั ฑ์ไมเ่ พียงพอ ขาดงบประมาณในการจดั ซ้ือ สอ่ื เทคโนโลยี 7.ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ประชาชนในชมุ ชนมี ความหลากหลายทางวฒั นธรรม จากการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หน่วยงานควรเสรมิ สรา้ งการทาํ งานเป็นทีมเพมิ่ ประสิทธภิ าพของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไป อยา่ งต่อเนอ่ื งและควรสรา้ งระบบการจดั การความรู้ขององค์กรการพัฒนางานให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยิ่งข้ึน และพัฒนาคนโดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงาน โดยมีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเคร่ืองมือ ควบคู่กับการให้ภาคี เครือข่ายมีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรม กศน.อาํ เภอท่ามะกา กาํ หนดทิศทางการดําเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ เปูาประสงค์ ตวั ชว้ี ัด ความสําเรจ็ และกลยทุ ธ์ ดังน้ี

ปรชั ญา เรยี นรูต้ ลอดชีวิต คดิ เป็น เน้นคณุ ธรรม อัตลกั ษณส์ ถานศึกษา ใฝเุ รยี นรู้ คู่คุณธรรม วสิ ยั ทศั น์ “ มุ่งม่ันจัดกิจกรรมให้ประชาชนได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ สามารถดํารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้เกิด สงั คมฐานความรูค้ ่คู ณุ ธรรม” พันธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงและการปรับตัวในการดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อยา่ งยัง่ ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัติกรรมเทคโนโลยีทาง การศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ เรยี นรแู้ ละบริบทของหน่วยงานของสถานศึกษา 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพ่ือเพิ่มช่องทาง และโอกาส การเรียนรู้ รวมถงึ การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ใหก้ บั ประชาชนกลมุ่ เปูาหมายอย่างท่ัวถึง 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามี ส่วนร่วม ในการสนับสนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน รูปแบบตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการท่ีดีบน หลักของธรรมมาภบิ าล มปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ลและคลอ่ งตวั มากย่งิ ข้ึน 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มากยิ่งขึน้

บทที่ 3 วเิ คราะหข์ อ้ มูล (SWOT) ๓.๑ วเิ คราะหข์ อ้ มลู สภาพแวดลอ้ มระดบั อาํ เภอ (SWOT Analysis) ผลการวเิ คราะหป์ จั จยั ภายในภายนอก ของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั กาญจนบรุ ี (SWOT Analysis) จากสภาพการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ผ่านมาของ สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี สามารถวิเคราะห์ปัจจัยภายในภายนอกของสํานักงาน กศน.จังหวัด กาญจนบรุ ี SWOT Analysis ไดด้ ังนี้ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 1. มีโครงสร้างการบริหารงานและการมอบหมายงานท่ี 1. อัตรากําลังของหน่วยงานและสถานศึกษา ไม่เป็นไป ชัดเจน ตามโครงสร้าง ทําให้การบรรจุแต่งต้ังบุคลากรไม่ 2. มีการส่งเสริมสนับสนุนและอบรมพัฒนาบุคลากร อย่าง เพยี งพอตามกรอบอัตรากําลังส่งผลให้การ ปฏิบัติงานไม่ ต่อเนื่อง ตอ่ เน่อื ง 3. มกี ารนเิ ทศติดตามและพัฒนางาน 2. บุคลากร/ครูผู้สอน จบการศึกษาไม่ตรงสาขาในการ 4. มกี ารสํารวจกลมุ่ เปาู หมายเพอ่ื จัดการเรยี น ปฏิบัติงาน ขาดความร้/ู เช่ียวชาญเฉพาะด้าน การสอน 3. บุคลากรขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานและ 5. มบี รกิ ารจดุ เช่ือมโยง ภาคีเครอื ข่าย และใหบ้ รกิ าร เชิงรุก ขาดความมัน่ คงในอาชีพ ถึงกลมุ่ เปูาหมาย ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของประชาชน 4. งบประมาณในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยมีน้อย 6. บุคลากรมีความรู้ความสามารถที่หลากหลาย โดยเฉพาะ โดยเฉพาะหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัด ด้านเทคโนโลยี ยึดม่ัน ในจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความ รับผิดชอบ เสียสละ พร้อมปฏิบัติงานตามนโยบาย ครอบคลุมทุก พ้ืนที่ และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ภาคี เครอื ข่ายยอมรบั ในศกั ยภาพ 7. มีระบบเบิกจ่ายท่ีมีประสิทธิภาพ มีความน่าเช่ือถือ โดย ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการสนับสนุน การ ดําเนินงานและมีระเบียบกฎเกณฑ์ คู่มือ แบบฟอร์มการ เบิกจ่ายที่ชัดเจน โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและมีภาคี เครือขา่ ยใหก้ ารสนบั สนนุ การ ดําเนนิ งานของ กศน. 8. มอี าคารสถานทท่ี ่เี หมาะสม เป็นสัดสว่ น 9. ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรัชญาคิด เป็น 10. มีการบริหารจัดการท่ีเป็นระบบและตรวจสอบได้ เช่น ระบบประกนั คุณภาพ 11. มีการทํางานเป็นทีม

โอกาส อปุ สรรค 1. มีภาคีเครือข่ายท่ีเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการจัด 1.เกิดโรคระบาด โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 กจิ กรรม (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานอย่าง 2. มีอาสาสมคั รในชุมชนทีช่ ่วยเหลือการดําเนนิ งาน กศน. ตอ่ เน่อื ง 3. มีการผลิตส่ือ นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยที ่ีหลากหลายช่วย 2. สภาวะเศรษฐกิจของผู้เรียน/ผู้รับบริการไม่เอื้อ ใน การจัดการเรียนการสอน ตอ่ การทาํ กจิ กรรมกลมุ่ เปูาหมายที่เรยี นกับ กศน. อพยพ ไปใชแ้ รงงานตา่ งถิ่น 3. นโยบายส่วนกลางมีการเปล่ียนแปลงบ่อยทําให้ การดาํ เนินงานไมต่ อ่ เนอื่ ง 4. กฎ ระเบียบ ว่าด้วยงาน กศน. ยังไม่เอ้ือต่อการจัด การศึกษาของ กศน. ส่งผลต่อการดําเนินงานใน ด้าน อน่ื ๆ 5. ทักษะด้านฝีมือแรงงาน การประกอบอาชีพยังต้อง มี ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ มี ทั ก ษ ะ ต ร ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ตลาดแรงงาน 6. ครุภัณฑ์ไม่เพียงพอ ขาดงบประมาณในการจัดซื้อส่ือ เทคโนโลยี

3.2 สรปุ สภาพปญั หาความตอ้ งการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พฒั นาระดบั อาํ เภอ กศน.ตาํ บลทา่ ไม้ สภาพปญั หา/ความตอ้ งการ สาเหตุ แนวทางแก้ไข/พฒั นา 1. ในพน้ื ทต่ี ําบลทา่ ไม้ ยงั มีประชากร ข้ออ้างในดา้ นเวลา ความพรอ้ ม 1.1 สาํ รวจและตดิ ตามประชากรวัยเรยี นตาม วยั เรียนทพ่ี ลาดโอกาสทางการศกึ ษาอยู่ การประกอบอาชพี โครงการสง่ เสรมิ การจดั การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1.2 ประสานความร่วมมือกับผนู้ ําชุมชนในการ ประชาสมั พนั ธก์ ารรับสมัครนักศึกษา 2. ปญั หาดา้ นการประกอบอาชพี ของ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค 2.1 จดั โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตร ประชาชน ซ่งึ สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 ในพนื้ ที่ พัฒนาอาชีพระยะส้นั (กลมุ่ สนใจ) ไมเ่ กิน 30 โรงงานอุตสาหกรรม/เกษตรกร/คา้ ขาย ตําบลท่าไม้ ชว่ั โมง วิชาการทาํ สบู่แฟนซ/ี วชิ าการทาํ ผลิตภณั ฑจ์ ากเสน้ พลาสติก (ตะกรา้ ผ้า)/วชิ า ผลิตภณั ฑ์จากผา้ ควิลท์ 2.2 จดั โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลกั สูตร ชน้ั เรียนวชิ าชพี (31 ชัว่ โมงข้นึ ไป) วชิ า ผลิตภัณฑ์จักสานจากเชือกร่ม (ตะกร้า) 3. จํานวนประชากรกลุ่มผ้สู งู อายใุ น เปน็ ไปตามชว่ งวยั 3.1 จดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรม พืน้ ทต่ี าํ บลท่าไมเ้ พ่มิ สูงขนึ้ สง่ เสริมการอา่ น สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ มกี ารเลน่ เกมสแ์ บบงา่ ยๆ 4. ประชาชนในพน้ื ท่ีตาํ บลทา่ ไม้ กับ ขาดการสง่ เสริมใหป้ ระชาชนใน 4.1 จดั กจิ กรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ การนอ้ มนาํ ศาสตร์พระราชามาเปน็ พ้ืนทีต่ าํ บลท่าไม้ นอ้ มนําศาสตร์ พอเพียง โครงการเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือ แนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ พระราชามาเปน็ แนวทางในการ ชมุ ชน ดําเนินชวี ติ 4.2 จดั กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตตามทฤษฎีใหม่ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล 5. การปลูกฝงั ใหป้ ระชาชนในพน้ื ท่ี 5.1 จดั โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ในระดับ ตาํ บลทา่ ไม้ มนี ิสยั รกั การอา่ น ตําบล หนงั สือพิมพ์ กศน.ตาํ บล 5.2 จดั โครงการสง่ เสริมการอ่าน/อาสาสมัคร สง่ เสริมการอ่าน 5.3 โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน/บา้ นหนงั สือชมุ ชน 6. การดาํ เนินชวี ติ ในชว่ งสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั 6.1 จดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ โครงการกนิ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโค โคโรนา่ 2019 ถูกโรค ออกกาํ ลังกายถกู ใจ หา่ งไกลจากโรคร้าย โรนา่ 2019 ในพ้ืนทต่ี ําบลทา่ ไม้

สภาพปญั หา/ความตอ้ งการ กศน.ตาํ บลยางมว่ ง แนวทางแกไ้ ข/พฒั นา 1. ในพน้ื ที่ตาํ บลยางมว่ ง ยงั มีประชากร สาเหตุ 1.1 สํารวจและติดตามประชากรวัยเรยี น วัยเรยี นที่พลาดโอกาสทางการศึกษาอยู่ ตามโครงการสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา ขอ้ อา้ งในดา้ นเวลา ความพร้อม นอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 2. ปญั หาดา้ นการประกอบอาชพี ของ การประกอบอาชพี 1.2 ประสานความรว่ มมอื กับผนู้ ําชมุ ชน ประชาชน ซึง่ สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพ ในการประชาสัมพันธ์การรบั สมัคร โรงงานอตุ สาหกรรม/เกษตรกร/ค้าขาย สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค นักศึกษา ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019 ในพน้ื ท่ี 2.1 จดั โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน 3. จาํ นวนประชากรกลมุ่ ผ้สู งู อายุใน ตาํ บลยางมว่ ง หลักสูตรพฒั นาอาชพี ระยะส้ัน (กลุ่ม พื้นท่ีตําบลยางม่วงเพิ่มสูงข้ึน สนใจ) ไมเ่ กนิ 30 ชว่ั โมง วชิ าการทาํ ขนม 4. ประชาชนในพ้ืนทต่ี าํ บลยางม่วง กับ เป็นไปตามชว่ งวยั ตะโก/้ วชิ าการทาํ น้ําสลดั เพอ่ื สขุ ภาพ การน้อมนําศาสตร์พระราชามาเปน็ 2.2 จดั โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน แนวทางในการดาํ เนินชวี ิต ขาดการสง่ เสริมใหป้ ระชาชนใน หลกั สูตรชนั้ เรยี นวชิ าชพี (31 ชวั่ โมงขึน้ พื้นที่ตาํ บลยางมว่ ง นอ้ มนาํ ศาสตร์ ไป) วชิ าตะกรา้ หวายเทยี ม 5. การปลกู ฝังใหป้ ระชาชนในพนื้ ท่ี พระราชามาเป็นแนวทางในการ 3.1 จดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ตําบลยางมว่ ง มีนิสยั รักการอ่าน ดาํ เนินชีวติ กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน สําหรบั ผู้สูงอายุ มกี ารเลน่ เกมส์แบบง่ายๆ 6. การดาํ เนนิ ชีวติ ในชว่ งสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส 4.1 จดั กจิ กรรมตามหลักปรชั ญาของ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 เศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการเรยี นรู้ โคโรน่า 2019 ในพื้นท่ตี าํ บลยางม่วง เศรษฐกจิ พอเพยี งเพือ่ ชมุ ชน 4.2 จดั กจิ กรรมพัฒนาสังคมและชมุ ชน โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามทฤษฎี ใหม่ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล 5.1 จดั โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรใู้ น ระดบั ตาํ บล หนังสอื พิมพ์ กศน.ตําบล 5.2 จดั โครงการสง่ เสริมการอา่ น/ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 5.3 โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/บา้ น หนังสอื ชมุ ชน 6.1 จดั กจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ิต โครงการกินถูกโรค ออกกําลงั กายถกู ใจ ห่างไกลจากโรคร้าย

กศน.ตําบลสนามแย้ สภาพปญั หา/ความตอ้ งการ สาเหตุ แนวทางแก้ไข/พฒั นา 1. ในพืน้ ทตี่ าํ บลสนามแย้ ยังมี ข้ออ้างในด้านเวลา ความพรอ้ ม 1.1 สาํ รวจและติดตามประชากรวัยเรยี น ประชากรวัยเรยี นทพี่ ลาดโอกาสทาง การประกอบอาชีพ ตามโครงการส่งเสริมการจัดการศึกษา การศึกษาอยู่ นอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 1.2 ประสานความร่วมมือกับผนู้ าํ ชมุ ชน 2. ปัญหาดา้ นการประกอบอาชพี ของ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค ในการประชาสมั พันธ์การรับสมคั ร ประชาชน ซ่ึงสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพ ตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 ในพนื้ ท่ี นักศึกษา โรงงานอุตสาหกรรม/เกษตรกร/ค้าขาย ตําบลสนามแย้ 2.1 จดั โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรพัฒนาอาชพี ระยะสนั้ (กลมุ่ 3. จํานวนประชากรกลมุ่ ผูส้ ูงอายใุ น เปน็ ไปตามชว่ งวยั สนใจ) ไมเ่ กนิ 30 ชวั่ โมง วชิ าการทําสาย พน้ื ท่ตี ําบลสนามแยเ้ พม่ิ สงู ขึน้ คล้องแมสก์ 2.2 จัดโครงการศูนยฝ์ ึก อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรช้ันเรียนวชิ าชีพ 4. ประชาชนในพ้ืนท่ีตาํ บลสนามแย้ ขาดการส่งเสรมิ ให้ประชาชนใน (31 ช่ัวโมงข้ึนไป) วชิ าการเย็บหมวกผา้ กบั การน้อมนาํ ศาสตร์พระราชามาเปน็ พ้นื ท่ตี าํ บลท่าไม้ นอ้ มนาํ ศาสตร์ 3.1 จดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั แนวทางในการดําเนินชวี ติ พระราชามาเปน็ แนวทางในการ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น สาํ หรบั ผู้สูงอายุ ดําเนนิ ชวี ติ มกี ารเลน่ เกมสแ์ บบงา่ ยๆ 4.1 จดั กจิ กรรมตามหลกั ปรชั ญาของ 5. การปลูกฝงั ให้ประชาชนในพนื้ ท่ี เศรษฐกจิ พอเพียง โครงการเรยี นรู้ ตาํ บลสนามแย้ มนี สิ ยั รกั การอ่าน เศรษฐกจิ พอเพียงเพือ่ ชมุ ชน 4.2 จดั กจิ กรรมพฒั นาสงั คมและชมุ ชน 6. การดาํ เนนิ ชวี ติ ในชว่ งสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามทฤษฎี การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโร โคโรน่า 2019 ใหมป่ ระยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล นา่ 2019 ในพื้นที่ตาํ บลสนามแย้ 5.1 จดั โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรใู้ น ระดับตําบล หนงั สือพิมพ์ กศน.ตําบล 5.2 จดั โครงการสง่ เสริมการอ่าน/ อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน 5.3 โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/บา้ น หนังสือชุมชน 6.1 จดั กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวิต โครงการกนิ ถูกโรค ออกกาํ ลงั กายถกู ใจ ห่างไกลจากโรครา้ ย

กศน.ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ สภาพปญั หา/ความตอ้ งการ สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข/พฒั นา 1. ในพ้ืนท่ตี าํ บลเขาสามสบิ หาบ ยังมี ข้ออา้ งในดา้ นเวลา ความพร้อม 1.1 สํารวจและตดิ ตามประชากรวัยเรยี น ประชากรวยั เรียนทพ่ี ลาดโอกาสทาง การประกอบอาชีพ ตามโครงการสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษานอก การศึกษาอยู่ ระบบ ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 1.2 ประสานความร่วมมอื กับผนู้ าํ ชุมชนใน 2. ปญั หาดา้ นการประกอบอาชพี ของ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค การประชาสมั พนั ธ์การรบั สมคั รนักศึกษา ประชาชน ซง่ึ สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019 ในพนื้ ท่ี 2.1 จดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน โรงงานอตุ สาหกรรม/เกษตรกร/ค้าขาย ตําบลเขาสามสิบหาบ หลักสูตรพฒั นาอาชพี ระยะส้ัน (กลุ่มสนใจ) ไม่เกนิ 30 ชวั่ โมง วชิ าการถักโครเชต์ (สาย 3. จาํ นวนประชากรกลมุ่ ผ้สู งู อายใุ น เป็นไปตามชว่ งวยั คลอ้ งแมสก)์ /วิชาการเยบ็ ยาง มดั ผมโดนทั พนื้ ทต่ี าํ บลเขาสามสิบหาบเพ่มิ สูงขน้ึ หูกระต่าย 2.2 จดั โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน 4. ประชาชนในพน้ื ท่ีตําบลเขาสาม ขาดการสง่ เสรมิ ให้ประชาชนใน หลกั สูตรช้ันเรยี นวชิ าชพี (31 ชว่ั โมงข้นึ ไป) สิบหาบ กับการนอ้ มนําศาสตร์ พื้นที่ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ น้อมนํา วิชาการเยบ็ หมวกทรงถังและปกี ฐาน พระราชามาเปน็ แนวทางในการดําเนิน ศาสตรพ์ ระราชามาเป็นแนวทางใน 3.1 จดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ชวี ติ การดาํ เนนิ ชวี ิต กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน สาํ หรบั ผ้สู ูงอายุ มี การเล่นเกมส์แบบงา่ ยๆ 5. การปลูกฝงั ใหป้ ระชาชนในพน้ื ท่ี 4.1 จดั กิจกรรมตามหลักปรชั ญาของ ตาํ บลเขาสามสบิ หาบ มีนิสัยรักการอา่ น เศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการสง่ เสรมิ การ เรยี นรโู้ คก หนอง นา โมเดล 6. การดาํ เนนิ ชวี ติ ในชว่ งสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส 4.2 จดั กจิ กรรมพฒั นาสังคมและชมุ ชน การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโร โคโรนา่ 2019 โครงการโคก หนอง นา โมเดล ตาม นา่ 2019 ในพืน้ ท่ตี ําบลเขาสามสิบหาบ เศรษฐกิจพอเพยี ง 5.1 จดั โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ในระดบั ตาํ บล หนงั สือพิมพ์ กศน.ตําบล 5.2 จดั โครงการสง่ เสริมการอา่ น/ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 5.3 โครงการส่งเสริมการอา่ น/บา้ นหนงั สือ ชุมชน 6.1 จดั กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต โครงการ เสรมิ สรา้ งสุขภาพ กนิ ถกู โรค ออกกาํ ลัง ถูกใจ หา่ งไกลจากโรครา้ ย

บทท่ี 4 รายละเอียดแผนปฏบิ ตั กิ าร ครอู าสาสมคั ร กศน.อาํ เภอทา่ มะกา งบประมาณ 2,750 4.1 ตารางบญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 57,310 ลําดับท่ี ชื่อโครงการ 59,400 1. ส่งเสรมิ การรูห้ นงั สอื 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนการเรียนรู้แบบรายวิชา 42,440 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์กลางภาค หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 4. สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างคนดี มีจติ อาสา (กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน) รวม รวม ..................4..................... โครงการ งบประมาณทงั้ สิ้น ..............161,900....................... บาท งบดาํ เนินงาน ............................-................................ บาท งบรายจา่ ยอ่ืน ...........................-................................ บาท งบอดุ หนนุ .........................161,900......................... บาท หมายเหตุ ตารางบญั ชีใชต้ ารางตามแบบ Microsoft Excel

4.2 โครงการตามแผนการจดั สรรงบประมาณ โครงการสง่ เสริมการรหู้ นงั สือ 1. ชื่อโครงการ : โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบาย และจดุ เนน้ การการดาํ เนนิ งาน 2.1 สอดคล้องกบั นโยบาย และจุดเน้นการการดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปีงบประมาณ 2565 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการ และการวัดผลประเมินผล ขอ้ ที่ 1.3 จัดการศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมอัตรา การการร้หู นังสือให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลกั สตู รการรูห้ นังสือของคนไทยของสํานักงาน กศน.และสื่อที่เหมาะสมกับสภาพและพ้ืนทข่ี องกลุ่มเปาู หมาย 3. หลกั การและเหตผุ ล จากนโยบาย และจุดเนน้ การดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปีงบประมาณ 2561 ข้อที่ 1.3 จัดการศึกษาเพือ่ เพิม่ อัตราการการรู้หนังสือให้คนไทยใหส้ ามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลกั สูตรการรูห้ นงั สอื ของคนไทยของสํานกั งาน กศน.และสื่อท่ีเหมาะสมกบั สภาพและพน้ื ที่ของกลุม่ เปูาหมายเพื่อเปน็ เคร่อื งมือใน การศึกษาและเรียนร้อู ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ ของประชาชนต่อไป กศน.อําเภอท่ามะกา เห็นความสําคัญของนโยบายดังกล่าว จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ น้ีข้ึน เพ่ือส่งเสริมการรู้หนังสือให้กับประชาชนผู้ที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้หรือลืมหนังสือ เพื่อเป็นเคร่ืองมือใน การศึกษาและเรยี นร้อู ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิตของประชาชนตอ่ ไป 4. วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ ไู้ มร่ หู้ นังสอื หรอื ลืมหนังสอื สามารถอ่านออกเขยี นได้ และคิดเลขเปน็ 5. เปาู หมาย 5.1เชิงปริมาณ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การรู้หนังสอื หรือลมื หนงั สอื ให้กบั ประชาชน จํานวน 35 คน 5.2เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละ 80 ของผ้ไู ม่รหู้ นังสอื หรือลมื หนงั สอื สามารถอา่ นออกเขียนได้ และคิดเลขเปน็

6. วิธดี ําเนนิ งาน วตั ถุประสงค์ เปูาหมาย พ้ืนทดี่ าํ เนินการ ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรมหลัก เพือ่ กําหนด ประชาชนผ้ไู มร่ ู้ อําเภอท่ามะกา พ.ย. 64 2,750 กลมุ่ เปาู หมาย หนังสือ 1.สาํ รวจ จํานวน 36 คน อําเภอท่ามะกา พ.ย. 64 – กล่มุ เปูาหมาย ผู้ไมร่ ้หู นังสือ ประชาชนผไู้ มร่ ู้ ส.ค.65 หรอื ลมื สามารถ หนงั สือ หรือลมื พ้ืนทีจ่ ัด 2. จัดกจิ กรรมสง่ เสริม อา่ นออกเขยี นได้ หนงั สอื กจิ กรรม พ.ย. 64 – การรู้หนงั สอื และคิดเลขเปน็ จํานวน 35 คน กศน.อําเภอ ส.ค.65 -ทาํ แผนการจดั ท่ามะกา ก.ย. 65 กิจกรรมการเรียนรู้ นเิ ทศติดตามผล นิเทศตามแผน -ดาํ เนินการจดั การจดั กิจกรรม กลุ่มละ 1 ครัง้ กจิ กรรมการเรียนรู้ เพือ่ รายงานผลการ สรปุ และรายงานผล 3.นเิ ทศตติ ามผล ดําเนนิ งาน โครงการ 4.สรปุ ผลงาน 7. วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ 7.1 งบกิจกรรมสง่ เสริมการรู้หนังสือ 2,750 บาท 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย.-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) ( ต.ค.-ธ.ค.63 ) ( ม.ค.-ม.ี ค.64 ) 2,750 - 1. จดั หาวสั ดุ – อุปกรณ์ 2,750 - - - - - 2. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การร้หู นังสือ - - - - 3.นิเทศตติ ามผล -- 4.สรุปผลงาน -- 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ 1. กลมุ่ งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบฯ ของ กศน.อําเภอท่ามะกา 2. ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน 3. ครู กศน.ตาํ บล

10.เครอื ขา่ ย 1. องคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บล 2. เทศบาลตาํ บล 3. กศน.ตําบล 4. ผ้นู าํ ชมุ ชน 11. โครงการทเี่ กีย่ วขอ้ ง โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบข้ันพน้ื ฐาน 12. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั ผู้ไม่รูห้ นังสือหรอื ลืมหนงั สือ สามารถอา่ นออกเขียนได้ และคดิ เลขเปน็ 13. ดัชนีชีว้ ัดผลสาํ เร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Output) เชงิ ปรมิ าณ 1. ร้อยละ 80 ของจาํ นวนผูเ้ รยี นจากเปูาหมายสามารถอ่านหนังสือได้ เชิงคณุ ภาพ 2. ผู้ไม่รู้หนังสือหรือลืมหนังสือสามารถอ่านออกเขียนได้ และสามารถบวก ลบคูณหารตาม กิจกรรมที่กาํ หนดได้ 13.2 ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ์ (Outcome) ผูไ้ ม่รหู้ นงั สอื สามารถอ่านหนงั สือพมิ พ์ อา่ นเอกสารท่ัวไป และสามารถซอ้ื ขายและทอนเงนิ ได้ 14. การประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน 15.1 แบบสอบถาม 15.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการ

โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทาํ แผนการเรยี นรแู้ บบรายวชิ า หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 1. ช่ือโครงการ : โครงการประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารจดั ทําแผนการเรยี นรู้แบบรายวชิ า หลักสตู รการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 – 2580 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ - ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 - การตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนุษยท์ ห่ี ลากหลาย 2.2 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขอ้ ท่ี 3 พัฒนาหลกั สตู ร สือ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรียนรู้ และรปู แบบการจัด การศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ตอ่ การจัดการศึกษาทเี่ หมาะสมกบั ทุก กลมุ่ เปาู หมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสงั คมปัจจุบัน ความต้องการของ ผูเ้ รยี น และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีจะเกิดข้นึ ในอนาคต 3. หลักการและเหตผุ ล การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหัวใจสําคัญของครู กศน. ท่ีจะส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ท่ีสูงขึ้น รูปแบบของ การจัดการเรยี นรู้ กศน. ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนมากที่สุดคือ การบูรณาการเน้ือหาการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชาให้ สอดคล้องเหมาะสมกบั บริบทของพ้นื ท่ี และความต้องการของผู้เรียน ลดภาระครูท่ีมีความรู้ไม่ตรงกับสาขาวิชา ที่สอน และภารกิจที่มีอยู่ค่อนข้างมาก แผนการเรียนรู้แบบบูรณาการจะช่วยให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในช้ัน เรียนได้อย่างมีคุณภาพ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอําเภอท่ามะกา ต้องการที่จะพัฒนาครู กศน. ให้มีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการจัดทําแผนการ เรียนรู้แบบรายวิชา และนําแผนการเรียนท่ีได้จัดทําข้ึน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน เพื่อส่งเสริมให้ ผู้เรียนมพี ัฒนาการความรทู้ เ่ี พ่ิมข้นึ สนใจในการเรียนรมู้ ากขน้ึ สง่ ผลตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ของผู้เรียน อีก ท้ังหากครู กศน. สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตรงตามแผนการเรียนรู้ก็จะส่งผลให้ผู้เรียนมาเข้าสอบป ลาย ภาคมากข้ึนเช่นกนั

4. วัตถุประสงค์ 4.1. เพื่อให้ครู กศน.อําเภอท่ามะกา มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทําแผนการเรียนรู้แบบ รายวิชา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ได้ 4.2 แผนการเรยี นรู้แบบรายวิชาท่ีได้จดั ทาํ ในครัง้ นี้มีการนาํ ไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ได้ในรปู แบบ On Site , Online , On Hand 5. เปูาหมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ กล่มุ เปาู หมาย/เปาู หมายทเ่ี ข้ารว่ มโครงการคร้ังนีท้ ั้งสน้ิ จาํ นวน 23 คน ประกอบด้วย 1) ครูผชู้ ่วย จํานวน 1 คน 2) นักวชิ าการศึกษา จาํ นวน 1 คน 3) ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน จาํ นวน 4 คน 4) ครู กศน.ตําบล จาํ นวน 17 คน 5.2 เชงิ คุณภาพ 1) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ครู กศน.อําเภอท่ามะกา มีแผนการเรียนรู้แบบรายวิชา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และนําไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ในชนั้ เรียนได้ 2) นักศึกษาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรู้และมีจาํ นวนผู้เขา้ สอบสงู ขึ้น 6. วิธีดาํ เนินการ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปาู หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา เปูาหมาย ดําเนนิ การ -ปฏบิ ัติการจดั ทาํ - เพื่อให้ครู กศน.มคี วามรู้ 1. ครู คศ.1 1 คน ยงั โทน เฮลธ์ 1 - 3 แผนการเรียนร้แู บบ ความเขา้ ใจ เร่ือง การทาํ 2. ครูผู้ช่วย 1 คน ปารค์ รสี อร์ท ธนั วาคม รายวชิ า หลักสูตร หน่วยการเรยี นรแู้ บบรายวชิ า 3. นกั วิชาการศกึ ษา 1 คน กาญจนบุรี 2564 การศึกษานอกระบบ ข้ันตอนการทาํ หนว่ ยการ 4. ครูอาสาสมัครฯ 3 คน ตําบลศรีมงคล ระดับการศกึ ษาขั้น เรียนรแู้ บบบรู ณาการ สภาพ 5. ครู กศน.ตําบล 17 คน อาํ เภอไทรโยค พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ปัญหาความต้องการการ จังหวดั 2551 เรียนรู้ การวิเคราะหห์ ลักสูตร กาญจนบุรี การจดั ทําแผนการเรยี นรู้

ค่มู อื ครู ค่มู ือผเู้ รียน และผลิต เอกสารการจัดกระบวนการ เรียนรู้ 7. วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ งบประมาณท่ใี ช้ในการดําเนนิ โครงการในคร้ังนี้ จากงบอุดหนุน ค่าใชจ้ า่ ยรายหวั ปี 2565 เปน็ เงิน ท้งั สนิ้ จํานวน 57,310 บาท (หา้ หมน่ื เจด็ พนั สามรอ้ ยสบิ บาทถว้ น) ประกอบดว้ ย 7.1 ค่าอาหารกลางวัน จาํ นวน 23 คน X 200 บาท X 3 มื้อ เป็นเงนิ 13,800 บาท 7.2 คา่ อาหารเยน็ จํานวน 23 คน X 250 บาท X 2 มือ้ เป็นเงนิ 11,500 บาท 7.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม จาํ นวน 23 คน X 25 บาท X 6 ม้ือ เป็นเงิน 3,450 บาท 7.4 ค่าทพ่ี ัก จํานวน 23 คน X 600 X 2 วนั เป็นเงนิ 27,600 บาท 7.5 ค่าปูายไวนลิ ขนาด 2 X 4 เมตร เป็นเงิน 960 บาท หมายเหตุ : ถัวเฉลี่ยทกุ รายการตามทจ่ี า่ ยจริง 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส (ต.ค. – ธ.ค. 64) (ม.ค. – ม.ี ค. 65) (เม.ย. – ม.ิ ย. 65) (ก.ค. – ก.ย. 65) ปฏบิ ตั กิ ารจัดทาํ แผนการเรียนรู้  - - - แบบรายวชิ า ตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน - - - รวม - - - - 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางอุษา ส้วิ นดั ครอู าสาสามคั รการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ่ งานส่งเสริมการศกึ ษา 10. เครอื ขา่ ย - 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง - 12. ผลลพั ธ์ (Outcome)

12.1 ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ครู กศน. ของ กศน.อําเภอท่ามะกา มีแผนการเรียนรู้แบบ บูรณาการ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และนําไปใช้ในการ จดั การเรียนรู้ในชัน้ เรียนได้อย่างมีคณุ ภาพ 12.2 นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในภาค เรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรแู้ ละมีจํานวนผเู้ ข้าสอบสงู ขนึ้ 13. ดชั นชี ว้ี ดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (output) 1) รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการมีนสว่ นร่วมในการทําแผนการเรียนร้แู บบรายวชิ า 2) ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจตอ่ โครงการในระดบั มาก 13.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (outcome) 1) ร้อยละของครู กศน. ของ กศน.อําเภอท่ามะกา มีแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 2) รอ้ ยละของจาํ นวนผู้เข้าสอบปลายภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ของ กศน.อาํ เภอ ทา่ มะกา เพิ่มสูงข้ึน 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook