แผนปฏิบัติงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอ................
บันทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๕ เร่ือง การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เรียน ผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ตามท่ี หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ได้ดำเนนิ การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ให้เป็นไปตามนโยบาย จุดเน้นการดำเนินงาน กศน.ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ตามเป้าหมายในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ได้วางไว้ และให้ก่อ ประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดทำแผนปฏิบัติงาน ประจำปงี บประมาณพ.ศ. ๒๕๖๕ เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว รายละเอยี ดตามเอกสารทแี่ นบมาพรอ้ มน้ี จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ (นางวารี ชูบัว) บรรณารักษช์ ำนาญการ
คำนำ แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จัดทำข้ึน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ โดยยึดแนวทางตาม ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ และยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอชนแดน ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติ และแนวทางในการดำเนินงาน ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้อย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ เล่มน้ี สำเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และ ผู้เก่ียวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่ม ประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัยของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน เพ่อื สนองตอบความตอ้ งการ ของประชาชนในพน้ื ท่อี ย่างแท้จรงิ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดนเล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การจัด การศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มี สว่ นเกี่ยวข้อง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาตติ อ่ ไป คณะผจู้ ัดทำ มกราคม ๒๕๖๕
สารบญั หนา้ ๑ บทที่ ๑ บทนำ ๒๑ บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง ๓๒ บทท่ี ๓ แผนปฏบิ ัตงิ านหอ้ งสมดุ ประชาชน ๓๔ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ป็นศนู ย์เรียนรตู้ ลอดชีวิต ๔๖ โครงการพฒั นารูปแบบบการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น กศน. ๕๕ โครงการพฒั นาหอ้ งสมดุ ชาวบา้ นท่อี ่านหนงั สือของชุมชน ๖๔ โครงการห้องสมุดเคลือ่ นท่ีสำหรับชาวตลาด ๗๓ โครงการห้องสมุดเคลื่อนท่ีสู่ชุมชน ๘๓ โครงการห้องสมดุ ประชาชนประจำตำบล ๙๒ โครงการครอบครวั รกั การอา่ น บ้านแหง่ การเรยี นรู้ ๑๐๑ โครงการบ้านหลงั เรยี น เพื่อนเรียนรู้ ๑๑๐ โครงการ กศน.ยอดนักอ่าน ๑๑๙ โครงการอยากอา่ นตอ้ งได้อา่ น Book Delivery ๑๒๘ ภาคผนวก แผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ คณะผจู้ ดั ทำ
๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑. ขอ้ มลู พน้ื ฐานอำเภอชนแดน ประวตั ิความเป็นมาของอำเภอชนแดน อำเภอชนแดนเดิมเป็นท้องท่ีส่วนหน่ึงของอำเภอบางมูลนากจังหวัดพิจิตรเม่ือมีราษฎรอพยพมาต้ัง บ้านเรือนในระหว่างเขตแดนมากขึ้นจึงเรียกว่าหมู่บ้านชนแดน ต่อมาทางราชการได้พิจารณาจัดตั้งเป็นตำบล ในเขตปกครองของอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ เน่ืองจากท้องที่ตำบลชนแดนอยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอมาก ยากแก่ การดูแลทุกข์สุขของราษฎร กระทรวงมหาดไทยจึงยกฐานะเป็นกง่ิ อำเภอเมื่อ พ.ศ.๒๔๖๐ ประกอบด้วยตำบล ชนแดนตำบลทา่ ขา้ ม ตำบลดงขุยและไดโ้ อนท้องท่ีตำบลวังโปง่ อำเภอวังทองจังหวดั พิษณุโลก มารวมขึ้นกบั กิ่ง อำเภอชนแดน รวม ๔ ตำบล เมื่อมีราษฎรหนาแน่นมากขึ้นทางราชการจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอชนแดน ตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๙๙ โดยเป็นอำเภอหนงึ่ ขึ้นอยกู่ บั จังหวัดเพชรบูรณ์ สภาพภมู อิ ากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของอำเภอชนแดน อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมเขตร้อน มีสภาพ อากาศหนาวเหมาะสำหรับการเพาะปลูก แต่เนื่องจากเป็นพ้ืนที่อยู่ในเขตหุบเขา การเปล่ียนแปลงของสภาพ ดินฟ้าอากาศเป็นไปอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ ในฤดูร้อนจะร้อนจัดประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียส โดยเฉพาะ ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ในฤดูหนาวจะหนาวจัดในช่วงเดือนพฤศจกิ ายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ใน ฤดูฝนจะมีฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนองในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ปริมาณน้ำฝนโดยเฉล่ีย ๑,๘๕๐.๐๔ มิลลิเมตร สภาพภูมปิ ระเทศ อำเภอชนแดนมีลักษณะพื้นท่ีโดยท่ัวไป เป็นพื้นที่ราบลุ่มแบบท้องกระทะ มีเทือกเขาล้อมรอบ พ้ืนท่ี สว่ นใหญ่เป็นป่าเขา มีเนินดนิ สงู ต่ำสลบั กนั ไป ทางดา้ นทิศตะวันออกสูงกว่าด้านอ่นื ๆ มที ี่ราบลุม่ พอเปน็ ท่ีทำ ไร่ ทำนาอยู่บ้าง พ้ืนที่ทางการเกษตรส่วนใหญ่ทำไร่ ทำนา และทำสวนไม้ยืนต้น มีต้นกำเนิดคลองบุษบง จากเทือกเขาพันฟนื ในเขตตำบลพุทธบาทเปน็ ลำคลองหลัก และยงั มีคลองอนื่ ๆ ไหลผา่ น ดังนี้ คลองบษุ บง ไหลผา่ นตำบลพุทธบาท ตำบลทา่ ขา้ ม และตำบลตะกุดไร คลองบอระเพ็ด ไหลผา่ นตำบลลาดแค ตำบลบ้านกลว้ ย คลองทราย ไหลผา่ นตำบลลาดแค
๒ เน่ืองจากพ้ืนที่ของอำเภอชนแดนอยใู่ นหุบเขา ในฤดูฝนน้ำจะท่วมหลากอย่างรวดเรว็ ในฤดูแล้ง น้ำในลำ คลองจะแหง้ ขอดเป็นตอน ๆ สำหรบั คลองบุษบงเปน็ ลำคลองท่มี ีประโยชน์ตอ่ การเกษตรและเปน็ แหลง่ น้ำดบิ เพื่อใชใ้ นการประปาของอำเภอชนแดนอีกดว้ ย ด้านการปกครอง อำเภอชนแดนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๙ ตำบล ๑๓๙ หมู่บ้าน ๒๐,๒๐๗ ครวั เรอื น ดงั น้ี ๑. ตำบลพุทธบาท มีจำนวน ๒๘ หมบู่ ้าน ๒. ตำบลชนแดน มีจำนวน ๑๔ หมบู่ า้ น ๓. ตำบลท่าขา้ ม มีจำนวน ๑๑ หมู่บา้ น ๔. ตำบลดงขยุ มจี ำนวน ๑๗ หมู่บ้าน ๕. ตำบลบ้านกลว้ ย มจี ำนวน ๑๗ หมู่บ้าน ๖. ตำบลลาดแค มจี ำนวน ๒๒ หมบู่ ้าน ๗. ตำบลซบั พทุ รา มจี ำนวน ๙ หมบู่ ้าน ๘. ตำบลตะกุดไร มจี ำนวน ๑๑ หมบู่ ้าน ๙. ตำบลศาลาลาย มจี ำนวน ๑๐ หมู่บ้าน การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ทอ้ งท่ีอำเภอชนแดนประกอบด้วยองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ๑๒ แห่ง ไดแ้ ก่ • เทศบาลตำบลชนแดน ครอบคลมุ พนื้ ท่ีบางส่วนของตำบลชนแดน • เทศบาลตำบลดงขุย ครอบคลุมพื้นทีบ่ างสว่ นของตำบลดงขุยและตำบลตะกุดไร • เทศบาลตำบลท่าข้าม ครอบคลุมพน้ื ทีบ่ างสว่ นของตำบลท่าข้าม • เทศบาลตำบลศาลาลาย ครอบคลมุ พ้นื ทตี่ ำบลศาลาลายท้ังตำบล • องค์การบรหิ ารส่วนตำบลชนแดน ครอบคลมุ พื้นทตี่ ำบลชนแดน (นอกเขตเทศบาลตำบลชนแดน) • องค์การบริหารส่วนตำบลดงขุย ครอบคลมุ พน้ื ที่ตำบลดงขุย (นอกเขตเทศบาลตำบลดงขุย) • องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลทา่ ขา้ ม ครอบคลมุ พน้ื ทตี่ ำบลท่าข้าม (นอกเขตเทศบาลตำบลท่าขา้ ม) • องค์การบริหารสว่ นตำบลพทุ ธบาท ครอบคลุมพน้ื ทต่ี ำบลพุทธบาทท้ังตำบล • องค์การบริหารส่วนตำบลลาดแค ครอบคลมุ พน้ื ทต่ี ำบลลาดแคท้งั ตำบล • องค์การบริหารส่วนตำบลบา้ นกลว้ ย ครอบคลมุ พ้นื ท่ตี ำบลบา้ นกล้วยท้งั ตำบล
๓ • องค์การบรหิ ารส่วนตำบลซบั พทุ รา ครอบคลุมพน้ื ทีต่ ำบลซับพุทราทั้งตำบล • องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลตะกดุ ไร ครอบคลมุ พน้ื ท่ีตำบลตะกดุ ไร (นอกเขตเทศบาลตำบลดงขยุ ) อาณาเขต ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับอำเภอวงั โป่ง จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ทศิ ใต้ ติดต่อกับอำเภอบึงสามพนั จังหวัดเพชรบรู ณ์ และอำเภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค์ ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับอำเภอเมืองเพชรบรู ณ์ และอำเภอหนองไผ่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ อำเภอทบั คล้อ จงั หวัดพิจติ ร และอำเภอดงเจริญ จังหวดั พิจติ ร แผนทอ่ี ำเภอชนแดน
๔ ขอ้ มูลดา้ นสังคม ๑. การศกึ ษา การศกึ ษาในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียนของอำเภอชนแดน ดังน้ี ๑.๑ โรงเรียนสังกดั สำนักงานคณะกรรมการศึกษาพ้ืนฐานจังหวัดเพชรบรู ณ์ เขต ๑ จำนวน ๒๑๕ แห่ง - โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๖๐ แหง่ - โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา (ขยายโอกาส) จำนวน ๔๕ แห่ง - โรงเรียนระดบั มัธยมศึกษา จำนวน ๑๐ แหง่ ๑.๒ โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน ๑ แห่ง ๑.๓ โรงเรียนในสังกดั กรมอาชวี ศึกษา จำนวน ๒ แห่ง ๑.๔ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน ๑ แหง่ ๑.๕ ศนู ยว์ ิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ประจำอำเภอชนแดน ๑ ศูนย์ ๒. การศาสนา อำเภอชนแดนมวี ดั พทุ ธศาสนา จำนวน ๘๘ แหง่ สำนักสงฆ์ จำนวน ๑๐ แหง่ ศาลเจา้ ๓ แหง่ ๓. ขนบธรรมเนียม ประเพณวี ฒั นธรรม ราษฎรในท้องทอี่ ำเภอชนแดน สว่ นใหญเ่ ป็นผอู้ พยพ มาจากหลายพื้นท่ี ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ตลอดจนภาษาพูด จึงมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาคท่ีอพยพมา ประเพณีวัฒนธรรมที่เห็นเด่นชัด ได้แก่ ประเพณีตักบาตรเทโว สงกรานต์ และประเพณีไหว้ศาลเจ้าของลูกหลานชาวจีน ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบล ชนแดน เทศบาลตำบลดงขยุ เทศบาลตำบลทา่ ขา้ ม โดยจัดงานบชู าเจา้ พ่อข้นึ เปน็ ประจำทุกปี ๔. การสาธารณสขุ มโี รงพยาบาลขนาด ๓๐ เตยี ง ๑ แห่ง คลินกิ เอกชน ๙ แห่ง สถานีอนามยั ๑๙ แห่ง สถานทท่ี ่องเทยี่ วอำเภอชนแดน วดั พระพุทธบาทชนแดน (หลวงพ่อทบ) วัดพระพุทธบาทชนแดน ตั้งอยู่เลขท่ี ๙๙ บ้านชนแดน เดิมช่ือ บ้านเขาน้อย ต.ชนแดน อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มที ี่ดนิ สรา้ งวดั ๔๗ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนอื ติดต่อ กับหมู่บ้าน ทิศใต้ยาว ๔ เส้น ติดต่อกับถนนใหญ่ ชมฐีระเวช ทิศตะวันออกยาว ๕ เส้น ติดกับลำคลอง ทิศตะวันออกยาว ๕ เส้น ติดกับลำคลอง ทิศตะวันตกยาว ๒ เส้น ติดต่อกับถนนสายวังโป่ง ซึ่งที่ดิน น.ส.๓
๕ เลขที่ ๑๓๖๑ เป็นหลักฐาน วัดพระพุทธบาทชนแดน กระทรวงศกึ ษาธิการไดป้ ระกาศตั้งเป็นวัด นบั ต้งั แตว่ นั ที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ชาวบ้านมักเรียกว่า \"วัดเขาน้อย\" เพราะตั้งอยู่ท่ีเขาน้อย ระยะเร่ิมแรกสร้างวัด เรยี กว่า\"วดั พระพุทธบาทเขาน้อย\" โดยมีนายปั้น ก้อนพลบริจาคทีด่ ินให้สร้างวดั ซงึ่ ได้มอบถวายแกห่ ลวงพ่อทบ เกจิอาจารย์ในภูมิภาคน้ีการสร้างวัดได้เร่ิมดำเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๙๐ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๗ เขตวิสุงคามสีมากวา้ ง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเพ่อื วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๗ ในอดีตเจ้าอาวาส คือ ๑. พระครูวิชิตพัชราจารย์ (ทบ ธมฺมปญฺโญ) พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๑๙ ๒. พระครูพัชรกิจโสภณ (โสดา ธมฺมาวฺโธ) พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๔๐ ๓. พระสมุหสนั่น จนฺทโชโต พ.ศ. ๒๕๔๐ ถงึ ปัจจุบัน ภเู ขาหนิ ปะการงั (แตเ่ ดมิ ชื่อเขาหน่อ) อยบู่ นพื้นท่ีหมู่ที่ ๘ อยู่บนพื้นท่ีป่าไมต้ ำบลซับพุทรา อำเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์ หา่ งจากตัวจังหวัดประมาณ ๗๐ กิโลเมตร มีพ้นื ทค่ี ลอบคลมุ ประมาณ ๒,๐๐๐ ไร่ สภาพ ป่าเป็นป่าไม้ เบญจพรรณหรือป่าผลัดใบ สูงระดับน้ำทะเลประมาณ ๑,๒๐๐ เมตร มีความลาดชัน ประมาณ ๔๕ องศา เป็นภูเขาหนิ ลว้ น สขี าวอมเทา บ้างเขียวนวล มีรูปร่างแปลกตา กนิ เน้ือที่คลอบคลุมทุกส่วนที่เป็น ภูเขา สันนิษฐานว่าพ้ืนที่แห่งนี้เคยเป็นทะเลมาก่อนหรือแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในสมัยเม่ือหลายล้านปีก่อน ด้วย ประเภทของหินและยงั พบหินฟอสซิลต่างๆลวดลายคลา้ ยสตั ว์ทะเล จำนวนหนึง่ กระจัดกระจายอยู่ “ลานหนิ ปะการัง” หินมีลักษณะเป็นหน่อเรียวยาวสีเทาอมเขียวเหมือน ปะการังขนาดใหญ่ มี ความสวยงามแปลกตา มาก เป็นความย่ิงใหญ่ท่ีธรรมชาติบรรจงสรรสร้างข้ึน คุณสมบัตทิ ่ีพิเศษสุดของหินเหล่านี้ เวลาเคาะจะมีเสียง
๖ ดังกังวานคลา้ ยกับโลหะ เป็นเสียงระดับแตกต่างกัน(โน้ตดนตรี) กนิ เนื้อที่กว่าพันไร่ทีเดียว น่าจะมีแร่บางอย่าง อย่ขู ้างใน นกั ทอ่ งเทยี่ วสามารถเดินชมหินปะการัง บนสะพานที่ไดส้ ร้างข้ึนไวอ้ ยา่ งใกลช้ ดิ “หน้าผาหนิ ” เหมาะสำหรับใช้ทำกจิ กรรมออกกำลังกายปนี หนา้ ผาของนักท่องเท่ียวทตี่ ้องการความสนุก ความท้า ทายเปน็ อยา่ งย่งิ “จดุ ชมทิวทัศน์” ท่านจะได้พบเห็นกับภาพที่มีความสวยงามและความแปลกตาผสมเคล้ากันภาพมุมบนของลานหิน ปะการังอีกทั้ง ภาพหมู่บ้าน วิถีชีวิตชุมชน สัมผัสกับไออุ่นของแดดยามเช้า กับอากาศท่ีเย็นสบาย ท่ามกลาง สายหมอก “ ถำ้ ” มี จำนวนหลายแห่ง ถ้ำที่นไี่ ม่ลกึ นกั ในบางห้องของถ้ำยังเป็นท่ีอาศัยของฝูงค้างคาวแมไ่ ก่จำนวนหน่ึง เช่ือว่าเขาปะการังรังแห่งน้ีมีพบอีกจำนวนมากที่ยังไม่ได้เข้าไปสำรวจเพราะในปัจจุบันยังมีการค้นพบถ้ำโดย ชาวบ้านอยูเ่ รื่อยๆ ซ่งึ ถ้ำทคี่ ้นพบล้วนมคี วามสวยงามและมคี วามแปลกตาเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนทอี่ ่ืน ถ้ำบาง แห่งมีหินเป็นสีเขียวคล้ายหินหยก บางแห่งก็มีหินรูปร่างคล้ายสัตว์น้ำทะเล บ้างคล้ายเคร่ืองบิน และมนุษย์ ฯลฯ “พันธุไ์ มท้ ่ีหายาก” ตามภูเขาหินปะการังจะพบพชื พันธทุ์ ่ีหายากมากมาย อาทิ ต้น จนั ทรผ์ า ซ่ึงเปน็ ไม้มงคลหายากและมี ราคาแพงขึ้นท่ัวบริเวณ และพบ ต้นเทียนหิน กล้วยไม้ป่า และยังพบพืชรูปร่างแปลกตาไม่สามารถพบเห็นได้ ทั่วไป ในช่วงหน้าฝนภูเขาหินปะการัง (เขาหน่อ) จะมีความสวยงามมาก สามารถพบดอกไม้ป่า ข้ึนแทรกอยู่ ตามโขดหนิ ทวั่ ทัง้ ภเู ขา ชูชอ่ ออกดอกสีสนั ตระการตา
๗ วดั ถ้ำผาทอง ตั้งอยู่ท่ี บ้านผาทอง หมู่ ๘ ตำบลพุทธบาท อำเภอชนแดน โดยทางเข้านั้น สามารถเขา้ ได้ทั้งทาง ตำบลท่าข้ามและทางเข้าทางตำบลวังศาล อำเภอวังโป่ง ระยะทางห่างจากอำเภอประมาณ ๒๓ กิโลเมตร ความงดงามที่ธรรมชาติสร้างสรรค์มานัน้ ทำให้ถ้ำผาทองสวยตระการตา ท่ามกลางความเขียวขจีของแมกไม้ นานาพนั ธ์ทุ ่ีไดร้ ับการดแู ลอยา่ งดจี ากราษฎรในชุมชน ขอ้ มูลประชากร ประชากรของอำเภอชนแดนส่วนใหญ่มีสัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ มีประชากรอาศัยอยู่จำนวน ๒๐,๒๐๗ ครัวเรือน และมีประชากรทั้งสิ้น ๕๔,๘๒๐ คน เป็นชาย ๒๗,๔๖๔ คน หญิง ๒๗,๓๕๖ คน โดยแยกเป็น ดังนี้ ประชากรอำเภอชนแดน ท่ี เทศบาล จำนวนครัวเรือน เพศชาย(คน) เพศหญิง(คน) รวม(คน) ๑ อบต.ชนแดน ๒,๓๐๘ ๓,๓๓๑ ๓,๑๘๘ ๖,๕๑๙ ๒ อบต.ดงขยุ ๒,๒๕๑ ๒,๙๖๒ ๒,๗๙๙ ๕,๗๖๑ ๓ อบต.ทา่ ขา้ ม ๑,๖๘๐ ๒,๒๑๔ ๒,๒๘๓ ๔,๔๙๗ ๔ อบต.พทุ ธบาท ๓,๗๒๑ ๔,๘๑๔ ๔,๗๐๐ ๙,๕๑๔ ๕ อบต.ลาดแค ๒,๘๑๒ ๓,๗๐๒ ๓,๖๕๐ ๗,๓๕๒ ๖ อบต.บ้านกลว้ ย ๑,๙๕๕ ๓,๑๗๖ ๓,๒๐๐ ๖,๓๗๖ ๗ อบต.ซบั พุทรา ๙๒๓ ๑,๔๐๔ ๑,๓๙๘ ๒,๘๐๒ ๘ อบต.ตะกดุ ไร ๑,๒๔๓ ๑,๗๓๑ ๑,๗๐๔ ๓,๔๓๕
๘ ๙ เทศบาลศาลาลาย ๑,๒๔๘ ๑,๙๓๖ ๒,๐๓๗ ๓,๙๗๓ ๑๐ เทศบาลชนแดน ๘๙๙ ๖๒๙ ๖๐๙ ๑,๒๓๘ ๑๑ เทศบาลดงขยุ ๖๙๒ ๗๕๑ ๘๘๙ ๑,๖๔๐ ๑๒ เทศบาลท่าข้าม ๔๗๕ ๘๑๔ ๘๙๙ ๑,๗๑๓ รวม ๒๐,๒๐๗ ๒๗,๔๖๔ ๒๗,๓๕๖ ๕๔,๘๒๐ สถานการณท์ างสังคมของอำเภอชนแดน ๑. การคมนาคม การเดินทางติดต่อระหว่างอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน มีทางหลวงแผ่นดิน ที่ผ่าน อำเภอชนแดน ๒ สาย คอื ๑.๑ ทางหลวงแผ่นดินสายเพชรบรู ณ์ – ตะพานหิน ผ่านตอนล่างของอำเภอชนแดน ระยะทางประมาณ ๑๐๒ กิโลเมตร ๑.๒ ทางหลวงแผ่นดินสายชนแดน – วังโป่ง ระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตร เส้นทางไม่ สะดวก ถนนส่วนใหญ่จะเป็นถนนดิน และถนนลูกรัง สามารถใชไ้ ด้สะดวกในฤดูแลง้ ส่วน ในฤดูฝน การเดินทางติดต่อระหว่างหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ ยังไม่สะดวกเพราะถนนเป็น หลุมเป็นบ่อ เป็นอุปสรรคต่อการเดินทาง และการขนส่งสินค้าการเกษตรเป็นไปด้วย ความลำบาก ๒. โทรคมนาคม การติดต่อส่ือสาร มีบริการด้านไปรษณีย์โทรเลข ๒ แห่ง ส่วนงานบริการด้าน ไปรษณีย์ระดับตำบล หมู่บ้าน มีเฉพาะบางตำบล ที่มีการคมนาคมสะดวก นอกจากนี้การติดต่อส่ือสารด้วย ระบบโทรศัพท์ มีโทรศัพท์ทางไกล และโทรศัพท์ติดต่อระหว่างอำเภอเป็นไปด้วยความสะดวก เป็นโทรศัพท์ สาธารณะ ๒๔ แหง่ และมีโทรศพั ท์บรกิ าร จำนวน ๒,๑๙๒ เลขหมาย ๓. การไฟฟา้ ไฟฟ้าทใ่ี ช้อยู่ในเขตอำเภอชนแดน อยู่ในเขตความรับผิดชอบ ของการไฟฟ้าเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่จะมีไฟฟ้าใช้เกือบท้ังหมด ขาดแต่เฉพาะหมู่บ้านขนาดเล็กที่มีบ้านเรือนอยู่ห่างกันมาก ๆ ซ่ึงใน ปัจจุบนั กำลังดำเนนิ การขยายเขตไฟฟ้าอยูแ่ ต่ยังไม่เสร็จสิ้น ๔. การประปา การประปา อยูใ่ นความรับผดิ ชอบของการประปาสว่ นภูมิภาคอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แห่ง ให้บริการจ่ายน้ำให้แก่ชุมชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลชนแดน เทศบาลท่าข้าม และเทศบาลดงขุย สำหรับชุมชนนอกเขตเทศบาล ยังคงอาศัยน้ำอุปโภค บริโภค จากแหล่งน้ำธรรมชาติ และจัดทำขึ้นเอง เช่น สระน้ำ บอ่ บาดาล บอ่ นำ้ ตื้น นอกจากนีย้ ังมีระบบประปาหมูบ่ ้าน ประชากรส่วนใหญ่ของอำเภอชนแดน เป็นประชากรท่ีอพยพมาจากท้องที่อื่น จากหลายๆ จังหวัด ลักษณะการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในเขตชุมชนเมือง จะมีประชากรตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
๙ โดยเฉพาะประชากรในเขตชุมชน เทศบาลทงั้ ๓ แหง่ ราษฎรในเขตชนบทมกั ตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่ตามชุมชน หมบู่ า้ น และกระจดั กระจายไปตามท่ดี ินของตนเอง เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจของอำเภอชนแดน ส่วนใหญ่ขึ้นอย่กู ับอาชีพเกษตรกรรม ซึง่ เปน็ อาชีพหลัก ของประชากรกว่าร้อยละ ๙๐ โดยทำไร่ ทำนา พืชไร่ท่ีปลูกมากที่สุด ได้แก่ ข้าวโพด ข้าว ถั่วเขียว ข้าวฟ่าง การทำสวนผลไม้ การประกอบอาชีพของเกษตรกรส่วนใหญ่ อาศัยน้ำฝนตามฤดูกาล เมื่อเสร็จฤดูกาลเก็บ เกี่ยวพืชผลทางการเกษตร จะปลูกพืชหมุนเวียนและรับจ้างท่ัวไป ซ่ึงส่วนหนึ่งท่ีออกไปรับจ้างทำงาน ตา่ งจังหวดั โดยทำงานในภาคอุตสาหกรรมตามโรงงานในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ด้านเศรษฐกจิ ๑. การเกษตรกรรม การเกษตรกรรมอำเภอชนแดน มกี ารเพาะปลูกที่ใหผ้ ลติ ผลมมี ูลคา่ มาก ไดแ้ ก่ ข้าวโพด ข้าว ถ่ัวเขียว พ้ืนท่ีถือครองของอำเภอชนแดน มีจำนวน ๗๑๐,๖๒๕ ไร่ มีพื้นที่ทำการเกษตรพืชไร่ ๒๕๙,๐๘๘ ไร่ พชื นา ๑๓๔,๐๗๒ ไร่ พืชสวน ๑๗,๒๘๙ ไร่ การปศุสัตว์ มีการเลยี้ งโค กระบือ เป็ด ไก่ ซึ่งยังคงเป็นการเล้ียงแบบเกษตรกรรายย่อยเป็นส่วนใหญ่ การประมง อำเภอชนแดน มแี หล่งนำ้ ธรรมชาตปิ ระเภทแม่นำ้ หนอง บึง และมีการเลี้ยงปลาในบ่อ เช่น ปลานิล ปลาย่ีสก ปลาดกุ และปลาตะเพียน เปน็ ตน้ รายได้เฉล่ยี ตอ่ คนของประชากรอำเภอชนแดน รายได้เฉล่ยี ตอ่ คนต่อปี ๗๖,๐๔๙.๗๙ ท่ี พื้นที่ ๑ อบต.ชนแดน ๗๓,๗๖๙.๒๖ ๙๒,๖๗๒.๖๑ ๒ อบต.ดงขุย ๕๙,๒๒๘.๐๐ ๓ อบต.ท่าข้าม ๘๔,๒๘๗.๗๗ ๔ อบต.พุทธบาท ๗๖,๕๔๕.๕๗ ๕ อบต.ลาดแค ๘๗,๔๑๔.๘๕ ๖ อบต.บา้ นกลว้ ย ๗๒,๖๓๔.๔๓ ๗ อบต.ซบั พุทรา ๗๓,๔๖๗.๕๘ ๘ อบต.ตะกดุ ไร ๑๙๖,๘๔๒.๘๙ ๙ อบต.ศาลาลาย ๖๖,๖๓๙.๐๙ ๑๐ เทศบาลชนแดน ๙๑,๕๘๗.๙๑ ๑๑ เทศบาลดงขยุ ๗๘,๕๒๘.๔๑ ๑๒ เทศบาลทา่ ขา้ ม เฉลี่ย
๑๐ ๒. ขอ้ มูลพ้ืนฐาน กศน.อำเภอชนแดน ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้ประกาศจัดตั้ง ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน พร้อมกันท่ัวประเทศจำนวน ๗๘๙ แห่ง โดยอาศัยอำนาจตามความใน มาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกอบกับระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นสถานศึกษาในราชการบริหารส่วนกลางสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๓๖ ข้อ ๖ ในส่วนของ อำเภอชนแดน มีชื่อว่า “ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอชนแดน” เม่ือ วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นสถานศึกษาในราชการบริหารส่วนกลางสังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเพชรบูรณ์ กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ สถานท่ีปฏิบัติงาน เดิมใช้ท่ีทำการสภาตำบลชนแดน เป็นสถานท่ีปฏิบัติงานจนถึงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๓๘ ต่อมาย้ายสถานที่ปฏิบัติงานมาใช้อาคารของห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน หมู่ที่ ๔ ตำบลชน แดน อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ และต่อมาปีงบประมาณ ๒๕๔๔ ได้ดำเนินการปรับปรุงก่อสร้าง อาคารสำนักงานในพ้ืนท่ีติดกับห้องสมุดประชาชนอำเภอ และใช้เป็นสำนักงานของศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรยี นอำเภอชนแดน ซึ่งตอ่ มาเม่ือ วันท่ี ๑๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดป้ ระกาศใช้ พระราชบัญญตั ิส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้ึน และประกาศเปล่ียนแปลงช่ือสถานศึกษา เปน็ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน เรยี กชอ่ื ย่อว่า “กศน.อำเภอชนแดน” สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ สำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ จนถึงปัจจุบนั ที่ตัง้ /การตดิ ต่อ ช่ือสถานศกึ ษา : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ทอ่ี ยู่ : เลขที่ ๔๑๕ หมู่ที่ ๔ ถนนชมฐรี ะเวช อำเภอชนแดน จงั หวัดเพชรบูรณ์ เบอร์โทรศัพท์ : โทร ๐-๕๖๗๖-๑๖๖๗ โทรสาร เบอร์โทรสาร : ๐-๕๖๗๖-๑๖๖๗ E-mail ตดิ ต่อ : [email protected] สังกดั : สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๑๑ โครงสร้าง กศน.อำเภอชนแดน โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา หมายเหตุ ใหเ้ สถานศึกษาสามารถ นำเสนอข้อมลู โครงสร้างการ บริหารงานของสถานศึกษา ทต่ี รงกบั ความเป็นจรงิ
๑๒ จำนวนบุคลากร ประเภท/ตำแหนง่ ต่ำกว่า ป.ตรี จำนวน (คน) รวมจำนวน ป.ตรี ป.โท ป.เอก ๒ ข้าราชการครู ๑๑ ๑ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑ พนักงานราชการ ๒ ๒ - ครูอาสาสมคั ร ๘๑ ๙ - ครู กศน. ตำบล ๑ ๑ - นกั จดั การงานทั่วไป อัตราจ้าง ๕๕ - ครูศนู ย์การเรยี นชมุ ชน - นกั วชิ าการศึกษา ๑ ๑ - พนักงานบรกิ าร ๑ ๑๘ ๒ ๒๑ รวมจำนวน คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชอื่ -สกุล ตำแหน่ง ลำดบั ประธานกรรมการ ๑ นายประสาน จรรยารกั ษ์ กรรมการ กรรมการ ๒ นายประมวน ดวงตา กรรมการ กรรมการ ๓ นายประวิทย์ ฉตั รศรสี ุวรรณ กรรมการ กรรมการ ๔ นายจเร บุญยก กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๕ นายสนิท เกษมสุข ๖ นายปราโมทย์ ทองย้ิม ๗ นายจกั รกฤช สุขใส ๘ นางเทยี มจันทร์ วิทยานที ๙ นายสมประสงค์ น้อยจันทร์
๑๓ ทำเนยี บผูบ้ ริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ลำดับท่ี ชือ่ -สกุล ตำแหนง่ ระยะเวลาท่ีดำรงตำแหนง่ ๑ นางจฑุ ารัตน์ สุขแสง ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๓๖ – ๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๔๔ ๒ นายชน่ื ศักด์ิ ตาคำ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ๑๙ มถิ นุ ายน ๒๕๔๔ – ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ๓ นางสาวบานเยน็ ศิริ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๘ – ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๔ นายอาคม ปญั ญาศภุ โชติ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๕๑ – ๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๓ ๕ นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๓ – ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๓ ๖ นายอนุชา วจิ ติ รศลิ ป์ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ – ๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ ๗ นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ปัจจุบนั บุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ท่ี ช่อื – สกลุ ตำแหนง่ วุฒกิ ารศกึ ษา วิชาเอก ๑ นายสมประสงค์ น้อยจนั ทร์ ผอ.กศน.อำเภอชนแดน คบ./ป.บัณฑิต เกษตรกรรม/การบริหารการศึกษา ๒ นางวารี ชบู ัว บรรณารักษช์ ำนาญการ ศศ.บ. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ๓ นายเกรียงฤทธิ์ เดตะอุด ครู น.บ. นติ ิศาสตร์ ๔ นางสาวยุวดี โสดา นกั จดั การงานท่วั ไป บธบ. ระบบสารสนเทศทางคอมพวิ เตอร์ ๕ นางสาวลาวลั ย์ สิทธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ คบ. อุตสาหกรรมศลิ ป์ ๖ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ คบ. เกษตรกรรม ๗ นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน.ตำบล คบ. ปฐมวยั ๘ นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ ันธ์ ครู กศน.ตำบล คบ. วิทยาศาสตรท์ ัว่ ไป ๙ นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ครู กศน.ตำบล คบ. ศิลปศึกษา ๑๐ นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน.ตำบล บธ.บ ระบบสารสนเทศ(ทางคอมพิวเตอร)์ ๑๑ นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน.ตำบล นทบ. นิเทศศาสตร์ ๑๒ นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน.ตำบล วท.บ. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร ๑๓ นางลาวิน สีเหลือง ครู กศน.ตำบล ศบ. การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ๑๔ นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน.ตำบล คบ. เกษตร ๑๕ นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน.ตำบล คบ. พลศึกษา ๑๖ นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. วท.บ. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์อตุ สาหกรรม ๑๗ นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. คบ. สงั คมศึกษา ๑๘ นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. ศศบ. สหวิทยาการเพื่อการพฒั นาท้องถ่นิ ๑๙ นางสาวอษุ า ย่ิงสขุ ครู ศรช. คบ. บรรณารักษศาสตร์
๑๔ ๒๐ นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. ศศ.บ. ภาษาจีน ๒๑ นายอำพล เพชรสุข พนกั งานบริการ ม.ปลาย มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กศน.ตำบล/ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน.ตำบล ที่ต้ัง ผูป้ ระสานงาน/ผรู้ บั ผิดชอบ ๑.กศน.ตำบลชนแดน ม.๔ ตำบลชนแดน อำเภอชนแดน นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ๒.กศน.ตำบลพทุ ธบาท ม.๒๔ตำบลพุทธบาทอำเภอชนแดน นางลาวิน สเี หลอื ง ๓.กศน.ตำบลซับพทุ รา ม.๗ ตำบลซบั พุทรา อำเภอชนแดน นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ๔.กศน.ตำบลท่าขา้ ม ม.๑ ตำบลท่าข้าม อำเภอชนแดน นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ ันธ์ ๕.กศน.ตำบลศาลาลาย ม.๑ ตำบลศาลาลาย อำเภอชนแดน นางผกาพรรณ มะหิทธิ ๖.กศน.ตำบลลาดแค ม.๗ ตำบลลาดแค อำเภอชนแดน นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ๗.กศน.ตำบลบา้ นกล้วย ม.๘ ตำบลบา้ นกล้วย อำเภอชนแดน นางสรุ ัตน์ จนั ทะไพร ๘.กศน.ตำบลดงขุย ม.๑๔ ตำบลดงขุย อำเภอชนแดน นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ๙.กศน.ตำบลตะกดุ ไร ม.๒ ตำบลตะกดุ ไร อำเภอชนแดน นางสาวณัฐชา ทาแน่น ศูนยก์ ารเรียนชุมชน ทต่ี ัง้ ผปู้ ระสานงาน/ผรู้ ับผดิ ชอบ ๑. บา้ นหว้ ยงาช้าง ม.๔ ตำบลพทุ ธบาท นายศวิ ณัชญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ๒. บ้านผาทอง ม.๘ ตำบลพทุ ธบาท นางสาวกัญญาณัฐ จันปญั ญา ๓. ตำบลชนแดน ม.๔ ตำบลชนแดน นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ๔. ตำบลชนแดน ม.๔ ตำบลชนแดน นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ๕. ตำบลทา่ ข้าม ม.๑ ตำบลท่าขา้ ม นางสาวอุษา ย่งิ สุข ห้องสมดุ ประชาชน - หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน เลขทเ่ี ลขท่ี ๔๑๕ หมูท่ ่ี ๔ ถนนชมฐรี ะเวช อำเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์ ผู้รบั ผดิ ชอบ นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ โทร ๐๘๑๐๓๓๓๒๓๙
๑๕ บ้านหนงั สอื ชุมชน “บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน” จำนวน ๒๗ แห่ง ดังนี้ ที่ ตำบล หมูท่ ่ี ชอ่ื บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ๑. ชนแดน ๗ บ้านโคกเจริญ ๒. ซับพทุ รา ๑๓ บ้านโคกเจริญเหนือ ๓. พทุ ธบาท ๓ บ้านชนแดน ๔. ทา่ ข้าม ๔ บา้ นวังไทร ๕. ศาลาลาย ๓ บา้ นซบั เจริญ ๖. ลาดแค ๙ บา้ นเขาถำ้ พัฒนา ๗. ดงขยุ ๘ บา้ นผาทอง ๘. บ้านกลว้ ย ๑๗ บ้านหว้ ยตูม ๙. ตะกดุ ไร ๑๖ บ้านวังมะปราง ๑ บ้านทา่ ข้าม ๘ บา้ นตะกุดจน่ั ๔ บา้ นกุฏิพระ ๑ บ้านศาลาลาย ๗ บา้ นซบั ขลุง ๑๐ บา้ นเนนิ พัฒนา ๑๗ บ้านคลองโปรง่ ๗ บ้านถ้ำแก้ว ๘ บา้ นหนองใหญ่ ๖ บ้านหนองระมาน ๑๗ บา้ นโคกตายอ ๔ บ้านดงขยุ เหนือ ๔ บ้านเขาชะโงก ๗ บ้านเขาชะโงกเหนือ ๑ บา้ นวงั ลวก ๒ บา้ นเนนิ สว่าง ๔ บ้านเขาสัก ๑ บ้านตะกุดไร
๑๖ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ๒๑ แห่ง ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่ ๑.นายคำ สายแวว จักสาน ม.๗ บ้านเขาชะโงกเหนือ ต.บ้านกล้วย ๒.นางมลฑา ภดู วงดาษ บายศร/ี รอ้ ยมาลยั ๔๙ ม.๗ ต.บ้านกล้วย ๓.นายธวชั จันทา รกั ษาโรคกระดูกหัก/หมอเป่า ม.๔ บ้านเขาชะโงก ต.บา้ นกล้วย ๔.นายสายรุ้ง ดิษทอง หมอดดู วง/ต้งั ศาลพระภมู ิ ม.๕ บา้ นเขาคณฑา ต.บ้านกลว้ ย ๕.นายไพรวงษ์ คชสาร การทำปยุ๋ ชวี ภาพ, การเลีย้ งไกไ่ ข่ ๑๕๐ ม.๑๗ บ้านโคกตายอ ต.ดงขยุ ๖.นางขจร คชสาร การทำนำ้ พริกแกง ๑๕๐ ม.๑๗ บา้ นโคกตายอ ต.ดงขุย ๗.นางปราณี พุทธปญั ญา การเพาะเห็ดนางฟา้ ๑๕๐ ม.๖ บา้ นหนองระมาน ต.ดงขุย ๘.นางปานทพิ ย์ มณีธรรม การแปรรปู สมุนไพร (การทำนำ้ พริก) ม.๔ บา้ นเขาสกั ต.ตะกุดไร ๙.นางคำพันธ์ เทยี นบวั การทำถ่านอัดแทง่ ม.๒ บา้ นเนินสว่าง ต.ตะกุดไร ๑๐นายประพศิ ชูมาลัยวงศ์ การเพาะเห็ดฟาง ม.๒ บา้ นเนนิ สว่าง ต.ตะกุดไร ๑๑.นายอทุ ัย สายพนิ เกษตรผสมผสาน ๑๓๔ ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๑๒.นายมานพ เอมโอช เกษตรผสมผสาน/เกษตรทฤษฎใี หม่ ๙๗ ม.๓ บ้านชนแดนเหนือ ต.ชนแดน ๑๓.นายจำปี จานสบิ สี เกษตรผสมผสาน/เกษตรทฤษฎีใหม่การเลยี้ งแพะ ๑๑๑ ม.๑๓ บา้ นโคกเจรญิ เหนอื ต.ชน แดน ๑๔.นายสมยศ มณีโชติ เกษตรผสมผสาน/เกษตรทฤษฎใี หม่การปลูกพืช ม.๑๐ บ้านคลองหว้ ยนา ต.ชนแดน สมุนไพร ๑๕.นายสมจิตร ชยั หอมหวล การแปรรูปมะขามหวาน ๗ ม.๘ บา้ นโป่งตาเบ้า ต.ชนแดน ๑๖.นายวิฑรู ย์ ยอดทหาร การเพาะเหด็ นางฟ้าและเหด็ ขอนมะม่วง ๒๖๑/๓ ม.๗ บา้ นโคกเจรญิ ต.ชนแดน ๑๗.นายปราโมทย์ ทองยม้ิ การทำปยุ๋ ชวี ภาพ สมุนไพรแปรรปู ๑๕๙ ม.๑ บา้ นหว้ ยตูม ต.พทุ ธบาท ๑๘.นายพินิจ อ้นอม่ิ ดนตรีไทย ๔๘ ม.๑ บา้ นห้วยตมู ต.พุทธบาท ๑๙.นายชชู าติ พลอยมณี การขยายพนั ธพุ์ ืช ๑๔๒ ม.๒ บ้านนำ้ พุ ต.พทุ ธบาท ๒๐.นางบุญจนั ทร์ ดอกไม้ การนวดแผนไทย ๕๘ ม.๑ บา้ นห้วยตมู ต.พุทธบาท ๒๑.นายณรงค์ ปิ่นบาง การทำไมเ้ ฟอรน์ ิเจอร์ ๘ ม.๒๓ ต.พุทธบาท รวมจำนวน ๒๑ แหง่
๑๗ แหลง่ เรียนรอู้ ืน่ ๒๘ แห่ง แหล่งเรยี นรูอ้ นื่ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทตี่ ง้ั ๑.วดั พระพทุ ธบาทชนแดน ศาสนาและวัฒนธรรม ๑๑๑ ม.๔ ต.ชนแดน ๒.ศนู ย์เรียนรูก้ ารปลกู ผกั เกษตรอนิ ทรยี ์ ผกั ปลอดสารพิษ การเลีย้ งไก่ไข่ ๑๓๔ ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๓.ศนู ยเ์ รียนรูก้ ารปลกู ผกั ปลอดสารพษิ ผกั ปลอดสารพิษ ม.๓ บา้ นชนแดนเหนือ ต.ชนแดน ๔.ศูนย์เรยี นรกู้ ารปลูกผกั ไฮโดรโปรนกิ สศ์ ูนย์เรียนรู้ ผักไฮโดรโปรนกิ ส์ ม.๗ บ้านโคกเจริญ ต.ชนแดน ๕.กลมุ่ การเพาะเหด็ การเพาะเห็ด ม.๑๓ ต.ชนแดน ๖.ถ้ำผาทอง แหล่งท่องเท่ยี วธรรมชาติ ม.๘ ต.พุทธบาท ๗.นำ้ ตกแสนสมบรู ณ์ แหล่งทอ่ งเทย่ี วธรรมชาติ ม.๑๓ บ้านลาดนอ้ ย ต.พทุ ธบาท ๘.อ่างเกบ็ น้ำบา้ นลาดน้อย แหลง่ ท่องเทีย่ วธรรมชาติ ม.๑๓ บ้านลาดน้อย ต.พทุ ธบาท ๙.อ่างเก็บน้ำบา้ นหนองตาด แหล่งท่องเท่ยี วธรรมชาติ ม.๕ บา้ นหนองตาด ต.พุทธบาท ๑๐.วัดถำ้ เขาเครือ ศาสนาและวัฒนธรรม ม.๑๑ บ้านถำ้ เขาเครือ ต.พทุ ธบาท ๑๑.กลุม่ สตรีแม่บ้านห้วยตมู (น้ำพริก) อุตสาหกรรมครัวเรอื น ม.๑๗ บ้านหว้ ยตูม ต.พุทธบาท ๑๒.อา่ งเก็บนำ้ กุฏิพระ แหลง่ ท่องเทย่ี วธรรมชาติ ม.๔ บ้านกฏุ ิพระ ต.ท่าข้าม ๑๓.ศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรรม ม.๑ บา้ นทา่ ข้าม ต.ทา่ ข้าม ๑๔.วัดภพู ระธาตุ แหล่งท่องเทย่ี วธรรมชาติ ม.๒๑ บา้ นซบั ตะเคยี น ต.ลาดแค ๑๕.วัดถำ้ มงคลเขาชะโงก ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๖.กลมุ่ สตรีแม่บา้ นเขาชะโงกเหนอื หัตถกรรม ม.๔ บ้านเขาชะโงก ต.บ้านกล้วย (ทอผ้ากก่ี ระตุก) ม.๗ บ้านเขาชะโงกเหนือ ต.บา้ น ๑๗.เฟอรน์ ิเจอร์ไม้ อุตสาหกรรม กลว้ ย ม.๗ บ้านเขาชะโงกเหนือ ต.บา้ น ๑๘.ศนู ย์เรียนรปู้ ยุ๋ หมกั ชีวภาพ เกษตรกรรม กล้วย ๑๙.ศูนย์เรยี นรู้สมุนไพรพืน้ บ้าน เกษตรกรรม ม.๘ บ้านโคกสำราญ ต.บ้านกลว้ ย ๒๐.วัดเทพธรรมรังษี ศาสนาและวัฒนธรรม ม.๘ บา้ นโคกสำราญ ต.บา้ นกล้วย ๒๑.ศูนย์เรียนรกู้ ารเพาะเหด็ นางฟา้ เกษตรกรรม ม.๑๒ บา้ นใหมพ่ ัฒนา ต.บา้ นกล้วย ๒๒.วดั วารีลอ้ ม ศาสนาและวัฒนธรรม ม.๕ บ้านเขาคณฑา ต.บ้านกล้วย ๒๓.ศูนยผ์ ลิตภัณฑร์ ้านค้าชมุ ชน ต.ดงขุย วสิ าหกิจชุมชน ม.๕ บ้านดงขยุ ใต้ ต.ดงขุย ๒๔.ศนู ย์เรยี นรูบ้ า้ นเขาสัก อตุ สาหกรรม ม.๓ บ้านดงขุย ต.ดงขุย ๒๕.ศนู ยเ์ รียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรรม ม.๔ บา้ นเขาสัก ต.ตะกุดไร ๒๖.แหล่งเรยี นรูต้ ำบลศาลาลาย เกษตรกรรม ม.๔ บา้ นเขาสัก ต.ตะกุดไร ๒๗.ภูเขาหินปะการงั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วธรรมชาติ ๑๕๐/๒ ม.๑๐ต.ศาลาลาย ม.๘ บา้ นเขาเพ่ิมพฒั นา ต.ซบั พุทรา
๑๘ ๒๘.อา่ งเกบ็ นำ้ ซบั เจริญ แหล่งทอ่ งเทยี่ วธรรมชาติ ม.๓ บ้านซับเจริญ ต.ซับพทุ รา รวมจำนวน ๒๘ แห่ง ภาคเี ครอื ขา่ ย ๓๙ แห่ง ภาคีเครอื ข่าย ทอี่ ย/ู่ ที่ต้งั ๑.ทวี่ ่าการอำเภอขนแดน ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๒.องค์การบริหารสว่ นตำบลชนแดน ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๓.เทศบาลตำบลชนแดน ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๔.วดั พระพุทธบาทชนแดน ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๕.กองพนั ทหารส่ือสารที่ ๑๑ ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๖.โรงเรยี นชนแดนวิทยาคม ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๗.โรงเรียนเสรีศึกษา ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๘.โรงเรยี นเซนตม์ ารอี า ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๙.โรงเรียนอนุบาลชนแดน ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๑๐สาธารณสขุ อำเภอชนแดน ม.๔ บา้ นชนแดน ต.ชนแดน ๑๑.สำนักงานพฒั นาชุมชน ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๑๒.สถานีตำรวจภูธรชนแดน ม.๔ บ้านชนแดน ต.ชนแดน ๑๓.โรงพยาบาลอำเภอชนแดน ม.๗ บา้ นโคกเจริญ ต.ชนแดน ๑๔.องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลพุทธบาท ม.๒๔ บ้านเนนิ ไพร ต.พุทธบาท ๑๕.โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพชมุ ชนบา้ นน้ำลัด ม.๓ บ้านน้ำลัด ต.พุทธบาท ๑๖.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชมุ ชนตำบลห้วยงาช้าง ม.๑๗ บา้ นหว้ ยงาชา้ ง ต.พุทธบาท ๑๗.โรงเรียนบ้านผาทอง ม.๘ บา้ นผาทอง ต.พุทธบาท ๑๘.องค์การบรหิ ารส่วนตำบลท่าขา้ ม ม.๔ บา้ นกฏุ พิ ระ ต.ทา่ ข้าม ๑๙.เทศบาลตำบลท่าข้าม ม.๑ บ้านทา่ ขา้ ม ต.ท่าข้าม ๒๐.โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพชมุ ชนตำบลท่าข้าม ม.๖ บา้ นดงแขวน ต.ท่าข้าม ๒๑.องค์การบรหิ ารส่วนตำบลลาดแค ม.๑๗ บ้านคลองโปร่ง ต.ลาดแค ๒๒.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพชมุ ชนตำบลลาดแค ม.๕ บ้านลาดแค ต.ลาดแค ๒๓.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชนตำบลหนองใหญ่ ม.๘ บา้ นหนองใหญ่ ต.ลาดแค ๒๔.องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบา้ นกล้วย ม.๕ บา้ นเขาคณฑา ต.บา้ นกล้วย ๒๕.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชมุ ชนตำบลบ้านกลว้ ย ม.๑๐ บา้ นกล้วยเหนอื ต.บ้านกลว้ ย ๒๖.โรงเรยี นบา้ นเขาชะโงก ม.๔ บ้านเขาชะโงก ต.บ้านกล้วย ๒๗.โรงเรยี นบา้ นวงั รวก ม.๑ บ้านวังรวก ต.บ้านกลว้ ย
๑๙ ๒๘.โรงเรียนบา้ นโคกสำราญ ม.๘ บ้านโคกสำราญเหนือ ต.บ้านกล้วย ๒๙.โรงเรยี นบ้านเขาคณฑา ม.๕ บ้านเขาคณฑา ต.บ้านกล้วย ๓๐.โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพชุมชนตำบลบา้ นรอ่ งเข้ ม.๑๖ บ้านร่องเข้ ต.บา้ นกลว้ ย ๓๑.องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลดงขุย ม.๑๔ บา้ นวารีวงษ์ ต.ดงขุย ๓๒.เทศบาลตำบลดงขุย ม.๑ ต.ตะกดุ ไร ต.ตะกุดไร ๓๓..องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลตะกุดไร ม.๗ บา้ นโปง่ นกแก้ว ต.ตะกดุ ไร ๓๔.โรงเรยี นส่งบ้านเนนิ สว่าง ม.๒ บ้านเนนิ สวา่ ง ต.ตะกดุ ไร ๓๕.โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพชมุ ขนตำบลตะกุดไร ม.๑ บา้ นตะกดุ ไร ต.ตะกุดไร ๓๖.เทศบาลตำบลศาลาลาย ม.๑๐ บ้านเนินพฒั นา ต.ศาลาลาย ๓๗.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชมุ ชนศาลาลาย ม.๑๐ บา้ นเนินพัฒนา ต.ศาลาลาย ๓๘.โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลซบั พทุ รา ม.๓ บา้ นซับเจรญิ ต.ซับพทุ รา ๓๙.องค์การบริหารสว่ นตำบลซับพทุ รา ม.๗ บา้ นซบั อปี กุ ต.ซบั พุทรา รวมจำนวน ๓๙ แห่ง
๒๐ อำนาจหน้าท่ีศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน เรียกโดยย่อว่า กศน.อำเภอชนแดน มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Chon Daen Districe Non-Formal and Informal Education Center มีอำนาจหน้าท่ีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑ เรื่องกำหนดอำนาจ และหนา้ ทขี่ องสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอ ดังนี้ ๑. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ๓. ดำเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสรา้ งความมัน่ คงของชาติ ๔. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริในพื้นท่ี ๕. จดั สง่ เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาแหล่งเรียนรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ๖. วิจยั และพฒั นาคณุ ภาพหลกั สูตร สอ่ื กระบวนการเรียนรู้ และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ ๗. ดำเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความร้แู ละประสบการณ์ ๘. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๙. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๑๐. ระดมทรพั ยากรเพอ่ื ใช้ในการจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๑๑. ดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ใหส้ อดคลอ้ งกับระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่กี ำหนด ๑๒. ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆตามท่ีได้รับมอบหมาย สภาพแวดล้อมของหนว่ ยงาน (SWOT) ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของ กศน.อำเภอชนแดน ๑. จดุ แขง็ Strengths - ครูและบุคลากร กศน. มีความรูค้ วามสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ รงตามกลมุ่ เปา้ หมาย - ครูและบุคลากร กศน.ปฏิบัติงานในพื้นที่ มีความคล่องตัว ทำงานร่วมกับชุมชนและประสานงาน เครือขา่ ยได้ - มกี ศน.ตำบล เปน็ ศนู ย์กลางในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - มสี ื่อเทคโนโลยแี ละข้อมลู สารสนเทศเปน็ ปจั จุบัน - กศน.ตำบล ใหบ้ รกิ ารอินเตอร์เนต๊ WiFi ฟรที ุกตำบล - กศน.ตำบล มกี ารพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง - หลกั สูตรระยะสนั้ มีความหลากหลายและตรงตามความตอ้ งการของผ้เู รยี น - มีการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดกระบวนการเรยี นรู้
๒๑ - มกี ารพฒั นาครูและบคุ ลากร กศน. อยา่ งสมำ่ เสมอ ๒. จุดออ่ น Weaknesses - ครูและบุคลากร มภี าระงานและปรมิ าณงานทหี่ ลากหลาย - ผเู้ รยี นหรอื ผูเ้ ข้ารับบริการขาดอุปกรณ์ทท่ี นั สมัย - งบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรรไมส่ อดคล้องกบั กลุ่มเป้าหมาย ๓. โอกาส Opportunities - อัตราเด็กออกกลางคันสงู ขน้ึ ทำใหม้ ีกลมุ่ เปา้ หมายเพมิ่ ข้นึ - แนวโนม้ ท่ีประชาชนปฏิเสธการศึกษาในระบบโรงเรียน และต้องการศึกษานอกระบบเพิ่มขึ้น - เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกจิ ประชาชนมีความต้องที่จะสร้างอาชพี เพม่ิ ขนึ้ - ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในปัจจุบนั ไดเ้ พิ่มชอ่ งทางในการให้บรกิ ารทห่ี ลากหลาย และ มากขึน้ - ภาคีเครอื ขา่ ย มีส่วนร่วมในการดำเนนิ งาน กศน. อย่างต่อเน่ือง ๔. อุปสรรค Threats - การจัดการศึกษาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ๒๕๕๑ ครูต้องจัดการ เรยี นการสอนในหลายวชิ า ซง่ึ ไมต่ รงกบั วชิ าหลักของตนเองทำใหป้ ระสทิ ธิภาพในการจัดการเรยี นการสอน ลดลง - นักศกึ ษามีการประกอบอาชีพทีห่ ลากหลาย และมีการย้ายถิน่ ฐานบ่อย ทำใหไ้ ม่สามารถเขา้ ร่วม กจิ กรรมได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง และไมส่ ามารถทจ่ี ะมาสอบปลายภาคเรยี นด้วยภาระในการทำงาน - สือ่ เทคโนโลยีมกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ส่งผลตอ่ การจัดหาวัสดอุ ุปกรณใ์ นการจัดการศึกษา ทำใหผ้ ูใ้ ช้งานปรบั ตวั ไม่ทนั - กฎ ระเบียบ บางเรื่องมีข้อจำกัดไม่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทสงั คมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และไม่เอ้ือต่อ การศึกษาทีย่ ดื หย่นุ หลากหลาย - ดว้ ยภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ ทำใหป้ ระชาชนมุง่ หางานสรา้ งรายไดเ้ พ่ือเลีย้ งตนเองและครอบครวั ให้ สามารถดำรงชีพได้ การศกึ ษาจึงเปน็ สิง่ ที่ไมส่ ามารถสนองต่อความต้องการในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
๒๑ บทท่ี ๒ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน จงั หวัดเพชรบูรณ์ ได้จดั ทำ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ โดยมสี าระสำคญั ดงั ต่อไปนี้ วิสยั ทศั น์ เป็นองค์กรหลักในการร่วมสร้างโอกาสทางการศึกษา ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษา ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างท่ัวถึง มีทักษะท่ีจำเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑ มีจิตอาสา เสียสละ และสามารถ พงึ่ พาตนเองไดต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คำขวญั ศษิ ยห์ ลวงพอ่ ทบคิดเป็น มจี ิตอาสาพฒั นาตนเอง ชมุ ชนและสังคม ปรชั ญา พฒั นาคนใหค้ ิดเป็น มจี ิตอาสาพฒั นาชมุ ชนและสังคม อย่างพอเพยี ง อัตลักษณ์ คิดเปน็ มจี ติ อาสา พฒั นาตนเอง อยู่อย่างพอเพียง เอกลกั ษณ์ จัดการศึกษาอยา่ งหลากหลาย ภาคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนรว่ ม ศนู ยร์ วมแหลง่ เรยี นรู้ คคู่ วามพอเพยี ง สปี ระจำสถานศึกษา : สีแสด ขาว สีแสด หมายถงึ ความสวา่ งไสวแห่งปัญญา ความเป็นปึกแผ่น มติ รภาพความร่วมมือร่วมใจ และความ สามัคคี สขี าว หมายถึง คุณธรรม จรยิ ธรรม มนี ำ้ ใจใสสะอาดบริสทุ ธ์ิ และโปร่งใสในการบริหารจดั การ ดอกไมส้ ถานศึกษา : ดอกเฟอื่ งฟ้า ดอกเฟอื่ งฟา้ หมายถึงความสวา่ งไสว ความเบิกบาน ความรุง่ เรืองท่ีกา้ วไกลแหง่ ชวี ติ พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื สร้างสังคมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย สง่ เสรมิ กิจกรรมจติ อาสาในการพฒั นาชุมชนและสังคม
๒๒ ๓. ส่งเสรมิ และพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ ให้เกดิ ประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔. พฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ และนวัตกรรมการวัดและประเมนิ ผล ในทุกรูปแบบ ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการเพ่ือมุ่งจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิ บาลและการมีส่วนรว่ ม เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานที่มคี ุณภาพ อยา่ งทั่วถึงและเทา่ เทียม ๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่เี ป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแตล่ ะกลุ่ม ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและปรัชญาคิดเป็น อาทิ หมบู่ ้านตามรอยพระยคุ ลบาท หมู่บ้านแห่งการอ่าน บ้านหนังสือชุมชนแหล่ง การเรยี นรชู้ ุมชน ๔. ประชาชนได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตและ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อื่นในชุมชน เป็นกลไกในการจัดการเรยี นรู้ ๕. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หา และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ๖. ชุมชนมีการจัดการความรู้ของชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและย่ังยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม ๗. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครอื ข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๘. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาและนำส่ือ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร มาใช้ในการเพมิ่ โอกาสและยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรยี นรู้ ๙. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถงึ ๑๐. หน่วยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
๒๓ เป้าประสงค์และตัวช้วี ัดตัวชีว้ ัดเชิงปริมาณ เป้าหมาย/ รอ้ ยละ หมายเหตุ คน ความสำเร็จ ที่ กจิ กรรม ๑๔๐ ร้อยละ ๘๐ ๑. การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ๑๐๐ ร้อยละ ๘๐ - การส่งเสริมการร้หู นงั สือ ๔๐๓ รอ้ ยละ ๘๐ - ระดบั ประถมศึกษา (๑ ภาคเรยี น) ๔๕๔ รอ้ ยละ ๘๐ - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (๑ ภาคเรียน) ๑๘ ร้อยละ ๘๐ - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (๑ ภาคเรยี น) - เทยี บโอนความรู้ระดับการศึกษามติ ิความร้คู วามคิด ๔๒ ร้อยละ ๘๐ ๑๐๘ ร้อยละ ๘๐ ๒. การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ๑๖๐ ร้อยละ ๘๐ ๒.๑ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี /โครงการศนู ย์อาชีพชมุ ชน ๑๐๒ ร้อยละ ๘๐ ๑๓๖ ร้อยละ ๘๐ (๑) ๑ อำเภอ ๑ อาชพี ๖๖ ร้อยละ ๘๐ (๒) พฒั นาอาชีพระยะสน้ั ไม่เกนิ ๓๐ ชัว่ โมง (กลุม่ สนใจ) (๓) หลักสูตรชน้ั เรยี นวิชาอาชีพ ๓๑ ชม.ข้ึนไป ๒,๗๐๐ ร้อยละ ๘๐ ๒.๒ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ ๑,๘๐๐ รอ้ ยละ ๘๐ ๒.๓ การจดั การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒๗๘ รอ้ ยละ ๘๐ ๒.๔ การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ๘๔๐ รอ้ ยละ ๘๐ ๓. การศกึ ษาตามอัธยาศัย (๑) โครงการส่งเสริมบ้านหนังสอื ชุมชน ๔๐๐ รอ้ ยละ ๘๐ (๒) หอ้ งสมุดประชาชน (๓) อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน ๑๕ รอ้ ยละ ๘๐ (๔) หอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ีสำหรบั ชาวตลาดตามพระราชดำริ ๒๒๕ รอ้ ยละ ๘๐ สมเด็จพระเทพฯ ๒๗๔ รอ้ ยละ ๘๐ (๕) บริการเคลื่อนท่ี(รถโมบาย) ๔ โครงการทเ่ี กีย่ วข้อง ของ กศน.อำเภอชนแดน ๒๐ ร้อยละ ๘๐ ๑ โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการสือ่ สารด้านอาชีพ ๒๗ ร้อยละ ๘๐ ๒. โครงการอบรมให้ความรู้ประชาชนหลกั สูตรดจิ ิทลั ๓. โครงการการจดั และสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองผู้สงู อายุ ๔. โครงการพัฒนาบุคลากร กศน.อำเภอชนแดน ๕.โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา
เป้าประสงคแ์ ละตวั ชีว้ ัดตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ ๒๔ เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด ๑.จำนวนผู้เรียนผู้รบั บรกิ ารไดร้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ ความสำเร็จ พ้นื ฐานโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ า่ ย รอ้ ยละ ๘๐ ๒.จำนวนผู้เรียนผู้รับบริการ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม ร้อยละ ๘๐ การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และ ความต้องการ ร้อยละ ๘๐ ๓.ร้อยละของผู้เรียนและผู้รับบริการที่มีผลสัมฤทธ์ิตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ของแต่ รอ้ ยละ ๘๐ ละหลกั สูตร/กจิ กรรม ร้อยละ ๘๐ ๔.รอ้ ยละของผูไ้ มร่ ู้หนังสือท่ีผ่านการประเมินการรหู้ นังสือตามหลักสตู รส่งเสรมิ การรู้ รอ้ ยละ ๘๐ หนังสอื รอ้ ยละ ๘๐ ๕.รอ้ ยละของชมุ ชนที่มกี ารจดั การความร้แู ละกระบวนการเรียนรอู้ ันเปน็ ผลเนอื่ งจาก ร้อยละ ๘๐ การเข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รอ้ ยละ ๘๐ ๖.ร้อยละของชมุ ชนทใี่ ชแ้ หลง่ การเรยี นรูช้ มุ ชนในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ในชุมชน ร้อยละ ๘๐ ๗.จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการศึกษาอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ รอ้ ยละ ๘๐ และภาษากลุ่มประเทศอาเซยี น ๘. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษากลุ่ม รอ้ ยละ ๘๐ ประเทศอาเซียนและอาเซียนศึกษาทผ่ี ่านเกณฑ์การประเมินตามหลกั สูตร ๙. จำนวนกิจกรรม/หลักสูตรที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีท่ี รอ้ ยละ ๘๐ เหมาะสมเป็นกระบวนการ/สาระในการเรียนรู้ ๑๐. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายใน การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๑๑. จำนวน/ประเภทของส่ือ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีการจัดทำ/พัฒนาและ นำไปใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑๒. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยผ่านช่องทางส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี การสอ่ื สาร ๑๓. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่ม สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เป้าประสงค์ ๒๕ ตวั ชี้วดั ๑๔. สถานศึกษาในสังกัดทม่ี ีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทำรายงานการ ความสำเรจ็ ประเมนิ ตนเอง รอ้ ยละ ๘๐ ๑๕. ของสถานศึกษาทผ่ี ่านการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ๑๖. สถานศึกษา กศน. ท่ีมีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการ ร้อยละ ๘๐ จัดทำฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษา รอ้ ยละ ๘๐ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยขององคก์ าร ๑๗. สถานศึกษา กศน. ที่สามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจที่ รอ้ ยละ ๘๐ รับผิดชอบได้สำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั /ตามแผนทกี่ ำหนดไว้ ยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ได้กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ ดำเนินงาน กศน.อำเภอชนแดน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมุ่งหวังที่จะให้ บรรลุ เป้าหมาย ตาม วสิ ัยทัศน์ กศน.อำเภอชนแดนดงั น้ี กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ ลยุ ถงึ ที่ (การเขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายอย่างหลากหลายและท่วั ถึง) โดยการดำเนินงานประชาสัมพันธ์กิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย มกี ารประสานความรว่ มมือในการจัดกิจกรรมจากเครือข่ายท้ังภาครฐั และเอกชนอย่างทว่ั ถึง กลยทุ ธท์ ่ี ๒ มีภาคเี ครอื ขา่ ย (สรา้ งความสัมพันธ์อนั ดรี ะหว่างหน่วยงานและเครือขา่ ยระดบั พื้นท่ี) โดยการให้ความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ กำหนดให้มีการ ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน กำหนดให้มีการสนับสนุนงบประมาณระหว่างหน่วยงาน สร้างความสัมพันธ์ให้เครือข่ายเข้าใจงาน กศน. การเข้าร่วมงานกิจกรรมของหน่วยงานเครือข่าย การจัดกจิ กรรมและมสี ว่ นรว่ มของเครอื ข่ายอย่างต่อเนื่อง กลยุทธท์ ี่ ๓ หลากหลายแหลง่ เรยี นรู้ (ส่งเสริมและพฒั นาแหล่งเรียนรู้ชมุ ชน) โดยการประสานความร่วมมือจากหน่วยงานเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้นำท้องถิ่นในการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ประเภทศูนย์การเรียนชุมชน แหล่งเรียนรู้ ของชุมชน ห้องสมุดประชาชนอำเภอ สำนักงานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอ การพัฒนาครูและบุคลากร คณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชนในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้
๒๖ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานในการประเมิน กศน.ตำบล ส่งเสริมการประเมินสุดยอดแหล่งเรียนรู้และการ จดั ทำระบบสารสนเทศแหล่งเรียนรูใ้ ห้เป็นปัจจุบนั กลยทุ ธท์ ่ี ๔ สใู่ จผ้เู รยี น (พฒั นากระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย) โดยวิธีการสำรวจและศึกษาข้อมูลชุมชน นำสภาพปัญหาและข้อมูลตามความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายมาจัดทำแผนการพฒั นาและออกแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย จากการมีส่วนร่วมของ บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง ในการจัดทำหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด วิเคราะหแ์ ละตัดสินใจ ในการดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลยุทธ์ท่ี ๕ บรกิ ารเปยี่ มคณุ ภาพ (การพัฒนาการบรหิ ารจดั การท่มี คี ุณภาพของสถานศกึ ษา) การวางโครงสร้างการบริหารงานสถานศึกษา การมอบหมายหน้าท่ีในการปฏิบัติงานอย่าง เป็นระบบ ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน พัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาระบบการทำงานเปน็ ทีม ตลอดจนการสรา้ งเสริมขวัญกำลงั ใจของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี กระทรวงศึกษาธิการจะดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐ ) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นจุดเน้นด้านการศึกษาที่จะ ดำเนินการ ๖ ด้าน คอื (๑) ความมนั่ คง (๒) การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน (๓) การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน (๔) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสงั คม (๕) การสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม (๖) การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั พระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑ สืบเนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมีหลักการจัดการศึกษาให้เป็นการศึกษา ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนและให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาอาจจัด การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รูปแบบใดรูปแบบหน่ึง หรือท้ังสาม รูปแบบก็ได้ โดยเป็นการผสมผสานกันระหว่างการศึกษาทั้งสามรูปแบบเพ่ือให้สามารถพัฒนาการศึกษาและ คุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างต่อเน่ือง แต่เน่ืองจากกลไกและการดำเนินงานเก่ียวกับการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยังไม่มีกฎหมายรองรับเฉพาะ ดังน้ันเพ่ือให้เป็นไปตามแนวทางและ เป้าหมายดังกล่าว สมควรให้มีกฎหมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาการศึกษานอกระบบและ
๒๗ การศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นไปอย่างมีระบบและต่อเน่ือง มีการบริหารจดั การศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้ตามศักยภาพ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาอันจะมีผลในการพัฒนากำลังคนและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าต่อไป โดยพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑ ได้กำหนดอำนาจหน้าท่ีของสำนักงาน กศน. ไวด้ งั นี้ ๑) เป็นหน่วยงานกลางในการดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยและรับผิดชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ ๒) จัดทำข้อเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อคณะกรรมการ ๓) ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การ พฒั นาหลักสูตรและนวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากรและระบบขอ้ มูลสารสนเทศที่เกยี่ วขอ้ งกับการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๔) ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ และการเทยี บระดบั การศึกษา ๕) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืน รวมกันเป็นภาคเี ครอื ข่ายเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ๖) จัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายสารสนเทศและ การสื่อสาร สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศกึ ษา วิทยชุ ุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อื่น เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างต่อเนอื่ งของประชาชน ๗) ดำเนินการเกี่ยวกับการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๘) ปฏิบัติงานอื่นใดตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจ หน้าท่ขี องสำนักงาน หรอื ตามท่รี ฐั มนตรีมอบหมาย
๒๘ (รา่ ง)นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยท่ีเก่ียวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อย ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการต้ังครรภ์จนถึง ปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรยี น/วยั รุ่น การพฒั นาและยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพ วัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และพหุปัญญา ของมนุษยท์ ่ีหลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏริ ูป ประเทศดา้ นการศึกษา นโยบายรฐั บาลทัง้ ในส่วนนโยบาย หลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเร่ือง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๘) นโยบายและแผนระดบั ชาติ ว่าดว้ ยความม่ันคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๕๖๘) โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ประชาชนจะได้รับ การพัฒนาการ เรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน และกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ขนึ้ เพื่อ เป็น เขม็ มุ่งของหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ขับเคล่ือนการดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของ แผนต่าง ๆ ดงั กลา่ ว สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคำนึงถึงหลักการบริหารจัดการท้ังในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้น ผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนการ ใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้น การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน ๔ ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การ จัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำ ทางการศึกษา การ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจ ให้กับ ผู้รับริการ โดยได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ดังน้ี
๒๙ หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. ด้านการจัดการเรยี นรู้คุณภาพ ๑.๑ น้อมนำพระบรมราโชบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำรทิ กุ โครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ์ ๑.๒ ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ท่สี นองตอบยทุ ธศาสตรช์ าติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ และ รฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑.๓ ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้อง ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ทีป่ ลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดม่นั ในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถึงการมจี ติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมตา่ งๆ ๑.๔ ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปล่ียนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรยี น/ผู้รับบริการ รวมถึงปรบั ลด ความหลากหลายและความซ้ำซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายบนพื้นท่ีสูง พื้นท่พี เิ ศษ และพ้นื ทช่ี ายแดน รวมท้งั กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ ๑.๕ ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือให้ผู้เรียน สามารถเขา้ ถึงการประเมนิ ผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ใหค้ วามสำคัญ กับ การเทียบระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอำนาจ ไปยังพ้ืนทีใ่ นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑.๖ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบวงจร ต้ังแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่ือจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กล่มุ เปา้ หมายที่สามารถเรยี นรู้ ได้สะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผูเ้ รยี น ๑.๗ พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังส่ือการเรียนรู้ท่ีเป็นส่ือท่ีถูกต้องตาม กฎหมาย ง่ายตอ่ การสบื ค้นและนำไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ๑.๘ เร่งดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต เพอ่ื การสรา้ งโอกาสในการศกึ ษา ๑.๙ พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง ส่งเสริมการวิจัยเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย
๓๐ ๒. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ๒.๑ สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตทเี่ น้นการพัฒนาทักษะท่ีจำเปน็ สำหรับแต่ละช่วงวัย และ การจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ทู ่เี หมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายและบริบทพน้ื ท่ี ๒.๒ พฒั นาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นทเี่ น้น New skill Up skill และ Re skill ทสี่ อดคล้องกับบรบิ ท พื้นท่ี ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology ๒.๓ ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ท่ีเน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพ่ิมช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทาง การจำหน่าย ๒.๔ ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดำรงชีวิตที่เหมาะกับช่วงวัย ๒.๕ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสติก เด็กเร่ร่อน และผู้ดอ้ ยโอกาสอ่ืนๆ ๒.๖ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียนเพ่ือ รองรับ การพัฒนาประเทศ ๒.๗ ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน กศน. ๒.๘ สรา้ ง อาสาสมคั ร กศน. เพอ่ื เปน็ เครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในชุมชน ๒.๙ ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่เพื่อให้ หน่วยงาน / สถานศึกษา นำไปใชใ้ นการพฒั นากระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกัน ๓. ดา้ นองค์กร สถานศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ๓.๑ ทบทวนบทบาทหน้าท่ีของหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา และพัฒนาต่อเน่ืองสริ นิ ธร สถานศึกษาขนึ้ ตรงสงั กัดสว่ นกลาง กลุ่มสำนักงาน กศน.จงั หวดั ศูนยฝ์ ึกและพฒั นา ราษฎรไทย บริเวณชายแดน เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการขบั เคลือ่ นการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในพนื้ ที่ ๓.๒ ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรูช้ ุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้เป็นพน้ื ท่ีการเรียนรูต้ ลอดชีวิตท่ีสำคญั ของชุมชน ๓.๓ ปรับรปู แบบกิจกรรมในหอ้ งสมดุ ประชาชน ท่ีเนน้ Library Delivery เพอื่ เพม่ิ อัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน ๓.๔ ใหบ้ รกิ ารวิทยาศาสตร์เชงิ รุก Science@home โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเคร่อื งมอื นำวทิ ยาศาสตร์ สู่ ชวี ติ ประจำวนั ในทุกครอบครัว ๓.๕ สง่ เสริมและสนับสนุนการสร้างพื้นท่กี ารเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- (eaming Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรียนรใู้ หเ้ กิดขึ้นสังคม
๓๑ ๓.๖ ยกระดับและพฒั นาศูนย์ฝกึ อาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เปน็ สถาบันพัฒนาอาชพี ระดบั ภาค ๓.๗ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ งานของกล่มุ กศน. จังหวดั ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ๔. ด้านการบริหารจัดการคณุ ภาพ ๔.๑ ขบั เคลื่อนกฎหมายว่าดว้ ยการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ตลอดจนทบทวนภารกจิ บทบาท โครงสรา้ งของหน่วยงานเพื่อรองรบั การเปลยี่ นแปลงตามกฎหมาย ๔.๒ ปรบั ปรงุ กฎหมาย ระเบียบ คำสัง่ และข้อบงั คับตา่ ง ๆ ใหม้ คี วามทันสมัย เออ้ื ต่อการบริหาร จดั การ และการจัดการเรยี นรู้ เช่น การปรบั หลกั เกณฑ์คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดหลักสูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง ๔.๓ ปรบั ปรงุ แผนอัตรากำลงั รวมทั้งกำหนดแนวทางท่ชี ดั เจนในการนำคนเขา้ สู่ตำแหน่ง การย้าย โอน และการเลื่อนระดับ ๔.๔ สง่ เสริมการพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับให้มีความรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งให้ตรงกับ สาย งาน และทักษะท่ีจำเปน็ ในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๔.๕ ปรบั ปรุงระบบการจดั สรรทรพั ยากรเพื่อการศึกษาใหม้ ีความครอบคลุม เหมาะสม เช่น การปรับ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาของผู้พิการ เด็กปฐมวัย ๔.๖ ปรบั ปรุงระบบฐานข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบริหารจดั การอย่างเป็นระบบ เชน่ ขอ้ มูล การรายงานผลการดำเนนิ งาน ข้อมูลเดก็ ตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเร่ร่อน ผพู้ กิ าร ๔.๗ ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการอยา่ งเตม็ รปู แบบ ๔.๘ สง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐสรู่ ะบบราชการ ๔.๐ และการประเมนิ คณุ ภาพ และความโปร่งใสการดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA) ๔.๙ เสริมสร้างขวญั และกำลงั ใจใหก้ บั ข้าราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ประกาศ เกยี รติคุณ การมอบโล่ / วฒุ บิ ตั ร ๔.๑๐ สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วน เพ่ือสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน
๓๒ บทท่ี ๓ แผนปฏบิ ัติงานหอ้ งสมุดประชาชน ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๕ วิสยั ทัศน์ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์ พัฒนาสู่การเป็น Smart Library สง่ เสรมิ การอา่ นและ การเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย ครอบคลุมกลมุ่ เปา้ หมายทุกชว่ งวัย คำขวญั ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน นง่ั ทีไ่ หน อา่ นทนี่ ่ัน อา่ นหนังสอื ทกุ วนั สรา้ งสรรค์ปญั ญา พันธกิจ ๑. พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนให้เป็น Smart Library ๒. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกช่วงวัยมนี สิ ัยรกั การอ่าน เปา้ ประสงค์ ๑. เป็นแหล่งการศึกษาตามอัธยาศัยตลอดชวี ิต และสง่ เสริมการเรียนรู้ทกุ รูปแบบ ๒. ประชาชนทกุ ช่วงวยั มีนิสัยรักการอ่าน ๓. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของชุมชน
๓๓ งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนงาน : พ้ืนฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ท่ี ๕ ผู้รับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กิจกรรมการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ที่ รายการ จำนวนเงนิ พ้ืนที่ดำเนินการ ระยะเวลา หมายเหตุ ดำเนนิ การ เงินทีไ่ ดร้ ับจัดสรร ๑๔๗,๙๗๔ อำเภอชนแดน ๑ ต.ค.๖๔ ๑ กจิ กรรมการจัดการศกึ ษาตาม - ๓๐ ก.ย. ๑๖,๕๘๐ อัธยาศยั ๓,๖๔๐ ๖๕ - คา่ บริหารจัดการ/คา่ เบีย้ เลี้ยง ๕,๕๓๐ - ค่าหนงั สอื พิมพห์ ้องสมุด ๒๕,๕๐๐ - ค่าวารสารหอ้ งสมดุ ๓,๙๐๐ - ค่าหนงั สือ ส่ือหอ้ งสมดุ ๒๑,๙๖๐ - คา่ สาธารณูปโภค ๒๐,๐๐๐ - ค่าหนังสอื พิมพ์ กศน.ตำบล ๙ แห่ง ๓,๙๐๐ - ค่าหนงั สือ ส่ือ กศน.ตำบล ๒๐,๐๐๐ - คา่ สาธารณูปโภค กศน.ตำบล ๙ แหง่ - ค่ากจิ กรรม กศน.ตำบล ๒ แห่ง ๒ กจิ กรรมสนบั สนนุ บรกิ ารเครอื ขา่ ย ๑๗,๙๗๖ สารสนเทศ ๘,๙๘๘ - ค่าบริการโทรคมนาคม กศน.อำเภอ - ค่าบริการโทรคมนาคมห้องสมดุ
๓๔ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน ๑.ชอื่ โครงการ โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมท่ี ๑ โครงการพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนย์เรยี นรูต้ ลอดชีวติ Co-Learning Space ๒. สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มหี ลกั คดิ ท่ถี ูกต้อง มีทักษะท่จี า่ เปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ มี ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต สกู่ ารเป็นคนไทยทม่ี ีทักษะสูง เป็นนวัตกร นกั คิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมี สมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง ประเด็นที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบดว้ ย (๑) ชว่ งการตัง้ ครรภ/์ ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการต้ังครรภ์ (๒) ช่วงวยั เรียน/ วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ ๒๑ (๓) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (๔) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายเุ ปน็ พลงั ในการขับเคลือ่ นประเทศ ประเด็นที่ ๖ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โดย (๑) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (๒) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (๓) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก ห้องเรยี น และ (๔) การพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ สอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์ ๓.๑ ปรับเปลีย่ นค่านยิ มคนไทยใหม้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวินยั จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรม ท่ีพงึ ประสงค์ ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่าง จริงจงั ๓.๒ พฒั นาศักยภาพคนให้มีทกั ษะความรูแ้ ละความสามารถในการดำรงชวี ติ อย่างมีคุณคา่ ๓.๒.๒ พัฒนาเดก็ วยั เรยี นและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวเิ คราะห์อย่างเป็นระบบ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มี ทักษะการทำงานและการใช้ชวี ติ ทีพ่ ร้อมเข้าส่ตู ลาดงาน
๓๕ ๓.๓ ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ๓.๓.๖ จดั ทำสื่อการเรียนรูท้ ่เี ปน็ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณส์ อื่ สารเคลื่อนที่ ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลติ หนงั สือ สือ่ การอา่ นและการเรยี นรูท้ ่มี ีคุณภาพและราคาถูก ๓.๓.๗ ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผู้สงู อายุ รวมทั้งส่งเสริมให้มีระบบการจดั การความรู้ท่ีเป็นภมู ิ ปัญญาท้องถน่ิ สอดคลอ้ งกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศกึ ษาธิการ) ๑. การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๑.๑ การจัดการศึกษาเพื่อคุณวฒุ ิ พัฒนาผเู้ รียนให้มีความรอบรแู้ ละทกั ษะชีวติ เพื่อเป็นเคร่อื งมือในการ ดำรงชีวิตและสรา้ งอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สุขภาวะและทศั นคตทิ ี่ดีต่อการดูแลสุขภาพ ๑.๒ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All) สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน กศน. จุดเน้นการดาํ เนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ ๒.๑ สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ที่เนน้ การพัฒนาทกั ษะที่จาํ เปน็ สำหรบั แต่ละช่วงวัย และ การจดั การศึกษาและการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั แตล่ ะกลมุ่ เป้าหมายและบริบทพ้ืนท่ี ๒.๔ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาของผสู้ ูงอายเุ พื่อให้เปน็ Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชีวิตทเ่ี หมาะกบั ชว่ งวยั ๓. ดา้ นองคก์ ร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรคู้ ณุ ภาพ ๓.๓ ปรับรปู แบบกจิ กรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ท่ีเนน้ Library Delivery เพ่ือเพิ่มอตั ราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน ๓.๕ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การสร้างพืน้ ที่การเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- Learning Space เพ่อื การสร้างนิเวศการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นสังคม
๓๖ สอดคล้องกบั ตวั ชว้ี ัดการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผรู้ ับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ ผูร้ ับบรกิ ารมีความรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๒.๑ การกำหนดโครงการหรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชที้ ่ี ๒.๒ ผจู้ ดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๒.๓ ส่อื หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการจดั การศึกษาตาม อัธยาศยั ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๔ ผูร้ ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๑ การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาทเ่ี น้นการมีส่วนร่วม ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตัวบ่งช้ีที่ ๓.๗ การส่งเสริม สนบั สนุนภาคีเครือข่ายใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ตวั บง่ ชี้ที่ ๓.๘ การส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ข้อเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ ๑ ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพึงพอใจ ควรเพิ่มข้อเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นนั้ จึงให้คะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ ๑๓ ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเป็นระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มีการออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เน่อื งและนำผลการประเมนิ ทไี่ ดไ้ ปวเิ คราะห์ถงึ อุปสรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนาในปีตอ่ ไป
๓๗ ๓. หลักการและเหตผุ ล วิถีชีวิต การเรียนรู้ การทํางานของคนในยุคปัจจุบันที่เปลี่ยนไป รูปแบบการทํางาน มักจะไปนั่งทํางาน อ่าน หนังสือ ประชุม หรือทํางานกลุ่มตามสถานที่สาธารณะ มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด หรือตาม Co - working Space ต่าง ๆ ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่ว่าจะเป็นต้องการพื้นที่ในการสร้างแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ที่เอื้อต่อ การเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ในการทํางาน หรือบางครั้งจะรู้สึกว่ามีสมาธิมากกว่าที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือที่ทํางาน แต่พื้นท่ี ลกั ษณะเชน่ น้ที ่ีมใี ห้บริการอยู่ในปัจจุบนั ยังเปน็ ข้อจํากัดในการเข้าถงึ ของหลาย ๆ คน ไมว่ ่าจะเปน็ เร่ืองของระยะเวลา การเปิด – ปิดบริการ ค่าใช้จ่าย หรือถ้าเปิดให้ใช้บริการฟรีสิ่งอํานวยความสะดวกต่าง ๆ หรือบรรยากาศ อาจยังไม่ ตอบโจทย์สําหรับการทํางาน หรือการอ่านหนังสืออย่างมีสมาธิ รวมไปถึงความปลอดภัยต่าง ๆ ในการเดินทางไปใช้ บรกิ ารตามสถานทเี่ หลา่ น้นั ประกอบกบั สภาพสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงไปทาํ ใหร้ ูปแบบการเรียนรู้ของผูร้ บั บริการห้องสมุด เปลี่ยนไปด้วยคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปมีการนําเทคโนโลยีมาใช้ในการค้นคว้าหาความรู้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้ห้องสมุด ประชาชนจึงจําเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ การเรียนรู้ต้องพัฒนาให้มีรูปแบบที่หลากหลายเป็นไปตาม ความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัยยิ่งขึ้น จากแนวคิดดังกล่าวสู่การพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การ เรียนรู้ Co - Learning Space ซึ่งสํานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยให้กับประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหล่งเรียนรู้ให้บริการหลากหลายรูปแบบ ห้องสมุดประชาชนก็เป็นหนึ่งใน แหล่งเรียนรู้ที่ให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอื่น ๆ ของ กศน. จึงถึงเวลาแล้วที่จะพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ สําหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มีโอกาสเข้าถึงได้ง่ายสามารถตอบทุกโจทย์ปัญหาความต้องการของประชาชน อย่างแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) หรือพื้นที่แห่งการเรียนรู้ร่วมกัน จึงเกิดขึ้นภายใต้ แนวคดิ ทวี่ า่ การให้ทีม่ ากกว่าแคเ่ พยี ง “พื้นท”ี่ แตย่ ังเปน็ สถานทใ่ี นการสรา้ งแรงบันดาลใจ และแสดงถึงการแบ่งปัน ท่ี ไม่เพียงแค่แบง่ ปันพื้นที่สําหรับทุกคน ได้ใช้ประโยชนร์ ว่ มกันแตท่ ุกคนที่มายังได้ความรู้และแรงบันดาลใจดี ๆ กลับไป ดว้ ยเสมอ การนําแนวคิดในการปรับเปลี่ยนการให้บริการห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะศูนย์การ เรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่า การกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวลั ย)์ ในการพั ฒ นา กศน. ตําบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหนึ่งโดยการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน ๕ ภูมิภาค เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ (Co - Learning Space) และกําหนดใหศ้ ูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ (Co - Learning Space) มีพื้นที่บริการการเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยทุก ช่วงวยั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุดประชาชน อำเภอชนแดนดำเนินการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co - Learning Space เพ่ือสร้างนิสัยรัก การอ่าน เพ่ือเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนา ปรับปรุงห้องสมุด จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่านมาก ขึ้น
๓๘ ๔. วตั ถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ส่งเสริมให้ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเป็นแหลง่ เรียนรตู้ ้นแบบ Co – Learning Space ๒. เพื่อส่งเสริมนสิ ยั รักการอ่าน ผา่ นกิจกรรมอยา่ งเป็นรปู ธรรม ๓. เพื่อปรับปรุงบรรยากาศและภมู ิทัศนท์ ั้งภายในและภายนอกห้องสมุดให้นา่ ใชบ้ รกิ าร เอื้อต่อการอ่านและ การเรยี นรู้ ๕. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ๑. ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แหง่ ๒. นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทวั่ ไป จำนวน ๘๘๙ คน เชิงคุณภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่มีระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมที่มี ชีวิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดยให้บริการการศกึ ษาค้นแก่นกั ศึกษาการศึกษานอกโรงเรยี นและ ผูร้ ับบริการหอ้ งสมุด ทำใหเ้ กิดสงั คมแห่งการเรียนรู้ และนกั ศึกษา กศน. ผ้รู บั บรกิ ารหอ้ งสมุด สามารถนำความรู้ที่ ไดไ้ ปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตได้อย่างมคี วามสุข
๖. วิธดี ำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย ก ๑. ข้ันเตรียมการ ช เพอ่ื จดั ประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว ๒. ประชมุ กรรมการ ดำเนนิ งาน ศกึ ษา กศน. อำเภอชนแดน ช ๓. จดั เตรยี มเอกสาร ข วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการ - ชแ้ี จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน ๒๑ คน จ ดำเนินโครงการ โครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพื่ออนุมัติ - แตง่ ต้ังกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพ่ือประชุมทำความเข้าใจกับกรรมการ ครูและบคุ ลากร ดำเนินงานทุกฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนินงาน จำนวน ๒๑ คน เพ่ือดำเนินการจัดทำ จดั ซ้อื วัสดอุ ุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ท่ใี ช้ในการดำเนินการ มอบหมาย
๓๙ กลมุ่ เป้าหมาย พื้นทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชิงคณุ ภาพ) ต.ค.๖๔ - กศน. อำเภอ ชีแ้ จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์ บทบาทหนา้ ท่ี กศน. อำเภอ ต.ค.๖๔ - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน จดั ซื้อวัสดอุ ปุ กรณใ์ นการจดั โครงการ กศน. อำเภอ ต.ค.๖๔ ๒,๒๙๐ ชนแดน บาท
กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ ก ๔. ดำเนินการจดั กลมุ่ เป้าหมาย กิจกรรม เพ่อื ดำเนินการปรับปรงุ ภูมิทัศนห์ อ้ งสมดุ ๑.หอ้ งสมดุ ประชาชน ห ๕. สรุป/ประเมินผล และรายงานผล ใหเ้ ป็นCo-Learning Space แหลง่ เรียนรู้ อำเภอชนแดน ได โครงการ ของคนในชุมชน จำนวน ๑ แห่ง เป ๑. กจิ กรรมรักการอ่านผา่ นส่ือออนไลน์ ๒. นักเรยี น นักศกึ ษา ข ๒. กจิ กรรมภาษาจนี วนั ละนิด และประชาชนทัว่ ไป ช ๓. กิจกรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน ๘๘๙ คน ต ลอยกระทง ๔. กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ สำหรับนกั ศกึ ษา กศน. ๕.กิจกรรมปรศิ นาสภุ าษิตไทย ๖. กจิ กรรมวนั สำคัญ เพอ่ื ให้กรรมการฝา่ ยประเมนิ ผลเกบ็ ตามกระบวนการ ส รวบรวมข้อมูลและดำเนนิ การประเมนิ ผล ประเมนิ โครงการ ต การจัดกจิ กรรม ๕ บท จำนวน ๓ เลม่
๔๐ กลมุ่ เปา้ หมาย พืน้ ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน ห้องสมุดประชาชน ต.ค.๖๔ - ถงึ ดร้ ับการปรบั ปรุงภูมทิ ศั น์ห้องสมุด ให้ อำเภอชนแดน ก.ย.๖๕ ป็นCo-Learning Space แหล่งเรียนรู้ ของคนในชมุ ชน เป็นแหล่งเรียนรตู้ ลอด ชีวติ พรอ้ มใหบ้ รกิ ารแก่กล่มุ เปา้ หมาย ตา่ งๆ สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ม.ี ค.๖๕ - ตามระบบ PDCA ชนแดน และ ก.ย.๖๕
๔๑ ๗. วงเงนิ งบประมาณ แผนงาน : พน้ื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลติ ที่ ๕ ผูร้ ับบรกิ าร การศึกษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย งบดำเนนิ งาน คา่ บรหิ าร/ลว่ งเวลา (ตั้งแต่เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔ - มนี าคม ๒๕๖๕) รหัสงบประมาณ ๓๖๐๐๕ จำนวน ๒,๒๙๐ บาท (สองพนั สองร้อยเก้า สบิ บาทถ้วน) รายละเอียดดงั น้คี ือ คา่ วสั ดุ เปน็ เงิน ๒,๒๙๐ บาท รวมเปน็ เงิน ๒,๒๙๐ บาท ๘. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ แผนการใช้จา่ ยรายไตรมาส ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสท่ี ๓ ไตรมาสที่ ๔ ๒,๒๙๐ - - - ๙. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ชำนาญการ ช่ือ - สกลุ : นางวารี ชูบวั เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ : ๐๕๖ – ๗๖๑๖๖๗ เบอร์โทรศัพท์ท่ีทำงาน : ๐๕๖ – ๗๖๑๖๖๗ อเี มลล์ : waryu๐๖@gmail.com ผู้รว่ มดำเนนิ การ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหนง่ ครูอาสาสมคั รฯ นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รววยแกว้ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางลาวนิ สีเหลอื ง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวอุษา ย่ิงสุก ตำแหนง่ ครปู ระจำศูนยก์ ารเรียนชุมชน นางสาวกญั ญาณัฐ จันปญั ญา ตำแหน่ง ครูประจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชน นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธ์ิ ตำแหนง่ ครปู ระจำศนู ย์การเรยี นชุมชน
๔๒ นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหน่ง นักจดั การงานท่ัวไป ๑๐. เครือขา่ ย ๑๐.๑ นักศกึ ษา กศน.อำเภอชนแดน ๑๐.๒ บา้ นหนงั สือชุมชน ๑๑.โครงการทเ่ี กยี่ วข้อง ๑๑.๑ โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๑๑.๒ โครงการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น ๑๑.๓ โครงการประชาสมั พันธง์ าน กศน. ๑๑.๔ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธิภาพการทำงานร่วมกับเครือขา่ ย ๑๑.๕ โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา ๑๒. ผลลพั ธ์ ๑๒.๑ เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ้นแบบ Co – Learning Space ๑๒.๒ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน สง่ เสริมการจดั กระบวนการเรยี นรูภ้ ายในห้องสมดุ ๑๒.๓ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน เป็นแหลง่ เรยี นรู้ทส่ี ำคัญของชมุ ชน ปรับปรุงบรรยากาศภูมิ ทศั นท์ ง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งสมดุ ให้น่าใช้บรกิ าร เอ้อื ต่อการอา่ นและการเรียนรู้ ๑๓. ดชั นวี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ ๑๓.๑ ตัวช้วี ัดผลผลิต (output) หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แหง่ เปน็ แหล่งเรียนรู้ ในชุมชน ที่มีระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมที่มชี วี ิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดย ใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาค้นแกน่ ักศึกษาการศกึ ษานอกโรงเรยี นและประชาชนทัว่ ไป ทำใหเ้ กดิ สังคมแหง่ การเรียนรู้ และนกั ศึกษา กศน. รวมท้งั ประชาชนทว่ั ไป สามารถนำความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๑๓.๒ ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ (outcome) กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารว่ มโครงการฯ ๘๐ % มีความพึงพอใจในการ เขา้ ร่วมกิจกรรม ๑๔. การติดตามผลและประเมนิ ผลโครงการ ๑๔.๑ แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม / โครงการ ๑๔.๒ สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168