Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการประชุมฯ

เอกสารประกอบการประชุมฯ

Published by อัญชลี ตาคำ, 2022-06-20 03:35:39

Description: E-Book 20062022

Search

Read the Text Version

233 3.2 โรคขอบใบแห้ง ทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคขอบใบแห้ง ที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่และเชียงราย ตั้งแต่ปี 2561-2564 พบวา่ ข้าวสายพนั ธุน์ อ้ี ่อนแอปานกลาง (MS) ถงึ อ่อนแอมาก (HS) เช่นเดียวกบั กข6 และกข16 ตอ่ โรคขอบใบแห้งประชากรศนู ย์วจิ ยั ขา้ วแพร่และเชียงราย (Table 9-10) 4. คณุ ภาพเมลด็ ทางกายภาพ คณุ ภาพทางเคมีและคณุ ภาพการสี สายพนั ธ์ุ CRI07015-R-R-2-5-1 เปน็ ข้าวเหนียว ขา้ วเปลอื กสนี ำ้ ตาล ข้าวกล้องมีความยาวเฉลย่ี 6.95 มลิ ลิเมตร มคี วามกว้าง 2.42 มลิ ลิเมตร หนา 1.78 มลิ ลิเมตร มรี ปู รา่ งเมล็ดปานกลางเทา่ กับ 2.87 ไม่ มกี ล่ินหอม คุณภาพการสีดี สามารถสีเปน็ ขา้ วเต็มเมล็ดและต้นขา้ วได้ 46.70 เปอร์เซ็นต์ สงู กวา่ พันธุ์กข6 ซง่ึ มีเปอรเ์ ซน็ ต์ขา้ วเตม็ เมลด็ และตน้ ขา้ วเทา่ กบั 44.10 (Table 11) สรุปผลการทดลอง ข้าวเหนียวสายพันธุ์ CRI07015-R-R-2-5-1 เป็นข้าวไวต่อช่วงแสง ออกดอกประมาณวันที่ 20-28 ตุลาคม เก็บเกี่ยวประมาณวันท่ี 24 พฤศจิกายน ความสูงเฉลี่ย 162 เซนติเมตร จำนวน 10 รวงต่อกอ ให้ ผลผลิตเฉลี่ยในสภาพแปลงเกษตรกร 685 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงกว่า กข6 ร้อยละ 5 และ กข16 ร้อยละ 3 มีศักยภาพการให้ผลผลิตสูงสุด 922 กิโลกรัมต่อไร่ เปลือกสีน้ำตาล เมล็ดข้าวกล้องยาว 6.95 มิลลิเมตร รูปร่างปานกลาง คุณภาพการสีดี ได้ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าวร้อยละ 46.70 อุณหภูมิแป้งสุกต่ำ ข้าวนึ่งสุก เหนียวนมุ่ ไมม่ กี ลนิ่ หอม มีลกั ษณะเดน่ คอื ตา้ นทานต่อโรคไหม้ในระยะกล้า คำขอบคุณ คณะวิจัยขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานีที่ให้ความอนุเคราะห์วิเคราะห์คุณภาพเมล็ดทาง กายภาพ คุณสมบัติทางเคมี และคุณภาพการหุงต้มรับประทาน ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนย์วิจัยข้าวกลุ่ม ศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนทุกท่านและคณะกรรมการวิจัยกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบน นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ของทุกศูนย์วิจัยข้าวที่ไม่อาจกล่าวนามได้หมดในที่นี้ ที่มีส่วนช่วยเหลือสนับสนนุ ใหค้ ำแนะนำและให้ความรว่ มมอื ทำงานวิจัยดำเนนิ ไปไดด้ ว้ ยดี เอกสารอ้างอิง กองวิจัยและพัฒนาขา้ ว. 2559. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการอารักขาขา้ วการทดสอบ ปฏิกริ ิยาของสายพันธ์/ุ พนั ธขุ์ ้าว ต่อโรคและแมลงศตั รูข้าว. โรงแรมบก๊ิ คอฟฟี่ รสี อร์ท, เพชรบูรณ.์ 63 หน้า. ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร. 2564. ข้อมลู ปริมาณการผลติ ข้าว ปี 2564. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. แหลง่ ข้อมูลออนไลน์: haisdi.gistda.or.th/dataset/oae11_04. (11 กุมภาพนั ธ์ 2565). IRRI. 2014. Standard Evaluation System for rice (SES), 5th edition. International Rice Research Institute, Los Baños, Philippines: 57 p. การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลุ่มศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

234 ตาราง Table 1 Average yield (kg/rai) of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD6 and RD16 in Intra- station yield trial during 2016-2020. Year Designation Yield (kg/rai) Index (%) RD6 RD16 2013 CRI07015-R-R-2-5-1 715 a 97 96 กข6 739 a 100 กข16 743 a 100 CV (%) 9.3 Means from the same cropping season in the same column follow by a common letter are not significantly different at the 95% level by LSD การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กล่มุ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

235 Table 2 Average yield (kg/rai) of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD6 and RD16 in Inter- station yield trial during 2016-2020. Year Designation PRE CRI CMI MHS Avg Index (%) RD6 RD16 2016 CRI07015-R-R-2-5-1 529 a 620 a 495 b 599 a 561 113 99 กข6 417 b 577 a 573 a 421 b 497 100 กข16 557 a 623 a 500 b 585 a 566 100 CV (%) 16.7 7.1 3.7 13.3 - 2017 CRI07015-R-R-2-5-1 659 a 474 b 546 b 429 a 527 b 94 88 กข6 719 a 507 ab 595 ab 419 a 559 ab 100 กข16 760 a 547 a 619 a 464 a 597 a 100 CV (%) 11.6 7.4 9.8 13.0 10.6 2018 CRI07015-R-R-2-5-1 594 b 507 a 570 b 661 a 583 b 92 90 กข6 661 a 539 a 674 a 660 a 634 ab 100 กข16 676 a 532 a 721 a 669 a 649 a 100 CV (%) 8.9 7.6 10.0 8.5 8.8 2019 CRI07015-R-R-2-5-1 586 a 695 ab 780 a 651 a 678 a 112 105 RD6 609 a 659 b 780 a 375 b 606 b 100 RD16 629 a 740 a 799 a 411 b 645 ab 100 CV (%) 9.4 7.1 11.9 10.0 10.1 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 605 b 691 a 750 a 699 a 686 a 101 109 RD6 706 a 736 a 707 a 586 a 680 a 100 RD16 584 b 718 a 642 a 577 a 630 a 100 CV (%) 8.2 6.6 9.5 14.0 9.9 Means CRI07015-R-R-2-5-1 596 693 765 675 682 106 107 RD6 658 698 744 481 643 100 RD16 607 729 721 494 638 100 Means from the same cropping season in the same column follow by a common letter are not significantly different at the 95% level by LSD Location: PRE= Phrae Rice Research Center, CRI= Chiang Rai Rice Research Center, CMI= Chiang Mai Rice Research Center, MHS= Mae Hong Son Rice Research Center การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุม่ ศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

Table 3 Average yield (kg/rai) of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with R Year Designation JMT DKT PAI WCN CRI 2017 CRI07015-R-R-2-5-1 710 a 685 ab 698 a 667 a 494 b RD6 723 a 722 a 327 b 649 a 527 ab RD16 651 a 612 b 806 a 496 b 561 a CV (%) 10.5 8.5 15.8 12.6 8.8 2018 CRI07015-R-R-2-5-1 731 b 761 a 511b1/ 602 a 640 a RD6 789 a 632 b 493b1/ 575 a 637 a RD16 767 ab 814 a 646a1/ 610 a 593 a CV (%) 5.0 7.3 10.3 5.1 9.4 2019 CRI07015-R-R-2-5-1 933 a 828 a 695 b 2662/ 444 b RD6 863 ab 805 a 742 ab 3762/ 635 a RD16 835 b 877 a 819 a 3132/ 670 a CV (%) 6.9 6.8 8.5 39.2 8.8 Means in the same column follow by a common letter are not significant differe Location: MTG = Mae Taeng, Chiang Mai, JMT = Chomthong, Chiang Mai, DKT = PAI = Pai, Mae Hong Son, WCN = Wang Chin, Phrae, PUP = Phu Pieng LNG = Long, Phrae 1/= Bird damage in grain filling period 2/= Drought damage in flowering stage การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจยั กลุ่มศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหน

236 RD6 and RD16 in farmer field yield trial on wet season during 2017-2019. MHS MTG BLG LNG PUP Avg. Index (%) RD6 RD16 629 a 550 a 766 - - 650 a 114 109 521 a 509 a 588 - - 571 a 100 467 a 560 a 615 - - 596 a 100 23.0 18.5 19.5 - - 12.7 - - - 727 a 542 a 667 a 101 99 - - - 756 a 559 a 658 a 100 - - - 758 a 517 a 677 a 100 - - - 7.1 8.5 7.1 767 a 697 a - - 563 704 a 105 98 499 c 575 b - - 590 673 a 100 579 b 660 a - - 598 720 a 100 7.7 8.7 - - 10.0 8.1 ent at the 5% level by LSD Dok Khamtai, Phayao, MHS = Mueang Mae Hong Son, Mae Hong Son, g, Nan Province, CRI = Mueang Chiang Rai, Chiang Rai, BLG = Ban Luang, Nan, นอื ประจำปี 2565

Table 4 Average yield (kg/rai) of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD Year Designation JMT DKT PAI WCN 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 729 a 922 a 687 585 a1/ RD6 590 b 919 a 654 357 b1/ RD16 594 b 873 a 581 303 b1/ CV (%) 7.6 14.1 10.5 20.1 2021 CRI07015-R-R-2-5-1 753 a 752 811 a - RD6 712 a 743 820 a - RD16 662 a 792 790 a - CV (%) 10.3 7.7 6.6 - Means CRI07015-R-R-2-5-1 771 790 723 635 5 (2017- RD6 735 764 636 612 6 2021) RD16 702 794 749 553 6 Means in the same column follow by a common letter are not significant differe Location: MTG = Mae Taeng, Chiang Mai, JMT = Chomthong, Chiang Mai, DKT = PAI = Pai, Mae Hong Son, WCN = Wang Chin, Phrae, PUP = Phu Pieng, LNG = Long, Phrae 1/= bird damage grain filling period 2/= Blast disease grain in filling period 3/= Drought damage flowering stage การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหน

237 D6 and RD16 in farmer field yield trial on wet season during 2020-2021. CRI MHS MTG BLG LNG PUP Avg. Index (%) RD6 RD16 - 433 a 398 b2/ - - 498 a 654 a 106 111 - 492 a 546 a - - 490 a 615 a 100 - 448 a 518 a - - 508 a 587 a 100 - 9.7 12.9 - - 7.5 11.5 - - - - - 3363/ 772 a 102 103 - - - - - 3613/ 758 a 100 - - - - - 3563/ 748 a 100 - - - - - 12.5 8.2 526 610 624 766 727 534 685 105 103 600 504 543 588 756 546 650 100 608 498 579 615 758 541 665 100 ent at the 5% level by LSD Dok Khamtai, Phayao, MHS = Mueang Mae Hong Son, Mae Hong Son, Nan, CRI = Mueang Chiang Rai, Chiang Rai, BLG = Ban Luang, Nan, นอื ประจำปี 2565

238 Table 5 Plant height (cm) of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD6 and RD16 in farmer field yield trial on wet season during 2020-2021. Year Designation JMT DKT PAI PUP Avg 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 152 a 188 a 154 b 160 b 164 a 163 ab 168 a 167 a RD6 152 a 184 ab 172 a 161 ab 165 a 3.1 3.6 RD16 148 a 179 b 5.1 149 a 160 ab 152 ab 149 a 163 a CV (%) 3.2 2.2 155 a 144 a 156 b 148 b 3.5 4.4 2021 CRI07015-R-R-2-5-1 159 a 170 a 155 162 2.9 159 165 RD6 160 a 175 a 153 153 161 159 RD16 158 a 162 a 160 CV (%) 4.6 5.1 Means CRI07015-R-R-2-5-1 156 179 RD6 156 180 RD16 153 171 Location: JMT = Chomthong, Chiang Mai, DKT = Dok Khamtai, Phayao, PAI = Pai, Mae Hong Son, PUP = Phu Pieng, Nan Table 6 Panicle per hill of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD6 and RD16 in farmer field yield trial on wet season during 2020-2021. Year Designation JMT DKT PAI PUP Avg 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 10 9 a 11 9 10 10 RD6 11 8 a 11 10 11 10.8 RD16 11 9 a 12 10 9 9 CV (%) 10.7 9.9 13.4 9.1 10 7.7 2021 CRI07015-R-R-2-5-1 10 8 b 8 8 10 10 RD6 10 8 b 10 8 11 RD16 10 10 a 10 10 CV (%) 6.4 7.2 9.7 11.8 Means CRI07015-R-R-2-5-1 10 9 10 9 RD6 11 8 11 9 RD16 11 10 11 10 Location: JMT = Chomthong, Chiang Mai, DKT = Dok Khamtai, Phayao, PAI = Pai, Mae Hong Son, PUP = Phu Pieng, Nan การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

239 Table 7 Flowering date of CRI07015-R-R-2-5-1 compared with RD6 and RD16 in farmer field yield trial on wet season during 2020-2021. Year Designation JMT DKT PAI PUP Min Max 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 28-Oct 23-Oct 24-Oct 20-Oct 20-Oct 28-Oct RD6 27-Oct 23-Oct 21-Oct 20-Oct 20-Oct 27-Oct RD16 16-Oct 15-Oct 17-Oct 13-Oct 13-Oct 17-Oct Seeding 29-Jun 29-Jun 22-Jun 19-Jun Transplanting 17-Aug 31-Jul 23-Jul 18-Jul 2021 CRI07015-R-R-2-5-1 27-Oct 25-Oct 23-Oct 31-Oct 23-Oct 27-Oct RD6 25-Oct 24-Oct 21-Oct 27-Oct 21-Oct 25-Oct RD16 17-Oct 17-Oct 14-Oct 20-Oct 14-Oct 17-Oct Seeding 30-Jun 24-Jun 23-Jun 19-Jun Transplanting 30-Jul 27-Jul 23-Jul 18-Jul Location: JMT = Chomthong, Chiang Mai, DKT = Dok Khamtai, Phayao, PAI = Pai, Mae Hong Son, PUP = Phu Pieng, Nan Table 8 Reactions of CRI07015-R-R-2-5-1 to brown planthopper and white-backed planthopper under greenhouse condition at Phrae Rice Research Center (PRE) and Chiang Rai Rice Research Center (CRI) on 2020. Line/varieties Brown planthopper1/ White-backed planthopper1/ PRE CRI PRE CRI CRI07015-R-R-2-5-1 HS HS HS - RD6 HS HS S- PTB33 (BPH resistant check) MS MS MR - TN1 (BPH & WBPH susceptible check) S HS S- RD7 (susceptible check) HS HS HS - 1/ Visual score by Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) HR = highly resistance, R = resistance, MR = moderately resistance, MS = moderately susceptible, S = susceptible, HS = highly susceptible การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ยั กลมุ่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

240 Table 9 Reactions of CRI07015-R-R-2-5-1 to blast and bacterial leaf blight under field condition at Rice Research Centers during 2018-2019 Year Designation Blast1/ Bacterial leaf blight1/ PRE CRI CMI MHS PRE CRI 2018 CRI07015-R-R-2-5-1 HR HR HR HR HS HS RD16 MS MS R HR HS HS RD6 HS HS S MR HS HS KDML 105 (BL susceptible check) HS HS HS HS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS HR - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS MR - - RD7 (BB resistant check) -- - - HS S RD10 (BB susceptible check) -- - - HS HS PSL2 (BB susceptible check) -- - - HS HS IRBB5 (BB resistant check) -- - - S S IRBB7 (BB resistant check) -- - - MR S 2019 CRI07015-R-R-2-5-1 HR MR MS HR HS HS RD16 MS MS MS S HS S RD6 HS HS HS S HS HS KDML 105 (BL susceptible check) HS HS HS HS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS MS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS MS - - RD7 (BB resistant check) -- - - HS HS RD10 (BB susceptible check) -- - - HS HS PSL2 (BB susceptible check) -- - - HS HS IRBB5 (BB resistant check) -- - - S MR IRBB7 (BB resistant check) -- - - S MS 1/ Visual score by Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) HR = highly resistance, R = resistance, MR = moderately resistance, MS = moderately susceptible, S = susceptible, HS = highly susceptible การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลมุ่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

241 Table 10 Reactions of CRI07015-R-R-2-5-1 to blast and bacterial leaf blight under field condition at Rice Research Centers during 2020-2021 Year Designation Blast1/ Bacterial leaf blight1/ PRE CRI CMI MHS PRE CRI 2020 CRI07015-R-R-2-5-1 R MR MS HR HS HS RD16 MS MR MS MS HS S RD6 MS HS HS MS HS HS KDML 105 (BL susceptible check) HS HS HS HS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS MS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS S - - RD7 (BB resistant check) -- - - S HS RD10 (BB susceptible check) -- - - HS HS PSL2 (BB susceptible check) -- - - HS HS IRBB5 (BB resistant check) - - - - MR MR IRBB7 (BB resistant check) - - - - MR MR 2021 CRI07015-R-R-2-5-1 HR MS MR HR MS HS RD16 R MS MS HS MS HS RD6 HS HS HS HS S HS KDML 105 (BL susceptible check) HS HS HS HS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS MS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS R - - RD7 (BB resistant check) -- - - HR HS RD10 (BB susceptible check) - - - - HS HS PSL2 (BB susceptible check) - - - - MS HS IRBB5 (BB resistant check) - - - - HR S IRBB7 (BB resistant check) - - - - HR HS 1/Visual score by Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) HR = highly resistance, R = resistance, MR = moderately resistance, MS = moderately susceptible, S = susceptible, HS = highly susceptible การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ยั กลุม่ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

242 Table 11 Physical and chemical grain quality of CRI07015-R-R-2-5-1 compare with SPT1 and RD6 at Pathum Thani Rice Research Center on 2022. Characters CRI07015-R-R-2-5-1 RD6 Color Paddy rice Brown Brown Brown rice White White Grain size (mm) Paddy rice: Length 10.06+0.30 10.20+0.27 Width 2.97+0.09 2.82+0.10 Thick 2.02+0.06 2.01+0.06 Brown rice: Length 6.95+0.18 7.15+0.18 Width 2.42+0.06 2.29+0.07 Thick 1.78+0.05 1.76+0.06 Length/width ratio 2.87+0.11 3.12+0.11 Shape medium slender Milled rice: Length 6.08 +0.14 6.98+0.17 Width 2.33+0.07 2.20+0.08 Thick 1.74+0.07 1.71+0.06 Milling quality (%) Head rice 46.7 44.1 Husk 23.9 24.3 Bran 6.7 7.1 Shape (length/width ratio): < 1.0 = round, 2.1-3.0 = medium, 1.1-2.0 = bold, > 3.0 = slender Head rice (%): <3.1 = low, 41-50 =well, 31-40 = medium, > 50 = excellence การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

243 SMGBWS88008: ข้าวสาลีขนมปงั สายพนั ธ์ุดีเด่น SMGBWS88008: Bread Wheat Promising Line สปิ ปวิชญ์ ปญั ญาตุ้ย1) สาธิต ปิ่นมณี1) พรรณี จิตตา1) ศลิ าวัน จันทรบุตร1) เปรมฤดี ปินทยา1) อาทติ ยา ยอดใจ2) นิพนธ์ บุญมี2) นงนชุ ประดิษฐ์3) สุรพล ใจวงศ์ษา4) และเนตรนภา อนิ สลดุ 5) Sippawit Punyatuy1) Satis Pinmanee1) Pannee Chitta1) Sirawon Chanbut1) Premrudee Pintaya1) Atitaya Yodjai2) Nipon Boonmee2) Nongnuch Pradit3) Suraphon Chaiwongsar4) and Nednapa Insalud5) ABSTRACT The objective of this study was developed bread wheat varieties for high yields and good quality. The observation and yield trial had been done during 2017-2020, it was found that the SMGBWS88008 had a growth of plant height, seedling density, yield composition of one thousand grain weight and yield, were higher than that of other varieties. The intra- station yield trial at Samoeng Rice Research Center gave average yield 572 kg/rai, similar to that of Samoeng 2 and Fang 60 gave average yield 595 and 590 kg/rai, respectively. The inter-station yield trial at Samoeng Rice Research Center and Mae Hong Son Rice Research Center gave average yield 481 kg/rai, higher than of Samoeng 2 and Fang 60 gave average yield 409 and 433 kg/rai, which were 15% and 10%, respectively. And the farmer yield trial gave average yield 337 kg/rai, higher than Samoeng 2 and Fang 60 gave average yield 314 and 315 kg/rai, which were 7% and 7%, respectively. In addition, the protein content of the _________________________________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ ิจัยข้าวสะเมิง อ.สะเมงิ จ.เชยี งใหม่ 50250 โทรศัพท์ 0-5337-8094 Samoeng Rice Research Center, Samoeng, Chiang Mai, 50250. Tel. 0-5337-8094 2) ศูนย์วิจยั ขา้ วเชยี งใหม่ อ.สนั ป่าตอง จ.เชยี งใหม่ 50120 โทรศพั ท์ 0-5331-1334 Chiang Mai Rice Research Center, San Pa Tong, Chiang Mai, 50120, Tel. 0-5331-1334 3) ศนู ยว์ จิ ัยข้าวแมฮ่ อ่ งสอน อ.ปางมะผ้า จ.แมฮ่ อ่ งสอน 50150 โทรศพั ท์ 0-5361-7144 Mae Hong Son Rice Research Center, Pang Mapha, Mae Hong Son, 58150, Tel.0-5361-7144 4) สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา อ.เมอื งลำปาง จ. ลำปาง 52000 โทรศพั ท์ 0-5434-2547 Program in Plant Science, Faculty of Sciences and Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Lanna LamPang, Mueang Lampang, Lampang, 52000, Tel. 0-5434-2547 5) สาขาวิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลยั แม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-3630 Program in Agronomy, Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Maejo, Chiang Mai, 50290 Tel. 0-5387-3630 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

244 seed was 12.5%, the quality of wheat flour was 33 ml, and the strength was 126%. There characteristic can be used for processing into bread flour. Keywords: SMGBWS88008, bread wheat promising lines, bread บทคดั ยอ่ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี ดำเนิน การศึกษาพันธุ์และเปรียบเทียบผลผลิต ตั้งแต่ฤดูปลูกปี 2560-2563 พบว่า สายพันธุ์ SMGBWS88008 มี ความสูง จำนวนต้นต่อตารางเมตร น้ำหนัก 1,000 เมล็ด และผลผลิตสูง จากการทดลองเปรียบเทียบ ผลผลิตภายในสถานีของศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง ให้ผลผลิตเฉลี่ย 572 กก./ไร่ ใกล้เคียงกับ Samoeng 2 และ Fang 60 ที่ให้ผลผลิต 595 และ 590 กก./ไร่ ตามลำดับ การทดลองเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง และศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน ผลผลิตเฉลี่ย 481 กก./ไร่ สูงกว่า Samoeng 2 และ Fang 60 ที่ให้ผลผลิต 409 และ 433 กก./ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 15 และ 10 ตามลำดับ และการทดลอง เปรียบเทียบผลผลิตพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังในนาราษฎร์ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 337 กก./ไร่ โดยสูงกว่าพันธุ์ เปรียบเทียบ Samoeng 2 และ Fang 60 ที่ผลผลิตเฉลี่ย 314 และ 315 กก./ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 7 และ 7 ตามลำดับ ตามลำดับ อีกทั้งมีปริมาณโปรตนี ของเมล็ด เท่ากับ 12.5 เปอร์เซ็นต์ การตกตะกอนของโปรตนี เท่ากับ 33 มล. และการขึ้นฟูของก้อนขนมปังสูงสุด เท่ากับ 126 เปอร์เซ็นต์ โดยสามารถแปรรูปเป็นแป้ง ขนมปังไดด้ ี เทยี บเท่ากบั พันธเุ์ ปรยี บเทยี บ Samoeng 2 คำสำคัญ: SMGBWS88008 ขา้ วสาลขี นมปังสายพันธุด์ เี ด่น ขนมปงั คำนำ ปัจจุบันมีผู้ประกอบการในประเทศไทยที่ต้องการแปง้ ข้าวสาลีสำหรับตลาดเฉพาะ โดยเฉพาะกลุ่ม ผู้ผลิตขนมปัง (Grain Baker) เป็นผู้ประกอบการด้านเบเกอรี่ และผู้ผลิตแป้งสาลีที่เน้นผลิตภัณฑ์วิถี ธรรมชาติหรืออนุรักษ์นิยมใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (Grain Baker's Kitchen, 2022) ที่สอดคล้องกับ แนวทางของกองวิจยั และพฒั นาข้าว โดยได้จดั ประชมุ ผใู้ ชป้ ระโยชนจ์ ากธญั พชื เมืองหนาว เพือ่ เป็นข้อมูลใน การวิจัยและพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดภายในประเทศ พบว่า ปัจจุบันมีความต้องการ ข้าวสาลที ่ปี ลูกในประเทศไทยในปริมาณสูงมาก แบ่งเป็น 2 กล่มุ ประกอบดว้ ย 1) กล่มุ ข้าวสาลีแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อบริโภค ได้แก่ แป้งสำหรับทำขนมปัง 206 ตันต่อปี ผลิตภัณฑ์น้ำคั้นต้นอ่อนข้าวสาลี 10 ตัน ตอ่ ปี รำข้าวสาลี 144 ตันต่อปี และน้ำอารซ์ เี พ่ือสขุ ภาพ 20 ตนั ตอ่ ปี และ 2) กลุ่มข้าวสาลหี ัตถกรรม ได้แก่ หลอดจากข้าวสาลสี ำหรับเครื่องดืม่ และช่อแหง้ ข้าวสาลีตัดใบ 2 ตันตอ่ ปี รวมความตอ้ งการผลผลิตท้ังหมด 382 ตัน แต่สามารถผลิตได้เพียง 79 ตันเท่านั้น โดยมีพื้นที่ผลิตที่สำคัญ ได้แก่ อำเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน และอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ สามารถผลิตได้ 43 และ 12 ตัน ตามลำดับ สำหรับพื้นท่ี อ่นื ๆ มอี ำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ไดผ้ ลผลติ 4 ตนั สว่ นอำเภอแมแ่ ตง จังหวดั เชยี งใหม่ และอำเภอ การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

245 บอ่ เกลอื จังหวัดน่าน ยังไม่สามารถคาดการณ์ผลผลิตได้ และการผลิตเมลด็ พันธข์ุ องศนู ย์วิจยั ขา้ วสะเมิงและ แม่ฮ่องสอนผลิตได้ 15 และ 5 ตัน ตามลำดับ โดยผลผลิตที่ได้ยังไมเ่ พียงพอกับความต้องการของตลาด อีก ทั้งพนั ธุ์ข้าวสาลที ่ีปลูกส่วนใหญ่คือ ฝาง 60 ให้ผลผลิตไม่สงู มากนัก เฉล่ีย 300 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ (กรมการข้าว, 2562) และคุณภาพในการแปรรปู เป็นขนมปงั ยังไม่เป็นท่นี ิยมของผู้ประกอบการ จึงต้องการพัฒนาพันธ์ุข้าว สาลีขนมปังให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ประกอบการ และเป็นพืชทางเลือกที่สามารถ เพ่ิมรายได้ใหก้ ับเกษตรกรเขตภาคเหนอื ตอนบนในการปลกู เป็นพชื หลังนา อุปกรณ์และวิธีการ 1. การศกึ ษาพนั ธุ์ ฤดูปลูกปี 2560/2561 ดำเนินการศึกษาพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังขั้นต้น ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง โดย รวบรวมขา้ วสาลจี ากแหล่งปลูกภายในประเทศและต่างประเทศจากศนู ย์ปรับปรงุ พันธ์ุข้าวโพดและข้าวสาลี ระหว่างประเทศ (CIMMYT) ทำการปลูกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 ด้วยวิธีโรยเป็นแถว ยาว 3 เมตร สายพนั ธล์ุ ะ 2 แถว ระยะหา่ งระหวา่ งแถว 20 เซนติเมตร จำนวน 20 สายพนั ธ์ุ โดยมีพันธุ์สะเมิง 2 และฝาง 60 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ ให้น้ำทันทีหลังปลูกและให้นำ้ ทุก 10-14 วัน ใส่ปุ๋ย จำนวน 2 ครั้ง ประกอบด้วย ครั้งที่ 1 ให้ปุ๋ย 10 กิโลกรัม N + 5 กิโลกรัม P2O5 + 15 กิโลกรัม K2O ต่อไร่ พร้อมปลูก และครั้งที่ 2 ให้ ปุ๋ย 10 กิโลกรมั N ตอ่ ไร่ หลงั ปลูก 20 วนั การดแู ลแปลงปลูกทำการกำจัดวชั พืช หลังปลกู 20-30 วัน และ ป้องกันกำจัดโรค แมลง โดยใช้สารเคมีตามคำแนะนำของกรมการข้าว บันทึกข้อมูล ได้แก่ 1) วันออกดอก 50% 2) วันสกุ แกท่ างสรรี วิทยา 3) ผลผลิตต่อพ้นื ทเ่ี ก็บเกีย่ ว และ 4) บนั ทกึ ลกั ษณะประจำพันธ์ุ เพื่อศึกษา ลักษณะตา่ ง ๆ ของพันธุ์ คัดเลอื กขา้ วสาลีขนมปงั ทมี่ ลี กั ษณะดี ให้คณุ ภาพและผลผลิตสงู 2. การเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ฤดูปลูกปี 2561/2562 ดำเนินการเปรยี บเทียบผลผลิตภายในสถานี ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง โดยใช้ ข้าวสาลีพันธุ์สะเมิง 2 และฝาง 60 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซ้ำ ขนาดแปลงย่อย 3 x 4 เมตร ปลูกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 ด้วยวิธีการโรยเป็นแถว ยาว 3 เมตร ระยะห่างระหว่างแถว 20 เซนติเมตร ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 20 กิโลกรัมต่อไร่ การให้น้ำ ปุ๋ย การดูแลแปลง ปลูกปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกบั การศึกษาพนั ธ์ุ บนั ทกึ ข้อมลู ไดแ้ ก่ 1) จำนวนตน้ กล้าต่อตารางเมตร 2) วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ 3) วันสุกแก่ทางสรีรวิทยา 4) จำนวนรวงต่อตารางเมตร 5) ความสูง 6) จำนวนเมล็ดต่อรวง 7) นำ้ หนกั เมล็ด 1,000 เมล็ด และ 8) ผลผลติ ต่อพื้นทเ่ี กบ็ เกี่ยวและคำนวณผลผลิตตอ่ ไร่ 3. การเปรยี บเทียบผลผลติ ระหวา่ งสถานี ฤดูปลูกปี 2562/2563 ดำเนินการเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง และ ศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน โดยใช้ข้าวสาลีพันธุ์สะเมิง 2 และฝาง 60 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ วางแผนการ ทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซ้ำ ขนาดแปลงย่อย 3 x 4 เมตร ปลูกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 ด้วย วิธีการโรยเป็นแถว แถวยาว 3 เมตร ระยะระหว่างแถว 20 เซนติเมตร การใชอ้ ัตราเมล็ดพันธ์ุ การให้น้ำ ปุ๋ย การดูแลแปลงปลูก และการบนั ทกึ ข้อมูลปฏิบัตเิ ชน่ เดียวกับการเปรียบเทยี บผลผลิตภายในสถานี การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลมุ่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

246 4. การทดสอบพนั ธุข์ า้ วสาลขี นมปงั ในนาราษฎร์ ฤดูปลูกปี 2562/2563 ดำเนินการทดสอบพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังในนาราษฎร์ จำนวน 3 พื้นท่ี ทดสอบ ประกอบด้วย 1) บ้านทุ่งหลวง ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ 2) บ้านป่าบงเปียง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ และ 3) บา้ นศรีดอนชยั ตำบลเวยี งเหนือ อำเภอปาย จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน โดยใชข้ า้ วสาลีพนั ธ์ุสะเมิง 2 และฝาง 60 เปน็ พนั ธเ์ุ ปรียบเทียบ วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซ้ำ ขนาดแปลงย่อย 5 x 6 เมตร ปลูกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 ด้วยวิธีการโรยเป็นแถว แถวยาว 5 เมตร ระยะระหวา่ งแถว 20 เซนตเิ มตร การใช้อตั ราเมล็ดพนั ธ์ุ การใหน้ ำ้ ปุ๋ย และการดแู ลแปลง ปลูกปฏิบัติเช่นเดียวกับการเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี บันทึกข้อมูลผลผลิตต่อพื้นที่เก็บเกี่ยวและ คำนวณผลผลิตต่อไร่ จากนัน้ วิเคราะหป์ ริมาณโปรตนี โดยวิธี Kjeldahl Method (AOAC, 2005) ของเมลด็ ขา้ วสาลขี นม ปัง และวิเคราะห์คุณภาพแป้งสาลี (Quality of wheat flour) ได้แก่ คุณภาพของโปรตีน โดยวิธี sedimentation test (Finnie and Atwell, 2016) และกำลังของแป้ง (Strength) เป็นเปอร์เซ็นต์การข้ึน ฟูของก้อนขนมปัง โดยวัดความสูง ก่อนนวดจนขึ้นโด (proof) และหลังอบ จากพ้ืนที่ทดสอบบ้านทุ่งหลวง ตำบลแมว่ นิ อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ ดังสมการ S = (HL x 100) / HF โดยท่ี S = การขน้ึ ฟูของกอ้ นขนมปงั (เปอร์เซน็ ต์) HF = ความสงู ของก้อนขนมปงั ก่อนนวดจนข้นึ โด (proof) (ซม.) HL = ความสงู ของก้อนขนมปังหลงั อบ (ซม.) 5. การวเิ คราะหส์ ถิติ จากนั้นวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (analysis of variance) ตามแผนการทดลองที่กำหนด ประกอบดว้ ย 1) วันออกดอก 50 เปอร์เซน็ ต์ 2) วันสกุ แกท่ างสรีรวทิ ยา 3) จำนวนต้นกล้าตอ่ ตารางเมตร 4) จำนวนรวงต่อตารางเมตร 5) ความสงู 6) จำนวนเมลด็ ต่อรวง 7) นำ้ หนักเมลด็ 1,000 เมลด็ และ 8) ผลผลติ และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของแต่ละกรรมวิธี ด้วยวิธี Duncan's Multiple-Range Test (DMRT) โดยใช้โปรแกรม R-statistic ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การศึกษาพันธุ์ จากการศึกษาพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังขั้นต้น พบว่า สายพันธุ์ SMGBWS88008 ให้ผลผลิตสูง (566 กรัมต่อ 1.2 ตารางเมตร) วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ และวันสุกแก่ทางสรีรวิทยา เท่ากับ 55 และ 89 วนั ตามลำดับ ในขณะที่พันธุ์สะเมิง 2 และ ฝาง 60 ให้ผลผลิต 543 และ 565 กรัมต่อ 1.2 ตารางเมตร ตามลำดับ วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 52 และ 53 วัน ตามลำดับ และวันสุกแก่ทางสรีรวิทยา เทา่ กบั 88 และ 89 วัน ตามลำดับ (Table 1) การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ัย กลุม่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

ลักษณะประจำพันธ์ุ 247 ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาและลกั ษณะทางการเกษตร ประเภท ข้าวสาลีขนมปัง อายถุ งึ วันออกดอก 50 เปอร์เซน็ ต์ 55 วัน อายถุ ึงวันสกุ แก่/วันสกุ แก่ (ระยะเก็บเก่ียว) 89 วนั ความสงู (ระยะเก็บเก่ยี ว) 90 เซนติเมตร ลำต้น : กอต้ัง ทรงกอ (ระยะแตกกอ) 352 รวง (วิธโี รยเป็นแถว) จำนวนตน้ ตอ่ ตารางเมตร (ระยะแตกกอ) มีมาก นวลบนผิวของลำตน้ (ระยะออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์) 2.8 เซนติเมตร ความยาวของปลอ้ ง (ระยะแป้งแข็ง) 4.5 เซนติเมตร เส้นผ่านศนู ยก์ ลางลำต้น (ระยะแปง้ แข็ง) บาง ความหนาของเน้ือเยื่อปล้อง (ระยะแป้งแข็ง) ใบ : เขียว สีของใบ (ระยะแตกกอ) มมี าก นวลบนผิวของใบ (ระยะออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์) 20.5 เซนตเิ มตร ความยาว (ระยะออกดอก 50 เปอร์เซน็ ต)์ 1.3 เซนตเิ มตร ความกวา้ ง (ระยะออกดอก 50 เปอร์เซ็นต)์ ล้ินใบ : (ระยะแตกกอ) เขยี วอ่อน สี เขยี วออ่ น หใู บ : เขยี ว ข้อต่อใบ : ใบธง : (ระยะออกดอก 50%) ค่อนข้างตั้ง มมุ ใบธง 15.4 เซนติเมตร ความยาว 1.4 เซนตเิ มตร ความกว้าง รวง : แนน่ ความแน่น (ระยะแป้งแข็ง) หางยาวตลอดทง้ั รวง ลักษณะหาง (ระยะแป้งแข็ง) กระบอก รูปทรง (ระยะแปง้ แข็ง) คอ่ นข้างต้งั ลักษณะการชูรวง (ระยะแป้งแข็ง) คด ลกั ษณะก้านรวง (ระยะแป้งแข็ง) 10.7 เซนติเมตร ความยาว (ระยะเกบ็ เกีย่ ว) การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

248 จำนวนเมลด็ ต่อรวง (ระยะเก็บเก่ยี ว) 43 เมลด็ (วิธโี รยเป็นแถว) จำนวนรวงต่อตารางเมตร (ระยะเก็บเกี่ยว) 344 รวง (วิธโี รยเป็นแถว) ดอก : (ระยะแปง้ แข็ง) สกี ลีบดอก ขาว รูปร่างจะงอย ตรง ความยาวจะงอย สน้ั รปู รา่ งไหล่ ลู่ ความกว้างของไหล่ แคบ ขนบนกลบี ดอก น้อย เมลด็ : (ระยะหลงั เก็บเกี่ยว) ลกั ษณะเมล็ด ไม่ติดเปลือก นำ้ หนกั 1,000 เมล็ด 39.5 กรมั คุณภาพเมล็ดทางกายภาพ สขี องเมลด็ ขาว รูปร่างของเมล็ด กลมรี ขนาดของเมลด็ ขา้ วเปลอื ก ยาว 6.28 มิลลเิ มตร กวา้ ง 3.35 มลิ ลิเมตร หนา 2.82 มิลลิเมตร คุณภาพเมล็ดทางเคมแี ละวิเคราะห์คุณภาพแปง้ สาลี ปริมาณโปรตีน 12.5 เปอรเ์ ซ็นต์ คา่ การตกตะกอน 33 มลิ ลลิ ติ ร กำลงั ของแป้ง 126 เปอรเ์ ซน็ ต์ 2. การเปรยี บเทยี บผลผลติ ภายในสถานี การทดลองเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง พบว่า การเจริญเติบโตของ ขา้ วสาลีขนมปัง สายพันธุ/์ พันธ์ุ SMGBWS88008, สะเมงิ 2 และ ฝาง 60 ให้ค่าวนั ออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ วันสุกแก่ทางสรีรวิทยา และจำนวนต้นต่อตารางเมตร ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่พบความแตกต่าง ทางสถิติของความสูง โดยสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และ ฝาง 60 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (93 และ 93 เซนตเิ มตร ตามลำดับ) และพันธ์สุ ะเมงิ 2 มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ สดุ (85 เซนติเมตร) (Table 2) องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตของข้าวสาลีขนมปัง พบว่า สายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และ ฝาง 60 ให้ค่าจำนวนรวงต่อตารางเมตร จำนวนเมล็ดต่อรวง และผลผลิต ไม่มีความแตกตา่ ง กันทางสถิติ แต่พบความแตกต่างทางสถิติของน้ำหนัก 1,000 เมล็ด โดยสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และ ฝาง 60 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (43.1 และ 43.9 กรัม ตามลำดับ) และพันธุ์สะเมิง 2 มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (40.6 กรัม) (Table 3) การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย กลมุ่ ศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

249 3. การเปรียบเทยี บผลผลติ ระหวา่ งสถานี การทดลองเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี ณ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง พบว่า การเจริญเติบโตของ ข้าวสาลีขนมปัง สายพันธุ์/พันธ์ุ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 ให้ค่าวันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ วันสกุ แก่ทางสรรี วิทยา ความสงู และจำนวนตน้ ต่อตารางเมตร มคี วามแตกต่างทางสถิติ โดยวนั ออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ ของสายพันธ์ุ/พันธ์ุ SMGBWS88008 และฝาง 60 ชา้ กว่าพันธุ์สะเมิง 2 มีคา่ เท่ากับ 54, 51 และ 48 วัน ตามลำดับ วันสุกแก่ทางสรีรวิทยาของสายพันธุ์ SMGBWS88008 ช้ากว่าพันธุ์ฝาง 60 และสะเมิง 2 มีค่า เท่ากับ 83, 81 และ 81 วัน ตามลำดับ ความสูงของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และ ฝาง 60 สูงกว่า พันธุ์สะเมิง 2 มีค่าเท่ากับ 94, 95 และ 84 เซนติเมตร ตามลำดับ และจำนวนต้นต่อตารางเมตรของ สายพันธุ/์ พนั ธุ์ SMGBWS88008 และฝาง 60 สูงกวา่ พนั ธุส์ ะเมิง 2 มีค่าเท่ากับ 390, 326 และ 285 ต้นต่อ ตารางเมตร ตามลำดบั ส่วนศนู ย์วจิ ยั ขา้ วแม่ฮ่องสอน พบวา่ การเจรญิ เติบโตของขา้ วสาลีขนมปงั สายพนั ธุ์/ พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 ให้ค่าจำนวนต้นต่อตารางเมตร ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ วันสุกแก่ทางสรีรวิทยา และความสูง มีความแตกต่างทางสถิติ โดยวันออก ดอก 50 เปอร์เซ็นต์ ของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และฝาง 60 ช้ากว่าพันธุ์สะเมิง 2 มีค่าเท่ากับ 56, 53 และ 48 วัน ตามลำดับ วันสุกแก่ทางสรีรวิทยาของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 ช้ากว่าพันธ์ุ Fang 60 และสะเมิง 2 มีค่าเท่ากับ 91, 88 และ 85 วัน ตามลำดับ ความสูงของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และฝาง 60 สูงกว่าพันธุ์สะเมิง 2 มีค่าเท่ากับ 84, 87 และ 78 เซนติเมตร ตามลำดับ (Table 4) องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตของข้าวสาลีขนมปัง ณ ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วสะเมงิ พบวา่ สายพันธุ์/พันธ์ุ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 ให้ค่าจำนวนรวงต่อตารางเมตร จำนวนเมล็ดต่อรวง ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ แต่พบความแตกต่างทางสถิติของน้ำหนัก 1,000 เมล็ด และผลผลิต มีความแตกต่าง กันทางสถิติ โดยน้ำหนัก 1,000 เมล็ดของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และฝาง 60 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (42.1 และ 43.4 กรมั ตามลำดับ) และพันธุส์ ะเมิง 2 มีค่าเฉล่ยี ต่ำสดุ (38.6 กรัม) และผลผลิตของสายพันธ์ุ SMGBWS88008 มคี ่าเฉลีย่ สูงสดุ (582 กิโลกรมั ตอ่ ไร่) และพนั ธุ์สะเมิง 2 มคี า่ เฉลี่ยต่ำสดุ (483 กโิ ลกรัมต่อ ไร)่ สว่ นศนู ยว์ จิ ัยขา้ วแม่ฮอ่ งสอน พบวา่ องคป์ ระกอบผลผลติ และผลผลิต สายพนั ธุ/์ พนั ธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 ให้ค่าจำนวนรวงต่อตารางเมตร จำนวนเมล็ดต่อรวง ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่พบความแตกต่างทางสถิติของน้ำหนัก 1,000 เมล็ด และผลผลิต มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดย น้ำหนัก 1,000 เมล็ดของพันธุ์ ฝาง 60 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (35.1 กรัม) และพันธุ์สะเมิง 2 มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (32.4 กรัม) และผลผลติ ของสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008 และฝาง 60 มีค่าเฉลี่ยสงู สุด (379 และ 361 กิโลกรัมตอ่ ไร่) และพนั ธุส์ ะเมิง 2 มีคา่ เฉลีย่ ต่ำสุด (334 กิโลกรัมต่อไร่) (Table 5) จากผลการทดลองทั้ง 2 พื้นที่ พบว่า ค่าเฉลี่ยของผลผลิตสายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยสายพันธุ์ SMGBWS88008 มีค่าเฉลี่ย 481 กิโลกรัมต่อไร่ สูง กวา่ พนั ธส์ุ ะเมงิ 2 และฝาง 60 รอ้ ยละ 15 และ 10 ตามลำดับ (Table 5) การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลมุ่ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

250 4. การทดสอบพนั ธขุ์ า้ วสาลขี นมปงั ในนาราษฎร์ การทดลองเปรียบเทียบผลผลติ ข้าวสาลีขนมปังในนาราษฎร์ ดำเนินการใน 3 พื้นที่ ได้แก่ บ้านทุ่ง หลวง ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ผลผลิตของข้าวสาลีขนมปัง สายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยสายพันธุ์ SMGBWS88008 ให้ ค่าเฉลี่ยสูงสุด (434 กิโลกรัมต่อไร่) และพันธุ์สะเมิง 2 และฝาง 60 ให้ค่าเฉลี่ยต่ำสุด (399 และ 382 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ) ส่วนที่บ้านป่าบงเปียง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ผลผลิตของข้าวสาลีขนมปัง สายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และ ฝาง 60 มีความแตกต่างกัน ทางสถิติ โดยสายพันธุ์ SMGBWS88008 ให้ค่าเฉลี่ยสูงสุด (299 กิโลกรัมต่อไร่) และพันธุ์สะเมิง 2 ให้ ค่าเฉลี่ยต่ำสุด (255 กิโลกรัมต่อไร่) และบ้านศรีดอนชัย ตำบลเวียงเหนือ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่า ผลผลิตของข้าวสาลีขนมปัง สายพันธุ์/พันธุ์ SMGBWS88008, สะเมิง 2 และฝาง 60 ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ (Table 6) จากผลการทดลองทั้ง 3 พ้นื ที่ พบว่า คา่ เฉล่ยี ของผลผลิตสายพันธ/์ุ พันธ์ุ SMGBWS88008, สะเมงิ 2 และฝาง 60 มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติ โดยสายพันธ์ุ SMGBWS88008 มีค่าเฉลย่ี 337 กิโลกรมั ต่อไร่ สูง กว่าพันธส์ุ ะเมงิ 2 และฝาง 60 ร้อยละ 7 และ 7 ตามลำดับ (Table 6) 5. การวิเคราะหค์ ณุ ภาพเมลด็ และแป้งของข้าวสาลขี นมปัง ปริมาณโปรตีนของเมล็ดข้าวสาลีขนมปังสายพันธ์ุ SMGBWS88008 มคี า่ เทา่ กบั 12.49 เปอร์เซ็นต์ หากจำแนกชนิดของแป้งสาลีที่ผลิตออกมาขายเพื่อทำการผลิตภัณฑ์เบเกอรี่นั้นมี 3 ชนิด คือ 1) แป้งขนม ปัง มีโปรตีนสูง 12-14 เปอร์เซ็นต์ 2) แป้งเอนกประสงค์ มีโปรตีนสูงปานกลาง 10-11 เปอร์เซ็นต์ และ 3) แปง้ เค้ก มโี ปรตนี ประมาณ 7-9 เปอรเ์ ซ็นต์ (ละมา้ ยมาศ, 2528) พบว่า สายพันธ์ุ SMGBWS88008 และ สะ เมิง 2 จัดเป็นแป้งขนมปัง ส่วน ฝาง60 จัดเป็นแป้งเอนกประสงค์ และคุณภาพของโปรตีนในแป้งสาลีทัง้ 3 สายพนั ธุ์ เปน็ กลเู ตนแข็ง (strong gluten) ซ่งึ ให้คา่ การตกตะกอน (sedimentation) มากว่า 30 มิลลิลิตร ขึ้นไป ส่วนกำลังของแป้ง (Strength) หรือเปอร์เซ็นต์การขึ้นฟูของก้อนขนมปัง พบว่า สายพันธุ์ SMGBWS88008 และสะเมิง 2 ให้ค่าเปอร์เซ็นต์การขึ้นฟูของก้อนขนมปัง ค่อนข้างสูง อีกทั้งสายพันธุ์ สะ เมิง 2 ลักษณะของก้อนขนมปังนอกจากยกตัวสูงยังมีขยายออกข้างได้กว้าง แต่สายพันธ์ุ SMGBWS88008 ไม่คอ่ ยออกขา้ งมากเม่ือเทยี บกับสายพนั ธสุ์ ะเมิง 2 อยา่ งไรก็ตามก้อนขนมปังท่ีทำจาก 2 สายพันธ์นุ ี้ มีความ เหนียวและรักษาโครงสร้างได้ดี ซึ่งสอดคล้องกับ อุสาห์ และคณะ (2535) ซึ่งวิเคราะห์ผลแอลวิโอแกรม Alveogram ชี้ให้เหน็ ว่า สะเมิง 2 ให้ค่าความยืดหยุน่ และความแข็งแรงของก้อนแป้งในขณะขึ้นรูปทรงได้ดี กลูเตนมลี ักษณะแบบกลูเตนสมดลุ (balanced gluten) เหมาะสำหรบั ทำขนมปัง (Table 7) สรุปผลการทดลอง สายพันธุ์ SMGBWS88008 เป็นข้าวสาลีที่ให้ผลผลิต 337 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่า สะเมิง 2 และ ฝาง 60 ที่ให้ผลผลิต 314 และ 315 กิโลกรัมต่อไร่ เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย อกี ท้ังสามารถใชแ้ ปรรปู เปน็ แป้งขนมปังได้ดเี ทียบเท่ากับพันธุเ์ ปรยี บเทยี บ สะเมิง 2 สำหรับผู้ผลิตแป้งสาลี การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กล่มุ ศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

251 ที่เน้นผลิตภัณฑ์วิถีธรรมชาติหรืออนุรักษ์นิยมใช้วัตถุดิบภายในประเทศ และอาจทดแทนการนำเข้าไดัใน อนาคต คำขอบคุณ งานวจิ ัยนีไ้ ดร้ บั ทนุ สนับสนุนงบประมาณจากสำนกั งานพัฒนาการวจิ ยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) ภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาศูนย์ธัญพืชเมืองหนาวของล้านนาเพื่อ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในพื้นท่ี ภาคเหนือ และคุณจารุทัศ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ได้ดำเนินการทดสอบแปรรูปขนมปังจากแป้งสาลีสายพันธุ์ ดเี ดน่ เอกสารอ้างองิ กรมการข้าว. 2562. ความต้องการของธัญพืชเมืองหนาวของไทย. น. 1-8. ใน : การประชุมผู้ใช้ประโยชน์ จากธญั พชื เมอื งหนาว. 23 เมษายน 2562. กรมการขา้ ว กรุงเทพฯ. ละมา้ ยมาศ ขาวไชยมหา. 2528. คุณภาพขา้ วสาลไี ทยกับการทำผลติ ภณั ฑ.์ น. 38-52. ใน : การประชุม วชิ าการธญั พืชเมืองหนาว. 29-30 มกราคม 2528. สำนักงานเกษตรภาคเหนอื จ.เชียงใหม.่ อสุ าห์ เจรญิ วฒั นา, วเิ ชียร วรพุทธพร, ประทุม สงวนตระกลู และ สมไฉน นาถภากลุ . 2535. การพฒั นา เทคโนโลยกี ารแปรรูปข้าวสาลเี พอ่ื ใช้ประโยชน์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . น. 435-444. ใน : รายงานการประชมุ ทางวิชาการ ครงั้ ท่ี 30 สาขาเศรษฐศาสตร์และบรหิ ารธุรกจิ สงั คมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สิ่งแวดล้อม คหกรรมศาสตร์ อตุ สาหกรรมเกษตร วิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์. 29 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2535. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละ การพลงั งาน กรงุ เทพฯ. AOAC. 2005. Official Methods of Analysis. 18th ed. AOAC International. Guithersburg, Maryland, U.S.A. Finnie, S., and W.A., Atwell. 2016. “Wheat and Flour Testing.” Wheat Flour, 2nd ed, AACC International, Inc., 2016, pp. 57–71. Grain Baker's Kitchen. 2022. [Online]. Available https://www.facebook.com/grainbakershop/posts/2957506294524173 (19 April 2022). การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

252 ตาราง Table 1 Observation of bread wheat promising lines at Samoeng Rice Research Center No Line Flowering day (day) Maturity days (days) Yield (g/1.2 m2) 1 CMU94-9 55 87 500.0 2 FNBW8112-2-3 54 90 416.9 3 FNBW8301-5-5 51 88 606.9 4 FNBW8310-1-SMG-1-1-1 51 88 614.6 5 FNBW8725-1-4-3 56 91 496.8 6 LARTC-W89011 56 90 563.0 7 LARTC-W89011 53 88 509.0 8 LARTC-W895113 53 88 416.9 9 LARTC-W91009 52 88 471.4 10 LARTC-W95109 54 87 505.0 11 MHSBWS12010 67 99 608.3 12 MHSBWS12046 67 100 567.3 13 MJU2 52 88 389.1 14 PMPBWS89013 52 87 551.2 15 PMPBWS89248 55 89 565.7 16 SMGBWS88008 55 89 566.4 17 SMGBWS90049 54 88 490.4 18 SMGBWS90702 52 87 494.2 19 SWBWS86033 51 87 454.1 20 UBNBWS90017 55 89 509.3 21 Samoeng 2 52 88 542.8 22 Fang 60 53 89 565.1 Table 2 Intra-station yield trial on growth of bread wheat promising lines at Samoeng Rice Research Center No Line/Variety Flowering day Maturity days Plant height Seedling density (day) (days) (cm) (plants/m2) 1 SMGBWS88008 54 a 86 a 93 a 315 a 2 Samoeng 2 51 a 88 a 85 b 306 a 3 Fang 60 52 a 88 a 93 a 324 a CV (%) 2.2 1.7 13.7 15.7 Means in the same column followed by a common letter are not significantly different at 5% level by DMRT การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

253 Table 3 Intra-station yield trial on yield components and yield of bread wheat promising lines at Samoeng Rice Research Center No Line/Variety Spike density Number of seeds 1,000 grain Yield (number of spike /m2) per head weight (g) (kg/rai) (seeds/head) 1 SMGBWS88008 312 a 46 a 43.1 a 572 a 2 Samoeng 2 294 a 46 a 40.6 b 595 a 3 Fang 60 320 a 46 a 43.9 a 590 a CV (%) 11.6 3.3 1.3 13.3 Means in the same column followed by a common letter are not significantly different at 5% level by DMRT Table 4 Inter-station yield trial on growth of bread wheat promising lines at Samoeng Rice Research Center and Mae Hong Son Rice Research Center Flowering day Maturity days Plant height Seedling density No Line/Variety (day) (days) (cm) (plants/m2) 1/ SMG MHS SMG MHS SMG MHS SMG MHS 1 SMGBWS88008 54 a 56 a 83 a 91 a 94 a 84 a 390 a 350 a 2 Samoeng 2 48 b 48 b 81 b 85 b 84 b 78 b 285 b 325 a 3 Fang 60 51 ab 53 ab 81 b 88 ab 95 a 87 a 326 ab 363 a CV (%) 1.0 3.8 0.7 2.7 2.0 4.3 7.5 15.0 Means in the same column followed by a common letter are not significantly different at 5% level by DMRT 1/ SMG= Samoeng Rice Research Center MHS= Mae Hong Son Rice Research Center การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ัย กลมุ่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

Table 5 Inter-station yield trial on yield components and yield of bre Hong Son Rice Research Center Spike density Number of seeds No Line/Variety (number of spike per head 1,00 /m2) (seeds/head) 1/ SMG MHS SMG MHS SM 1 SMGBWS88008 377 a 342 a 46 a 36 a 42.1 2 Samoeng 2 278 a 317 a 45 a 36 a 38.6 3 Fang 60 318 a 353 a 44 a 35 a 43.4 CV (%) 11.5 14.0 3.0 5.0 1. Means in the same column followed by a common letter are not significantly d 1/ SMG= Samoeng Rice Research Center MHS= Mae Hong Son Rice Research C การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหน

254 ead wheat promising lines at Samoeng Rice Research Center and Mae 00 grain weight (g) Yield (kg/rai) Index (%) MG MHS SMG MHS Average Samoeng 2 Fang 60 379 a 481 a 115 110 a 33.3 ab 582 a 334 b 409 b 100 - 361 a 433 b 100 b 32.4 b 483 c 14.8 14.7 a 35.1 a 504 b .9 2.6 14.8 different at 5% level by DMRT Center นอื ประจำปี 2565

255 Table 6 Farmer yield trial on yield of bread wheat promising lines at Ban Thung Luang, Mae Win sub-district, Mae Wang district, Chiang Mai province, Ban Pa Bong Piang, Chang Kheng sub-district, Mae Chaem district, Chiang Mai province and Ban Sri Don Chai, Wiang Nuea sub-district, Pai district, Mae Hong Son province No Line/Variety Yield (kg/rai) Index (%) 1/ TLU PBP SDC Average Samoeng 2 Fang 60 1 SMGBWS88008 434 a 299 a 277 a 337 a 107 107 2 Samoeng 2 399 b 255 c 287 a 314 b 100 - 3 Fang 60 382 b 284 b 280 a 315 b 100 CV (%) 12.0 10.5 14.9 12.4 Means in the same column followed by a common letter are not significantly different at 5% level by DMRT 1/ TLU = Ban Thung Luang, Mae Win sub-district, Mae Wang district, Chiang Mai province PBP = Ban Pa Bong Pieng, Chang Keng sub-district, Mae Chaem district, Chiang Mai province SDC = Ban Sri Don Chai, Wiang Nuea sub-district, Pai district, Mae Hong Son province Table 7 Bread wheat quantity and quality analysis No Line/Variety Protein (%)1/ Quality of wheat flour (ml)2/ Strength (%) 126 1 SMGBWS88008 12.5 33 120 93 2 Samoeng 2 12.1 34 3 Fang 60 11.1 33 1/ = Kjeldahl Method (AOAC, 2005) 2/ = Sedimentation test (Finnie and Atwell, 2016) การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กล่มุ ศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

256 ข้าวเหนียวไมไ่ วตอ่ ช่วงแสงสายพันธุด์ ีเด่น: PRE04012-20-1-1-1-5 The Photoperiod Insensitive Promising Glutinous Rice Line: PRE04012-20-1-1-1-5 คคนางค์ ปัญญาลือ1) อดุลย์ สทิ ธิวงศ์1) กาญจนา พิบลู ย์1) พนั นิภา ยาใจ1) ไพโรจน์ โชตนิ ิสากรณ์2) สกลุ มลู คำ2) เปรมฤดี ปนิ ทยา2) อญั ชลี ตาคำ2) พายพั ภูเบศวร์ มากกูล3) นจุ รินทร์ จังขันธ์3) กรสิริ ศรนี ลิ 3) กลั ยา บุญสงา่ 3) อรุ สั ยาน์ ขวัญเรอื น3) นงนชุ ประดษิ ฐ์4) ผกากานต์ ทองสมบุญ4) กุลชนา เกศสุวรรณ์5) Kakanang Punyalue1) Adul Sittiwong1) Kanjana Piboon1) Punnipa Yajai1) Pairoj Chotinisakorn2 Sakul Mulkum2 Premrudee Pintaya2) Anchalee Takham2) Payapbhubes Markkool3) Nootjarin Jungkhun3) Kornsiri Srinil3) Kunlayaa Boonsanga3) Urassaya Kuanruen3) Nongnut Pradits4) Phakakarn Tongsomboon4) Kulchana Ketsuwan5) ABSTRACT In the upper northern region of farmers grow and consume glutinous rice which about 62-76 percent of total planting areas in Chiangmai Lampoon and Phrae. The favorite non- photoperiod-sensitive variety is San-Pah-Tawng 1 because of its good quality unfortunately it has moderately yield and susceptibility to rice disease and insect pest in the region. Hence Phrae Rice Research Center developed, the new promising line; PRE04012-20-1-1-1-5 from the cross of Sahm Sa Mai and PRE96011-SPT-1-2-2-1-1. It was photoperiod insensitive, glutinous type with maximum yield potential was 980 kg/rai while the average was 770 kg/rai 4 % higher than San-Pah-Tawng 1. The growth duration was 140 days, erect and sturdy culm with 111 cm ____________________________________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ ิจยั ข้าวแพร่ อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวัดแพร่ 54000 โทรศพั ท์ 0-5464-6033-5 Phrae Rice Research Center, Muang, Phrae 54000 Tel. 0-5464-6033-5 2) ศนู ยว์ ิจัยขา้ วเชยี งใหม่ อำเภอสันป่าตอง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50120 โทรศัพท์ 0-5337-8093 Chiangmai Rice Research Center, Sanpatong, Chiangmai 50120 Tel. 0-5337-8093 3) ศนู ยว์ ิจัยข้าวเชยี งราย อำเภอพาน จงั หวัดเชียงราย 57120 โทรศัพท์ 0-5372-1578 Chiangrai Rice Research Center, Phan, Chiang Rai 57120 Tel. 0-5372-1578 4) ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วแมฮ่ ่องสอน อำเภอปางมะผา้ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน 58150 โทรศัพท์ 0-5361-7144 Mae Hong Son Rice Research Center, Pangmapha, Mae Hong Son Tel. 0-5361-7144 5) ศนู ยว์ ิจัยข้าวปทมุ ธานี อำเภอธญั บุรี จังหวดั ปทมุ ธานี 12100 โทรศัพท์ 0-2577-1688 Pathum Thani Rice Research Center, Thanyaburi, Pathum Thani 12100 Tel. 0-2577-1688 การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลุ่มศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

257 height and 10 panicles per hill. Its seed dormancy period was 6-11 weeks. Color of paddy rice was straw color, with scattered brown, 11.02 mm length, 3.02 mm width and 2.05 mm thickness. Its thousand kernel weight was 36.95 g and 10.74 kg weight by volume. Its brown rice had slender shape with 7.55 mm length, 2.47 mm width and 1.90 mm thickness. Its milled rice had 7.50 mm length, 2.32 mm width and 1.67 mm thickness. It had the good milling quality was shone in 48.18 percent head rice. Its outstanding character was moderately resistant to rice gall midge in the upper northern region. However, its disadvantage was susceptible to rice blast, bacterial leaf blight, brown planthopper and white-backed planthopper the same as RD14 and San-Pah-Tawng 1. Keywords: upper north, non-glutinous rice, photoperiod insensitive, high yield, rice gall-midge บทคัดย่อ เกษตรกรภาคเหนือตอนบนนิยมปลูกและบริโภคข้าวเหนียวเป็นหลัก มีพื้นที่ปลูกประมาณ 62-76 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ปลูกขา้ วทั้งหมด โดยพันธ์ุข้าวเหนยี วไม่ไวต่อชว่ งแสงที่นิยมปลูกมากที่สุด คือสันป่าตอง 1 ทีม่ คี ณุ ภาพดีเป็นที่ต้องการของตลาด พืน้ ทป่ี ลูกมากในจังหวัดเชยี งใหม่ ลำพูน และแพร่ แต่ให้ผลผลิตไม่สูงมาก และไม่ต้านทานต่อโรคและแมลงที่สำคัญในพื้นที่ จึงได้พัฒนาสายพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์สามสมัย และสายพันธุ์ PRE96011-SPT-1-2-2-1-1 ที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ ในปี 2547 และคัดเลือกได้สายพันธุ์ข้าวเหนียว ไม่ไวตอ่ ช่วงแสง PRE04012-20-1-1-1-5 ทีม่ ศี ักยภาพในการให้ผลผลิตสูงถึง 980 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ โดยให้ผลผลิต เฉลี่ย 799 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์สันป่าตอง 1 ที่ให้ผลผลิต 770 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 4 มีอายุเก็บเกี่ยว 140 วัน มีลำต้นค่อนข้างแข็ง สูง 111 เซนติเมตร จำนวนรวงต่อกอ 10 รวง มีระยะพักตัวประมาณ 6-11 สัปดาห์ ข้าวเปลือกสีฟางกระน้ำตาล ยาว 11.02 มิลลิเมตร กว้าง 3.02 มิลลิเมตร หนา 2.05 มิลลิเมตร มี นำ้ หนกั 1,000 เมลด็ 36.95 กรัม นำ้ หนกั ข้าวเปลือก 10.74 กิโลกรัมตอ่ ถัง ขา้ วกลอ้ งยาว 7.55 มิลลเิ มตร กว้าง 2.47 มิลลิเมตร หนา 1.90 มิลลิเมตร รูปรา่ งเรยี ว ข้าวสารยาว 7.50 มิลลิเมตร กว้าง 2.32 มลิ ลเิ มตร หนา 1.67 มิลลิเมตร คณุ ภาพการสีดี ได้ขา้ วเต็มเมลด็ และต้นข้าว 48.18 เปอร์เซน็ ต์ คอ่ นข้างตา้ นทานถึงตา้ นทานต่อแมลง บัว่ ในเขตภาคเหนือตอนบน ข้อควรระวงั คือออ่ นแอต่อโรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง เพลยี้ กระโดดสีน้ำตาลและเพล้ีย กระโดดหลังขาวเชน่ เดียวกับ กข14 และสนั ป่าตอง 1 คำสำคญั : ภาคเหนอื ตอนบน ขา้ วเหนยี ว ไมไ่ วต่อช่วงแสง ผลผลิตสงู แมลงบ่วั การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

258 คำนำ เกษตรกรในภาคเหนือตอนบนนิยมปลูกข้าวเหนียวเป็นหลักเพื่อการค้า การบริโภคภายในครัวเรือน และความมั่นคงทางด้านอาหารเฉพาะพื้นที่ ในฤดูนาปี 2562 มีพื้นที่ปลูกข้าวเหนียวประมาณ 2.3 ล้านไร่ คิด เป็น 62 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด ในฤดูนาปรัง 2563 มีพื้นที่ปลูก 4.2 แสนไร่ คิดเป็น 76 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2565) พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ กข6 สันป่าตอง 1 กข14 กข10 และกข-แมโ่ จ้ 2 สามารถแบ่งได้เป็นพนั ธุ์ข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสงท่ีนยิ มปลูกมากที่สุดคือข้าวพันธุ์กข6 ที่ มีคุณภาพการหุงต้มและรับประทานดี มีกลิ่นหอม และขายได้ราคาดี แต่อายุหนัก ต้นสูงหักล้มง่าย ผลผลิตต่ำ ไมต่ ้านทานตอ่ โรคและแมลง มพี น้ื ท่ปี ลกู มากในจงั หวัดเชยี งราย ลำปาง และพะเยา สว่ นพันธุข์ ้าวเหนียวไม่ไวต่อ ช่วงแสงที่นิยมปลูกมากที่สุดคือสันป่าตอง 1 ที่มีคุณภาพการหุงต้มและรับประทานตลอดจนคุณภาพการสีดี เป็นที่ต้องการของตลาด ผลผลิตประมาณ 630 กิโลกรัมต่อไร่ อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 130-135 วัน (ศูนย์วิจัย ข้าวแพร่, 2556) ปัจจุบันไม่ต้านทานต่อโรคไหม้และโรคขอบใบแห้งแล้ว มีพื้นที่ปลูกมากในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และแพร่ มีพื้นที่ปลูกประมาณ 33 เปอร์เซ็นต์ ส่วนพันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกรองลงมาคือพันธุ์ กข10 กข14 กข-แมโ่ จ้2 และธัญสริ ิน (สทุ ธกานต์ และคณะ, 2561) จะเห็นได้วา่ พนั ธุ์ขา้ วเหนียวที่นิยมปลูกนั้นยังไม่ต้านทาน ต่อโรคและแมลงศัตรขู ้าวสำคญั ในพ้ืนที่ โดยเฉพาะแมลงบ่วั (Orseolia oryzae) ทีเ่ ปน็ แมลงศัตรูข้าวที่สำคัญที่ มีการระบาดและทำความเสียหายให้กับข้าวในพื้นที่เป็นประจำ เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณของแมลง การป้องกันกำจัดทำได้ยากเนือ่ งจากตัวเต็มวัยจะวางไข่ในเวลากลางคนื และไข่จะฟักเป็นตัวหนอนอยู่ในต้นข้าว เกษตรกรจะพบการระบาดเมื่อต้นข้าวแสดงอาการแล้ว ทำให้ต้องใช้ สารเคมีในการป้องกันกำจัดซึ่งไม่ค่อยประสบความสำเร็จ เนื่องจาก ต้นข้าวที่แสดงอาการจะไม่ออกรวงใ ห้ ผลผลิตได้ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตข้าวสงู ขึ้น ไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและสิง่ แวดล้อม ในปี 2554 ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ ได้ทำการสำรวจสภาพการทำนาและศัตรูข้าวในพื้นที่ตำบลท่ามะเฟือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พบการ ระบาดของแมลงบั่วในแปลงปลูกข้าวพันธุ์กข31 จำนวน 50 ไร่ มเี ปอร์เซ็นตห์ ลอดบ่ัว 25 เปอรเ์ ซ็นต์ (ศูนย์วิจัย ข้าวแพร่, 2554) นอกจากนั้น ศูนย์วิจัยข้าวเชยี งรายได้สำรวจแปลงเกษตรกรปลูกข้าวพันธุ์กข6 อำเภอเชียงคำ และอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา พบการระบาดของแมลงบั่วโดยมีเปอร์เซ็นต์หลอดบั่ว 80-100 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึง เกินระดับเศรษฐกิจที่ 3-5 เปอร์เซ็นต์ คาดว่ามีพื้นที่การระบาดประมาณ 1,100 ไร่ (ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย, 2555) ในปี 2563 มีแมลงบั่วระบาดมากที่จังหวัดเชียงรายทำลายข้าวมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และผลผลิตข้าว ลดลงมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันมีการระบาดมีมากขึ้นและพบการระบาดไปยังภูมิภาคอื่นๆของประเทศ ไทยด้วย เช่น ภาคเหนือตอนล่างที่จังหวัดพิษณุโลก กำแพงเพชร สุโขทัย อุตรดิตถ์ และพิจิตร ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น หนองคาย นครพนม และสกลนคร ภาค กลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี กำแพงเพชร อุทัยธานี นครปฐม สุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร และฉะเชิงเทรา เป็น ต้น ภาคตะวันออกพบที่จังหวัดจันทบุรี และตราด ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกได้รายงานการระบาดของแมลงบัว่ ใน การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจัย กลมุ่ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

259 เขตภาคเหนอื ตอนลา่ ง ในจังหวัดพษิ ณโุ ลก กำแพงเพชร สุโขทยั อตุ รดติ ถ์ และพิจติ ร เปน็ พื้นท่ีกวา้ ง (สำนกั วจิ ัย และพัฒนาข้าว, 2554) การใชพ้ นั ธตุ์ ้านทานจึงเปน็ ทางเลือกหนงึ่ ทส่ี ะดวก ประหยดั และปลอดภัย เนอื่ งจากมอี ยูใ่ นพันธุ์ข้าวเอง และมีผลเฉพาะเจาะจงกับแมลงศัตรูข้าว ไม่ทำลายตัวห้ำตัวเบียนที่เป็นแมลงศัตรูธรรมชาติอื่นและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีผลผลิตสูง มีคุณภาพทางกายภาพและเคมีเป็นที่ต้องการของตลาด และ ต้านทานต่อโรคและแมลงที่สำคัญเป็นสิ่งที่จำเป็น เพื่อให้ได้พันธุ์ข้าวที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่สามารถรักษา เสถยี รภาพการใหผ้ ลผลิต ลดตน้ ทุนจากการใช้สารเคมี และเพิม่ รายได้ใหก้ ับเกษตรกร ทำให้เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง และยั่งยนื ต่อไป อปุ กรณ์และวิธกี าร 1. การผสมพนั ธแุ์ ละคัดเลอื กพันธุ์ ดำเนินการทดลองที่ศนู ย์วจิ ัยข้าวแพร่โดยการผสมเด่ียว (Single cross) ระหว่างข้าวเหนยี วสายพนั ธ์สุ าม สมยั (Sahm Samai) และสายพันธุ์ PRE96011-SPT-1-2-2-1-1 ในปี 2547 ปลูกพันธผุ์ สมชั่วท่ี 1 และคดั เลือก สายพนั ธุต์ ัง้ แตช่ ่ัวที่ 2-6 แบบสืบตระกูลตัง้ แต่ปี 2548-2550 จนได้สายพนั ธุ์ PRE04012-20-1-1-1 ไดน้ ำมาคัด ลกั ษณะทางการเกษตรและความตา้ นทานตอ่ แมลงบวั่ ในปี 2558-2559 จนกระทั้งไดส้ ายพันธุ์ PRE04012-20-1- 1-1-5 และปลกู ศึกษาพนั ธุ์ในปี 2560 2. การเปรยี บเทยี บผลผลติ ภายในสถานี (intra-station yield trial) ดำเนินการท่ศี ูนย์วิจัยข้าวแพร่ โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) จำนวน 4 ซ้ำ ระยะปักดำ 20 x 20 เซนติเมตร จับละ 3 ต้น สายพันธ์ละ 6 แถว ยาว 5 เมตร (26 กอ) เก็บเกี่ยว 4 แถวๆ ละ 24 กอ ใส่ปุ๋ย N-P2O5-K2O อัตรา 6-6-6 กิโลกรัม และปุ๋ยแต่งหน้าอัตรา 6-0-0 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ใช้สารเคมีปอ้ งกันกำจัดวชั พชื และศตั รูขา้ วตามความความเหมาะสม ทำการบันทึกข้อมลู ลกั ษณะรูปแบบ ทรงต้น การแตกกอ อายวุ นั ออกดอก ความสูง การล้ม ชง่ั น้ำหนักผลผลิต และวดั ความชื้นเมล็ด 3. การเปรยี บเทยี บผลผลติ ระหว่างสถานี (inter-station yield trial) ดำเนนิ การทีศ่ ูนย์วิจัยข้าวแพร่ เชยี งใหม่ เชียงราย แมฮ่ ่องสอน และแปลงทดลองดงหลกั หมนื่ อำเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม่ โดยมกี ารปฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกับการทดลองการเปรยี บเทยี บผลผลิตภายในสถานี 4. การเปรียบเทยี บผลผลติ ในนาราษฎร์ armer’s ield ield trial) ดำเนินการทีจ่ ังหวัดแพร่ เชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) จำนวน 4 ซำ้ ปลกู ข้าวแบบปกั ดำ ระยะปักดำ 20 x 20 เซนตเิ มตร จับละ 3 ต้น พื้นที่ปลูก 3 x 5 เมตร เก็บเกี่ยว 2 x 4 เมตร ใส่ปุ๋ยรองพื้นสูตร 16-20-0 อัตรา 30-35 กิโลกรัมต่อไร่ และ ปุ๋ยแต่งหน้าสูตร 46-0-0 อัตรา 10-15 กิโลกรัมต่อไร่ มีการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืชและสารเคมีป้องกัน การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

260 และกำจดั ศตั รูข้าวตามความเหมาะสม มีการบันทึกข้อมลู ลกั ษณะรูปแบบทรงต้น การแตกกอ อายุวันออกดอก ความสงู การล้ม การทำลายของโรคและแมลง ช่งั นำ้ หนักผลผลติ วัดความช้ืน 5. การทดสอบปฏิกิรยิ าต่อโรคและแมลงศตั รขู ้าวท่ีสำคัญ 5.1 โรคไหม้ โดยเตรียมแปลงปลูกในสภาพไร่ ขนาดกว้าง 1.25 เมตร ความยาวตามสภาพพื้นที่ปลูก ให้ แปลงด้านที่อยู่เหนือลม 1 แปลง เป็นแปลงให้เกิดโรคตามธรรมชาติ ก่อนปลูกข้าวพันธุ์ทดสอบจะโรยเมล็ดข้าว พันธอ์ุ อ่ นแอต่อโรคไหม้ คอื ขาวตาแหง้ 17 และ ขาวดอกมะลิ 105 เป็นแถวตามความยาวของแปลงขวางทางลม เมื่อข้าวเริ่มแสดงอาการของโรคไหม้ จึงปลูกข้าวทดสอบ โดยโรยเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ละ 1 แถว แถวยาว 50 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างแถว 10 เซนติเมตร ทุก ๆ 10 สายพันธุ์ โรยพันธุ์ข้าวเปรียบเทียบอ่อนแอโรคไหม้ คือ ขาวตาแห้ง 17 จำนวน 1 แถว ขาวดอกมะลิ 105 จำนวน 1 แถว สลับกับพันธุ์หางยี 71 ซึ่งเป็นพันธ์ุ เปรียบเทียบต้านทานโรคไหม้ 1 แถว แล้วตามด้วยขาวดอกมะลิ 105 จำนวน 1 แถว ขาวตาแห้ง 17 อีก 1 แถว รอบแปลงท้ัง 4 ดา้ น โรยขา้ วพนั ธุอ์ ่อนแอเป็นแถวดังนี้ ด้านเหนอื ลมโรย 3 แถว โดย 2 แถวนอกโรยด้วยขาวดอก มะลิ 105 ส่วนแถวด้านในที่ติดกับพันธุ์ทดสอบ โรยด้วยข้าวขาวตาแห้ง 17 ด้านใต้ลมโรย 2 แถว โดยแถวนอก โรยด้วยขาวดอกมะลิ 105 ส่วนแถวด้านในโรยด้วยข้าวขาวตาแห้ง 17 หัวและท้ายแปลงโรยด้วยขาวตาแห้ง 17 และขาวดอกมะลิ 105 พันธุ์ละ 1 แถว ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปยูเรีย อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ โดยแบ่งใส่ทุก สปั ดาห์ตดิ กัน 3 สัปดาห์ เรม่ิ 1 สัปดาหห์ ลังปลูกและใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส ในรปู ทรปิ เปิล้ ซุปเปอร์ฟอสเฟต อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ครั้งเดียวหลังปลูก 1 สัปดาห์ ให้น้ำแบบพ่นละออง วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที บันทึกข้อมูล ความรนุ แรงของโรคไหม้เม่ือขา้ วอายุได้ 30 วนั ตามแบบ Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) 5.2 โรคขอบใบแหง้ โดยปกั ดำขา้ วทดสอบเป็นแถวสายพนั ธลุ์ ะ 2 แถวๆ ละ 10 กอๆ ละ 2 ตน้ ทรี่ ะยะ ปลูก 25 x 25 เซนติเมตร ทุก ๆ 10 สายพันธุ์ ปลูกพันธุ์ข้าวเปรียบเทียบต้านทานคือ กข7 และพันธุ์ข้าว เปรียบเทียบอ่อนแอ คือ กข10 และ Taichung Native 1 (TN1) ใส่ปุ๋ย N-P2O5-K2O อัตรา 18-6-0 กิโลกรัม ต่อไร่ โดยแบ่งใส่ก่อนปักดำอัตรา 4.8-6-0 กิโลกรัมต่อไร่ หลังปักดำแบ่งใส่อีก 2 ครั้งคือที่ 20 วัน และ 40 วนั ในรูปของแอมโมเนียมซัลเฟตอัตรา 6.6-0-0 กิโลกรัมต่อไร่ เตรียมเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโดยเลี้ยงบนอาหารวุ้น PPA (Potato Peptone Agar) เพือ่ เปน็ inoculum โดยมีอัตราความเข้มข้นของสารแขวนลอยเชื้อท่ี 108 เซลล์ ต่อมิลลิลิตร นำไปปลูกเชื้อเมื่อข้าวอยู่ในระยะแตกกอสูงสุด โดยการตัดปลายใบข้าวด้วยกรรไกรจุ่มในสาร แขวนลอยเช้ือสาเหตุที่มีอายุ 48 ชว่ั โมง โดยตดั ตำ่ จากปลายใบประมาณ 2 เซนตเิ มตร ตรวจผลการทดลองหลัง ปลกู เชอื้ 3 สปั ดาห์ ตาม Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) 5.3 แมลงบั่วในสภาพโรงเรือน โดยการเลี้ยงและขยายพันธุ์แมลงในโรงเรือน ปลูกข้าวพันธุ์ กข1 ใน กระถางๆ ละ 20 ต้น ในกรงเลี้ยงแมลงมีตาข่ายกันแมลง เมื่อข้าวอายุประมาณ 15-20 วัน ตัดใบข้าวออกเล็กน้อย เพอื่ กระตุ้นการแตกกอ ปลอ่ ยแมลงบัว่ เพศเมียตวั เตม็ วยั ในกรงเลยี้ ง ใหแ้ มลงบั่วเข้าวางไข่ในตน้ ข้าวในเวลากลางคืน ตอนเช้าย้ายกระถางข้าวทั้งหมดใส่ในกรงฟักไข่ที่มีน้ำพ่นฝอย ให้ความชื้นและคลุมกรงด้วยผ้าหรอื พลาสติกใสเพื่อ การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย กล่มุ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

261 รักษาความชื้นประมาณ 2-3 วัน ไข่บั่วจะเริ่มฟักเป็นตัวหนอน แล้วย้ายกระถางข้าวทั้งหมดออกจากกรงฟัก นำไป เล้ียงตอ่ ประมาณ 15-18 วนั จะเรม่ิ เห็นหลอดบวั่ จากนี้ไมเ่ กิน 72 ชว่ั โมง จะไดต้ ัวเตม็ วยั ทีอ่ อกจากหลอด เตรียมข้าวทดสอบ แบบ seedling bulk test โดยปลูกข้าวในถาดทดสอบ เป็นแถว แถวละ 20 ต้น ระยะห่างระหวา่ งตน้ 2 เซนตเิ มตร ระยะห่างระหว่างแถว 4 เซนติเมตร ทกุ 5 สายพันธ์ุทดสอบ ปลูกคัน่ ด้วยพันธุ์ เปรียบเทียบอ่อนแอ (กข1) และพันธุ์เปรียบเทียบต้านทาน (เหมยนอง 62M และ กข4) อย่างน้อย 2 ซ้ำ เมื่อต้น ข้าวอายุได้ 2 สัปดาห์หรือไม่เกิน 15 วัน ปล่อยแมลงบั่วตัวเต็มวัยเพศเมียที่สมบูรณ์ที่ผ่านการผสมพันธุ์แล้ว จำนวน 4 ตัวต่อข้าวทดสอบ 1 แถวหรือ 20 ต้น ให้เข้าวางไข่บนข้าวพันธุ์ทดสอบในเวลาก่อน 09.00 นาฬิกา รักษาความชื้นในกรงทดสอบให้อยู่ระหว่าง 80-90 เปอร์เซ็นต์เป็นเวลา 1-3 วัน โดยการใช้พลาสติกใสคลุมกรง แล้วฉีดพ่นละอองน้ำเพื่อให้ไข่บัว่ ฟักเป็นตัว บันทึกผลการทดลองหลังจากปลอ่ ยแมลง 26-28 วัน โดยนับจำนวน หลอดบั่วแต่ละต้น แล้วคำนวณหาเปอร์เซ็นต์การทำลายของแมลงแต่ละต้น และให้คะแนน ตาม Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) 5.4 แมลงบั่วในสภาพแปลงนา ออกสำรวจแปลงนาในท้องถิ่น เพื่อตรวจดูการเกิดหลอดบั่วและ ประชากรตัวเต็มวัยที่มาเล่นไฟ เมื่อพบแมลงบั่วเตรียมตกกล้าและวางแผนวางแผนการปลูกแบบ RCB with systematic check จำนวน 2 ซ้ำ สายพันธุ์ละ 2 แถวๆละ 10 กอๆละ 1 ต้น ระยะปลูก 25 x 25 เซนติเมตร โดยมีพันธุ์เปรียบเทียบอ่อนแอคือ พันธุ์กข 1 และพันธุ์กข6 และพันธุ์เปรียบเทียบต้านทานคือพันธุ์ กข14 และ พันธุ์เหมยนอง 62 เอ็ม สลับกันไปทกุ ๆ 10 พันธุ์ ทำการนับหลอดบัว่ 2 ครั้ง เมื่อข้าวอายุ 30 และ 60 วันหลงั ปกั ดำและให้คะแนน ตาม Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) 5.5 เพลี้ยกระโดดสนี ้ำตาล ปลูกข้าวทดสอบโดยเพาะเมลด็ พันธ์ุข้าวในจานพลาสติก หลงั จากนัน้ 3 วัน เมื่อข้าวงอก นำไปปลูกเป็นแถวในกระบะไม้ขนาด 45 x 60 x 10 เซนติเมตร ซึ่งภายในบรรจุดินเหนียวเปียก หนาประมาณ 5 เซนติเมตร เปน็ แถวยาวประมาณ 20 เซนตเิ มตร ระยะหา่ งระหว่างแถว 5 เซนติเมตร จะได้ต้น ขา้ วแถวละ 25-30 ตน้ ตอ่ พนั ธุ์ กระบะไม้หน่งึ กระบะจะปลูกข้าวท้ังหมด 24 พันธ์ุ/สายพันธ์ุ มีพันธ์ุเปรียบเทียบ ต้านทานพิษณุโลก 2 และพันธุ์เปรียบเทียบอ่อนแอ คือ TN1 แล้ววางลงในกระบะสังกะสี ขนาด 1.5 x 2.5 เมตร สงู 20 เซนติเมตร ทีม่ ีนำ้ บรรจอุ ยู่ภายในกระบะเปน็ เวลา 7-9 วัน ตน้ ขา้ วจะมใี บ 2 ใบจึงปลอ่ ยแมลงเพลี้ย กระโดดสีน้ำตาลวัยที่ 1 และ 2 ลงบนต้นกล้าจำนวน 5-8 ตัวต่อต้นกล้าข้าวหนึ่งต้น หลังจากปล่อยแมลงแล้ว 7-10 วัน สังเกตต้นข้าวพันธุ์ TN1 ซึ่งเป็นพันธุ์เปรียบเทียบอ่อนแอ ถูกแมลงดูดกินน้ำเลี้ยงจนต้นข้าวแห้ง ทั้งหมด จึงตรวจผลการทดลอง โดยพิจารณาจากอาการของต้นข้าวและใบข้าวของแต่ละพันธุ์/สายพันธุ์ที่ถูก แมลงทำลาย ให้คะแนนตาม Standard Evaluation System for Rice (IRRI, 2014) 5.6 เพลี้ยกระโดดหลังขาว ดำเนินการเช่นเดียวกับเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แต่ใช้เพลี้ยกระโดดหลังขาว ในการทดสอบแทน การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

262 6. การวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดข้าว ทำการวเิ คราะห์คุณภาพเมล็ดทางกายภาพ ได้แก่ สขี ้าวเปลือก ความยาว ความกว้าง ความหนาของ เมล็ด รปู รา่ งเมล็ด การเปน็ ท้องไข่ คุณภาพเมลด็ ทางเคมไี ด้แก่ อุณหภมู แิ ปง้ สุก ตามวิธีการของ Cagampang et al. (1973) ค่าสลายเมล็ดในดา่ ง ตามวิธีการของ Little et al. (1958) และความหอม 7. การศึกษาระยะพักตัว ดำเนินการสุ่มเก็บเกี่ยวข้าว 28-30 วนั หลังออกดอก 75 เปอร์เซน็ ต์ นวดและผง่ึ ในร่มให้แห้ง ทำการสุ่ม ตวั อย่างอีกครั้งโดยใชเ้ คร่ืองสุ่มตัวอยา่ งจึงเร่มิ เพาะความงอกจำนวน 2 ชดุ ชุดท่ี 1 ส่มุ ประมาณ 50 กรัมต่อซ้ำ นำเข้าตู้อบลมร้อนเพ่ือทำลายการพักตวั ของเมล็ด โดยใชอ้ ุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 5 วนั และนำมา เพาะความงอกเพ่ือเป็นชดุ เปรียบเทียบ ชุดที่ 2 ส่มุ เพาะความงอกทันทีทุกสัปดาห์ โดยทำการเพาะ 4 ซำ้ ๆ ละ 100 เมล็ด (จำนวน 4 กล่อง ๆ ละ 100 เมล็ด) โดยวิธี Top of paper (TP) ใชก้ ระดาษเพาะความงอกท่ีสามารถอุ้ม น้ำได้ดแี ละไม่เป่ือยง่าย ใชน้ ้ำกลั่น 18 ซีซ/ี กล่อง ปิดกล่องและวางไว้ทีอ่ ุณหภูมิห้อง และตรวจนบั ประเมินผลตน้ อ่อนทุก 7 วัน โดยการประเมินผลความงอกคิดเปน็ เปอร์เซน็ ต์ และจะยุติการเพาะเม่ือสายพนั ธุ์ข้าวมีความงอกไม่ ตำ่ กว่า 80 เปอร์เซ็นต์ และคำนวณเปน็ ระยะเวลาที่สิน้ สุดระยะพักตวั ของข้าวแตส่ ายพันธ/์ุ พนั ธ์ุ 8. การบันทึกลกั ษณะประจำพนั ธุ์ ดำเนินปลูกข้าวระยะ 25x33 เซนติเมตร จำนวน 6 แถว ๆ ยาว 5 เมตร ปักดำกอละ 1 ต้น และทำการ บันทึกลักษณะประจำพันธุ์ข้าวตามแบบบันทึกลักษณะประจำพันธุ์ข้าว กรมการข้าว จำนวน 39 ลักษณะ 4 ระยะ คอื ระยะกลา้ ระยะแตกกอ ระยะออกรวง และระยะก่อนเก็บเก่ียว ผลการทดลองและวจิ ารณ์ 1. การเปรียบเทียบผลผลติ ภายในสถานี ฤดนู าปรัง-นาปี 2561 พบวา่ สายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ใหผ้ ลผลิตเฉลี่ย 783 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่า พันธุ์สันป่าตอง 1 ที่ให้ผลผลิต 662 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 18 แต่ต่ำกว่าพันธุ์กข14 ที่ให้ผลผลิต 793 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 1 (Table 1) 2. การเปรียบเทียบผลผลติ ระหว่างสถานี ฤดูนาปี 2562-2564 พบวา่ สายพนั ธ์ุ PRE04012-20-1-1-1-5 ใหผ้ ลผลิตเฉล่ยี 791 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ สูง กว่าพันธุ์สันป่าตอง 1 ที่ให้ผลผลิต 751 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 5 และใกล้เคียงกับพันธุ์กข14 ที่ให้ผลผลิต 794 กิโลกรัมต่อไร่ โดยมีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงสุด 980 กิโลกรัมต่อไร่ ในฤดูนาปี 2564 ที่ศูนย์วิจัยข้าว แมฮ่ ่องสอน (Table 2) การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กล่มุ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

263 ฤดูนาปรัง 2563-2564 พบว่าสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ให้ผลผลิต 841 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธ์ุ สันป่าตอง 1 ท่ใี ห้ผลผลติ 800 กโิ ลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 5 และตำ่ กว่าพันธุ์ กข14 ที่ใหผ้ ลผลิต 913 กโิ ลกรัมต่อไร่ ร้อย ละ 8 (Table 3) 3. การเปรียบเทียบผลผลติ ในนาราษฎร์ ในฤดูนาปีและนาปรัง 2563-2564 พบว่าสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ให้ผลผลิต 739 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์สนั ปา่ ตอง 1 ที่ให้ผลผลิต 705 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 5 แต่ต่ำกว่าพันธุ์กข14 ที่ให้ผลผลิต 785 กิโลกรัม ต่อไร่ ร้อยละ 6 โดยมีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงสุด 982 กิโลกรัมต่อไร่ ในฤดูนาปรัง 2564 ที่อำเภอฝาง จังหวัด เชยี งใหม่ (Table 4) ตง้ั แตป่ ี 2561-2564 ผลผลติ เฉล่ียของข้าวสายพนั ธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 เท่ากับ 799 กโิ ลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์สันป่าตอง 1 ที่ให้ผลผลิต 770 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ต่ำกว่าพันธุ์กข14 ที่ให้ผลผลิต 853 กิโลกรัมต่อไร่ สำหรับอายุเก็บเกี่ยว ข้าวสายพันธุ์นี้มีอายุเก็บเกี่ยว 140 วัน สูงกว่าพันธุ์สันป่าตอง 1 และพันธุ์กข14 ที่มีอายุ เก็บเกี่ยว 137 และ 136 วัน ความสงู ของขา้ วสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 เทา่ กบั 111 เซนตเิ มตร สูงกว่า พันธสุ์ นั ปา่ ตอง 1 ทมี่ คี วามสูง 109 เซนตเิ มตร และใกลเ้ คยี งกับพนั ธ์ุกข14 ทีม่ คี วามสงู 113 เซนติเมตร ทงั้ นี้ ใน ฤดูนาปรังจะเตี้ยกว่าในฤดูนาปีเช่นเดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบทั้ง 2 พันธุ์ จำนวนรวงต่อกอของข้าวสายพันธ์ุ PRE04012-20-1-1-1-5 เท่ากับ 10 รวง เช่นเดียวกับพันธุ์สันป่าตอง 1 และพันธุ์กข14 ที่มีจำนวนรวงต่อกอ เทา่ กบั 10 รวง (Table 5) ระยะพักตัวของข้าวสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ในฤดูนาปรัง 2564 เท่ากับ 6 สัปดาห์ สูงกว่า พันธุ์สันป่าตอง 1 และพันธุ์กข14 ที่มีระยะพักตัวเท่ากับ 5 สัปดาห์ ในฤดูนาปี 2563-2564 ข้าวสายพันธุ์นี้มี ระยะพักตวั เท่ากับ 11 สปั ดาห์ สูงกวา่ พนั ธุส์ ันป่าตอง 1 ท่ีมรี ะยะพักตวั เท่ากับ 9 สปั ดาห์ และน้อยกว่าพันธ์ุกข 14 ที่มีระยะพักตัวเท่ากับ 12 สัปดาห์ (Table 5) ทั้งนี้ การศึกษาระยะพักตัวในฤดูนาปีเป็นฤดูหนาวบางช่วง ของการทดสอบจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละวันประมาณ 13-17 องศาเซลเซียส ทำให้ข้าวไม่งอกหรืองอกน้อย หรืองอกเป็นต้นผดิ ปกติส่งผลระยะพกั ตัวของข้าวยาวนานกวา่ ฤดนู าปรัง 4. การทดสอบปฏกิ ิริยาต่อโรคและแมลงศัตรูขา้ ว โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง ปฏิกิริยาของข้าวสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ต่อโรคไหม้ ฤดูนาปี 2561-2564 พบว่า ส่วนใหญ่มีปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอสูง (HS) ต่อเชื้อสาเหตุโรคไหม้ที่ ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และแปลงทดลองดงหลักหมื่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สำหรับโรคขอบใบแห้งพบว่าข้าวมีปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอสูง (HS) ต่อเชื้อสาเหตุโรคขอบใบ แห้งที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่และศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ (Table 7) เช่นเดียวกับพันธุ์สันป่าตอง 1 และพันธุ์กข14 อย่างไรก็ตาม สายพันธุ์ข้าวที่เป็นแหล่งพันธุกรรมของข้าวสายพันธุ์ PRE11012-24-1-1-1 ไม่มีลักษณะความ ตา้ นทานต่อโรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง ดังนั้น ถา้ ตอ้ งการพัฒนาให้มีความต้านทานโรคดังกล่าวด้วย จำเป็นต้อง การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

264 คัดเลือกสายพันธุ์พ่อหรือแม่ที่มีความต้านทานต่อโรคดังกล่าวและนำสายพันธุ์ข้าวมาพัฒนาต่อยอดด้วยการรวม ยนี ตา้ นทานโรคต่อไป แมลงบั่ว ปฏิกิริยาของข้าวสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 ต่อแมลงบั่วในสภาพโรงเรือนศูนย์วิจัย ขา้ วแพร่ พบวา่ มปี ฏกิ ิริยาค่อนข้างตา้ นทาน (MR) ถงึ ต้านทาน (R) ตอ่ ประชากรแมลงบ่วั จังหวดั แพร่และจังหวัด น่าน โดยในฤดูนาปี 2563 ประชากรแมลงบั่วจากจังหวัดน่าน เนื่องจากไม่มีการระบาดของแมลงบั่วในพื้นที่ จังหวัดแพร่ ทั้งน้ี กลุ ชนา และคณะ (2563) รายงานวา่ แมลงบ่วั จากจังหวดั น่านเป็นประชากรท่ีสามารถทำลาย ข้าวได้ทุกพันธุ์/สายพันธุ์ ซึ่งข้าวสายพันธุ์นี้ได้ลักษณะความต้านทานต่อแมลงบั่วมาจากพันธุ์ Sahm Samai (Table 7) ส่วนปฏิกิริยาในสภาพแปลงทดลองที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่และแปลงทดลองดงหลักหมื่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ฤดูนาปี 2561-2564 พบว่าข้าวสายพันธุ์นีค้ ่อนข้างต้านทานต่อแมลงบั่ว (MR) ที่ศูนย์วิจัยข้าว แพร่ และค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงต้านทาน (R) ต่อแมลงบั่วที่แปลงทดลองดงหลักหมื่น อำเภอฝาง จังหวัด เชยี งใหม่ (Table 8) เนอื่ งจากชีวชนดิ ของประชากรแมลงบั่วจังหวดั แพร่และจังหวัดเชียงใหม่ท่ีเข้าทำลายในแต่ ละปี/พื้นที่มีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ข้าวสายพันธุ์นี้แสดงปฏิกิริยาความทนทานต่อแมลงบั่วดีกว่าพันธ์ุ เปรียบเทียบมาตรฐานสันปา่ ตอง 1 และพันธ์ุกข14 ท่ีนิยมปลกู ในพื้นท่ี เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและเพลี้ยกระโดดหลังขาว ที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่และศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย ฤดู นาปี 2561-2562 พบว่าข้าวมีปฏิกิริยาอ่อนแอสูง (HS) ต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและเพลี้ยกระโดดหลังขาว เช่นเดยี วกับพนั ธ์ุสันป่าตอง 1 และพนั ธ์ุกข14เนื่องจาก พ่อแมพ่ ันธ์ุท่ีใช้เปน็ แหล่งพันธุกรรมในการพัฒนาสายพันธ์ุ ขา้ ว PRE04012-20-1-1-1-5 ไม่มีความตา้ นทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและเพลี้ยกระโดดหลังขาว (Table 9) 5. คณุ ภาพเมลด็ ทางกายภาพ คณุ ภาพทางเคมีและคณุ ภาพการสี ข้าวสายพันธุ์ PRE04012-20-1-1-1-5 เป็นข้าวเหนียว เมล็ดยาว เปลือกสีฟางกระน้ำตาล ข้าวเปลือก ยาว 11.02 มิลลิเมตร กว้าง 3.02 มิลลิเมตร และหนา 2.05 มิลลิเมตร มีน้ำหนัก 1,000 เมล็ด 36.95 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือก 10.74 กิโลกรัมต่อถัง ข้าวกล้องมีความยาว 7.55 มิลลิเมตร กว้าง 2.47 มิลลิเมตร หนา 1.90 มิลลิเมตร ข้าวสารมีความยาว 7.50 มิลลิเมตร กว้าง 2.32 มิลลิเมตร และหนา 1.67 มิลลิเมตร มีรูปร่าง เมล็ดเรียวเท่ากับ 3.06 ไม่มีกลิ่นหอม ค่าการสลายเมล็ดในด่าง 1.7 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 6.62 และค่าการสลาย เมลด็ ในดา่ ง 1.4 เปอรเ์ ซน็ ต์ เทา่ กับ 5.06 แสดงวา่ ข้าวเหนยี วหงุ สุกมีความนุ่มเหนยี ว ส่วนคุณภาพการสีพบว่ามี คุณภาพการสีดสี ามารถสีเปน็ ข้าวเต็มเมล็ดและตน้ ข้าวได้ 48.14 เปอรเ์ ซน็ ต์ มีเปอรเ์ ซ็นตข์ ้าวกล้องและข้าวสาร เท่ากบั 76.07 เปอร์เซ็นต์ และ 66.72 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ (Table 10) 6. ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาและลักษณะทางการเกษตร ประเภท ไม่ไวต่อช่วงแสง อายุถงึ วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ 107 วัน อายุถึงวนั สุกแก่ 137 วนั (วิธปี ักดำ) การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

265 ลำตน้ : กอตัง้ ทรงกอ (ระยะออกรวง 50 เปอร์เซน็ ต์) 92 เซนตเิ มตร ความสงู (ระยะออกรวง 20-25 วัน วัดถงึ ปลายรวง) เขยี ว สขี องปลอ้ ง (ระยะออกรวง 50 เปอรเ์ ซ็นต์) แขง็ ความแข็ง (หลงั ออกรวง 20-25 วนั ) เขยี ว ใบ : เขยี ว สีของแผน่ ใบ (ระยะแตกกอเต็มท่ี) ตง้ั ตรง สขี องกาบใบ (ระยะแตกกอเต็มท)่ี มีขน มมุ ปลายใบ (ระยะแตกกอเต็มท)ี่ 45.08 เซนตเิ มตร การมขี นบนแผน่ ใบ (ระยะแตกกอเตม็ ที่) 0.90 เซนตเิ มตร ความยาว (หลงั ออกรวง 20-25 วัน) คอ่ นข้างแกช่ ้า ความกวา้ ง (หลังออกรวง 20-25 วัน) การแก่ของใบ (ระยะเกบ็ เกี่ยว) ขาว มี 2 ยอด ล้นิ ใบ : (ระยะแตกกอเต็มท)ี่ 18.0 มิลลิเมตร สี เขียวออ่ น รปู ร่าง เขยี วออ่ น ความยาว ตงั้ ตรง หใู บ : (ระยะแตกกอเต็มที่) ขอ้ ต่อใบ : (ระยะแตกกอเตม็ ท่ี) 33.0 เซนตเิ มตร ใบธง : (หลังออกรวง 20-25 วนั ) คอ่ นข้างแน่น ปานกลาง มมุ ใบธง คอรวงยาว รวง : 146เมล็ด ปานกลาง (83.5 เปอร์เซน็ ต์) ความยาว (ระยะเกบ็ เกย่ี ว) ปานกลาง ลกั ษณะรวง (หลังออกรวง 20-25 วัน) ง่าย การแตกระแง้ (หลงั ออกรวง 20-25 วัน) การยืดของคอรวง (หลงั ออกรวง 20-25 วัน) จำนวนเมลด็ ดตี ่อรวง การตดิ เมลด็ การร่วงของเมล็ด การนวด การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ัย กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

266 ดอก : (ระยะออกดอก 50%) ขาว สขี องยอดเกสรตวั เมีย ขาว สขี องปลายยอดดอก ไมม่ หี าง เมล็ด : (ระยะหลังเก็บเกย่ี ว) ขนส้ัน หางขา้ ว 2.83 มิลลิเมตร ขนบนเปลอื กเมลด็ ฟาง ความยาวกลีบรองดอก 36.95 กรัม สีของกลบี รองดอก 10.74 กโิ ลกรมั นำ้ หนักขา้ วเปลอื ก 1,000 เมลด็ 6-11 สปั ดาห์ น้ำหนกั ขา้ วเปลอื กตอ่ ถงั ระยะพักตัว ฟางกระน้ำตาล ขาว คณุ ภาพเมลด็ : ขา้ วเหนยี ว คณุ ภาพเมลด็ ทางกายภาพ ยาว 11.02±0.35 มิลลเิ มตร สขี องเปลือกเมล็ด กว้าง 3.02±0.13 มลิ ลิเมตร สีของข้าวกล้อง หนา 2.05±0.08 มลิ ลิเมตร ชนดิ ของข้าว ยาว 7.55±0.19 มลิ ลิเมตร ขนาดของเมล็ดข้าวเปลือก กว้าง 2.47±0.06 มิลลิเมตร หนา 1.90±0.04 มิลลเิ มตร ขนาดของเมล็ดข้าวกล้อง ยาว 7.50±0.02 มิลลเิ มตร กวา้ ง 2.32±0.10 มิลลิเมตร ขนาดของเมลด็ ข้าวสาร หนา 1.67±0.08 มิลลิเมตร (โดยใช้เครอื่ งขดั ยี่ห้ออู่สนิ ทวี) รูปรา่ ง (ข้าวกลอ้ ง) เรียว (3.06) คุณภาพการสี 48.14 เปอร์เซ็นต์ ข้าวเต็มเมลด็ และต้นขา้ ว 23.93 เปอร์เซน็ ต์ แกลบ 9.28 เปอรเ์ ซน็ ต์ รำ การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

267 คณุ ภาพเมล็ดทางเคมีและคุณภาพการหงุ ต้มและรับประทาน 6.62 คา่ การสลายเมลด็ ในด่าง (1.7% KOH) 5.06 คา่ การสลายเมล็ดในด่าง (1.4% KOH) ตำ่ อณุ หภูมแิ ปง้ สุก ไมห่ อม กลนิ่ หอม ขาว ความขาว นมุ่ ความนมุ่ ค่อนข้างเหนียว ความเหนียว (การเกาะตัวของข้าวสุก) สรปุ ผลการทดลอง ข้าวเหนียวไมไ่ วต่อชว่ งแสงสายพนั ธุ์ดีเดน่ PRE04012-20-1-1-1-5 ได้รบั การผสมพนั ธ์ุระหวา่ งพันธ์สุ าม สมยั และสายพนั ธ์ุ PRE96011-SPT-1-2-2-1-1 มีศักยภาพในการใหผ้ ลผลติ สูงถงึ 980 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ ผลผลิตเฉลี่ย 799 กโิ ลกรมั ต่อไร่ สงู กวา่ พนั ธ์สุ นั ป่าตอง 1 ที่ให้ผลผลติ 770 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รอ้ ยละ 4 มอี ายเุ กบ็ เก่ียว 140 วัน มีลำตน้ ค่อนขา้ งแขง็ มคี วามสูง 111 เซนติเมตร จำนวนรวงตอ่ กอ 10 รวง มีระยะพักตัวประมาณ 6-11 สปั ดาห์ ขา้ วเปลือกสีฟางกระนำ้ ตาล ยาว 11.02 มลิ ลเิ มตร กว้าง 3.02 มิลลิเมตร หนา 2.05 มิลลเิ มตร มี นำ้ หนัก 1,000 เมล็ด 36.95 กรัม นำ้ หนกั ข้าวเปลือก 10.74 กโิ ลกรัมต่อถงั ข้าวกล้องสขี าว ยาว 7.55 มลิ ลเิ มตร กว้าง 2.47 มลิ ลเิ มตร หนา 1.90 มิลลเิ มตร รปู รา่ งเรยี ว ขา้ วสารยาว 7.50 มิลลิเมตร กว้าง 2.32 มลิ ลิเมตร หนา 1.67 มลิ ลิเมตร คณุ ภาพการสีดี ได้ขา้ วเต็มเมลด็ และต้นขา้ ว 48.18 เปอร์เซน็ ต์ ค่อนข้างตา้ นทานถึงต้านทานต่อ แมลงบ่ัวในเขตภาคเหนอื ตอนบน ขอ้ ควรระวงั คืออ่อนแอต่อโรคไหม้ โรคขอบใบแหง้ เพลย้ี กระโดดสีน้ำตาลและ เพลีย้ กระโดดหลังขาว เช่นเดียวกบั พนั ธ์ุสันป่าตอง 1 และพนั ธุก์ ข14 สามารถปลูกในพ้ืนที่ภาคเหนอื ตอนบนเพื่อ เพม่ิ ผลผลติ และเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ให้แกเ่ กษตรกรทมี่ ีปัญหาเรอ่ื งการระบาดแมลงบ่วั ในพ้นื ท่ี เอกสารอ้างองิ กุลชนา ดาร์เวล, พันนิภา ยาใจ, เยาวลกั ษณ์ กันยะมี, ปยิ ะวรรณ ใยด,ี กลั ยา บญุ สง่า, เจตต์ คชฤกษ,์ ยุพดี รัตนพันธ์, คนึงนจิ ศรวี ลิ ยั , สุพัตรา นราวัฒนะ, รน่ื ฤดี แก้วชน่ื ชัย, ชนันต์ธร ดนยั สิรชิ ยั ชล และจิรพงศ์ ใจรินทร.์ 2563. การพัฒนาชดุ พันธุข์ ้าวทดสอบความหลากหลายพันธุกรรมของ แมลงบ่วั เพ่ือการจำแนกชีวชนดิ . 225-239. ใน: เอกสารประกอบการสัมมนาวชิ าการขา้ วและ ธัญพืชเมืองหนาว กลุ่มศูนยว์ ิจยั ข้าวภาคเหนอื ตอนบนและภาคเหนอื ตอนล่าง ครง้ั ที่ 12 ประจำปี 2563. วนั ที่ 3-5 มีนาคม 2563 ณ โรงแรมสวนบัวรสี อร์ท อำเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่. หจก.วนดิ าการพิมพ์ 14/2 หมู่ 5 ตำบลสันผีเส้ือ อำเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่. การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กล่มุ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

268 สุทธกานต์ ใจกาวิล, สิปปว์ ชิ ญ์ ปัญญาตุ้ย, พิชญน์ ันท์ กังแฮ, อภิวฒั น์ หาญธนพงศ,์ อาทติ ยา ยอดใจ, ศริ ิลักษณ์ ใจบุญทา, ฐปรฏั ฐ์ สลี อยอุ่นแกว้ , ธเนศ แซวหล,ี นงนชุ ประดิษฐ,์ ผกากานต์ ทอง สมบุญ, สมุ าลี มปี ัญญา และศลิ าวัน จนั ทรบตุ ร. 2561. การจำแนกพ้นื ท่ี การผลิตข้าว และ ความม่นั คงทางอาหารของกลุ่มชาติพนั ธ์ุบนพนื้ ที่สูงของเกษตรกรในภาคเหนือตอนบน. วารสารวชิ าการข้าว. ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561. กรมการขา้ ว, กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2565. ขอ้ มูลการผลติ สินค้าเกษตร. (ระบบออนไลน)์ . แหลง่ ข้อมลู : www.oae.go.th/view/1/ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร/TH-TH. (7 เมษายน 2565). สำนักวจิ ัยและพัฒนาข้าว. 2554. เตือนการระบาดของแมลงบ่ัวในภาคเหนือตอนลา่ ง. (ระบบออนไลน์). แหลง่ ข้อมลู : http://www.brrd.in.th/main/index.php?option=com_content&view= article&id=295. (13 พฤศจิกายน 2554). ศูนยว์ ิจยั ข้าวเชียงราย. 2555. รายงานผลการติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคและแมลงศัตรูข้าว. วนั ที่ 14 กันยายน 2555. 2 หน้า ศูนย์วิจยั ข้าวแพร.่ 2554. แจง้ เตือนภัยการระบาดของแมลงบั่ว. วันท่ี 31 มกราคม 2554. 1 หน้า ศนู ยว์ จิ ยั ข้าวแพร.่ 2555. สรปุ ผลการสำรวจสถานการณ์การระบาดของแมลงบ่วั . วันที่ 19 กันยายน 2555. 1 หนา้ . ศูนยว์ ิจยั ข้าวแพร.่ 2556. เอกสารวิชาการ: พันธ์ุขา้ วสนั ปา่ ตอง 1. หจก.องิ ค์เบอร่ี 6/4-5 ถนนรงั สีเกษม ตำบลในเวยี ง อำเภอเมอื ง จังหวดั น่าน. 47 หน้า. Cagampang, G.B., C.M. Perez and B.O. Juliano. 1973. A gel consistency test for eating quality rice. J. Sci. Food Ag. 24:1589-1594. Juliano, B.O. 1979. The chemical basis of grain quality. Proc. Workshop. Chem. aspects of grain quality. Intern. Rice Res. Ins., Los Banos, Laguna, Philippines: 69-99. IRRI. 2002. Standrad Evaluation System for Rice (SES). (Online) Rice Research Institute. Available: http://www.knowledgebank.irri.org/extension/index.php/print-versionses. Rice Knowledge Bank. Rice Standard Evaluation System. (November 18, 2011). IRRI. 2014. Standard Evaluation System for Rice (SES). 5thedition. International Rice Research Institute, Los Banos, Philippines: 57p. Little, R.R., G.B. Hilder and E.D. Dawson. 1958. Differential effect of dilute alkali on 25 varieties of milled rice. Cereal Chem. 35:111-126. การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลุม่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

269 ตาราง Table 1 Average yield of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SPT1 and RD14 in intra-station yield trial on wet season and dry season 2018. Designation Yield (kg/rai) Index (%) SPT1 RD14 DS2018 WS2018 Ave PRE04012-20-1-1-1-5 723 a 842 ab 783 118 99 SPT1 (CK) 556 b 768 b 662 100 RD14 (CK) 682 a 903 a 793 100 CV (%) 7.3 9.5 Means in the same column follow by a common letter are not significant different at 5% level by DMRT การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลมุ่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

270 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

Table 2 Average yield of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SP Year Designation L PRE CMI CRI 2019 PRE04012-20-1-1-1-5 697 b 730 b 759 a SPT1 (CK) 638 b 779 ab 809 a RD14 (CK) 883 a 869 a 866 a CV (%) 6.3 10.1 6.2 2020 PRE04012-20-1-1-1-5 975 a 711 ab 815 a SPT1 (CK) 927 a 660 b 783 a RD14 (CK) 1,048 a 825 a 850 a CV (%) 9.4 12.6 6.7 2021 PRE04012-20-1-1-1-5 763 b 897 a 859 a SPT1 (CK) 708 b 776 ab 765 a RD14 (CK) 946 a 659 b 860 a CV (%) 5.8 8.5 6.3 Means PRE04012-20-1-1-1-5 812 779 811 SPT1 (CK) 758 738 786 RD14 (CK) 959 784 859 At each year means in the same column follow by a common letter are n การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ยั กลมุ่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภ

271 PT1 and RD14 in inter-station yield trial on wet season 2019-2021 Locations Index (%) MHS DLM Ave SPT1 RD14 a 801 a 664 a 730 102 91 a 672 b 690 a 718 100 a 680 b 716 a 803 100 13.6 12.6 a 799 a 542 a 768 107 96 a 733 a 476 a 716 100 a 703 a 559 a 797 100 14.7 14.0 a 980 a - 875 107 112 a 1,023 a - 818 100 a 667 b - 783 100 10.9 860 603 791 105 100 809 583 751 100 683 638 794 100 not significant different at 5% level by DMRT ภาคเหนือ ประจำปี 2565

272 Table 3 Average yield of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SPT1 and RD14 in inter-station yield trial on dry season 2020-2021 Year Designation Locations Index (%) PRE CMI CRI Ave SPT1 RD14 2020 PRE04012-20-1-1-1-5 936 a 934 a - 1/ 935 108 92 SPT1 (CK) 927 a 805 a - 1/ 866 100 RD14 (CK) 1,048 a 977 a - 1/ 1,013 100 CV (%) 9.4 10.1 2021 PRE04012-20-1-1-1-5 845 a 513 b 881 a 746 98 92 SPT1 (CK) 799 a 638 ab 765 a 734 100 RD14 (CK) 835 a 740 a 860 a 812 100 CV (%) 8.8 12.8 6.3 Means PRE04012-20-1-1-1-5 891 724 881 841 105 92 SPT1 (CK) 863 722 765 800 100 RD14 (CK) 942 859 860 913 100 At each year means in the same column follow by a common letter are not significant different at 5% level by DMRT 1/ The drought were investigated in this study at Chiang rai region. การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

273 Table 4 Average yield of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SPT1 and RD14 in farmer field yield trial on wet and dry season 2020-2021. Season/ Designation CRI PRE CMI MHS AVG Index (%) Year SPT1 RD14 WS2020 PRE04012-20-1-1-1-5 737 a 611 ab 626 a 808 a 696 109 108 SPT1 (CK) 671 a 522 b 570 a 799 a 641 100 RD14 (CK) 754 a 724 a 592 a 537 b 652 100 CV (%) 6.2 12 13.2 9.7 DS2021 PRE04012-20-1-1-1-5 979 a - 1/ 982 ab - 981 105 93 SPT1 (CK) 954 a - 1/ 910 b - 932 100 RD14 (CK) 1040 a - 1/ 1064 a - 1052 100 CV (%) 11.3 9.5 WS2021 PRE04012-20-1-1-1-5 610 a 473 b 399 a 676 a 540 100 83 SPT1 (CK) 665 a 535 b 392 a 574 a 542 100 RD14 (CK) 657 a 809 a 457 a 675 a 650 100 CV (%) 6.4 10.5 11.9 9.3 Means PRE04012-20-1-1-1-5 775 542 669 724 739 105 94 SPT1 (CK) 763 529 624 687 705 100 RD14 (CK) 817 767 704 606 785 100 At each year means in the same column follow by a common letter are not significant different at 5% level by DMRT 1/ The drought were investigated in this study at Phrae region. การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลมุ่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

Table 5 Average yield, maturity (day), plant height (cm), number compare with SPT1 and RD14 on dry and wet season du Designation Intra-station yield trial Inter-station yie DS WS DS Average yield PRE04012-20-1-1-1-5 723 842 841 SPT1 556 768 806 RD14 682 903 913 Maturity (day) PRE04012-20-1-1-1-5 132 141 141 SPT1 123 135 132 RD14 124 135 135 Plant height (cm.) PRE04012-20-1-1-1-5 96 125 103 SPT1 92 127 98 RD14 91 126 100 Number of panicles per hill PRE04012-20-1-1-1-5 9 10 10 SPT1 99 9 RD14 88 10 Seed dormancy PRE04012-20-1-1-1-5 - - - SPT1 -- - RD14 -- - การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภ

274 r of panicles per hill and seed dormancy of PRE04012-20-1-1-1-5 uring 2018-2021 eld trial Farmer filed yield trial Average Index (%) WS DS WS Ave SPT1 RD14 791 981 618 799 104 94 751 932 592 770 100 794 1052 651 853 100 137 146 142 140 102 103 134 142 139 137 100 132 141 135 136 100 122 103 117 111 102 98 121 100 117 109 100 124 107 122 113 100 9 12 11 10 100 100 9 11 10 10 100 8 12 9 10 100 - 6 11 - -- - 59 - -- - 5 12 - -- ภาคเหนือ ประจำปี 2565

275 Table 6 Reaction of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SPT1 and RD14 to blast and bacterial leaf blight disease under field condition during 2018-2021 Year Line/varieties Blast1/ Bacterial leaf blight1/ PRE CRI MHS CMI DLM PRE CMI 2018 PRE04012-20-1-1-1-5 S MS MS S S HS - SPT1 HS MS S S MS MS - RD14 MS MS MS HR MS S - KDML105 (BL susceptible check) HS HS HS HS HS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS MS MR - - HY 71 (BL resistant check) MS MS R MS MS - - RD10 (BB susceptible check) ----- HS - IRBB5 (BB resistant check) ----- HS - IRBB7 (BB resistant check) ----- HS - 2019 PRE04012-20-1-1-1-5 HS MS R HS HS HS - SPT1 HS MS MS HS HS HS - RD14 S HS MS MR S HS - KDML105 (BL susceptible check) HS HS HS HS HS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS S MS MS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS MS S -- Tetep (BL resistant check) R--- - -- RD10 (BB susceptible check) ----- HS - IRBB5 (BB resistant check) ----- HS - IRBB7 (BB resistant check) ----- HS - 2020 PRE04012-20-1-1-1-5 HS S HR S HS HS S SPT1 HS HS MS HS HS HS S RD14 HS S MS MS HS HS S KDML105 (BL susceptible check) HS HS HS HS HS - - KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS MS MS - - HY 71 (BL resistant check) MS MS MS MS HS - - Tetep (BL resistant check) R MS HR MS MS - - RD10 (BB susceptible check) ----- HS S IRBB5 (BB resistant check) ----- HS MS IRBB7 (BB resistant check) ----- MS MS การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ัย กลุ่มศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

276 Table 6 Reaction of PRE04012-20-1-1-1-5 compare with SPT1 and RD14 to blast and bacterial leaf blight disease under field condition during 2018-2021 Year Line/varieties Blast1/ Bacterial leaf blight1/ PRE CRI MHS CMI DLM PRE CMI 2021 PRE04012-20-1-1-1-5 HS HS MS MS - S MS SPT1 HS HS HS S HS S RD14 HS HS MS HS SS KDML105 (BL susceptible check) HS HS HS HS - -- KTH 17 (BL susceptible check) MS MS MS MS - -- HY 71 (BL resistant check) MS MR MS MR - -- Tetep (BL resistant check) HR R HR HR - -- RD10 (BB susceptible check) ----- HS S IRBB5 (BB resistant check) ----- MR MS IRBB7 (BB resistant check) ----- 7/S 5/MS Table 7 Reaction of PRE04012-20-1-1-1-5 compared with SPT1 and RD14 to gall midge under greenhouse condition at Phrae Rice Research Center during 2018-20201 Line/varieties 2018 2019 2020 2021 PRE04012-20-1-1-1-5 R MR R MR SPT1 HS S S HS RD14 S S S HS RD4 (GM resistant check) MS - - - RD22 (GM resistant check) - MR MS HR RD53 (GM resistant check) R S R HR MN62M (GM resistant check) RRRR การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุม่ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

277 Table 8 Reaction of PRE04012-20-1-1-1-5 to gall midge under field condition during 2018-2021 Year Line/varieties PRE DLM 2018 PRE04012-20-1-1-1-5 MR R SPT1 S HS RD14 S HS RD4 (GM resistant check) SS MN62M (GM resistant check) MR - RD1 (GM susceptible check) HS HS 2019 PRE04012-20-1-1-1-5 MR MS SPT1 HS HS RD14 S HS RD4 (GM resistant check) MS S RD1 (GM susceptible check) HS S 2020 PRE04012-20-1-1-1-5 - MR SPT1 - HS RD14 - HS RD4 (GM resistant check) - MS MN62M (GM resistant check) - HS RD1 (GM susceptible check) - HS 2021 PRE04012-20-1-1-1-5 MR - SPT1 HS - RD14 HS - RD4 (GM resistant check) HS - MN62M (GM resistant check) R- RD1 (GM susceptible check) HS - การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย กลุม่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook