Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3 แผนเรียนรู้

3 แผนเรียนรู้

Published by นายมนตรี สาสังข์, 2022-05-25 07:23:12

Description: 3 แผนเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับครูที่จะทาให้การจัดการเรียนรู้ บรรลุ เป้าหมายตามตัวช้ีวัด แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย รหัส พท 21001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เล่มน้ี จัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการเรียนการสอน สาหรับครูผู้สอน และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง สามารถนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยมีเนื้อหา จานวน 7 บท ประกอบด้วย บทท่ี 1 การฟงั และการดู บทที่ 2 การพูด บทท่ี 3 การอ่าน บทท่ี 4 การเขียน บทที่ 5 หลกั การใชภ้ าษา บทท่ี 6 วรรณคดี วรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกคนที่มีส่วนในการจัดทาแผนการเรียนรู้เล่มนี้ หากมีข้อ พกพร่องประการใดขอความกรุณาให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เพ่ือจะนาไปสู่การปรับปรุง ในการจัดทา แผนการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย รหัส พท21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน นักศึกษา ตลอดจนบุคคล ที่เกี่ยวข้องต่อไป ผ้จู ดั ทา พฤษภาคม 256๕

ข สำรบัญ เน้อื หำ หนำ้ คานา ก คาอธบิ ายรายวชิ า 1 รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชา 2 ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวชิ า 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ครง้ั ที่ 1 การปฐมนิเทศนักศึกษา ๖ แผนการจดั การเรียนรคู้ รง้ั ที่ 2 หลักการการฟังและดู ๙ แผนการจัดการเรยี นรคู้ รง้ั ที่ 3 หลักการฟงั เพือ่ จบั ใจความสาคัญ 2๓ แผนการจัดการเรียนรคู้ รงั้ ที่ 4 หลกั การฟงั การดู และการพูดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 30 แผนการจดั การเรยี นรู้ครงั้ ท่ี 5 การพดู ในโอกาสต่าง ๆ 34 แผนการจดั การเรียนรู้ครงั้ ท่ี 6 สรุปความจับประเด็นสาคัญของเรอ่ื งท่ีพดู ได้ 41 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 7 การอ่านในใจ 45 แผนการจดั การเรียนรู้ครงั้ ที่ 8 การอ่านออกเสียง 49 แผนการจัดการเรยี นรคู้ รงั้ ท่ี 9 การอ่านจับใจความสาคัญ 53 แผนการจดั การเรียนรคู้ รง้ั ท่ี 10 หลักการเขยี น 57 แผนการจดั การเรียนรคู้ รง้ั ที่ 11 การเขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเพือ่ การส่ือสาร 61 แผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั ท่ี 12 หลกั การใชภ้ าษา 66 แผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั ที่ 13 การใชค้ าและการสรา้ งคาในภาษาไทย 70 แผนการจดั การเรยี นรคู้ รงั้ ท่ี 14 การใชส้ านวน สุภาษติ คาพงั เพย 76 แผนการจดั การเรียนรูค้ รง้ั ที่ 15 หลกั การแต่งคาประพันธป์ ระเภทต่าง ๆ กาพยย์ านี 11 และกาพย์ฉบงั 79 แผนการจดั การเรียนรู้ครงั้ ที่ 16 หลกั การแต่งคาประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ กลอนแปด 85 แผนการจดั การเรียนรคู้ รงั้ ที่ 17 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดี และพินจิ วรรณกรรม 88 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 18 คุณคา่ ของภาษาไทย 90 แผนการจดั การเรยี นรคู้ รง้ั ที่ 19 ภาษาไทยกับการประกอบอาชพี 93 แผนการจัดการเรยี นรู้ครง้ั ท่ี 20 การปจั ฉมิ นเิ ทศ ๙6 คำส่งั คณะทำงำนจัดทำแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้รำยวชิ ำ ภำคเรยี นที่ 1/2565 คณะผู้จดั ทำ

1 คำอธิบำยรำยวชิ ำ พท21001 ภำษำไทย จำนวน 4 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ กำรฟงั กำรดู 1. เหน็ ความสาคัญของการฟังและดู 2. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเรอื่ งทฟ่ี งั และดู 3. มีมารยาทในการฟงั และดู กำรพดู 1. เหน็ ความสาคญั และลักษณะการพดู ทด่ี ี 2. สามารถพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. มีมารยาทในการพดู กำรอำ่ น 1. เห็นความสาคัญของการอา่ น ทั้งการอา่ นออกเสยี งและอ่านในใจ 2. สามารถอ่านไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และอา่ นไดเ้ รว็ เข้าใจความหมายของถ้อยคา ขอ้ ความ เนื้อเรื่องทอ่ี ่าน 3. มมี ารยาทในการอา่ นและนิสัยรักการอา่ น กำรเขยี น 1. เหน็ ความสาคญั ของการเขยี นและประโยชนข์ องการคัดลายมือ 2. สามารถเขียนคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขยี นบนั ทกึ เรอื่ งราว สอ่ื สาร เหตุการณ์ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 3. มีมารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรกั การเขียน หลกั กำรใช้ภำษำ 1. สามารถสะกดคา โดยนาเสยี งและรูปอกั ษรไทยประสมเป็นคาอา่ นและเขียนได้ถกู ต้อง ตามหลักการใช้ภาษา 2. สามารถใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม 3. เข้าใจลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถ่นิ และ คาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม สามารถค้นควา้ เรอ่ื งราว ประโยชน์และคุณค่าของนทิ าน นิทานพน้ื บ้าน วรรณกรรมและวรรณกรรม ทอ้ งถิน่ ภำษำไทยกบั กำรประกอบอำชีพ 1. ใชค้ วามร้ดู า้ นการพูดภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ 2. ใชค้ วามรูด้ ้านการเขยี นภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชพี กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ จัดประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ใหผ้ เู้ รียนได้ศึกษา คน้ คว้าโดยการฝกึ ปฏิบตั จิ ริงเปน็ รายบุคคลหรือกระบวนการกลุม่ เกยี่ วกับทกั ษะการฟัง การดู การพดู การอา่ น การเขยี น และหลักการใชภ้ าษา กำรวดั และประเมนิ ผล การสงั เกต การฝึกปฏิบัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมนิ ช้ินงานในแต่ละกจิ กรรม

2 รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวิชำ พท21001 ภำษำไทย จำนวน 4 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดบั กำรฟัง กำรดู 1. เหน็ ความสาคัญของการฟงั และดู 2. สามารถจับใจความ และสรุปความจากเรื่องทฟี่ งั และดู 3. มมี ารยาทในการฟงั และดู กำรพูด 1. เห็นความสาคญั และลักษณะการพดู ทดี่ ี 2. สามารถพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. มมี ารยาทในการพดู กำรอำ่ น 1. เหน็ ความสาคัญของการอา่ น ทง้ั การอา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจ 2. สามารถอา่ นได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และอา่ นไดเ้ รว็ เข้าใจความหมายของถอ้ ยคา ขอ้ ความ เน้ือเร่อื งทอี่ า่ น 3. มมี ารยาทในการอา่ นและนิสัยรักการอา่ น กำรเขียน 1. เหน็ ความสาคัญของการเขียนและประโยชนข์ องการคัดลายมอื 2. สามารถเขียนคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขยี นบันทึกเรื่องราว ส่ือสาร เหตุการณ์ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 3. มีมารยาทในการเขียนและนิสยั รักการเขียน หลกั กำรใชภ้ ำษำ 1. สามารถสะกดคา โดยนาเสยี งและรูปอกั ษรไทยประสมเป็นคาอ่านและเขยี นไดถ้ ูกต้องตาม หลกั การใชภ้ าษา 2. สามารถใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอนไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสม 3. เข้าใจลักษณะของคาไทย คาภาษาถน่ิ และ คาภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม สามารถคน้ ควา้ เรอ่ื งราว ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของนทิ าน นทิ านพ้ืนบ้าน วรรณกรรมและวรรณกรรม ทอ้ งถนิ่ ภำษำไทยกับกำรประกอบอำชีพ 1. ใช้ความร้ดู า้ นการพดู ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชพี 2. ใช้ความรู้ด้านการเขยี นภาษาไทยเพ่ือการประกอบอาชพี

3 ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชวี้ ัด จำนวน เนอื้ หำ (ชั่วโมง) 1. การฟงั การดู 1. สรุปความ จับประเดน็ สาคัญ 1. สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาคัญ 2 ของเร่อื งที่ฟงั และดู ของเรอื่ งทีฟ่ ังและ ดู 2. วิเคราะห์ความน่าเชอื่ ถอื จาก 2. หลกั การจับใจความสาคญั 2 การฟงั และดสู ่ือโฆษณาและ ของเรื่องที่ฟงั และดู ข่าวสารประจาวนั อยา่ งมีเหตผุ ล 3. วิเคราะห์ วจิ ารณ์การใชน้ า้ เสยี ง 3. การวิเคราะห์ วิจารณ์ 4 กิริยาทา่ ทางถอ้ ยคาของผพู้ ูด ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็น อย่างมเี หตผุ ล และสรปุ ความ 4. ปฏิบัติตนเปน็ ผมู้ ีมารยาท 4. การมีมารยาทในการฟัง 2 ในการฟงั และดู และดู 2. การพูด 1. พดู นาเสนอความรู้ ความ 1. สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาคัญ 2 คดิ เห็น สรา้ งความเข้าใจ ของเรอ่ื งทพี่ ดู ได้ โน้มนา้ วใจ ปฏิเสธ 2. การพดู นาเสนอความรู้ 4 เจรจาตอ่ รองดว้ ยภาษา ความคดิ เหน็ และการพดู กิรยิ าทา่ ทางท่ีสุภาพ ในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น - พดู แนะนาตนเอง - พดู กลา่ วตอ้ นรับ - พดู กลา่ วขอบคุณ - พดู โน้มน้าวใจ - พดู ปฏิเสธ - พดู เจรจาตอ่ รอง - พดู แสดงความคิดเห็น 2. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มีมารยาท 3. การมีมารยาทในการพดู 2 ในการพดู 3. การอา่ น 1. อา่ นในใจได้คลอ่ งและเรว็ 1. หลักการอา่ นในใจจากสื่อ 5 ประเภทต่าง ๆ 2. อา่ นออกเสยี งและอา่ นทานอง 2. หลักการอา่ นออกเสียง 5

4 ท่ี หัวเรื่อง ตัวช้ีวดั จำนวน เน้ือหำ (ชั่วโมง) เสนาะไดอ้ ย่างถกู ต้องตาม ที่เป็นทง้ั รอ้ ยแก้วและ ลกั ษณะคาประพันธ์ ร้อยกรอง 3. เลือกอ่านหนังสอื และสื่อ 3. หลกั การเลือกอา่ นหนังสือ 3 สารสนเทศ เพ่ือพฒั นาตนเอง และส่ือสารสนเทศ 4. หลกั การอา่ นจบั ใจความ 10 สาคญั 4. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แยกแยะ 5. หลกั การวิเคราะห์ วิจารณ์ 15 ข้อเทจ็ จริง ขอ้ คิดเหน็ และ จดุ มงุ่ หมายของเร่อื งทอ่ี ่าน 5. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มมี ารยาทใน 6. มารยาทในการอ่านและ 2 การอา่ นและมนี ิสัยรกั การ นสิ ัยรกั การอ่าน อา่ น 4. การเขยี น 1. เลอื กใช้ภาษาในการนาเสนอ 1. หลกั การเขียน การใช้ 4 ตามรูปแบบของงานเขียน ภาษาในการเขยี น ประเภทร้อยแก้วและ รอ้ ยกรองไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 2. ใช้แผนภาพความคิด 2. หลกั การเขยี นแผนภาพ 14 จดั ลาดับความคดิ ก่อนการ ความคดิ เขยี น 3. แต่งบทรอ้ ยกรอง ประเภท 3. หลักการเขยี นเพือ่ การ 18 กลอนสี่ กลอนสุภาพ สื่อสารประเภทตา่ ง ๆ 4. เขียนบทร้อยแก้วประเภท เชน่ การเขยี นเรยี งความ ประวตั ิ ตนเอง อธบิ ายความ ยอ่ ความ เขียนชี้แจง ย่อความ ขา่ ว เขยี นแสดงความคดิ เห็น 5. เขยี นรายงานการคน้ ควา้ คาขวญั คาคม คาโฆษณา สามารถอา้ งองิ แหลง่ ความรู้ เขยี นรายงานการค้นควา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง การกรอกแบบพมิ พแ์ ละ 6. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ ใบสมคั รงาน 7. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มมี ารยาทใน 4. การปฏิบตั ิตนเปน็ ผูม้ ี 2 การเขยี น และมีการจด มารยาทในการเขียน

5 ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวดั จำนวน เนอื้ หำ (ช่วั โมง) บนั ทกึ อยา่ งสม่าเสมอ และมนี สิ ยั รักการเขยี น 5. หลักการใช้ภาษา 1. อธบิ ายความแตกต่างของคา 1. ความหมายของคา พยางค์ 3 พยางค์ วลี ประโยค วลี ประโยค และการ การสะกดคาไดถ้ กู ต้อง สะกดคา 2. ใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน 2. หลักในการสะกดคา 3 อักษรย่อ คาราชาศพั ท์ 3. การใช้เครือ่ งหมายวรรค 4 ไดถ้ กู ตอ้ ง ตอน อักษรยอ่ คาราชา 3. อธิบายความแตกตา่ ง ศัพท์ และการใช้เลขไทย ระหว่างภาษาพดู และภาษา 4. การใชค้ าและการสรา้ งคา 9 เขียน ในภาษาไทย - การสรา้ งคาไทย - คาประสม - คาซ้อน - คาซา้ - คาสมาส คาสนธิ - หลกั การสงั เกตคาภาษา อื่น ๆ ท่ใี ช้ในภาษาไทย 5. ชนิดของประโยค 8 6. การใช้ระดบั ภาษาทเ่ี ป็น 4 ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ 4. อธบิ ายการใช้ ความแตกตา่ ง 7. การใชส้ านวน สภุ าษติ 5 และความหมายของสานวน คาพังเพย สภุ าษิต คาพังเพย และ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ถกู ตอ้ ง 5. อธบิ ายหลักการและสามารถ 8. หลักการแต่งคาประพันธ์ 4 แตง่ คาประพันธ์ประเภท ประเภทต่าง ๆ เช่น ตา่ ง ๆ - กาพยย์ านี 11 - กาพย์ฉบัง 16 - กลอน

6 ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวช้ีวัด จำนวน เนือ้ หำ (ช่ัวโมง) - ฯลฯ 6. วรรณคดี วรรณกรรม อธิบายความแตกตา่ ง 1. หลกั การพิจารณา 5 5 และคุณค่าของวรรณคดี วรรณคดี 5 วรรณกรรมปจั จุบนั และ 2. หลกั การพินิจวรรณกรรม 5 วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 3. ประวตั คิ วามเปน็ มา 2 2 ลักษณะและคณุ ค่า ของเพลงพืน้ บา้ น เพลงกล่อมเดก็ 4. หลักการพนิ ิจวรรณคดี ด้านวรรณศิลป์ และดา้ นสังคม - สามกก๊ - ราชาธริ าช - กลอนเสภาขนุ ชา้ ง ขนุ แผน - กลอนบทละครเรอื่ ง รามเกยี รติ์ 7. ภาษาไทยกบั การ 1. ใช้ความรู้การพูดภาษาไทย 1. ภาษาไทยดา้ นการพดู กับ ประกอบอาชพี เปน็ ชอ่ งทางในการประกอบ ชอ่ งทางการประกอบอาชพี อาชีพ 2. ใชค้ วามรูก้ ารเขยี นภาษาไทย 2. ภาษาไทยด้านการเขยี น เปน็ ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ กบั ช่องทางการประกอบอาชพี

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดบั กำรวิเครำะห์ตำรำงกำรจดั กำรเรียนรู้ รำยวชิ ำ ภ ระดบั มธั ย 1. สามารถสรปุ ความ จบั ประเดน็ สาคัญของเรือ่ งทีฟ่ งั แ 2. วเิ คราะห์ แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ ข้อคิดเห็นและจุดประ 3. สามารถแสดงทรรศนะและความคิดเห็นตอ่ ผู้พดู อย่า 4. มีมารยาทในการฟัง และดู ลำดับ ตัวชีว้ ัด เนื้อหำ ท่ี 1. 1. สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาคัญของเรอื่ ง 1. สรุปความ จบั ประเดน็ สาคัญของเรอ่ื งท่ี การ ท่ีฟงั และดู ฟงั และดู ฟัง 2. วเิ คราะห์ความน่าเชื่อถอื จากการฟงั 2. หลักการจบั ใจความสาคัญของเร่อื งท่ี การ และดสู ื่อโฆษณาและข่าวสารประจาวนั ฟงั และดู ดู อยา่ งมเี หตุผล 3. วิเคราะห์ วจิ ารณ์การใชน้ ้าเสยี ง กริ ยิ า 3. การวิเคราะห์ วิจารณข์ ้อเทจ็ จรงิ ทา่ ทางถอ้ ยคาของผู้พดู อยา่ งมีเหตุผล ข้อคดิ เหน็ และสรปุ ความ 4. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาท ในการฟงั 4. การมีมารยาทในการฟังและดู และดู

7 ภำษำไทย รหัส พท21001 จำนวน 4 หนว่ ยกิต ยมศกึ ษำตอนตน้ และดู ะสงคข์ องเร่ืองทฟ่ี ังและดู างมเี หตผุ ล วเิ ครำะหเ์ นือ้ หำ จำนวน รปู ผลกำรจัดกำรเรยี นรู้ ชัว่ โมง ตนเอง ง่ำย ปำน ยำก พบ เขำ้ อบรม โครงงำน กลำง 22 กล่มุ ค่ำย / / 6๖ / 4๔ / 3๓

มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ กำรวิเครำะหต์ ำรำงกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำ ภ ระดบั มธั ย 1. สามารถพดู นาเสนอความรู้ แสดงความคิดเหน็ สรา้ โอกาสตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. มีมารยาทในการพดู ลำดับ ตัวชี้วัด เนื้อหำ ท่ี 1. สรปุ ความ จบั ประเด็นสาคญั ของเรือ่ งท่ี 2. 1. พูดนาเสนอความรู้ ความคดิ เห็น พูดได้ การ สร้างความเข้าใจ โนม้ นา้ วใจ พดู ปฏเิ สธ เจรจาต่อรองดว้ ยภาษา 2. การพูดนาเสนอความรู้ ความคดิ เห็น และการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น กริ ิยาทา่ ทางที่สภุ าพ - พูดแนะนาตนเอง - พดู กลา่ วต้อนรบั 2. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผมู้ ีมารยาทใน - พดู กลา่ วขอบคณุ การพดู - พดู โน้มนา้ วใจ - พดู ปฏเิ สธ - พดู เจรจาต่อรอง - พดู แสดงความคิดเห็น 3. การมมี ารยาทในการพดู

8 ภำษำไทย รหัส พท21001 จำนวน 4 หน่วยกติ ยมศึกษำตอนต้น างความเขา้ ใจ โนม้ น้าวใจ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รองด้วยภาษากริ ิยาทา่ ทางที่สุภาพใน วิเครำะหเ์ นอ้ื หำ จำนวน รูปผลกำรจัดกำรเรียนรู้ งำ่ ย ปำน ยำก ชัว่ โมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง 3๓ กลมุ่ คำ่ ย / / 6๖ / 3๓

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั กำรวเิ ครำะห์ตำรำงกำรจัดกำรเรยี นรู้ รำยวิชำ ภ ระดบั มธั ย 1. สามารถอ่านได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. จบั ใจความสาคญั แยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ จาก 3. สามารถอ่านหนงั สอื และสอื่ สารสนเทศไดอ้ ยา่ งกวา้ ง 4. มีมารยาทในการอา่ นและนสิ ัยรักการอา่ น ลำดับ ตวั ชี้วัด เนอ้ื หำ ท่ี 3. 1. อ่านในใจไดค้ ล่องและเรว็ 1. หลักการอา่ นในใจจากสอื่ ประเภท การ 2. อ่านออกเสยี งและอา่ นทานอง ตา่ ง ๆ อา่ น เสนาะได้อย่างถูกตอ้ งตามลักษณะ 2. หลกั การอา่ นออกเสยี ง ที่เปน็ ท้ัง คาประพันธ์ ร้อยแกว้ และร้อยกรอง 3. เลอื กอา่ นหนงั สอื และสื่อ 3. หลักการเลือกอา่ นหนงั สือและสอื่ สารสนเทศ เพ่ือพัฒนาตนเอง สารสนเทศ 4. วิเคราะห์ วิจารณ์ แยกแยก 4. หลักการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็นและ 5. หลักการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ จดุ มุ่งหมายของเรือ่ งทอ่ี า่ น 6. มารยาทในการอ่านและนสิ ยั รักการ 5. ปฏิบัติตนเปน็ ผ้มู ีมารยาทในการ อ่าน อา่ นและมนี สิ ัยรกั การอา่ น

9 ภำษำไทย รหัส พท21001 จำนวน 4 หน่วยกติ ยมศึกษำตอนต้น กเรือ่ งทอี่ ่าน งขวางเพื่อพฒั นาตนเอง วเิ ครำะหเ์ น้ือหำ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรียนรู้ งำ่ ย ปำน ยำก ชั่วโมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง 5๕ กลุ่ม ค่ำย / / 5๕ / 3๓ / 10 ๑๐ / 15 ๑๕ / 3๓

มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ กำรวเิ ครำะหต์ ำรำงกำรจดั กำรเรียนรู้ รำยวิชำ ภ ระดับมัธย 1. สามารถเลือกใชภ้ าษาในการนาเสนอตามรูปแบบขอ 2. สามารถใช้แผนภาพความคดิ จดั ลาดับความคดิ เพอ่ื พ 3. สามารถแต่งบทร้อยกรองตามความสนใจได้ถกู ตอ้ งต 4. สามารถเขียนสอ่ื สารเรือ่ งราวต่าง ๆ ได้ 5. มมี ารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการเขยี น ลำดับ ตวั ชีว้ ัด เนื้อหำ ท่ี 4. 1. เลอื กใชภ้ าษาในการนาเสนอตาม 1. หลักการเขียน การใช้ภาษาในการ การ รูปแบบของงานเขียนประเภทรอ้ ย เขยี น เขยี น แก้วและรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 2. ใชแ้ ผนภาพความคดิ จัดลาดบั 2. หลกั การเขยี นแผนภาพความคิด ความคดิ ก่อนการเขยี น 3. แต่งบทร้อยกรอง ประเภทกลอนสี่ 3. หลักการเขียนเพ่ือการสื่อสาร กลอนสุภาพ ประเภทต่าง ๆ เชน่ การเขียน 4. เขียนบทรอ้ ยแก้วประเภทประวัติ เรียงความ ย่อความ เขยี นชี้แจง ตนเอง อธบิ ายความ ยอ่ ความ ขา่ ว เขียนแสดงความคดิ เหน็ คาขวัญ 5. เขยี นรายงานการคน้ คว้าสามารถ คาคม คาโฆษณา เขียนรายงานการ อ้างองิ แหล่งความรู้ ไดถ้ กู ต้อง ค้นควา้ การกรอกแบบพิมพแ์ ละ ใบสมคั รงาน

10 ภำษำไทย รหสั พท21001 จำนวน 4 หน่วยกติ ยมศกึ ษำตอนต้น องงานเขียนประเภทตา่ งๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ พัฒนางานเขยี น ตามหลกั ไวยากรณแ์ ละลกั ษณะคาประพนั ธ์ วิเครำะหเ์ นื้อหำ จำนวน รูปผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ช่ัวโมง ตนเอง ง่ำย ปำน ยำก พบ เขำ้ อบรม โครงงำน กลำง 4๔ กลมุ่ ค่ำย / / 14 ๑๔ ๖ / 6

ลำดบั ตัวชี้วดั เน้ือหำ ท่ี 4. การปฏิบตั ิตนเปน็ ผูม้ ีมารยาทใน 4. 6. กรอกแบบรายการต่าง ๆ การเขียน การ 7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาทในการ และมนี สิ ัยรักการเขียน เขยี น เขียน และมีการจดบันทกึ อย่าง สม่าเสมอ

11 วิเครำะห์เน้ือหำ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรียนรู้ งำ่ ย ปำน ยำก ชั่วโมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง กลมุ่ ค่ำย / 3๓

มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ กำรวเิ ครำะหต์ ำรำงกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวิชำ ภ ระดับมัธย 1. รู้และเขา้ ใจชนดิ และหนา้ ที่ของคา พยางค์ วลี ประ 2. สามารถใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอน อักษรย่อ คาราชา 3. สามารถวเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งภาษาพดู แล 4. รู้และเขา้ ใจสานวน สภุ าษิต คาพังเพยในการพูดและ ลำดบั ท่ี ตวั ชี้วัด เนอ้ื หำ 5. 1. อธบิ ายความแตกตา่ งของคา พยางค์ 1. ความหมายของคา พยางค์ วลี หลักการ วลี ประโยค การสะกดคาไดถ้ ูกตอ้ ง ประโยค และการสะกดคา ใช้ภาษา 2. ใชเ้ ครือ่ งหมายวรรคตอน 2. หลักในการสะกดคา อกั ษรย่อ คาราชาศพั ท์ ได้ถูกตอ้ ง 3. การใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอน 3. อธิบายความแตกต่างระหว่างภาษา อักษรยอ่ คาราชาศพั ท์ และการใช พดู และภาษาเขียน เลขไทย 4. การใช้คาและการสรา้ งคาใน ภาษาไทย - การสรา้ งคาไทย - คาประสม - คาซอ้ น - คาซา้

12 ภำษำไทย รหสั พท21001 จำนวน 4 หน่วยกิต ยมศกึ ษำตอนตน้ ะโยค และสามารถอ่าน เขยี นไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์ของภาษา าศพั ท์ ละภาษาเขียน ะเขยี น วเิ ครำะหเ์ นือ้ หำ จำนวน รูปผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ง่ำย ปำน ยำก ชว่ั โมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง กล่มุ คำ่ ย / 5๕ / 5๕ / 4๔ ช้ / 6๖

ลำดบั ที่ ตัวช้วี ัด เนอื้ หำ 4. อธบิ ายการใช้ ความแตกตา่ ง และ - คาสมาส คาสนธิ ความหมายของสานวน สภุ าษิต - หลักการสงั เกตคาภาษาอื่น ๆ คาพงั เพย และนาไปใชใ้ น ทใ่ี ช้ในภาษาไทย ชีวิตประจาวันได้ถูกตอ้ ง 5. ชนิดของประโยค 6. การใช้ระดบั ภาษาท่ีเป็นทางการ 5. อธิบายหลักการและสามารถแต่งคา และไมเ่ ปน็ ทางการ ประพันธป์ ระเภทตา่ ง ๆ 7. การใช้สานวน สุภาษติ คาพังเพย 8. หลกั การแต่งคาประพันธ์ประเภท ต่าง ๆ เชน่ - กาพยย์ านี 11 - กาพย์ฉบัง 16 - กลอน - ฯลฯ

13 วเิ ครำะห์เน้อื หำ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรยี นรู้ ง่ำย ปำน ยำก ชั่วโมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง กลมุ่ คำ่ ย / 8๘ / 4๔ ย/ 5๕ ท/ 6 ๖

กำรวิเครำะห์ตำรำงกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำ ภ ระดบั มธั ย มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดับ รแู้ ละเขา้ ใจความแตกต่างของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรร ลำดบั ที่ ตวั ชว้ี ดั เนอ้ื หำ 6. อธบิ ายความแตกตา่ งและคุณคา่ ของ 1. หลกั การพจิ ารณาวรรณคดี วรรณคดี วรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ ันและ 2. หลกั การพนิ จิ วรรณกรรม วรรณกรรม วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 3. ประวตั ิความเปน็ มาลักษณะแล คณุ คา่ ของเพลงพน้ื บา้ น เพลงกลอ่ เดก็ 4. หลกั การพนิ ิจวรรณคดี ดา้ น วรรณศิลป์และดา้ นสังคม - สามกก๊ - ราชาธิราช - กลอนเสภาขุนช้าง ขนุ แผ - กลอนบทละครเรื่อง รามเกียรติ์

14 ภำษำไทย รหสั พท21001 จำนวน 4 หน่วยกติ ยมศกึ ษำตอนตน้ รมท้องถนิ่ ตลอดจนเหน็ คุณค่า วเิ ครำะหเ์ นอ้ื หำ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรียนรู้ งำ่ ย ปำน ยำก ช่ัวโมง ตนเอง พบ เขำ้ อบรม โครงงำน กลุ่ม ค่ำย กลำง 6 / / ละ อม ผน

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดบั กำรวิเครำะหต์ ำรำงกำรจัดกำรเรยี นรู้ รำยวชิ ำ ภ ระดบั มัธย 1. ใชค้ วามร้ดู ้านการพูดภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี 2. ใช้ความรู้ดา้ นการเขียนภาษาไทยเพ่อื การประกอบอา ลำดบั ที่ ตวั ชวี้ ดั เนือ้ หำ 7. 1. ใช้ความร้กู ารพดู ภาษาไทยเป็น 1. ภาษาไทยด้านการพดู กบั ช่องทา ภาษาไทย ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี การประกอบอาชพี กับการ ประกอบ 2. ใชค้ วามรูก้ ารเขยี นภาษาไทยเปน็ 2. ภาษาไทยดา้ นการเขยี นกับ อาชพี ช่องทางการประกอบอาชพี ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ

15 ภำษำไทย รหสั พท21001 จำนวน 4 หน่วยกิต ยมศึกษำตอนตน้ พ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรียนรู้ าชพี ช่ัวโมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม โครงงำน วิเครำะห์เนือ้ หำ 4/ กลมุ่ คำ่ ย ง่ำย ปำน ยำก กลำง าง / / 4/

16 แผนกำรจดั กำรเรียนรคู้ ร้ังที่ 1 (พบกลมุ่ ) กลมุ่ สำระ ควำมรู้พน้ื ฐำน เรอ่ื ง กำรปฐมนิเทศนักศึกษำ จำนวน 6 ชั่วโมง สอนวันที.่ ...........เดอื น............................พ.ศ............ภำคเรยี นที่.................ปกี ำรศึกษำ.................... มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะการเรียนรู้ และเห็นคุณค่าเก่ยี วกับหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 วธิ เี รยี น กศน. รูปแบบการเรยี นรู้ ตลอดจนภารกิจกรรม กศน. นโยบายของรัฐบาล และนโยบายจดุ เน้นสานักงาน กศน. ตวั ชวี้ ดั 1. มคี วามรูแ้ ละเขา้ ใจหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. มีความรแู้ ละเข้าใจวธิ เี รียน กศน. รปู แบบการเรยี นรู้ ตลอดจนภารกจิ กิจกรรม กศน.ได้ 3. มีความรู้และเขา้ ใจและเข้ารว่ มการจดั กิจกรรมนโยบายของรฐั บาล และนโยบายจุดเนน้ สานักงาน กศน. สำระกำรเรยี นรู้ 1. โครงสรา้ งหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. การจดั กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ กศน. 3. การวัดผลและประเมนิ ผล 4. วิธเี รยี น กศน. รูปแบบการเรียนรู้ ตลอดจนภารกิจกิจกรรม กศน. คุณธรรม 1. คุณธรรมเพื่อการพัฒนาตน 2. คุณธรรมเพอ่ื การพฒั นาการทางาน 3. คุณธรรมเพอ่ื การอยรู่ ว่ มกันในสงั คม กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ ครผู สู้ อนให้ความรู้ ความเขา้ ใจโครงสรา้ งหลักสตู ร กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.) เกณฑก์ าร จบหลักสตู ร การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สอื่ กำรเรียนกำรสอน 1. ตารางการพบกลุ่ม 2. คมู่ อื นักศึกษา การวดั และประเมินผล - การเข้าร่วมกจิ กกรมปฐมนิเทศ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา พิจารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ลงช่อื ผ้บู งั คับบญั ชา (นางจรี ะภา วัฒนกสกิ าร) ผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบละการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชยั

17 บันทกึ หลงั การสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..........................................................ครผู ู้สอน (……………………………………….. ) ตาแหน่ง............................................... ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ผ้บู ังคับบญั ชา (นางจีระภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชัย

18 ใบความรู้ท่ี 1 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สูตร โครงสร้างหลักสูตร การศึกษานอกระบบ การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 การวดั ผลและประเมินผล เกณฑก์ ารจบ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

19 แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้คร้ังท่ี 2 (กำรเรยี นรูด้ ้วยตนเอง) กลมุ่ สำระควำมรู้พ้ืนฐำน รำยวชิ ำภำษำไทย รหัส พท 21001 จำนวน 4 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนต้น เรอื่ ง หลักกำรกำรฟงั และดู จำนวน 2 ช่ัวโมง เวลำ............................ สอนวนั ที.่ .............เดอื น.........................พ.ศ. .......................ภำคเรียนท.ี่ ...........ปีกำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนร้รู ะดับ 1. สามารถสรปุ ความ จบั ประเดน็ สาคญั ของเรือ่ งท่ีฟงั และดู 2. วเิ คราะห์ แยกแยะข้อเทจ็ จริง ข้อคิดเหน็ และจดุ ประสงคข์ องเรอื่ งทฟ่ี ังและดู 3. สามารถแสดงทรรศนะและความคิดเหน็ ต่อผ้พู ูดอยา่ งมีเหตผุ ล 4. มีมารยาทในการฟัง และดู ตัวชวี้ ัด สรุปความ จับประเด็นสาคัญของเร่ืองทฟ่ี ังและดู สำระกำรเรียนรู้ หลักเบอื้ งตน้ ของการฟงั และการดู คณุ ธรรม 1. เพอ่ื การพัฒนาตนเอง 2. เพอ่ื การพฒั นาการทางาน 3. เพอื่ พัฒนาการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม 4. เพื่อพฒั นาประเทศชาติ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ตอ่ เนือ่ ง ให้ผู้เรยี นศึกษาคน้ คว้าจาก Internet และทาใบงาน สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบงาน กำรวดั และประเมนิ ผล การสง่ งานที่ไดร้ บั มอบหมาย แหลง่ กำรเรยี นรู/้ สบื ค้นขอ้ มลู เพ่ิมเติม Internet ควำมคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแลว้ .......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. . ลงชอื่ ผู้บงั คบั บัญชา (นางจรี ะภา วฒั นกสิการ) ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั

20 บนั ทึกหลงั กำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปญั หา / อุปสรรค ในการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ..........................................................ครผู ู้สอน (……………………………………….. ) ตาแหน่ง............................................... ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .. ลงชื่อ ผู้บังคับบัญชา (นางจรี ะภา วฒั นกสิการ) ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชยั

21 ใบควำมรู้ที่ 2 หลกั กำรกำรฟงั และดู

22 ใบงำนท่ี 1 คาชีแ้ จง ใหน้ กั ศกึ ษาตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายของการฟงั และการดู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. บอกจดุ มุ่งหมายของการฟังและการดู มา 3 ข้อ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

23 แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ครงั้ ท่ี 3 (พบกลมุ่ ) กลุ่มสำระควำมรพู้ ้ืนฐำน รำยวชิ ำภำษำไทย รหัส พท 21001 จำนวน 4 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนตน้ เรื่อง หลักกำรฟงั เพื่อจบั ใจควำมสำคญั จำนวน 6 ช่วั โมง เวลำ................. สอนวนั ท่ี..............เดือน.........................พ.ศ. ................. ภำคเรียนท่.ี ................ปีกำรศึกษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. สามารถสรุปความ จบั ประเด็นสาคัญของเรือ่ งที่ฟงั และดู 2. วิเคราะห์ แยกแยะข้อเทจ็ จริง ข้อคดิ เห็นและจดุ ประสงค์ของเร่ืองท่ีฟังและดู 3. สามารถแสดงทรรศนะและความคดิ เห็นต่อผพู้ ดู อย่างมเี หตุผล 4. มมี ารยาทในการฟัง และดู ตัวชวี้ ดั วเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากการฟงั และดูสือ่ โฆษณาและข่าวสารประจาวนั อยา่ งมเี หตผุ ล สำระกำรเรียนรู้ หลกั การฟังเพื่อจบั ใจความสาคญั คุณธรรม 1. เพอ่ื การพัฒนาตนเอง 2. เพื่อการพัฒนาการทางาน 3. เพื่อพฒั นาการอย่รู ว่ มกนั ในสังคม 4. เพ่อื พฒั นาประเทศชาติ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้ 1. ขน้ั นา นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย “การอา่ นอยา่ งไรจึงจดั วา่ เปน็ การอา่ นท่ีมปี ระสิทธภิ าพ” 2. ข้ันจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 2 คน แล้วชว่ ยกันจบั ใจความ พรอ้ มทง้ั วิเคราะห์ขอ้ เทจ็ จริงและ ขอ้ คดิ เห็นจากบทความ ในใบงาน 3. ข้ันสรุป นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ความรู้ การจบั ใจความและวิเคราะหเ์ รอ่ื งท่อี า่ น ทาให้เขา้ ใจสาระสาคัญของเรอ่ื ง ทราบขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเห็นของผู้เขยี น เปน็ การขยายความรแู้ ละความคิดของผอู้ ่านให้กว้างย่งิ ขนึ้ ส่ือกำรเรียนกำรสอน 1. หนังสือเรียน 2. ใบงาน

24 กำรวัดและประเมนิ ผล การสง่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย แหลง่ กำรเรียนรู้/สืบคน้ ข้อมลู เพ่ิมเตมิ Internet ควำมคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของผูบ้ รหิ ำรสถำนศึกษำ พิจารณาแลว้ .......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. . ลงช่อื ผู้บงั คับบัญชา (นางจรี ะภา วฒั นกสิการ) ผ้อู านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย

25 บนั ทกึ หลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปญั หา / อปุ สรรค ในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ..........................................................ครผู ้สู อน (……………………………………….. ) ตาแหนง่ ............................................... ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ผบู้ ังคับบัญชา (นางจรี ะภา วัฒนกสิการ) ผอู้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชยั

26 ใบควำมรู้ท่ี ๓ เรื่อง หลกั กำรฟงั เพอ่ื จับใจควำมสำคัญ การฟงั เพอื่ จับใจความสาคญั เปน็ การฟังเพ่อื ความรู้ ผู้ฟังต้องต้งั ใจฟงั และพยายามสรุป เน้ือหาโดยมีหลักการ สาคญั ดงั นี้ 1. มีสมาธิดี ต้ังใจฟงั ติดตามเร่อื ง 2. ฟังใหเ้ ขา้ ใจและลาดับเหตุการณใ์ ห้ดวี า่ เรือ่ งทฟี่ งั เปน็ เรอื่ งของอะไร ใครทาอะไร ที่ไหน อยา่ งไร 3. แยกใหอ้ อกวา่ ตอนใดเปน็ ใจความสาคัญ ตอนใดเป็นส่วนขยาย 4. บนั ทึกขอ้ ความสาคญั จากเร่ืองทฟ่ี ัง ตัวอย่ำง กำรฟังเพือ่ จบั ใจควำมสำคญั 1. จบั ใจควำมสำคญั จำกบทร้อยแก้ว รอ้ ยแก้ว คอื ความเรียงท่สี ละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดว้ ยเสียงและความหมาย แต่ไม่ กาหนดระเบยี บบญั ญตั แิ ห่งฉันทลักษณค์ อื ไมจ่ ากดั ครุ ลหุ ไม่กาหนดสมั ผสั ตวั อย่ำง “เหน็ กงจกั รเปน็ ดอกบวั ” สุภาษติ “เห็นกงจักรเปน็ ดอกบัว” นโ้ี ดยมากรู้จัก ความหมายกนั แพรห่ ลายอยแู่ ล้ว คอื วา่ เหน็ ผิดเปน็ ชอบ เชน่ ตัวอยา่ ง เห็นเพอื่ นของตนค้าฝน่ิ เถื่อนห้ามเทา่ ไร ก็ไม่ฟงั จนเพ่ือนผู้นนั้ ถกู จบั เสยี เงินเสยี ทองมากมาย เช่นนม้ี ักกล่าวติเตยี นทา่ นผ้นู ้ันว่า “เหน็ กงจักรเป็น ดอกบวั ” (ชมุ นมุ นิพนธ์ ของ อ.น.ก.) ใจควำมสำคญั เหน็ กงจักรเปน็ ดอกบวั คอื เหน็ ผดิ เป็นชอบ ตัวอย่ำง ครอบครวั ของเราคนไทยสมัยก่อน ผู้ชายก็ตอ้ งเปน็ หวั หน้าครอบครัว ถา้ มาจากตระกลู ดมี ี วิชาความรกู้ ม็ กั รบั ราชการ เพราะคนไทยเรานิยมการรบั ราชการมีเงนิ เดอื น มีบา้ นเรือนของตนเองได้ก็มี เช่า เขาก็มี อยกู่ ับบดิ ามารดาก็ไม่น้อย ไดเ้ ปน็ มรดกตกทอดกนั กม็ ี ทรพั ย์สมบัติเหลา่ น้ีจะงอกเงยหรอื หมดไปกอ็ ย่ทู ภี่ รรยา ผ้เู ป็นแม่บา้ น (แมศ่ รีเรอื น ของทพิ ย์วาณี สนิทวงศ์) ใจควำมสำคัญ ครอบครวั ไทยสมยั กอ่ น ผชู้ ายทมี่ คี วามรนู้ ิยมรบั ราชการ ทรพั ยส์ มบตั ทิ ี่มจี ะเพิ่มขึ้น หรือหมดไปกอ็ ยทู่ ภี่ รรยา 2. จับใจควำมสำคญั จำกบทรอ้ ยกรอง รอ้ ยกรอง คือ ถ้อยคาทีเ่ รียบเรยี งให้เป็นระเบยี บตามบญั ญัติแห่งฉันทลกั ษณ์ คอื ตาราวา่ ดว้ ยการประพนั ธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ตวั อย่ำง ฟงั ขอ้ ความตอ่ ไปน้ีแล้วจบั ใจความสาคญั (ครหู รอื นักศึกษาเป็นผู้อา่ น) นางกอดจบู ลบู หลังแล้วสั่งสอน อานวยพรพลายน้อยละห้อยไห้ พอ่ ไปดศี รีสวัสดก์ิ าจดั ภัย จนเติบใหญย่ ง่ิ ยวดไดบ้ วชเรยี น ลูกผู้ชายลายมอื นั้นคอื ยศ เจ้าจงอุตส่าห์ทาสม่าเสมยี น แลว้ พาลูกออกมาข้างทา่ เกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ (กาเนิดพลายงาม ของ พระสนุ ทรโวหาร (ภ่)ู ใจควำมสำคัญ การจากกันของแม่ลูกคือ นางวันทองกบั พลายงาม นางวนั ทองอวยพรให้ โอวาทและจากกนั ดว้ ยความอาลยั อาวรณ์อย่างสดุ ซงึ้

27 ตวั อยำ่ ง การฟังบทรอ้ ยกรองเพ่ือจบั ใจความสาคญั (ครอู ่านใหฟ้ ัง) ถงึ บางแสนแล่นสบายจรดชายหาด เดยี รดาษคนลงสรงสนาน เสียงเจย๊ี วจ๊าวฉาวฉ่านา่ สาราญ ล้วนเบิกบานแชม่ ช่นื รนื่ ฤทัย คลืน่ ซดั สาดฟาดฝ่ังดงั ซูซ่ า่ ถงึ แสงแดดแผดกลา้ หากลวั ไม่ เด็กกระโดดโลดเต้นเลน่ นา้ ไป พวกผูใ้ หญ่คอยเฝา้ เหมือนเข้ายาม เราหยดุ พกั กินกลางวนั กนั ทนี่ ่ี ในร้านมผี ู้คนอย่ลู ้นหลาม มอี าหารจีนไทยรสไมท่ ราม คนละชามอ่มิ แปล้มาแค่คอ (นริ ำศสัตหบี พล.ร.ต.จวบ หงสกลุ ) ฟังบทรอ้ ยกรองขำ้ งบนแลว้ ตอบคำถำมตอ่ ไปน้ี 1. เรอ่ื งอะไร (เทย่ี วชายทะเล) 2. เกย่ี วกับใคร (เด็กและผู้ใหญ่) 3. ทาอะไร (สง่ เสยี งดัง ว่งิ เล่นตามชายหาด) 4. ที่ไหน (บางแสน) 5. เม่ือไร (ตอนกลางวนั ) ใจควำมสำคัญ เดก็ และผูใ้ หญ่ไปเที่ยวบางแสน รับประทานอาหารกลางวนั เดก็ เลน่ นา้ ผ้ใู หญค่ อยเฝา้ สนุกสนานมาก 3. จับใจควำมสำคญั จำกบทควำม บทควำม คอื ข้อเขียนซ่ึงอาจจะเปน็ รายงาน หรอื การแสดงความคดิ เหน็ มกั ตพี มิ พ์ใน หนงั สือพมิ พ์ วารสาร สารานกุ รม เปน็ ต้น ตวั อย่ำง ใครที่เคยกนิ ไข่เยี่ยวม้าคงประหลาดใจวา่ ทาไมเรียกว่าไขเ่ ย่ยี วมา้ ท้ัง ๆ ที่ตามปกติ แลว้ ใชข้ เ้ี ถ้าจากถา่ นไม้ผสมวตั ถดุ ิบอ่ืน ๆ พอกไขจ่ นเกดิ ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งสารทพี่ อกกบั เน้ือไขจ่ นเกดิ วุ้นสดี า ๆ เป็นไขเ่ ยยี่ วม้าขึน้ มา โดยไม่ได้ “เยีย่ วม้า” สักกะหยดมาก่อนปฏิสนธิจนเปน็ ไข่กินอร่อยแตก่ น็ ่ันแหละ น่าจะ สันนิษฐานกันได้วา่ ตน้ ตารับเดมิ ของการทาไข่วุ้นดาเชน่ นี้ มาจากการเอาไขไ่ ปแช่เยีย่ วม้าจรงิ ๆ และเจ้าฉี่มา้ น่ีเองท่ที าปฏกิ ิรยิ ากบั ไข่จนเปน็ วุ้นข้ึนมา ทว่าในยคุ หลัง ๆ ชะรอยจะหาฉี่ม้าลาบากหรือไมส่ ะดวก ก็เลยหาสตู รทา ทาไข่ปสั สาวะม้า ใหม่ให้สะดวกและงา่ ยดายรวมทัง้ ประหยดั เพราะไม่ต้องเลี้ยงมา้ เอาฉี่เหมือนเดิมก็เป็นได้ สว่ นรสชาติจะเหมอื นตารับเดมิ หรือเปล่ียนแปลงประการใด กย็ ังไมม่ ใี ครพิสูจน์หรือพยายาม ทาออกมาเทยี บเคยี งกัน ตดั ตอนจำกหนงั สือสยำมรัฐฉบบั วนั ที่ 24 กมุ ภำพันธ์ 2530 ใจควำมสำคญั ไขเ่ ยยี่ วม้าไม่ไดใ้ ชเ้ ยีย่ วมา้ ในการทา

28 4. จับใจควำมสำคญั จำกขำ่ ว ข่ำว คอื คาบอกเลา่ เรอ่ื งราวซึ่งโดยปกติมักเปน็ เรอื่ งเกิดใหมห่ รอื เป็นที่น่าสนใจ ตัวอย่ำง ท่ีศาลจังหวดั อบุ ลราชธานี พนกั งานอัยการจังหวดั เป็นโจทก์ฟ้องนายวัน สนั สงู โนน อายุ 44 ปี เปน็ จาเลย ฐานเมอ่ื วันท่ี 30 ก.ค.30 ในเวลากลางวัน จาเลยได้บงั อาจตดั ฟันตน้ ไมป้ ระดู่ 1 ตน้ ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ และบงั อาจแปรรปู ไม้ประดู่ดงั กล่าว จานวน 8 แผน่ ประมาณ 0.48 ลูกบาศกเ์ มตร และมีไมด้ ังกลา่ วไวค้ รอบครอง เหตเุ กิดทต่ี าบลนาจะหลวย อาเภอนาจะหลวย จงั หวดั อบุ ลราชธานี ศาลจงั หวัดอบุ ลราชธานี มคี าพพิ ากษาวา่ จาเลยมคี วามผดิ พ.ร.บ.ป่าสงวนแหง่ ชาติ พ.ร.บ. ป่าไม้ และประมวลกฎหมายอาญา รวมลงโทษ จาคกุ 18 เดือน จาเลยใหก้ ารสารภาพขณะจบั กุมเปน็ ประโยชน์แกก่ ารพจิ ารณาอยูบ่ า้ ง จึงมีเหตบุ รรเทาโทษ ลดโทษใหห้ น่งึ ในส่ี คงจาคกุ 13 เดือน 15 วัน ของ กลางริบ ใจควำมสำคัญ ตดั ตน้ ประดู่ 1 ต้น ถูกจาคกุ กว่า 13 เดอื น

29 ใบงำนท่ี ๒ คำช้แี จง ให้ผ้เู รียนใชว้ จิ ารณญาณใหร้ อบคอบวา่ เมื่อฟงั ขอ้ ความโฆษณาน้แี ลว้ น่าเช่อื ถือหรอื ไม่ อย่างไร จงเขียนอธบิ าย ควำมจรงิ มำกนอ้ ย เพียงไร ครีมถนอมผิว ช่วยให้ผิวน่มิ ผิวท่มี รี ว้ิ รอยเหยี่ วยน่ จะกลบั เตง่ ตงึ เปล่งปลั่ง ผิวท่ีออ่ นเยำว์ในวยั เด็กจะกลับคืนมำ คุณสภุ ำพสตรี โปรดไว้วำงใจ และเรยี กใชค้ รีมถนอมเนือ้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................

30 แผนกำรจดั กำรเรียนรคู้ ร้งั ท่ี 4 (กำรเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง) กล่มุ สำระควำมรพู้ นื้ ฐำน รำยวชิ ำภำษำไทย รหัส พท 21001 จำนวน 4 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ เร่อื ง หลกั กำรฟัง กำรดู และกำรพดู อยำ่ งมวี ิจำรณญำณ จำนวน 7 ชัว่ โมง สอนวนั ท.ี่ .............เดอื น...................พ.ศ. ..................... ภำคเรยี นที่.................ปกี ำรศึกษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. สามารถสรุปความ จบั ประเด็นสาคญั ของเร่ืองท่ฟี งั และดู 2. วิเคราะห์ แยกแยะข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเหน็ และจุดประสงคข์ องเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู 3. สามารถแสดงทรรศนะและความคดิ เหน็ ตอ่ ผู้พูดอยา่ งมีเหตุผล 4. มีมารยาทในการฟงั และดู ตวั ชี้วดั 1. วิเคราะห์ วจิ ารณ์การใช้น้าเสยี ง กริ ิยาทา่ ทาง ถอ้ ยคาของผู้พูด อย่างมีเหตผุ ล 2. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้มีมารยาทในการฟงั และดู สำระกำรเรียนรู้ 1. หลักการฟัง การดู และการพูดอย่างมวี จิ ารณญาณ 2. การมมี ารยาทในการฟังและการดู คณุ ธรรม 1. เพอื่ การพัฒนาตนเอง 2. เพ่ือการพัฒนาการทางาน 3. เพ่ือพฒั นาการอยู่รว่ มกันในสังคม 4. เพ่อื พฒั นาประเทศชาติ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ตอ่ เนอื่ ง ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาค้นคว้าจาก Internet และทาใบงาน สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน 2. ใบงาน กำรวัดและประเมินผล การสง่ งานท่ีได้รบั มอบหมาย แหล่งกำรเรียนรู้/สบื ค้นข้อมูลเพ่มิ เตมิ Internet ควำมคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแลว้ .......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ลงชื่อ ผู้บังคับบัญชา (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั

31 บันทกึ หลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหา / อปุ สรรค ในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..........................................................ครผู ู้สอน (……………………………………….. ) ตาแหนง่ ............................................... ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ผบู้ ังคับบญั ชา (นางจรี ะภา วัฒนกสกิ าร) ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชยั

32 ใบควำมรู้ท่ี ๓ หลกั การฟังเพอื่ จบั ใจความสาคญั

33 ใบงำนท่ี ๓ 1. ใหน้ ักเรียนบอกขอ้ ปฏิบตั ใิ นการฟังเพอ่ื จับใจความมาพอสงั เขป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... 2. ให้นกั ศกึ ษาบอกมารยาทในการฟงั การดูมา 5 ข้อ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………....................................

34 แผนกำรจดั กำรเรยี นร้คู รง้ั ท่ี 5 (พบกล่มุ ) กลมุ่ สำระควำมรพู้ ืน้ ฐำน รำยวิชำภำษำไทย รหัส พท 21001 จำนวน 4 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศึกษำตอนต้น เรื่อง กำรพดู ในโอกำสตำ่ ง ๆ จำนวน 6 ชวั่ โมง เวลำ.......................... สอนวันท.ี่ .............เดอื น......................พ.ศ. ........................ภำคเรียนที.่ ...........ปกี ำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ 1. สามารถพดู นาเสนอความรู้ แสดงความคดิ เห็น สรา้ งความเข้าใจ โนม้ นา้ วใจ ปฏเิ สธ เจรจา ต่อรองดว้ ยภาษากิรยิ าทา่ ทางที่สภุ าพในโอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. มมี ารยาทในการพดู ตวั ชี้วดั พูดนาเสนอความรู้ ความคิดเหน็ สร้างความเข้าใจ โน้มนา้ วใจ ปฏเิ สธ เจรจาตอ่ รองดว้ ยภาษา กริ ิยา ท่าทางที่สุภาพ สำระกำรเรยี นรู้ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ คุณธรรม 1. เพอื่ การพัฒนาตนเอง 2. เพื่อการพฒั นาการทางาน 3. เพ่อื พัฒนาการอยรู่ ว่ มกันในสังคม 4. เพ่อื พัฒนาประเทศชาติ กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ 1. ขน้ั นา ครูขออาสานกั เรียน 1 คน ออกมาอ่านประโยคพูดในโอกาสตา่ ง ๆ แล้วลองให้เพอ่ื น ๆ ลองทายวา่ ประโยคท่ีเพอ่ื น ควรใชใ้ นโอกาสอะไร 2. ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครซู กั ถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจในบทเรยี น และอธบิ ายความรู้เพมิ่ เติมใหแ้ ก่นกั เรยี น 2. ครใู ห้นกั เรียนช่วยกันระดมความคดิ เกย่ี วกบั มารยาทในการพดู ส่ิงทค่ี วรปฏบิ ตั ิ และไม่ ควรปฏิบัตเิ พอ่ื เปน็ พื้นฐานในการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ 3. ครใู ห้นักเรียนทาใบงาน 3. ขั้นสรปุ นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้ เร่ือง การพดู ในโอกาสต่าง ๆ สือ่ กำรเรยี นกำรสอน 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบความรู้ / ใบงาน

35 กำรวดั และประเมินผล การสง่ งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย แหล่งกำรเรียนรู้/สบื ค้นขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ Internet ควำมคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ พิจารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ลงชือ่ ผ้บู งั คับบัญชา (นางจีระภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย

36 บันทกึ หลงั กำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ..........................................................ครผู ูส้ อน (…………………………………………………..) ตาแหน่ง............................................... ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ผบู้ งั คบั บัญชา (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชัย

37 ใบควำมรู้ที่ ๔ เรื่อง กำรพดู ในโอกำสต่ำง ๆ กำรพูดในโอกำสต่ำง ๆ การพูดเป็นการสื่อสารท่ีทาให้ผู้ฟังได้รับทราบเนื้อหารายละเอียดของสารได้โดยตรงหากเป็นการ ส่ือสารในลักษณะการสนทนาโดยตรงก็ย่อมทาให้เห็นอากัปกิริยาต่อกันเป็นการเสริมสร้างความเข้าใจมาก ย่ิงขึ้น การพูดมีหลายลักษณะ ได้แก่ การพูดอภิปราย พูดแนะนาตนเอง พูดกล่าวต้อนรับพูดกล่าวขอบคุณ พูดโน้มน้าวใจ เป็นต้น จะมีรูปแบบนาเสนอในหลายลักษณะ เช่น การนาเสนอ เพื่อต้ังข้อสังเกต การแสดง ความคิดเหน็ เพื่อต้ังขอ้ เท็จจรงิ การโต้แยง้ และการประเมนิ คา่ เปน็ ตน้ ควำมสำคัญของกำรพดู 1. การพูดทาให้เกิดความเข้าใจในประเด็นของการสื่อสารต่าง ๆ ทั้งการส่ือสารเพื่อให้ความรู้ทาง วิชาการ การสนทนาในชวี ติ ประจาวัน หรือการพดู ในรูปแบบต่าง ๆ ยอ่ มทาให้ผู้ฟังเข้าใจประเดน็ เกิดความคิด สร้างสรรค์นาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ไิ ดถ้ ูกตอ้ ง 2. การพูดสามารถโน้มน้าวจิตใจของผู้ฟังให้คล้อยตามเพื่อเปล่ียนความเช่ือ หรือทัศนคติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการปฏิบัติส่ิงต่าง ๆ อย่างมีหลักเกณฑ์มีความถูกต้อง ซึ่งผู้ฟังต้องใช้วิจารณญาณในการพิจารณา เรอ่ื งราวทีผ่ ้พู ดู เสนอสารในลกั ษณะต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล 3. การพูดทาให้เกิดความเพลิดเพลิน โดยเฉพาะการพูดท่ีมุ่งเน้นเรื่องการบันเทิงก่อให้เกิดความ สนุกสนาน ทาให้ผ้ฟู ังได้รับความรดู้ ้วยเชน่ กัน 4. การพูดมีประโยชนท์ ช่ี ่วยดารงสังคม ใช้ภาษาพูดจาทักทาย เป็นการสร้างมนุษย์สัมพันธ์แก่บุคคล ในสงั คม การพูดยังเปน็ การส่อื สารเพื่อเผยแพรค่ วามรู้ความคดิ ให้ผูฟ้ งั ปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้เกิดความสุขสงบในสังคม กำรพดู ในโอกำสต่ำง ๆ 1. กำรพดู แนะนำตนเอง การพูดแนะนาตนเอง เป็นการพูดที่แทรกอยู่กับการพูดในลักษณะต่าง ๆ เป็นพื้นฐาน เบอ้ื งตน้ ทจ่ี ะทาใหผ้ ้ฟู ังมีความรู้เกี่ยวกับผู้พูด การแนะนาตนเองจะให้รายละเอียดแตกต่างกันไปตามลักษณะ ของการพูด 1. การพูดแนะนาตนเองในกลุ่มของผู้เรียน ควรระบุรายละเอียด ชื่อ - นามสกุล การศึกษา สถานศึกษา ที่อยู่ปัจจบุ นั ภมู ลิ าเนาเดิม ความถนัด งานอดิเรก 2. การพูดแนะนาตนเองเพ่ือเข้าปฏิบัติงาน ควรระบุ ชื่อ - นามสกุล รายละเอียดเก่ียวกับ การศึกษาตาแหน่งหน้าทที่ จ่ี ะเขา้ มาปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาทจี่ ะเร่มิ ปฏบิ ัติหน้าที่ 3. การแนะนาบุคคลอื่นในสังคมหรือท่ีประชุม ควรให้รายละเอียด ช่ือ – นามสกุล ผู้ที่เรา แนะนาความสามารถของผ้ทู ี่เราแนะนา การแนะนาบคุ คลให้ผ้อู ืน่ รู้จกั ต้องใชค้ าพดู เพื่อสร้างไมตรีท่ีดีระหว่าง บคุ คลทั้งสองฝ่าย 2. กำรกล่ำวตอ้ นรบั การกลา่ วต้อนรบั เปน็ การกลา่ วเพือ่ บอกความรสู้ กึ ทม่ี ตี อ่ ผ้ทู มี่ า ดังน้ี 1. กล่าวถึงความยินดีของการเป็นเจา้ ของสถานท่ี 2. กลา่ วยกย่องผมู้ าเยอื น เช่น เป็นใคร มีผลงานดเี ดน่ อะไร มคี วามสมั พนั ธอ์ ย่างไรกับผู้ ตอ้ นรับ

38 3. แสดงความยินดที ใี่ หก้ ารต้อนรบั 4. ขออภัยหากมสี ่งิ ใดบกพรอ่ ง และหวังว่าจะกลบั มาเยีย่ มอกี 3. กำรกลำ่ วอวยพร โอกาสทก่ี ล่าวอวยพรมีหลายโอกาส เชน่ การกล่าวอวยพรวนั เกดิ วันปีใหม่ ข้ึนบ้านใหม่การ อวยพรคู่บ่าวสาว หรือในโอกาสที่จะมีการโยกย้ายอาลาไปรับตาแหน่งใหม่ ฯลฯ หลักการกล่าวอวยพร มีข้อ ปฏบิ ัติท่ีควรจา ดังนี้ 1. ควรกลา่ วถึงโอกาสและวันสาคญั น้นั ๆ ท่ีได้มาอวยพรวา่ เป็นวนั สาคัญอย่างไร ในโอกาส ดอี ยา่ งไร มีความหมายตอ่ เจา้ ภาพหรอื การจดั งานนัน้ อย่างไร 2. ควรใช้คาพดู ทส่ี ภุ าพ ไพเราะ ถูกตอ้ ง เหมาะสมกบั กลุ่มผู้ฟงั 3. ควรกลา่ วให้ส้ัน ๆ ใชค้ าพดู งา่ ยๆ ฟงั เข้าใจดี กะทดั รัด กระชับความ นา่ ประทบั ใจ 4. ควรกล่าวถงึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้อวยพรกบั เจ้าภาพ กลา่ วใหเ้ กยี รติ ชมเชยในความดี ของเจา้ ภาพ และแสดงความปรารถนาดที มี่ ตี อ่ เจา้ ภาพ 5. ควรใชค้ าพดู อวยพรใหถ้ กู ต้อง หากเปน็ การอวยพรผใู้ หญ่ นิยมอา้ งสง่ิ ศักดสิ์ ทิ ธท์ิ ีเ่ คารพ นบั ถอื มาประทานพร 4. กำรกล่ำวขอบคณุ การกลา่ วขอบคณุ เปน็ การแสดงน้าใจไมตรี หรอื ความดที ผี่ ู้อนื่ กระทาให้ เชน่ ขอบคณุ วทิ ยากรทบ่ี รรยาย ดังน้ี 1. ควรกล่าวขอบคณุ วิทยากรใหเ้ กยี รติบรรยาย 2. มกี ารสรุปเรอ่ื งทวี่ ิทยากรบรรยายจบไปอย่างสนั้ ๆ ไดใ้ จความ 3. ควรกล่าวถงึ คณุ คา่ ของเรือ่ งทฟี่ งั และประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการบรรยาย 4. กล่าวให้มคี วามหวังจะได้รับเกยี รติจากวทิ ยากรอกี ในโอกาสตอ่ ไป 5. กลา่ วขอบคณุ วทิ ยากรอกี ครงั้ ในตอนทา้ ย 5. กำรพูดใหโ้ อวำท การพูดใหโ้ อวาท จะมีลักษณะ ดังน้ี 1. กลา่ วถงึ ความสาคัญ และโอกาสท่มี ากลา่ วใหโ้ อวาทว่ามคี วามสาคญั อยา่ งไร 2. พดู ใหต้ รงประเด็น เลือกประเดน็ สาคญั ๆ ทีม่ คี วามหมายแกผ่ รู้ ับโอวาท 3. ควรมีข้อแนะนา ตักเตอื น และเสนอแนะประสบการณท์ ี่มีประโยชน์ 4. ควรพดู ช้แี จงและเกลี้ยกลอ่ มให้ผ้ฟู งั ตระหนกั และนาโอวาทไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ไดอ้ ย่าง แทจ้ รงิ 5. กลา่ วสน้ั ๆ ไดใ้ จความดี ตอนทา้ ยของการให้โอวาทก็ควรกลา่ วอวยพรทปี่ ระทับใจ กำรพูดแสดงควำมคดิ เหน็ การพูดเพ่ือแสดงความรู้และความคิดเห็น ได้แก่ การพูดอภิปราย การรายงาน การสื่อข่าวและการ สนทนาความรู้ เปน็ ตน้ ซึง่ การพูดต่าง ๆ เหลา่ น้มี ีแนวทาง ดังน้ี 1. ศึกษารายละเอียดเนอ้ื หา โดยคานงึ ถงึ เนือ้ หาตามจุดประสงคท์ ีจ่ ะพูด เพ่ือใหร้ ายละเอยี ดทถ่ี ูกต้อง ตรงประเดน็ ตามทีต่ ้องการเสนอความรู้ 2. วิเคราะหเ์ ร่ืองราวอย่างมหี ลักเกณฑ์ โดยพิจารณาแยกแยะออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจแต่ ละส่วนให้แจม่ แจ้ง และตอ้ งคานึงถึงความสมั พนั ธ์เก่ียวเน่อื งกนั ของแต่ละสว่ น 3. ประเมนิ ค่าเร่ืองท่ีจะพูด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook