Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการประชุมฯ

เอกสารประกอบการประชุมฯ

Published by อัญชลี ตาคำ, 2022-06-20 03:35:39

Description: E-Book 20062022

Search

Read the Text Version

373 บทคดั ยอ่ ผักปอดนาจัดเป็นวัชพืชใบกว้างที่สำคัญในนาข้าว เกษตรกรนิยมใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทหลัง วัชพืชงอกในการฉีดพ่นเมื่อข้าวอายุ 15-20 วัน หลังหว่านข้าว ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อศัตรูธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาผลกระทบของสารเคมีป้องกันกำจัดผักปอดนาต่อความหลากหลาย ของศัตรูธรรมชาติในนาข้าว ดำเนินการทดลองในปี 2564 ที่ศูนย์วิจัยข้าวชยั นาท วางแผนการทดลองแบบ บล็อคสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 ซ้ำ 5 กรรมวิธี ประกอบด้วยสารคลอริมูรอน-เอทธิล + เมทซัลฟูรอน-เมทธิล 10+10 เปอร์เซ็นต์ WP สารบิสไพริแบค-โซเดียม 10 เปอร์เซ็นต์ EC สารเอทอกซีซัลฟูรอน 15 เปอร์เซ็นต์ WG สารไพราโซซัลฟูรอน 10 เปอร์เซ็นต์ WP และพ่นน้ำเปล่าเป็นกรรมวิธีควบคุม ผลการทดลองพบศัตรู ธรมชาติจำนวน 7 อันดับ ได้แก่ Hemiptera (ร้อยละ 56.49) Hymenoptera (ร้อยละ 17.15) Araneae (ร้อยละ 10.43) Odonata (ร้อยละ 6.32) Diptera (ร้อยละ 5.83) Coleoptera (ร้อยละ 3.32) และ Orthoptera (ร้อยละ 0.46) ความชุกชุมของศัตรูธรรมชาติ (relative abundant) เมื่อพ่นสารแต่ละ กรรมวิธี พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสารลดปริมาณของศัตรูธรรมชาติในอันดับ Hemiptera แต่ปริมาณของศัตรู ธรรมชาติในอันดับอื่นเพิ่มขึ้น ส่วนค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener ก่อนพ่นสารเป็นเวลา 1 วนั และหลงั พน่ สารเป็นเวลา 15 วัน พบวา่ กรรมวธิ ีทพี่ ่นสารท่มี ีผลใหค้ ่าดชั นีความหลากหลายของ Shannon- Wiener มแี นวโนม้ ลดลง ไดแ้ ก่ สารไพราโซซลั ฟูรอน 10 เปอร์เซ็นต์ WP (กอ่ นพน่ 0.96 หลังพน่ 0.72) สาร คลอรมิ ูรอน-เอทธลิ + เมทซลั ฟรู อน-เมทธลิ 10+10 เปอรเ์ ซ็นต์ WP (ก่อนพน่ 0.92 หลงั พน่ 0.79) และสาร เอทอกซีซัลฟูรอน 15 เปอร์เซ็นต์ WG (ก่อนพ่น 0.84 หลังพ่น 0.82) แต่กรรรมวิธีพ่นสารมีผลให้ค่าดัชนี ความหลากหลายเพิ่มขึ้น ได้แก่ สารบิสไพริแบค-โซเดียม 10 เปอร์เซ็นต์ EC (ก่อนพ่น 0.75 หลังพ่น 0.82) เช่นเดียวกับกรรมวิธีควบคุม (ก่อนพ่น 0.74 หลังพ่น 0.79) สรุปได้ว่าสารบิสไพริแบค-โซเดียม 10 เปอรเ์ ซ็นต์ EC มีผลกระทบนอ้ ยต่อศตั รูธรรมชาตใิ นนาข้าว คำสำคญั : สารกำจัดวัชพชื ผกั ปอดนา ศัตรธู รรมชาติ ผลกระทบ ความหลากหลาย การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลมุ่ ศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

374 ผลของสารเคมีป้องกันกำจดั หญา้ ดอกขาวตอ่ ความหลากหลายของศตั รธู รรมชาติในนาข้าว Effects of Herbicides for Controlling Red Sprangletop (Leptochloa chinensis (L.) Nees) on Natural Enemy Diversity in Paddy Field ชัยรัตน์ จนั ทรห์ นู1) สุกัญญา อรัญมิตร2) Chairat Channoo1) Sukanya Arunmit2) ABSTRACT Red sprangletop (Leptochloa chinensis (L.) Nees) is a serious weed of rice. The farmers must apply pre-emergence and post-emergence herbicides, which may affect natural enemies. This research aims to study the effect of herbicides on controlling red sprangletop, a natural enemy in the paddy field. The experiment was conducted at Chai Nat Rice Research Center in 2021. The experimental design was a Randomized Complete Block Design consisting of five treatments: Propanil 36% EC, Profoxydim 7.5% EC, Cyhalofop- butyl 10% EC, Penoxsulam 2.5% EC, and a control (water), with four replications. The results showed that the natural enemy communities represent 7 orders as follows: Hemiptera (54.26%), Araneae (19.54%), Hymenoptera (9.92%), Diptera (8.85%), Odonata (4.26%), Coleoptera (2.35%), and Orthoptera (0.82%). The relative abundance when applied herbicides reduced natural enemies in Order Hemiptera, Hymenoptera, Odonata, and Coleoptera, but Order Diptera, Araneae, and Orthoptera increased. The Shannon-Wiener diversity index natural enemy communities between 1 day before spraying and 15 days after spraying of Penoxsulam 2.5% EC (0.94:0.00), Profoxydim 7.5% EC (0.90:0.26), Cyhalofop- butyl 10% EC (0.82:0.37), Propanil 36% EC (1.01:0.41), and control (0.96:0.60) decreased. In conclusion, Propanil 36% EC had the least effect on a natural enemy in the paddy field. Keywords: herbicides, Red sprangletop, natural enemies, effect, diversity ______________________________________________________________________________ 1) ศนู ย์วิจัยขา้ วชัยนาท อ.เมอื งชยั นาท จ.ชยั นาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9771 Chai Nat Rice Research Center, Mueang, Chai Nat 17000 Tel. 0-5601-9771 2) กองวิจัยและพฒั นาขา้ ว กรมการขา้ ว กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-8140 Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900 Tel. 0-2579-8140 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลุ่มศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

375 บทคัดยอ่ หญ้าดอกขาวจัดเป็นวัชพืชใบแคบที่สำคัญในนาข้าว เกษตรกรจำเป็นต้องใช้สารกำจัดวัชพืช ประเภทก่อนวัชพืชงอกและหลังวัชพืชงอกในการฉีดพ่นเพื่อกำจัด ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อศัตรูธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของงานวิจยั น้ีเพื่อศึกษาผลกระทบของสารเคมีป้องกนั กำจัดหญ้าดอกขาวต่อความหลากหลาย ของศัตรูธรรมชาติในนาข้าว ดำเนินการทดลองในฤดูนาปรัง 2564 ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท วางแผนการ ทดลองแบบบล็อคสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 ซ้ำ 5 กรรมวิธี ประกอบด้วยสารโพพานิล 36 เปอร์เซ็นต์ EC สาร โพรฟอกซิดิม 7.5 เปอร์เซ็นต์ EC สารไซฮาโลฟอบ-บิวทิล 10 เปอร์เซ็นต์ EC สารฟีน็อกซูแลม 2.5 เปอร์เซ็นต์ EC และพ่นน้ำเปล่าเป็นกรรมวิธีควบคุม ผลการทดลองพบศัตรูธรมชาติจำนวน 7 อันดับ ได้แก่ Hemiptera (ร้อยละ 54.26) Araneae (ร้อยละ 19.54) Hymenoptera (ร้อยละ 9.92) Diptera (ร้อยละ 8.85) Odonata (รอ้ ยละ 4.26) Coleoptera (ร้อยละ 2.35) และ Orthoptera (รอ้ ยละ 0.82) ความชุกชุม ของศัตรธู รรมชาติ (relative abundant) เมอ่ื พ่นสารแต่ละกรรมวิธี พบวา่ กรรมวิธที ีพ่ ่นสารลดปริมาณของ ศัตรูธรรมชาติในอันดับ Hemiptera Hymenoptera Odonata และ Coleoptera แต่ปริมาณของศัตรู ธรรมชาติในอันดับ Diptera Araneae และ Orthoptera เพิ่มขึ้น ส่วนค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener ก่อนพน่ สารเปน็ เวลา 1 วัน และหลังพน่ สารเป็นเวลา 15 วัน พบวา่ กรรมวธิ ีที่พน่ สารที่มีผล ให้ค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener มีแนวโน้มลดลงทั้งหมด ได้แก่ สารฟีน็อกซูแลม 2.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ EC (กอ่ นพน่ 0.94 หลังพ่น 0.00) สารโพรฟอกซิดิม 7.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ EC (กอ่ นพน่ 0.90 หลังพ่น 0.26) สารไซฮาโลฟอบ-บิวทิล 10 เปอร์เซ็นต์ EC (ก่อนพ่น 0.82 หลังพ่น 0.37) และสารโพพานิล 36 เปอร์เซ็นต์ EC (ก่อนพ่น 1.01 หลังพ่น 0.41) เช่นเดียวกับกรรมวิธีควบคุม (ก่อนพ่น 0.96 หลังพ่น 0.60) สรุปได้วา่ สารโพพานลิ 36 เปอรเ์ ซ็นต์ EC มีผลกระทบนอ้ ยท่สี ุดต่อศัตรธู รรมชาติในนาข้าว คำสำคญั : สารกำจดั วชั พชื หญา้ ดอกขาว ศตั รธู รรมชาติ ผลกระทบ ความหลากหลาย การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั กลุม่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

376 การบรหิ ารจดั การแมลงศัตรูขา้ วด้วยการจัดการระบบนิเวศวศิ วกรรมในจงั หวัดชัยนาท Rice Insect Pest Management by Ecological Engineering in Chai Nat Province ชยั รัตน์ จันทรห์ นู1) จินตนา ไชยวงค์2) Chairat Channoo1) Jintana Chaiwong2) ABSTRACT Ecological Engineering (EE) is known to modify the ecosystem in the rice field, thus increasing the suitable habitat for rice or uncommon conditions for natural enemy survival. Eventually, this method can control the spread of insect pests, which minimizes the use of insecticides on rice fields. For sustainable rice production, EE in the rice field is applied in several countries, including Thailand. This research aimed to find a model of ecosystem management in irrigated areas to control important rice pests but not damage rice yields and be environmentally friendly. Four treatments were conducted in the wet season 2020/2021 at Collaborative Farming of Ban Bang Kai Thuan, Moo 3, Taluk Sub-district, Sappaya District, Chai Nat Province, as follows: 1) Rice Department (rice planted with Sunn hemp (Crotalaria juncea) as intercropping and no chemical use) 2) Rice Department (planted rice with Sunn hemp as intercropping and used biological products) 3) farmer’s practices (planted rice with Marigold (Tagetes erecta L.) as intercropping) and 4) farmer’s practices (planted rice with no plant intercropping). Each treatment was conducted in four fields. Numbers of rice pests and natural enemies were randomly counted by human observation and D-vac machine inside the fields and on bunds at seedling, booting, tillering and milky stages. The results investigated that treatment 1 showed the highest diversity index of the parasitoid group in rice fields and on bunds. Treatment 2 showed the highest diversity index of predator groups in rice fields at the booting and milky stages. Treatments 1 and 2 showed the highest diversity index of rice pests and natural enemies in rice fields at the seedling stage. Moreover, treatments 1 and 4 showed the highest diversity index of natural enemies in plant intercropping on bunds. Therefore, treatment one was selected for the farmers' technology acceptance test for rice pest management using EE. Keywords: ecological engineering, rice insect pest, Chai Nat province _____________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ จิ ัยข้าวชัยนาท อ.เมืองชัยนาท จ.ชยั นาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9771 Chai Nat Rice Research Center, Mueang, Chai Nat 17000 Tel. 0-5601-9771 2) กองวิจยั และพัฒนาขา้ ว กรมการข้าว กรงุ เทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-8140 Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900 Tel. 0-2579-8140 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

377 บทคัดยอ่ การปรับเปลี่ยนระบบนิเวศในนาข้าวให้เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยหรือเป็นแหล่งอาหารของแมลง ศัตรูธรรมชาติ (Ecological Engineering: EE) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถใช้ในการป้องกันและควบคุมแมลง ศัตรูข้าว และลดการใช้สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูข้าว แนวคิดเรื่องการจัดการระบบนิเวศน์ในนาข้าวได้มีการ ประยุกต์ใช้ในหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย เพื่อการผลิตข้าวอย่างยั่งยืนโดยวิธีทางนิเวศวิศวกรรม วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อหารูปแบบการจัดการระบบนิเวศในพื้นที่ปลูกข้าวนาชลประทานในการ ควบคุมแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญ ไม่ให้ทำความเสียหายแก่ผลผลิตข้าว และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย ดำเนินการทดสอบเทคโนโลยีตามวิธีการทดลองในแปลงนาเกษตรกร ในฤดูนาปี 2563/64 กลุ่มนาแปลง ใหญ่บ้านบางไก่เถื่อน หมู่ที่ 3 ตำบลตลุก อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท จำนวน 4 กรรมวิธีๆ ละ 4 แปลง ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 ระบบการจัดการแปลงนาตามคำแนะนำของกรมการข้าว (ปลูกปอเทืองและไม่มีการใช้ สารเคมีกำจัดแมลง) กรรมวิธีที่ 2 ระบบการจัดการแปลงนาตามคำแนะนำของกรมการข้าว (ปลูกปอเทือง ไมม่ กี ารใชส้ ารเคมีกำจัดแมลงและมีการใช้สารชีวภณั ฑ์กำจัดแมลงตามคำแนะนำของกรมการข้าว) กรรมวิธี ที่ 3 ระบบการจัดการแปลงนาตามการปฏิบัติโดยการตัดสินใจของเกษตรกร (เกษตรกรปลูกดาวเรือง) กรรมวิธีที่ 4 ไม่มีระบบการจัดการแปลงนาตามการปฏิบัติโดยการตัดสินใจของเกษตรกรทั่วไป (ปลูกข้าว อย่างเดยี ว ไม่มพี ืชอ่ืนรว่ ม) สมุ่ นบั แมลงศัตรูข้าวและแมลงศัตรธู รรมชาติด้วยตาเปล่าและใช้เคร่ืองดูดแมลง เก็บข้อมูลในระยะกล้า แตกกอ ตั้งท้อง น้ำนม ในนาข้าวและบนคันนา ผลการทดลองพบว่าค่าดัชนีความ หลากหลายทางชีวภาพของอาร์โทรปอตในนาข้าวและบนคันนาในกรรมวิธีที่ 1 มีดัชนีของกลุ่มตัวเบียนสูง ที่สุด กลุ่มตัวห้ำในนาข้าวพบว่ากรรมวิธีที่ 2 มีค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H) สูงที่สุดในระยะตัง้ ท้องและน้ำนม นอกจากนี้ในระยะกล้าของกรรมวิธีที่ 1 และ 2 มีความหลากหลายของศัตรูข้าวและศัตรู ธรรมชาติในนาข้าวสูงท่ีสุด ส่วนในพืชร่วมระบบบนคันนา พบว่ากรรมวิธีที่ 1 และ 4 เป็นกรรมวิธีทีม่ ีความ หลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มศัตรูธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นจึงได้คัดเลือกกรรมวิธีที่ 1 เพื่อทดสอบการ ยอมรับเทคโนโลยกี ารบริหารจัดการแมลงศัตรูขา้ วด้วยการจดั การระบบนิเวศวศิ วกรรมของเกษตรกรต่อไป คำสำคญั : นิเวศวิศวกรรม แมลงศัตรขู า้ ว จังหวดั ชยั นาท การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย กล่มุ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

378 การใชส้ ารปอ้ งกนั กำจัดศตั รูพืชในข้าวหมักและขา้ วสด สำหรบั การผลติ ข้าวทัง้ ตน้ เพ่อื เป็นอาหารสตั ว์เคีย้ วเอื้อง The Use of Pesticides on Fermented and Fresh Rice for Ruminant Feed ชณนิ พัฒน์ ทองรอด1) ชัยรัตน์ จนั ทร์หนู1) ดวงกมล บญุ ช่วย1) Chaninphat Thongrod1) Chairat Channoo1) Duangkamon Boonchuay1) ABSTRACT This research aimed to study the pesticide residues in fermented and fresh rice for ruminant feed production. In this experiment, three iterations of 5x3+1 factorial in RCB were planned. The first factor was ten rice pesticides, namely carbosulfan, fipronil, etofenprox, indoxacarb, chlorantraniliprole, tricyclazole, hexaconazole, trifloxystrobin+ tebuconazole, propineb, and epoxiconazole. The second factor was timing, three phases of use were chemical spraying before harvesting at 7, 14 and 21 days compared to the control method (no spraying). After harvesting, fresh whole stalks and fermented rice for 21 days were taken for pesticide residue analysis. For the insecticides, the results are as followed. The experiments on fresh rice showed that when spraying carbosulfan seven days before harvesting, the pesticide residues exceeded the maximum residue limits (MRLs). Chlorantraniliprole 7 days and 14 days before harvesting, it was found that the pesticide residues exceeded the MRLs. When fipronil, etofenprox, and indoxacarb were sprayed, the pesticide residues exceeded the MRLs during all periods of chemical use. For the fungicides, the results are as followed. Spraying trifloxystrobin + tebuconazole 7 days before harvesting, the toxic values exceeded the MRLs. The pesticide residues exceeded the MRLs when sprayed with propineb at 7 and 21 days before harvest. The pesticide residues exceeded the MRLs at all stages of use when sprayed with tricyclazol, hexaconazole, and epoxyconazole. Therefore, the use of pesticides should be sprayed 21 days before harvesting. Most of the fermented rice showed fewer residues than the whole fresh rice. Therefore, fermented rice is safer to use as a ruminant feed than whole grain. Keywords: pesticide, whole rice, feed, ruminant, pesticide residue ______________________________________________________________________________ 1 ศนู ย์วจิ ัยข้าวชัยนาท อ.เมืองชยั นาท จ.ชยั นาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9771 Chai Nat Rice Research Center, Mueang, Chai Nat 17000 Tel. 0-5601-9771 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลุม่ ศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

379 บทคดั ย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริมาณของสารพิษตกค้างในการใช้สารกำจัดศัตรูพืชของข้าว หมักและข้าวสด เพื่อนำข้าวทั้งต้นไปผลิตเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง วางแผนการทดลองแบบ 5x3+1 factorial in RCB จำนวน 3 ซ้ำ ปัจจัยที่ 1 สารป้องกันกำจัดศัตรูข้าว 10 ชนิด ได้แก่ คาร์โบซัลแฟน ฟิโพรนลิ อีโทเฟนพรอกซ์ อนิ ดอกซาคาร์บ คลอแรนทรานลิ โิ พรล ไตรไซคลาโซล เฮกซะโคนาโซล ไตรฟลอกซีสโตรบิน + ทีบโู คนาโซล โพรพเิ นบ อพี อกซโี คนาโซล ปัจจยั ท่ี 2 ระยะเวลาการใช้ 3 ระยะ ได้แก่ พน่ สารก่อนเก็บเกี่ยว 7 14 และ 21 วัน เปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม (ไม่พ่นสาร) หลังเก็บเกี่ยวนำข้าวสดทั้งตน้ และข้าวหมัก 21 วัน ไปตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง จากการทดลองในข้าวสด พบว่า สารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูข้าว คาร์โบซัลแฟน ปริมาณสารพิษตกค้างเกินค่าปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด (maximum residue limits; MRLs) เมอื่ พน่ ก่อนเก็บเก่ียว 7 วนั คลอแรนทรานิลิโพรลเกนิ ค่า MRLs เมอื่ พ่นก่อนเก็บเกย่ี ว 7 วนั และ 14 วนั ส่วนฟิโพรนิล อีโทเฟนพรอกซ์ อินดอกซาคาร์บ เกินค่า MRLs ทุกระยะ สารป้องกันกำจัดโรคข้าว ไตรฟลอกซีสโตรบนิ + ทีบโู คนาโซล เกินคา่ MRLs เม่อื พ่นกอ่ นเกบ็ เกี่ยว 7 วัน สว่ นโพรพเิ นบ เกนิ ค่า MRLs เมื่อพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 7 และ 21 วัน ไตรไซคลาโซล เฮกซะโคนาโซล และอีพอกซีโคนาโซล เกินค่า MRLs ทุกระยะดังนั้น การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชควรพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 21 วัน ในข้าวหมักส่วนใหญ่พบสาร ตกค้างน้อยกวา่ ในข้าวสดท้ังตน้ จงึ มคี วามปลอดภัยท่ีจะใชเ้ ป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอือ้ งมากกวา่ คำสำคัญ: สารป้องกนั กำจัดศัตรขู ้าว ข้าวทง้ั ตน้ อาหารสตั ว์ สัตว์เค้ยี วเออ้ื ง สารพิษตกค้าง การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

380 ประสทิ ธภิ าพสารป้องกันกำจัดเช้ือราต่อการควบคุมโรคกล้าเน่าในกระบะเพาะกลา้ ข้าว Efficacy of Fungicides for Controlling Rice Seedling Rot Disease ดวงกมล บุญช่วย1) ชณนิ พัฒน์ ทองรอด1) จิราพร แจง้ ประดษิ ฐ์1) วนั พร เข็มมกุ ด์2) Duangkamon Boonchuay1) Chaninphat Thongrod1) Jiraporn Jaengpradit1) Wanporn Khemmuk2) ABSTRACT Rice cultivation with a seedling transplanting machine is often destroyed by pathogenic fungi such as Curvularia lunata, Bipolaris oryzae, and Fusarium spp. The rice seedlings are infected with fungi causing abnormal seedlings such as stunted or tall thin stems, pale yellow leaves, rotten seedlings at the base, roots, or whole plant rot. This leads to the infected seedlings being unsuitable for transplanting. This research aimed to screen effective fungicides registered by the Department of Agriculture and select the proper methods for controlling rice seedling rot disease. Initially, twenty fungicides were tested to inhibit fungal growth causing seedling rot disease, including B. oryzae, C. lunata, F. semitectum, and F. fujikoroi, in laboratory conditions using poisoned food technique on potato dextrose agar and selected the effective fungicide, which had inhibition of mycelial growth of more than 80% and a broad spectrum of activity against pathogenic fungi. Additionally, it did not affect the laboratory's seed germination and seedling growth. Then, the efficacy of fungicides to control seedling rot disease of RD41rice variety (fungus-infected seed) was evaluated under greenhouse conditions. The results found that the soaking seeds with epoxiconazole 7.5% W/V EC, flusilazole 40 % W/V EC and soaking or spraying seeds with mancozeb+metalaxly-M 68% WG showed the high effective disease control and did not show statistically different. Followed by soaking seeds with tebuconazole 25% W/V EW and soaking seeds with azoxystrobin+ tebuconazole 12%+20%. W/V SC, respectively and significantly different from the control (water), which had the highest disease incidence (68.07%). These fungicides were able to reduce disease incidence by 57.60-77.70% Keywords: rice seedling rot disease, fungicides, fungi, rice seedling tray ______________________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ ิจัยข้าวชัยนาท อ.เมืองชัยนาท จ.ชัยนาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9771 Chai Nat Rice Research Center, Mueang, Chai Nat 17000. Tel. 0-5601-9771 2) กองวจิ ัยและพัฒนาข้าว กรมการขา้ ว 2177 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กทม. 10900 โทรศัพท์ 0-2579-7892 Division of rice research and development, Rice Department. 2177, Phaholyothin Road, Ladyao, Chatuchak, Bangkok, 10900 Tel. 0-2579-7892 การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

381 บทคัดย่อ การปลูกข้าวโดยวิธีปักดำด้วยเครื่อง ในเขตชลประทานภาคกลางและภาคเหนือของประเทศไทย มักประสบปัญหาโรคกล้าเน่าที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น Curvularia lunata, Bipolaris oryzae และ Fusarium spp. เป็นต้น ต้นกล้าข้าวที่ถูกเชื้อราเข้าทำลายจะแสดงการเจริญเติบโตที่ผิดปกติ เช่น ต้นเตี้ย แคระแกรน หรือลำต้นผอมสูง ลำต้นสีเหลืองซีด ต้นกล้าข้าวเน่าบริเวณโคนต้น ราก หรือเน่าทั้งต้น ซึ่งไม่ เหมาะสมท่ีจะนำไปเปน็ ต้นกล้าสำหรับปักดำ การวิจยั นี้มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื คัดเลือกสารป้องกนั กำจัดเชื้อราที่ ข้นึ ทะเบียนวตั ถุอันตรายกับกรมวิชาการเกษตร ท่ีมีประสิทธภิ าพและวิธกี ารใชท้ ่เี หมาะสมในการควบคุมโรค กล้าเน่าในกระบะเพาะกล้าข้าว โดยนำสารป้องกนั กำจัดเช้ือรา 20 ชนิด มาทดสอบการยับย้ังเช้ือราสาเหตุ โรคกล้าเน่า ได้แก่ เช้อื รา B. oryzae, C. lunata, F. semitectum. และ F. fujikoroi ในสภาพห้องปฏิบัตกิ าร ดว้ ยวิธี poison food technique บนอาหาร potato dextrose agar คัดเลอื กสารท่ีมปี ระสิทธิภาพยับย้ัง การเจริญเติบโตของเสน้ ใยเช้ือรามากกว่า 80 เปอร์เซน็ ต์ และยับยัง้ เชื้อราสาเหตุโรคได้หลายชนดิ รวมท้ังไม่ มีผลกระทบต่อความงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าในห้องปฏิบัติการ จากนั้นนำมาทดสอบการ ควบคุมโรคกล้าเน่าในข้าวพันธุ์กข41 (ที่มีเชื้อราติดมากับเมล็ดพันธุ์) ในสภาพโรงเรือนทดลอง จากการ ทดลอง พบว่า การแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยสาร epoxiconazole 7.5 เปอร์เซ็นต์ W/V EC, flusilazole 40 เปอร์เซ็นต์ W/V EC และการแช่ mancozeb+metalaxly-M 68 เปอร์เซ็นต์ WG มีประสิทธิภาพในการ ควบคุมโรคกล้าเน่าดีที่สุดไม่แตกต่างกันทางสถิติ รองลงมา ได้แก่ การแช่หรือพ่นสาร tebuconazole 25 เปอร์เซ็นต์ W/V EW และการแช่สาร azoxystrobin + tebuconazole 12เปอร์เซ็นต์ + 20 เปอร์เซ็นต์ W/V SC ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับกรรมวิธีเปรียบเทียบ (น้ำ) ที่แสดงการเกิด โรคสูงสดุ (68.07 เปอรเ์ ซน็ ต)์ สารที่มปี ระสทิ ธิภาพดังกล่าวสามารถลดการเกดิ โรคกล้าเน่าได้ 57.60-77.70 เปอรเ์ ซ็นต์ คำสำคัญ: โรคกล้าเนา่ สารป้องกนั กำจัดเชื้อรา เชื้อรา กระบะเพาะกล้าขา้ ว การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

382 ประสทิ ธภิ าพของเชือ้ รา Trichoderma sp. TEPCNT002 และ TCNT003 ตอ่ การควบคุม โรคไหมใ้ นข้าวพนั ธุป์ ทุมธานี 1 Efficiency of Trichoderma sp. TEPCNT002 and TCNT003 in Controlling the Rice Blast Disease in Pathum Thani 1 Variety ดวงกมล บุญช่วย1) ชณินพัฒน์ ทองรอด1) และสภุ าพร บรรทึก1) Duangkamon Boonchuay1) Chaninphat Thongrod1) Supaporn Buntuk1) ABSTRACT Rice blast disease caused by Pyricularia oryzae is one of the most destructive rice diseases and occurs in all regions of Thailand. Trichoderma spp. is an effective antagonistic microorganism for controlling this rice disease. The objective of this research was to evaluate the efficiency of Trichoderma sp. (TEPCNT002 and TCNT003, Rice Department strains) for controlling rice blast disease. Trichoderma sp. was tested by spraying the spore suspension on the leaves of Pathum Thani 1 variety (age 30 days) and compared with t he Department of Agricultural Extension (DOAE) strain and Tricyclazole 75%WP. Field experiments were conducted on t wo plots at Chai Nat Rice Research Center (CNTRRC) and one on the farmer's field in Suphanburi province (hot spot area). A Randomized Complete Block design (RCBD) with five treatments and f our replications was used. Disease incidence and severity were evaluated according to t he standard evaluation system for rice (SES; IRRI, 2013) one day before spraying and every seven days after spraying until 72 days. In the trials at CNTRRC, both experimental fields found that TEPCNT002 and TCNT003 had a lower percentage of disease incidence and severity index than the control (sprayed water; disease incidence 23.80-24.62% and severity index 8.44-9.86%) and were not statistically different from the DOAE strain and tricyclazole. In Suphanburi province, it was found that tricyclazole and Trichoderma sp. had a lower percentage of disease incidence and severity index than the control (disease incidence 29.49% and severity index 17.31%). Tricyclazole showed the lowest disease incidence and severity index. The efficacy of TEPCNT002 and TCNT003 in disease control was not statistically different compared with DOAE strains. TEPCNT002 and TCNT003 effectively controlled rice blast disease and could reduce disease incidence by 18.65-48.01% and severity index 40.03-46.75%. Keywords: rice, blast disease, Pyricularia oryzae Trichoderma sp., biocontrol _________________________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วจิ ัยข้าวชัยนาท อ.เมืองชัยนาท จ.ชยั นาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9771 Chai Nat Rice Research Center, Mueang, Chai Nat 17000. Tel. 0-5601-9771 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ัย กลุม่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

383 บทคัดย่อ โรคไหม้ (blast disease) สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pyricularia oryzae จัดเป็นหนึ่งในโรคข้าวที่ทำ ความเสียหายมากที่สุดและพบการระบาดทุกภาคของประเทศไทย เชื้อรา Trichoderma spp. เป็น เชอื้ จุลนิ ทรยี ป์ ฏิปักษ์ที่มปี ระสทิ ธิภาพในการควบคุมโรคไหมโ้ ดยชีววิธี งานวิจยั น้มี ีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือประเมิน ประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma sp. TEPCNT002 และ TCNT003 (สายพันธุ์กรมการข้าว) ต่อการ ควบคุมโรคไหม้ ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma sp. โดยวิธีการพ่นสปอร์แขวนลอย ลงบน ใบข้าวพันธุ์ปทมุ ธานี 1 อายุ 30 วนั เปรยี บเทียบกับสายพนั ธุ์กรมสง่ เสริมการเกษตร และสารไตรไซคลาโซล (Tricyclazole) 75%WP ในสภาพแปลงนาทดลองศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท จำนวน 2 แปลง และแปลงนา เกษตรกรจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 1 แปลง (พื้นที่ที่มีระบาดอยู่เป็นประจำ/รุนแรง) โดยวางแผนการ ทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) 5 กรรมวิธี 4 ซ้ำ ประเมินการเกิดโรคและความ รุนแรงของโรคไหม้ตาม standard evaluation system for rice (SES; IRRI, 2013) ก่อนพ่นสาร 1 วัน และหลังพ่นสาร ทุก 7 วันจนกระทั่งข้าวอายุ 72 วัน นำมาวิเคราะห์ค่าดชั นีความรุนแรงของโรค (severity Index) จากการทดลอง ณ แปลงนาทดลองศวข.ชัยนาท ท้ัง 2 แปลง พบวา่ กรรมวิธพี น่ TEPCNT002 และ TCNT003 แสดงเปอรเ์ ซน็ ต์การเกดิ โรค และดัชนคี วามรุนแรงของโรคไหมต้ ่ำกว่ากรรมวิธีเปรียบเทียบ (พ่น นำ้ ; การเกดิ โรค 23.80-24.62 เปอร์เซ็นต์ และดชั นคี วามรนุ แรง 8.44-9.86 เปอรเ์ ซ็นต์) ซ่งึ ประสทิ ธิภาพใน การควบคุมโรคไมแ่ ตกต่างกันทางสถิตกิ ับสายพนั ธุก์ รมสง่ เสริมการเกษตร และสารไตรไซคลาโซล แปลงนา เกษตรกรจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า กรรมวธิ ีพ่นสารไตรไซคลาโซล และ Trichoderma sp. แสดงเปอร์เซน็ ต์ การเกดิ โรค และดัชนีความรุนแรงของโรคต่ำกว่ากรรมวธิ ีเปรียบเทยี บ (การเกดิ โรค 29.49 เปอรเ์ ซ็นต์ และ ดัชนีความรุนแรง 17.31 เปอร์เซ็นต์) การพ่นสารไตรไซคาโซล แสดงเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคและดัชนีความ รุนแรงต่ำสุด การพ่น TEPCNT002 และ TCNT003 มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่แตกต่างกันทาง สถิติกับสายพันธุ์กรมส่งเสริมการเกษตร TEPCNT002 และ TCNT003 มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรค ไหม้ โดยสามารถลดการเกิดโรคได้ 18.65-48.01 เปอร์เซ็นต์ และลดดัชนีความรุนแรงของโรคได้ 40.03- 46.75 เปอร์เซ็นต์ คำสำคัญ: ข้าว โรคไหม้ ไพริคูลาเรยี ออไรเซ่ ไตรโคเดอร์มา การควบคุมโดยชวี วธิ ี การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจัย กล่มุ ศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

384 คณุ ภาพและความหอมของข้าวหอมมะลิตามระดบั ความเหมาะสมของดินในพนื้ ที่ภาคเหนือ The Quality of Jasmine Rice under Soil Suitability Level in the North Region พิชชาทร เรืองเดช1) กฤษณา สุดทะสาร2) วราภรณ์ วงษ์บญุ 2) เฉลิมชัย กล้าณรงคช์ ูสกลุ 1) สุรศักด์ิ ฐานไท้1) Pichatorn Ruangdej1) Grissana Sudtasan2) Waraporn Wongboon2) Chalearmchai Klarnarongchooskul1) Surasak Tanrtai1) ABSTRACT This research is part of the research and development project to improve productivity and maintain the quality of Thai Jasmine rice. This is a survey of quality and aroma of jasmine rice according to the appropriate level of planting area by sub-district specifying rice sampling area from the map by Agri-Map analytic. In this research, Chiang Mai Rice Research Center is responsible for 2 provinces as Chiang Mai province and Lampang province. The objective of this study was to classified aromatic level of jasmine rice under different environmental factors. The samples were collected from farmers who grew jasmine rice by interviewing method and sampled soil fertility, nutrients, soil structure, fertilizer manage in rice fields as well as the management of rice after harvesting. By wet season 2019 - 2020 in 183 samples, it was found that 57% of jasmine rice farmers were members belonged to groups of large agricultural land-plot, organic farming system 12% and general farmers 31%. The area suitable for planting S1 level rice 48%, the yield average between 400-1,000 kg per rai, measuring fragrant from rice 2AP was between 1.86-6.92 ppm. As for the soil suitability at S2 level 25%, the yield average is between 400-950 kg per rai, measuring fragrant from rice 2AP was ranged from 1.31-5.40 ppm. The soil suitability of S3 level was 21%. The yield average was between 350-800 kg per rai, measuring fragrant from jasmine rice 2AP was between 1.32-5.33 ppm. and the area is not suitable N level is 6%, the average yield of rice is between 250-600 kg per rai, aromatic values of jasmine rice 2AP ranged from 2.01-4.20 ppm. The farmer 85% was conducted transplanting rice method and the farmers who grow rice using the drip irrigation _________________________________________________________________________________________ 1) ศนู ย์วิจยั ข้าวเชยี งใหม่ อ.สนั ปา่ ตอง จ.เชียงใหม่ 50120 โทรศพั ท์ 0-5331-1334 Chiang Mai Rice Research Center, San Pa Tong, Chiang Mai, 50120 Tel. 0-5331-1334 2) ศูนย์วจิ ัยขา้ วอุบลราชธานี อ.เมอื งอบุ ลราชธานี จ.อบุ ลราชธานี 34000 โทรศพั ท์ 0-4334-4103 Ubon Ratchathani Rice Research Center, Mueang Ubon Ratchathani, Ubon Ratchathani, 93000 Tel. 0-4334-4103 การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กล่มุ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

385 process 8%, wet-seeded broadcasting method 6% and parachute rice planting method 2%. Most of the rice planting area is sandy loam soil and sandy clay loam. The maximum planting area per person is 2 2 rai and in the yield of rice after harvesting is sold to agricultural cooperatives that the farmers were members. The farmers were area between 1 – 2 rai harvested by hand and were for household consumption. This research will be a guideline to develop quality jasmine rice production in the northern region and require various technologies adapting to suitable area. Keywords: Jasmine rice, fragrant, northern บทคัดยอ่ งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับผลผลิตและรักษาคุณภาพข้าวหอม มะลิไทย ซึ่งเป็นการสำรวจคุณภาพและความหอมของข้าวหอมมะลิตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ปลูก โดยกำหนดการเก็บตัวอย่างข้าวหอมมะลิจากแผนที่ปลูกรายตำบล จำแนกตามระดับความเหมาะสมในการ ปลูก ซึ่งงานวิจัยนี้ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่รับผิดชอบ 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความหอมของข้าวหอมมะลิภายใต้ปัจจัยแวดล้อมที่ต่างกัน โดยเก็บตัวอย่างจาก เกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิด้วยวิธีสัมภาษณ์และเก็บตัวอย่างความอุดมสมบูรณ์ของดิน ธาตุอาหาร โครงสร้างของดิน การใชป้ ุ๋ยในนาข้าว ตลอดจนการจัดการข้าวหลังเก็บเก่ียว ในฤดูนาปี 2562 จำนวน 95 ราย และฤดูนาปี 2563 จำนวน 88 ราย พบว่า เกษตรกรผู้ข้าวหอมมะลิ ร้อยละ 57 เป็นสมาชิกในโครงการระบบ ส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ ปลูกในระบบเกษตรอนิ ทรีย์ร้อยละ 12 และเกษตรกรท่ัวไปร้อยละ 31 ท้ังนี้เป็น พื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกข้าวระดับ S1 ร้อยละ 48 ผลผลิตอยู่ระหว่าง 400 - 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่า ความหอมข้าวมะลิ 2AP อยู่ระหว่าง 1.86 - 6.92 ppm ส่วนพื้นที่ความเหมาะสมของดินในระดับ S2 ร้อยละ 25 ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 400 - 950 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่าความหอมข้าวมะลิ 2AP อยู่ระหว่าง 1.31 - 5.40 ppm ความเหมาะสมของดนิ ระดับ S3 มีจำนวนร้อยละ 21 ผลผลิตอย่รู ะหว่าง 350 - 800 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่า ความหอมของข้าวมะลิ 2AP อยู่ระหว่าง 1.32 - 5.33 ppm และเป็นพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม N ร้อยละ 6 ผลผลิต เฉลี่ยข้าวอยู่ระหว่าง 250 - 600 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่าความหอมข้าวมะลิ 2AP อยู่ระหว่าง 2.01 - 4.20 ppm เกษตรกรปลูกข้าวหอมมะลโิ ดยวิธปี ักดำร้อยละ 85 ปลกู ด้วยวธิ ีหยอดข้าวแห้งร้อยละ 8 วธิ ีหวา่ นน้ำตมร้อยละ 6 และโยนกล้าร้อยละ 2 พื้นที่ปลูกข้าวส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย พื้นที่ปลูกต่อรายสูงสุดคือ 22 ไร่ ส่วน ใหญ่เกี่ยวสดส่งขายสหกรณ์การเกษตรที่เป็นสมาชิกหรือลูกไร่อยู่ เกษตรกรที่มีพื้นที่ 1 - 2 ไร่ จะเกี่ยวด้วยมือ และเก็บข้าวไว้กินเอง งานวิจัยนี้จะเป็นแนวทางที่จะพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิในพื้นที่ภาคเหนือให้มี คุณภาพ และนำเทคโนโลยีตา่ งๆ มาปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกับพนื้ ท่ีต่อไป คำสำคัญ: ขา้ วหอมมะลิ, ความหอม, ภาคเหนอื การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

386 การใส่ปุ๋ยชีวภาพ และปยุ๋ เคมี เพ่อื ยกระดับผลผลติ ขา้ วนาขั้นบันได Investigate on Optimized of Bio-fertilizer, Chemical Fertilizer to Enhanced Rice Terraces Productivity. อภิวัฒน์ หาญธนพงศ์1) Apiwat Hantanapong1) ABSTRACT Chemical fertilizing combination bio-fertilizer is one choice to enhanced rice terraces productivity, by conduct an experiment at Yung Mern village, Samoeng district, Chiang Mai province. In rainy season 2021 using Sanpatong 1 rice variety, found that chemical fertilizing follow soil analysis value give rice yield the most 317 kg per rai and non-different with bio- fertilizer mixing seed combination chemical fertilizing follow half soil analysis value method, Bio-fertilizer PGPR mixing seed combination phosphate solubilizing bio-fertilizer combination with chemical fertilizer half soil analysis value method and phosphate solubilizing bio- fertilizer combination with chemical fertilizer half soil analysis value method give rice yield respectively 300, 300 and 296 kg per rai, respectively. But different with non- bio-fertilizer and chemical fertilizer has rice yield 215 kg per rai. So that bio- fertilizer mixing seed combination chemical fertilizing follow half soil analysis value method is interesting method for enhanced rice terraces productivity and chemical fertilizing reduction result cost reduction rice terraces productive. Keywords: rice terraces, bio-fertilizer, chemical fertilizer ______________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วจิ ยั ข้าวเชยี งใหม่ อ.สนั ปา่ ตอง จ.เชียงใหม่ 50120 โทรศพั ท์ 0-5331-1334 Chiang Mai Rice Research Center, Sanpatong, Chiang Mai 50120 Tel. 0-5331-1334 การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลุ่มศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

387 บทคัดยอ่ การใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพในนาขั้นบันได เป็นทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตข้าวนาที่สูง โดยดำเนินการทดลองท่ีบ้านย้ังเมิน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชยี งใหม่ ในฤดูนาปี 2564 ใช้ข้าวพันธุ์สันปา่ ตอง 1พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินให้ผลผลิตข้าวมากที่สุด 317 กิโลกรัมต่อไร่ และไม่แตกต่างสถิติ กับกรรมวิธีคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ข้าวร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งของอัตราค่าวิเคราะห์ดิน กรรมวิธีคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ข้าวร่วมกับปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต และการใส่ ปุ๋ยเคมีครึ่งของอัตราค่าวิเคราะห์ดิน และกรรมวิธีคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งของอัตราค่าวิเคราะห์ดิน ให้ผลผลิตข้าว 300 300 296 กิโลกรัมต่อไร่ตามลำดับ แต่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยเคมีที่มีผลผลิตข้าว 215 กิโลกรัมต่อไร่ ดังนั้น การ คลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพร่วมกับการใส่ปุย๋ เคมีครึง่ หนึ่งของอัตราค่าวิเคราะห์ดิน จึงเป็นกรรมวิธีที่น่าสนใจ สำหรบั การเพ่ิมผลผลิตข้าวและลดการใช้ปยุ๋ เคมสี ง่ ผลใหส้ ามารถลดต้นทุนการผลติ ข้าวบนพนื้ ทส่ี งู คำสำคญั : นาขนั้ บันได ปุย๋ ชีวภาพ ปุ๋ยเคมี การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลุ่มศนู ย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

388 การใชป้ ยุ๋ ชีวภาพร่วมกับสารปรบั ปรงุ ดนิ เพือ่ ยกระดับผลผลิตข้าวไรบ่ นพน้ื ทสี่ ูง อำเภอแม่แตง จงั หวดั เชยี งใหม่ Apply Biofertilizer and Soil Conditioner for Increased Yield Upland Rice at Mae Taeng District, Chaing Mai Province สมุ าลี มปี ัญญา1) วิทยา อนิ ถานนั 1) เอรินทร์ พะนะ1) Sumalee Meepanya1) Wittaya Intranan1) Arin Pana1) ABSTRACT Currently, upland rice cultivation has changed from the past. The farmers began to use more chemical resulted to soil fertility and higher production costs. The project technology development to increase upland rice yield on highland for food security. The objectives were to raise high rice and reduce production costs. In wet season 2020 and 2021, the experiment was conducted in farmer’s field at Mae Taeng district, Chiang Mai province by applied bio-fertilizers with soil conditioner in upland rice variety (Cha-na-toi). The design was randomized complete block with three replications. The results of both seasons showed consistent. Analysis of yield indicated that the chemical fertilizer application according to soil analysis was the most yield and high valuable return, followed by mixing the seed with phosphate solubilizing bio-fertilizer + rock phosphate treatment. In the 2020 season, yield were 467 and 395 kg per rai, respectively, while the control 299 kg per rai significant and valuable return were 2,787, 705 and 432 baht per rai, respectively. While, in the 2021 season yield were not significant 617, 613 and 480 kg per rai, respectively, and valuable return were 3,826, 2,588 and 2,428 baht per rai, respectively. Therefore, the both method, are alternative to increase yield and reduce costs in upland rice. Keywords: bio-fertilizer, soil conditioner, upland rice ______________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วจิ ยั ขา้ วสะเมิง อ.สะเมงิ จ.เชยี งใหม่ 50250 โทรศัพท์ 0-5337-8094 Samoeng Rice Research Center, Samoeng, Chiang Mai 50250 Tel. 0-5337-8094 การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

389 บทคดั ยอ่ ปัจจุบันการปลูกข้าวไร่เปลี่ยนไปจากอดีต เกษตรกรบนพื้นที่สูงเริ่มใช้สารเคมีในการผลิตมากขึ้น ส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน และทำให้ต้นทุนการผลิตสูงข้ึน การดำเนินงานโครงการพัฒนาเทคโนโลยี การเพิ่มผลผลิตข้าวที่สูง เพื่อความมั่นคงทางอาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับผลผลิตข้าวที่สูง และลด ต้นทุนการผลิต ได้ดำเนินการทดสอบที่แปลงเกษตรกรอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ฤดูปี 2563 และ 2564 โดยทดสอบใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับสารปรับปรุงดิน ในข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง (จะนะตอย) วางแผนการ ทดลองแบบ บล็อคสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 3 ซ้ำ พบว่า ผลการทดสอบทั้ง 2 ฤดูให้ผลการทดสอบสอดคลอ้ งไป ในทิศทางเดียวกัน โดยฤดูนาปี 2563 ผลผลิตมีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ กรรมวิธีการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ได้ผลผลิตสูงสุด รองลงมาคือ การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพ จุลินทรยี ล์ ะลายฟอสเฟตรว่ มกับหนิ ฟอสเฟต ซง่ึ ได้ผลผลิต 467 และ 395 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ตามลำดับ ในขณะ ท่ี แปลงควบคมุ ไดผ้ ลผลิต 299 กิโลกรมั ต่อไร่ ผลตอบแทน คือ 2,787 705 และ 432 บาทต่อไร่ ตามลำดับ ฤดูนาปี 2564 ผลผลิตข้าวไม่มีความแตกต่างทางสถิติ คือ 617 613 และ 480 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ และได้ผลตอบแทนเท่ากับ 3,826 2,588 และ 2,428 บาทต่อไร่ ตามลำดับ ดังนั้น การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่า วิเคราะห์ดิน และการใส่ปุ๋ยชีวภาพจลุ ินทรีย์ละลายฟอสเฟตร่วมกับหินฟอสเฟต ในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่ สงู สามารถเปน็ เปน็ แนวทางเพมิ่ ผลผลิตและลดตน้ ทุนได้ คำสำคัญ: ปุ๋ยชวี ภาพ สารปรบั ปรงุ ดิน ข้าวไร่ การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ัย กลมุ่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

390 ศกั ยภาพการให้ผลผลติ ข้าวพันธ์ขุ าวดอกมะลิ 105 ทปี่ ลกู ในพื้นทช่ี ุดดนิ แม่รมิ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน Potentials of Khao Dok Mali 105 Production Grown in Mae Rim Soil Series Area, Mae Hong Son Province ฐปรัฏฐ์ สีลอยอนุ่ แก้ว1) Taparat Seeloy-ounkaew1) ABSTRACT Khao Dok Mali 105 rice variety (KDML105) is popularly cultivated in the Mae Rim soil series as Mae Hong Son Province. It is a variety that is in demand for consumption in the area. The study objective was potential of KDML105 production grown in Mae Rim soil series areas at Mae Hong Son province was conducted. The experiment was carried out using 10 plots of farmers for grown in-season rice cultivation of 2020. In each plot was divided into 3 management methods as (1) chemical fertilizer based on soil analysis, CFBSA (2) chemical fertilizer based on Rice Department recommendation, CFBRDR and (3) chemical fertilizer based on farmers, CFBF. The results found that, CFBSA was significantly affected on rice yield with other treatments, and CFBSA had highest yield as 715 kg per rai followed by CFBRDR and CFBF as 679 and 673 kg per rai, respectively. For yield component, CFBSA was significantly affected on number of tilling at 30, 60 and 90 days after planting but not for rice height. It effected on panicle length and weight of 1,000 grains but not for filled-grain rate per panicle. The CFBFDR and CFBF non-significant affected on rice yield and component, except on tree per m3, panicle length and weigh of 1,000 grains. Field management by CFBSA in Mae Rim soil series had maximum rice yield. Keywords: rice production, Mae Rim soil series, Mae Hong Son province ______________________________________________________________________________ 1) ศนู ย์วจิ ัยขา้ วแมฮ่ อ่ งสอน อ.ปางมะผา้ จ.แมฮ่ อ่ งสอน 58150 โทรศพั ท์ 0-5361-7144 Mae Hong Son Rice Research Center, Pang Mapha, Mae Hong Son 58150 Tel. 0-5361-7144 การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย กล่มุ ศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

391 บทคดั ย่อ ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกในพื้นที่ชุดดินแม่ริม จังหวัดแม่ฮ่องสอน และเป็น พันธุ์ที่มีความต้องการบริโภคในพื้นที่ วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ใน แปลงเกษตรกรที่ปลูกในพื้นที่ชุดดินแม่ริม จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 10 แปลง ในฤดูนาปี 2563 แต่ละ แปลงแบ่งออกเป็นแปลงย่อยตามการจัดการออกเป็น 3 กรรมวิธี คือ (1) การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดนิ (2) การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำของกรมการข้าว และ (3) ใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีของเกษตรกร พบว่า กรรมวิธีการใส่ ปุ๋ยตามค่าวเิ คราะหด์ ินใหผ้ ลผลิตขา้ วมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (P<0.05) กับกรรมวิธีอ่ืน โดยใหผ้ ลผลิตข้าวสูงสูด คือ 715 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รองลงมาคือ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำของกรมการข้าวและ กรรมวิธีของเกษตรกร คือ 679 และ 673 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ องค์ประกอบผลผลิตพบว่าการใส่ปุ๋ย ตามค่าวิเคราะห์ดินมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับจำนวนหน่อต่อกอเมื่อระยะเวลา 30 60 และ 90 วันหลังปักดำ แต่ไม่มีความแตกต่างด้านความสูงลำต้นในระยะเวลาดังกล่าว มีความแตกต่างของ ความยาวรวง และน้ำหนัก 1,000 เมล็ดแต่ไม่มีความแตกต่างของเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีต่อรวง กรรมวิธีการใส่ ปุ๋ยตามคำแนะนำของกรมการข้าว กับการใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีของเกษตรกรให้ผลผลิตข้าว และองค์ความ ผลผลิตไม่มีความแตกกันทางสถิติยกเว้นจำนวนต้นต่อตารางเมตร ความยาวรวงและน้ำหนัก 1,000 เมล็ด การจัดการแปลงโดยการใสป่ ๋ยุ ตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ ในพน้ื ท่ีชุดดินแมร่ มิ ใหผ้ ลผลิตข้าวสงู สุด คำสำคญั : ผลผลิตขา้ ว ชดุ ดนิ แม่ริม จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลุ่มศูนยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

392 ผลผลิตขา้ วและองค์ประกอบผลผลิตในแปลงสาธติ การผลิตเมลด็ พันธข์ุ า้ วไร่พน้ื เมือง ที่ปลกู ในแปลงเกษตรกรพื้นท่อี ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน Rice Yield and Yield Composition in Demonstration Plots of Upland Rice Seed Production Planted in Farmer Plots in Pang Mapha District, Mae Hong Son Province ฐปรัฏฐ์ สีลอยอ่นุ แกว้ 1) รตั นาภรณ์ ใจฟู1) Taparat Seeloy-ounkaew1) Rattanaporn Jaifu1) ABSTRACT Upland rice varieties that are popularly grown in the area of Pang Mapha district as Dor-Chiangdao and Jow Lisaw San-pah-tawng varieties. Farmers have a demand for seeds but they are not available in the area. In wet season of 2021, Mae Hong Son Rice Research Center conducts the work of created demonstration plots for native upland rice seed production (certified seed). The experiment was carried out using 2 farmer plots at Muangpam villege (site 1) Tumlod sub- districe and Maelana village (site 2) Pang Mapha sub-district, Pang Mapha district, Mae Hong Son province, each areas for 5 rai. It found that, site 1 planted Dor-Chiangdao rice variety. There were average number of hilling as 8.6+1.1 hill per m2, and the tiller number at 15, 30, 45, 60, 75 and 90 days after planting as 10.4+2.7, 13.0+2.1, 16.8+2.2, 18.4+2.7, 24.6+7.5 and 16.8+5.4 tiller per hill as well as average height as 15.6+4.8, 70.9+5.3, 98.2+5.5, 115.0+4.0, 123.6+6.3 and 151.7+5.9 cm, respectively. It had 89% for filled grain rate per panicle, and 28.8+12.9 g of 1,000 grain weight. The average yield of rice was 590.7+12.0 kg per rai. The yields had more than the Phong Kham and Ja Segue variety with a yield of 492 and 409 kg per rai, respectively. Site 2 planted rice variety as Jow Lisaw San-pah-tawng. There were average number of hilling as 9.2+0.8 hill per m2, and the tiller number at 15, 30, 45, 60, 75 and 90 days after planting as 7.4+1.1, 6.0+1.0, 6.2+1.3, 6.6+1.1, 7.6+2.1 and 7.4+1.1 tiller per hill as well as average height as 16.7+3.0, 56.7+5.0, 86.0+4.2, 99.1+5.2, 103.9+6.1 and 117.4+6.3 cm, respectively. It had 91% for filled grain rate per panicle, and 33.6+12.6 g of 1,000 grain weight. The average yield of rice was 137.9+7.0 kg per rai. The yield had less than those grown in the Mae Hong Son Rice Research Center area, yielding 189 kg per rai. In both sites had passed the rice seed standard of certified seed. Keywords: native upland rice seed, Dor-Chiangdao, Jow Lisaw San-pah-tawng, rice yield ________________________________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วจิ ัยข้าวแม่ฮอ่ งสอน อ.ปางมะผา้ จ.แมฮ่ อ่ งสอน 58150 โทรศพั ท์ 0-5361-7144 Mae Hong Son Rice Research Center, Pang Mapha, Mae Hong Son 58150 Tel. 0-5361-7144 การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลมุ่ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

393 บทคดั ย่อ พันธุ์ข้าวไร่ที่นิยมปลูกในพื้นที่อำเภอปางมะผ้า คือพันธุ์ดอเชียงดาวและเจ้าลีซอสันป่าตอง เกษตรกรมีความต้องการเมล็ดพันธุ์แต่ไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ ในฤดูนาปี 2564 ศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน ดำเนนิ การจัดทำแปลงเรยี นรู้และสาธิตการผลิตเมล็ดพันธข์ุ า้ วไร่พื้นเมอื ง ช้ันพนั ธ์จุ ำหน่ายในแปลงเกษตรกร 2 พน้ื ที่ คือ บ้านเมืองแพม (พื้นท่ี 1) ตำบลถ้ำลอด และบา้ นแมล่ ะนา (พื้นท่ี 2) ตำบลปางมะผา้ อำเภอปาง มะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ละ 5 ไร่ พบว่า พื้นที่ 1 ปลูกข้าวพันธุ์ดอเชียงดาว มีจำนวนกอเฉลี่ย 8.6+1.1 กอ/ตารางเมตร การแตกหน่อเมื่อ 15 30 45 60 75 และ 90 วันหลังหยอดเมล็ด จำนวน 10.4+2.7 13.0+2.1 16.8+2.2 18.4+2.7 24.6+7.5 และ 16.8+5.4 หนอ่ ตอ่ กอ และมีความสงู ลำต้นเฉลี่ย 15.6+4.8 70.9+5.3 98.2+5.5 115.0+4.0 123.6+6.3 และ 151.7+5.9 เซนติเมตร ตามลำดับ มีสัดส่วน เมล็ดดีต่อรวงร้อยละ 89 น้ำหนัก 1,000 เมล็ด คือ 28.8+12.9 กรัม ให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 590.7+12.0 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลติ มากกว่าพันธ์ุเฟืองคำ และจะซีกุย ที่ให้ผลผลิต 492 และ 409 กิโลกรัมต่อไร่ และ พื้นที่ 2 ปลกู ขา้ วพนั ธ์เุ จา้ ลีซอสนั ป่าตอง มจี ำนวนกอเฉล่ีย 9.2+0.8 กอตอ่ ตารางเมตร การแตกหน่อเมอื่ 15 30 45 60 75 และ 90 วันหลังหยอดเมล็ด จำนวน 7.4+1.1 6.0+1.0 6.2+1.3 6.6+1.1 7.6+2.1 และ 7.4+1.1 หน่อตอ่ กอ และมีความสงู ลำต้นเฉลี่ย 16.7+3.0 56.7+5.0 86.0+4.2 99.1+5.2 103.9+6.1 และ 117.4+6.3 เซนติเมตร ตามลำดับ มีสัดส่วนเมล็ดดตี ่อรวงรอ้ ยละ 81 น้ำหนัก 1,000 เมล็ด คือ 33.6+12.6 กรัม ให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 137.9+7.0 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตน้อยกว่าที่ปลูกในพื้นที่ศูนย์วิจัยข้าว แมฮ่ อ่ งสอน ท่ีให้ผลผลิต 189 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ผลการวเิ คราะห์ผ่านมาตรฐานเมลด็ พนั ธ์ุข้าว ชนั้ พันธ์ุจำหน่าย ท้ัง 2 แห่ง คำสำคญั : เมลด็ พนั ธ์ุข้าวไร่พื้นเมอื ง ข้าวพันธุด์ อเชยี งดาว ข้าวพันธเ์ุ จา้ ลีซอสันป่าตอง ผลผลติ ขา้ ว การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

394 การศึกษาการใชป้ ุ๋ยชวี ภาพร่วมกับปุ๋ยเคมเี พ่ือยกระดับผลผลติ ข้าวเหนยี ว Study on Integrated Use of Biofertilizers with Chemical Fertilizers to Raise Glutinous Rice Yields ชฎาพร อปุ นันท์1) สทุ ธกานต์ ใจกาวิล1) พิชญ์นันท์ กังแฮ1) Chadaporn Uppanun1) Suttakarn Jaikawin1) Pitchanan Kanghae1) ABSTRACT The study on integrated use of biofertilizers with chemical fertilizers to raise glutinous rice yields was under the project for the research and development of production technology for Thai glutinous rice. The objective was to raise the yield of glutinous rice for farmers in the upper northern region. The study was performed for two years in the wet seasons of 2020 and 2021 in a farmer field in Nong Muang Khai District, Phrae Province. The experimental was in a randomized complete block design with four replications. Treatments were as follows: 1) an application of PGPR-2 biofertilizers and 100% chemical fertilizers according to soil analysis results; 2) an application of PGPR-2 biofertilizers and 75% chemical fertilizers according to soil analysis results; 3) an application of PGPR-2 biofertilizers and 50% chemical fertilizers according to soil analysis results; 4) an application of chemical fertilizers according to soil analysis results; 5) an application of chemical fertilizers according to farmer’s preference. For the treatments where PGPR-2 biofertilizers were applied, rice seeds (8 kg per rai) were mixed with PGPR-2 biofertilizers at a rate of 0.5 kg per rai. San-pah-tawng 1 rice seeds were used in the study. Soil samples were collected before planting and after harvest for analyzes on macronutrients, soil pH and organic matter. Plant growth, rice yields, rice yield components and production costs in each process were recorded. The results showed that in the 2020 wet season, the treatment with PGPR-2 biofertilizers and 50% chemical fertilizer application according to soil analysis results had the highest yield, while In the 2021 wet season, the treatment with only chemical fertilizer application according to soil analysis results had the highest yield but was not different from the treatment with PGPR biofertilizers and 50% chemical fertilizer application according to soil analysis results. As for the production costs, the results showed the treatment with PGPR-2 biofertilizers and 50% chemical fertilizer _________________________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วิจยั ขา้ วแพร่ อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่ 54000 โทรศพั ท์ 0-5464-6033 Phrae Rice Research Center, Muang Phrae, Phrae 54000 Tel. 0-5464-6033 การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

395 application according to soil analysis results had the lowest production costs in that both seasons. However, when the costs and the income were compared, the treatment with PGPR- 2 biofertilizers and 50% chemical fertilizer application according to soil analysis results gave the highest profit in 2020, in contrast to the 2021 season where 100% chemical fertilizer application according to soil analysis results produced the highest profit. So, when the yields, the costs and the profits were taken into account, the use of PGPR-2 biofertilizers and 50% chemical fertilizer application according to soil analysis results should be promoted because it has a high profit margin and farmers can reduce the use of chemical fertilizers by 50%. Keywords: glutinous rice, biofertilizers, chemical fertilizers, rice yields บทคัดย่อ การศึกษาการใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อยกระดับผลผลิตข้าวเหนียว ภายใต้โครงการการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวเหนียวไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับผลผลิตข้าวเหนียวของเกษตรกรใน พื้นที่ภาคเหนือตอนบน ดำเนินการทดลองเป็นเวลา 2 ปี ในฤดูนาปี 2563 และ ฤดูนาปี 2564 ณ แปลง เกษตรกร อำเภอหนองม่วงไข่ จงั หวดั แพร่ วางแผนการทดลองแบบบลอ็ คสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 ซ้ำ 4 กรรมวิธี ได้แก่ 1) คลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามอัตราค่าวิเคราะห์ดิน 2) คลุกเมล็ดข้าว ด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 75 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราค่าวิเคราะห์ดิน 3) คลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ย ชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราค่าวิเคราะห์ดิน 4) ปุ๋ยเคมีตามอัตราค่าวิเคราะห์ ดิน และ 5) กรรมวิธีเกษตรกร โดยกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยพีจีพีอาร์-ทู ให้ทำการคลุกเมล็ดพันธุข์ า้ ว (อัตรา 8 กิโลกรัม ต่อไร่) กับปยุ๋ ชวี ภาพพีจพี อี าร์-ทู อตั รา 500 กรัมต่อไร่ ทำการปลกู ข้าวเหนียวสันปา่ ตอง 1 เกบ็ ตัวอย่างดินก่อน ปลูกและหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต เพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารหลัก ปฏิกิริยาของดิน และอินทรียวัตถุ บันทึกการ เจริญเติบโต ผลผลิต องค์ประกอบผลผลติ และต้นทุนการผลิตในแต่ละกรรมวิธี ผลการทดลองพบว่า ในฤดูนา ปี 2563 การคลกุ เมลด็ ขา้ วด้วยปุ๋ยชวี ภาพพีจีพีอาร์-ทู รว่ มกบั ปุ๋ยเคมี 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ ตามอัตราค่าวิเคราะห์ดิน ให้ผลผลิตสูงที่สุด และฤดูนาปี 2564 การใช้ปุ๋ยเคมีตามอัตราค่าวิเคราะห์ดินให้ผลผลิตสูงที่สุด แต่ผลผลิตไม่ แตกต่างกับการคลกุ เมลด็ ขา้ วด้วยปุ๋ยชีวภาพพจี ีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราคา่ วิเคราะห์ ดิน ส่วนต้นทุนการผลิต พบว่า ทั้ง 2 ปี การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราคา่ วิเคราะห์ดิน มีต้นทุนการผลิตต่ำทีส่ ุด แต่เมื่อเปรียบเทียบผลต่างต้นทนุ กบั รายได้แล้ว ในฤดูนาปี 2563 การคลุกเมล็ดข้าวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราค่า วิเคราะห์ดินให้ผลตอบแทนสูงที่สุด ต่างจากฤดูนาปี 2564 ที่การใช้ปุ๋ยเคมีตามอัตราค่าวิเคราะห์ดินให้ ผลตอบแทนสงู ท่สี ุด ดงั นน้ั เมอ่ื เปรียบเทียบท้งั ผลผลิต ตน้ ทุน และผลตอบแทนแลว้ ควรส่งเสรมิ ให้เกษตรกรใช้ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-ทู ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามอัตราค่าวิเคราะห์ดิน เพราะนอกจากจะให้ ผลตอบแทนสงู แลว้ เกษตรกรยังสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมลี งถึง 50 เปอร์เซ็นต์ คำสำคัญ: ข้าวเหนยี ว ปุ๋ยชีวภาพ ปยุ๋ เคมี ผลผลติ ข้าว การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ยั กลมุ่ ศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

396 การปรับใช้เทคโนโลยีการปลกู ข้าวโดยวธิ กี ารโยนกลา้ อย่างแม่นยำ Implementation of Rice Cultivation Technology by Using Precision Parachute Method สทุ ธกานต์ ใจกาวิล1) พิชญ์นันท์ กังแฮ1) เบญจพล ราชภัณฑ์1) Suttakan Jaikawin1) Pitchanan Kanghae1) Benjapon Rachapan1) ABSTRACT The objective of this research was to study the implementation of rice cultivation technology on the highland by using the method of precision parachute method compared with transplant method. Which is the traditional planting method used by farmers in the area. In addition, it has been tested to find suitable seedling material for parachute seedlings in the area. It was carried out at Na Kok village, Phu Fa Sub-district, Bo Kluea District, Nan Province, using San Pa Tong 1 glutinous rice varieties. The planting by precision parachute method has the average yield of 437 kg per rai. higher than transplant method with an average yield of 368 kg per rai, an increase of 19%. Using only dry soil and the use of dry soil mixed with black husk (3:1 ratio) as planting material resulted in the highest of height and number of plants per plant after 30 days of planting. Most farmers were accepted to use of dry soil as seedling material because they are readily available in the area. In addition, the precision parachute method can reduce the seed quantity by 75% and reduce the working time and labor in planting by 50%. Therefore, adoption precision parachute technology that is suitable for highland areas that can reduce costs and increase productivity for farmers. However, the technology should be transferred to gain acceptance and adapted for further expansion to another highland. Keywords: rice, precision parachute, technology implementation _________________________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ 54000 โทรศัพท์ 0-5464-6033 Phrae Rice Research Center, Muang Phrae, Phrae 54000 Tel. 0-5464-6033 การประชุมติดตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย กลมุ่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

397 บทคัดยอ่ งานวิจัยนีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศกึ ษาผลการปรับใช้เทคโนโลยีการปลูกข้าวบนพื้นที่สูง โดยนำวิธกี าร โยนกล้าอย่างแม่นยำเปรียบเทียบกับการปลูกโดยวิธีปักดำซึ่งเป็นวิธีปลูกดั้งเดิมของเกษตรกรที่ใช้ในพื้นท่ี นอกจากนั้นไดท้ ดสอบหาวัสดุเพาะกลา้ สำหรับโยนกล้าท่ีเหมาะสมในพื้นที่ ดำเนินการทีบ่ า้ นนากอก ตำบล ภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ใช้พันธุ์ข้าวเหนียวสันป่าตอง 1 ผลการศึกษาพบว่า การปลูกโดยวิธีการ โยนกลา้ อย่างแม่นยำให้ผลผลิตเฉลี่ย 437 กิโลกรัมต่อไร่ สงู กว่าการปลกู โดยวธิ ปี ักดำที่ใหผ้ ลผลิตเฉลี่ย 368 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 19 สำหรับผลการทดสอบวัสดุเพาะกล้าพบว่า การใช้ดินแห้งอย่างเดียว และการใช้ดินแห้งผสมกับแกลบดำ (อัตราส่วน 3:1) เป็นวัสดเุ พาะทำให้ต้นขา้ วหลังปลูก 30 วัน มีความสงู และจำนวนต้นต่อกอสูงท่ีสุด เกษตรกรส่วนใหญ่ใหก้ ารยอมรับการใชด้ ินแห้งเป็นวัสดเุ พาะกล้าเนือ่ งจากหา ไดง้ ่ายในพืน้ ที่ นอกจากน้ีการปลูกข้าวโดยวิธีการโยนกลา้ อย่างแมน่ ยำสามารถลดปรมิ าณเมลด็ พนั ธุ์ได้ร้อยละ 75 และช่วยลดเวลาในการทำงานและแรงงานในการปลูกได้ร้อยละ 50 ดังนั้นการปรับใช้เทคโนโลยีการปลูก ข้าวด้วยวิธีการโยนอย่างแม่นยำเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนพื้นที่สูงสามารถลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต ให้แก่เกษตรกรได้ ทั้งนี้ควรมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าวเพื่อให้เกิดการยอมรับและมีการปรับใช้เพื่อ ขยายผลไปยังพนื้ ที่สูงอืน่ ต่อไป คำสำคัญ: ข้าว การโยนกลา้ อยา่ งแมน่ ยำ การปรบั ใช้เทคโนโลยี การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจัย กลมุ่ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

398 อทิ ธิพลของวันปลกู ต่อผลผลติ ข้าวสายพนั ธด์ุ เี ด่น Effect of Planting Date on Yield of Promising Rice Line บุษกร มงคลพิทยาธร1) Bussakorn Mongkonpitthayathorn1) ABSTRACT Rice breeding for high yields is related to genetic traits but it was found that genetic and environmental covariance also influenced the expression of yields too. Therefore, the purpose of this project was to compare yield of promising irrigated rice PSL07081-LBR-109- 3-1-1 and CNT07001-35-3-2-1 were planted during different environment, in order to data for farmers to be able to maintain stability of yields according to the potential of rice varieties. We performed the RCB experiment with 3 repetitions by planting rice every 1 0 days throughout the year (36 times) at Phitsanulok Rice Research Center from 6th July 2019- 21th June 2020. The results showed that (1) the suitable period for planting PSL07081-LBR- 109-3-1-1 was between 6th July 2019 and 25th August 2019. Planting on August 15th 2019 was the highest yield (955 kg per rai), but not different from planting on 16th 26th July 2019 and 25th August 2019 (907 923 and 919 kg per rai) and the rest of the planting days yield not difference. (2) Planting CNT07001-35-3-2-1 on October 14th 2019 was the highest yield (964 kg per rai) but not different from planting on 6th 16th 26th July 2019, 5th August 2019, 14th September 2019, 4th October 2019, 13th 23th November 2019, 13th December 2019, 22th January 2020 and 1st February 2020 (926, 947, 900, 942, 935, 911, 925, 906, 900, 920 and 911 kg per rai, respectively). Planting during the summer (3rd March-12th May 2020) yield was fall, with the lowest yield on April 12, 2020 (695 kg per rai). The results concluded that the suitable period for planting PSL07081-LBR-109-3-1-1 (High productivity more than 800 kg per rai) is between 6 July - 25 August 2019 and the suitable period for planting CNT07001- 35-3-2-1 was throughout the year except between March 3rd - June 21th 2020 (production less than 800 kg per rai). Keywords: promising rice line, planting date ______________________________________________________________________________ 1) ศูนย์วจิ ยั ขา้ วพษิ ณโุ ลก อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130 โทรศัพท์ 0-5531-3134 Phitsanulok Rice Research Center, Wang Thong, Phitsanulok 65130 Tel. 0-5531-3134 การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

399 บทคัดยอ่ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ได้ผลผลิตสูง มีความเกี่ยวข้องกับลักษณะทางพันธุกรรม แต่พบว่าความ แปรปรวนร่วมระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของผลผลิตด้วยเช่นกัน ดังน้ัน เพื่อให้เกษตรกรหรือกลุ่มเป้าหมายที่นำพันธุ์ข้าวไปใช้ประโยชน์สามารถรักษาเสถียรภาพของผลผลิตได้ตาม ศักยภาพของพันธุ์ข้าวที่พัฒนาขึ้น ผลงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลผลิตข้าวนา ชลประทานสายพันธุ์ดีเด่นที่ปลูกในช่วงเวลาที่สภาพแวดล้อมมีความแตกต่างกันตลอดทั้งปี แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง ตามสาบพันธุ์ข้าวที่ทำการทดสอบ คือ สายพันธุ์ PSL07081-LBR-109-3-1-1 และสายพันธ์ุ CNT07001-35-3-2-1 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซำ้ 36 กรรมวิธี คือ วันปลกู ขา้ ว 36 วันปลูก โดยปลูกข้าวทุก 10 วัน ตลอดทั้งปี ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม 2562-21 มิถุนายน 2563 ซึ่งผลการดำเนินงานพบว่าวันปลูกข้าวตามกรรมวิธีวิจัยส่งผลต่อการให้ผลผลิตของข้าวสาย พันธ์ุดเี ดน่ ทท่ี ดสอบแตกตา่ งกนั ดงั นี้ 1) สายพันธุ์ PSL07081-LBR-109-3-1-1 พบวา่ มีวันปลูกทีเ่ หมาะสมอยู่ ในชว่ งระหวา่ งวนั ที่ 6 กรกฎาคม 2562 ถึงวันที่ 25 สงิ หาคม 2562 โดยการปลูกวันที่ 15 สงิ หาคม 2562 ให้ ผลผลิตสูงที่สุด (955 กิโลกรัมต่อไร่) แต่ไม่แตกต่างการปลูกวันที่ 16 26 กรกฎาคม 2562 และ 25 สิงหาคม 2562 ที่ใหผ้ ลผลิต 907 923 และ 919 กิโลกรมั ต่อไร่ ตามลำดบั สว่ นวนั ปลูกท่ีเหลอื ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกัน 2) สายพันธุ์ CNT07001-35-3-2-1 พบว่าการปลูกวันที่ 14 ตุลาคม 2562 ให้ผลผลิตสูงที่สุด (964 กิโลกรัม ต่อไร่) แต่ไม่แตกต่างการปลูกวันที่ 6 16 26 กรกฎาคม 2562 วันที่ 5 สิงหาคม 2562 วันที่ 14 กันยายน 2562 วันที่ 4 ตุลาคม 2562 วันที่ 13 23 พฤศจิกายน 2562 วันที่ 13 ธันวาคม 2562 วันที่ 22 มกราคม 2563 และ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ให้ผลผลิต 926 947 900 942 935 911 925 906 900 920 และ 911 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ตามลำดับ และการปลูกในช่วงฤดูร้อน (วนั ท่ี 3 มนี าคม -12 พฤษภาคม 2563) ผลผลิตข้าวจะ ลดลงต่ำกว่าผลผลิตเฉลี่ย โดยวันที่ 12 เมษายน 2563 มีผลผลิตต่ำที่สุด (695 กิโลกรัมต่อไร่) จากผลก าร ดำเนินงานข้างต้นสรุปได้ว่า ข้าวสายพันธุ์ PSL07081-LBR-109-3-1-1 ที่ปลูกในศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกมี ช่วงเวลาการปลูกที่เหมาะสม (ผลผลิตสูงมากกว่า 800 กิโลกรัมต่อไร่) คือ ระหว่างวันที่ 6 กรกฎาคม - 25 สิงหาคม 2562 ส่วนสายพันธุ์ CNT07001-35-3-2-1 จะมีช่วงเวลาการปลูกเหมาะสมตลอดทั้งปี ยกเว้น ระหวา่ งวนั ที่ 3 มนี าคม – 21 มถิ ุนายน 2563 (ผลผลิตต่ำกวา่ 800 กโิ ลกรมั ต่อไร)่ คำสำคญั : ข้าวสายพันธ์ุดีเดน่ วันปลูก การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กล่มุ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

400 คณุ ภาพขา้ วพันธ์ุปทมุ ธานี 1 ทป่ี ลกู ในสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกตา่ งกัน The Quality of Pathum Thani 1 Rice from Different Environments ดวงพร วิธูรจิตต์1) กัลยา สานเสน2) กรสริ ิ ศรนี ิล3) กาญจนา มาล้อม4) บษุ กร มงคลพทิ ธยาธร5) อมรรตั น์ อนิ ทรม์ ัน่ 6) ยพุ นิ รามณีย์7) สุมิตรา จนั เนียม8) Duangporn Vithoonjit1) Kanlaya Sansane2) Kornsiri Srinil3) Kanjana Malom4) Bussakorn Mongkolpittayathorn5) Amornrat Inman6) Yupin Ramanee7) Sumitra Junnium8) ABSTRACT Pathum Thani 1 rice samples and soil samples were randomly collected from the growing regions in 13 provinces. First, 16 samples were from 6 Northeastern provinces. These included Nakhon Ratchasima, Nakhon Phanom, Chaiyaphum, Si Sa Ket, Nong Bua Lam Phu, and Ubon Ratchathani. Second, 25 samples were from two Northern provinces of Chiang Rai and Uttaradit. Third, 6 samples were from Prachin Buri Province in the East. Fourth, 37 samples were from 3 Central provinces, Chai Nat, Nakhon Nayok, and Lop Buri. Lastly, 10 samples were from Phattalung Province in the South. Rice samples from all provinces had their quality matched the varietal descriptions. The paddy rice was straw-colored, awned, and 10.58–10.97 mm in length. The brown rice was 7.54–7.72 mm long, with the 3.42:1 to 3.58:1 length to width ratio. The white rice was 7.40–7.51 mm and had chalkiness score from 0.09 to 0.64. The amount of 2AP, a fragrant compound, was also measured in the rice samples. The soil samples were analyzed for their characteristics: soil texture, pH, organic matter, nitrogen, available phosphorus, ___________________________________________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ จิ ัยขา้ วชัยนาท อ.เมอื งชัยนาท จ.ชัยนาท 17000 โทรศพั ท์ 0-5601-9771 Chainat Rice Research Center, Mueang, Chainat 17000 Tel. 0-5601-9771 2) ศูนยว์ ิจัยขา้ วอุบลราชธานี อ.เมอื งอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0-4534-4103 Ubol Ratchathani Rice Research Center, Mueang Ubol Ratchathani, Ubol Ratchathani Tel. 0-4534-4103 3) ศนู ยว์ ิจยั ข้าวเชียงราย อ.พาน จ.เชียงราย 57120 โทรศพั ท์ 0-5372-1578 Chiang Rai Rice Research Center, Phan, Chiang Rai 57120 Tel. 0-5372-1578 4) ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วลพบรุ ี อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี 15120 โทรศัพท์ 0-3644-1322 Lopburi Rice Research Center, Khok Samrong, Lopburi 15120 Tel. 0-3644-1322 5) ศนู ย์วจิ ัยขา้ วพิษณุโลก อ.วังทอง จ.พษิ ณุโลก 65130 โทรศัพท์ 0-5531-3134 Phitsanulok Rice Research Center, Wang Thong, Phitsanulok 65130 Tel. 0-5531-3135 6) สถาบันวิทยาศาสตรข์ า้ วแห่งชาติ อ.เมอื ง จ.สุพรรณบุรี 72000 โทรศัพท์ 0-3555-5340 Thailand Rice Science Institute, Muang, Suphan Buri 72000 Tel. 0-3555-5340 7) ศูนยว์ ิจัยข้าวพทั ลุง อ.เมอื ง จ.พัทลุง 93000 โทรศัพท์ 0-7484-0111 Phattalung Rice Research Center, Mueang, Phattalung 93000 Tel. 0-7484-0111 8) ศนู ยว์ จิ ยั ข้าวปราจนี บุรี อ.บา้ นสร้าง จ.ปราจนี บุรี 25150 โทรศพั ท์ 0-3727-1232 Prachinburi Rice Research Center, Ban Sang, Prachinburi 25150 Tel. 0-3727-1232 การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั กลุ่มศูนย์วิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

401 extracted potassium contents, and cation exchange capacity. There was no significant relationship between these soil characteristics and the amount of 2AP. When the rice samples from different regions were compared, rice sample from the Northeast had the highest amount of 2AP, at 1.40 ppm, followed by the East, the Center, the North and the South, at 0.85, 0.85, 0.66 and 0.29 ppm, respectively. Rice samples from Nakhon Ratchasima and Nakhon Phanom had the highest amount of 2AP at 2.30 and 2.21 ppm, respectively, while the rice from Uttaradit had the lowest amount of 2AP at 0.19 ppm. As for the yields, the North had the highest average yield of 726 kg per rai, followed by the Center, the South, the East and the Northeast at 667, 605, 571 and 417 kg per rai, respectively. Keywords: aromatic rice, PTT1, 2-Acetyl-1-Pyrroline (2AP) บทคัดยอ่ จากการสำรวจคุณภาพข้าวพนั ธ์ปุ ทมุ ธานี 1 ท่ปี ลูกในพน้ื ท่ี 13 จังหวดั โดยการสุม่ เก็บตวั อย่างดินและ ตัวอย่างข้าว แบ่งเป็น 1) ภาคตะวันออกฉียงเหนือ จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา นครพนม ชัยภูมิ ศรีสะเกษ หนองบัวลำภู และ อุบลราชธานี รวม 16 ตัวอย่าง 2) ภาคเหนือ จำนวน 2 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย และอุตรดิตถ์ รวม 25 ตัวอย่าง 3) ภาคตะวันออก จำนวน 1 จังหวัด ได้แก่ ปราจีนบุรี รวม 6 ตัวอย่าง 4) ภาคกลาง จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท นครนายก และ ลพบุรี รวม 37 ตัวอย่าง และ 5) ภาคใต้ จำนวน 1 จังหวัด ได้แก่ พัทลุง รวม 10 ตัวอย่าง พบว่า คุณภาพเมล็ดทางกายภาพและเคมีบางประการ ของข้าวพนั ธุ์ ปทุมธานี 1 ของทุกจังหวัด มีลักษณะตรงตามลักษณะประจำพันธุ์ของพันธุ์ข้าวปทุมธานี 1 คือ ข้าวเปลือก สีฟางมีหาง ความยาวเมล็ดข้าวเปลือกอยู่ในช่วง 10.58-10.97 มิลลิเมตร ความยาวเมล็ดข้าวกล้องอยู่ในช่วง 7.54-7.72 มิลลิเมตร อัตราส่วนความยาวต่อความกว้างของเมล็ดข้าวกล้องอยู่ในช่วง 3.42-3.58 ความยาว เมล็ดข้าวสารอยู่ในช่วง 7.40-7.51 มิลลิเมตร ปริมาณท้องไข่ 0.09-0.64 สำหรับสมบัติทางเคมีของดิน ประกอบด้วย ลักษณะเนื้อดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็น ประโยชน์ โพแทสเซียมที่สกัดได้ และความสามารถในการแลกเปล่ียนไอออนบวก พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับ ปริมาณสารให้ความหอม (2AP) ของข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 แต่เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารให้ความหอม (2AP) รายภาค พบวา่ ตัวอยา่ งขา้ วพันธ์ุปทุมธานี 1 ในพ้ืนท่ภี าคตะวันออกเฉียงเหนือ มีปรมิ าณสารให้ความหอมมาก ที่สุด 1.40 ppm รองลงมาคือภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ มีปริมาณสารให้ความหอม 0.85 0.85 0.66 และ 0.29 ppm ตามลำดับ โดยตัวอย่างข้าวในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา และนครพนม มีปริมาณสารให้ความหอม มากที่สุด คือ 2.30 และ 2.21 ppm ส่วนตัวอย่างข้าวในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ มีปริมาณสารให้ความหอมน้อยที่สุด 0.19 ppm สำหรับข้อมูลผลผลิต พบว่า ภาคเหนือมีผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด 726 กิโลกรมั ต่อไร่ รองลงมาคือภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวนั ออก และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มีผลผลติ เฉล่ีย 667 605 571 และ 417 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ตามลำดับ คำสำคัญ: ขา้ วหอมไทย ปทุมธานี 1 2-Acetyl-1-Pyrroline (2AP) การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจัย กลุ่มศนู ยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

402 เทคโนโลยีการเก็บรักษาข้าวจาปอนกิ าเพื่อใชเ้ ปน็ เมล็ดพนั ธ์แุ ละการบริโภค Japonica Rice Storage Technology for Use as Seeds and Consumption กรสริ ิ ศรีนิล1) กัลยา บญุ สงา่ 1) กาญจนา พิบลู ย์2) พลู เศรษฐ์ พรโสภณ3) Kornsiri Srinil1) Kunlayaa Boonsa-nga1) Kanjana Piboon2) Poolset Pornsopon3) ABSTRACT Japonica rice has a short shelf life and germination rate. It deteriorated rapidly after harvest. The management of the storage of rice seeds under controlled air and humidity conditions (hermetic storage system) can extend its shelf life. This research, consisted of 2 experiments, was conducted in 2020.The first experiment aimed to study the packaging types that are most suitable for storing Japonica rice DOA 2 and keep good qualities for seeds and grains. The experiment consisted of two factors and was designed as a Split plot in RCB with three replications. The main plot was five types of packaging bags: LDPE, Nylon, PET, IRRI Super bag and PP plastic bag and sub plot was storage period. The other experiment aimed to determine the different conditions of the japonica rice seeds storage by comparing controlled air and humidity conditions (Cocoon), low temperature storage (14๐C, 50% relative humidity), and Big bag. In the first experiment, LDPE, Nylon, PET and IRRI Super bags were not only significantly infested with Sitotroga cerealella (Olivier) and Lophocateres pusillus (Klug)) less than PP plastic bag (p=0.05) and maintained the physical qualities throughout the shelf life of 12 months. However, the cooking qualities throughout 6 months of storage were similar in LDPE, Nylon and PP plastic bag, which were better than PET and IRRI Super Bags. For the second trial, the low temperature storage for 12 months maintained a high germination rate (94%) and prevented insect pest infestation (no infestation of stored insect pests). Seed and cooking qualities were also better than Big bag and Cocoon, in which germination rate reduced to less than 80% after 6 and 3 months, respectively. Keywords: hermetic storage system, packaging, Japonica Rice, stored product insects ______________________________________________________________________________ 1) ศูนยว์ ิจัยขา้ วเชยี งราย อ.พาน จ.เชยี งราย 57120 โทรศพั ท์ 0-5372-1578 Chiang Rai Rice Research Center, Phan, Chiang Rai Tel. 0-5372-1578 2) ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่ 54000 โทรศัพท์ 0-5464-6033 Phrae Rice Research Center, Maekammee, Mueang, Phrae 54000 Tel. 0-5464-6033-5 3) ศนู ย์วิจยั ข้าวพษิ ณโุ ลก อ.วังทอง จ.พิษณโุ ลก 65130 โทรศัพท์ 0-5531-3135 Phitsanulok Rice Research Center, Wang Thong, Phitsanulok 65130 Tel. 0-5531-3135 การประชุมตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย กลมุ่ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

403 บทคัดย่อ ข้าวจาปอนิกามีอายุการเก็บรักษาสั้นและเสื่อมความงอกอย่างรวดเร็ว วิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ข้าวในสภาพควบคุมอากาศและความชื้น (Hermetic storage system) เป็นวิธีการหนึ่งในการยืดอายุการ เกบ็ รักษาเมลด็ พันธุ์ข้าว ซงึ่ งานวจิ ยั นี้ศกึ ษาในปี 2563 มีวตั ถุประสงค์เพอื่ ศกึ ษาชนิดบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสม ต่อการเก็บรักษาข้าวจาปอนิกาพันธุ์ ก.วก.2 เพื่อการบริโภคและใช้เป็นเมล็ดพันธุ์ ประกอบด้วย2 การ ทดลอง การทดลองที่ 1 กำหนดการทดลองแบบ Split plot วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ Main plot คือ ถุงบรรจุภัณฑ์ 5 ชนิด LDPE, Nylon, PET, IRRI Super bag และกระสอบพลาสติกสาน (PP plastic bag) Sub plot คือ ระยะเวลาการเก็บรักษา ที่ 0-12 เดือน การทดลองที่ 2 ศึกษาการเก็บ รักษาเมล็ดพันธุ์ในสภาพควบคุมอากาศและความชื้น (Cocoon) เปรียบเทียบกับการเก็บรักษาในอุณหภูมิ ตำ่ (14 องศาเซลเซยี ส ความชน้ื สมั พทั ธ์ 50 เปอร์เซน็ ต)์ และ Big bag ผลการทดลอง พบว่า ถุงชนิด LDPE, Nylon, PET และ IRRI Super bag ป้องกันการเข้าทำลายของผีเสื้อข้าวเปลือก (Sitotroga cerealella (Olivier)) และมอดสยาม (Lophocateres pusillus (Klug)) ได้ดีกว่ากระสอบพลาสติกสานอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) รวมทง้ั คณุ ภาพทางกายภาพของขา้ วไม่มีความแตกต่างทางสถติ ิตลอดอายุการ เก็บรักษา 12 เดอื น นอกจากน้ี ข้าวท่ีเก็บในกระสอบพลาสติกสาน LDPE และ Nylon มีคณุ ภาพการหุงต้ม รบั ประทานดีใกล้เคยี งกันและดีกว่า PET และ IRRI Super bag เมอื่ เก็บรักษาเป็นเวลา 6 เดือน และพบว่า การเกบ็ รักษาในอณุ หภูมิตำ่ ขา้ วมีเปอร์เซ็นต์ความงอกดที ส่ี ุด เท่ากบั 94 เปอร์เซ็นต์ เม่อื เกบ็ รักษาเป็นเวลา 12 เดือน และป้องกันแมลงศัตรูหลงั การเก็บเกี่ยวได้ดที ี่สดุ โดยไม่พบการเขา้ ทำลายของแมลงศตั รหู ลังการ เก็บเกี่ยวตลอดการเก็บรักษา อีกทั้งช่วยรักษาคุณภาพทางกายภาพและคงคุณภาพเมล็ดพันธุ์ที่ดีได้ดีกว่า เกบ็ รกั ษาดว้ ย Big bag และ Cocoon ซ่ึงมีความงอกตำ่ กวา่ 80 เปอรเ์ ซ็นต์ เมือ่ เกบ็ รักษาไปไดเ้ พียง 6 และ 3 เดอื น ตามลำดับ คำสำคญั : สภาพควบคุมอากาศและความชื้น บรรจุภณั ฑ์ ขา้ วจาปอนกิ า แมลงศัตรูหลังการเกบ็ เกย่ี ว การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ยั กลุ่มศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

404 คุณภาพเมลด็ ทางเคมีและกายภาพของสายพันธุ์ข้าวจากสถาบันวจิ ัยข้าวระหว่างประเทศ ภายใตโ้ ครงการ ASEAN Rice NET Chemical and Physical Properties of Rice Lines from the International Rice Research Institute under the ASEAN Rice NET Project อลษิ า เสนานุสย์1) มณฑชิ า ถงุ เงนิ 1) เบญจวรรณ พลโคต1) Alisa Senanood1) Monticha Toongngern1) Benjawan Phonkhod1) ABSTRACT This project aimed to obtain basic information on the chemical and physical qualities of rice lines from the International Rice Research Institute under the ASEAN Rice NET Program. The information is intended to be used by rice breeders for parental selection, in which selected parents will have the qualities that meet their needs. Two sets of rice lines, namely IRRMERiT1 and IRRMERiT2, consisting of 108 rice lines, were assessed in 2020. The chemical property results showed that there were 107 non-glutinous lines and 1 glutinous line. Of the 107 non-glutinous lines, 17, 86 and 4 lines had high, intermediates and low amylose content, respectively. Of these, 41, 56 and 10 lines had high, intermediate and low gel consistency, respectively. In addition, 3, 42, 45 and 17 lines had high-intermediate, intermediate, intermediate-low and low gelatinization temperatures, respectively. Lastly, 105 and 2 lines had intermediate and good elongation ratios of cook rice, respectively. The glutinous rice line had a high-intermediate gelatinization temperature. For the physical properties, all rice lines had straw-colored hull. The pericarp color was white. The grain translucency of all lines was moderately transparent. The chalkiness scores ranged from 0.0 to 2.5. Of the 107 lines, 1, 5 and 101 lines were very, moderately and slightly chalky, respectively. The pericarps were 5.29– 7.66 mm. Two lines had extra-long grains; 65 lines had long grains; 38 lines had medium grains; and three lines had short grains. Of these, 74, 32 and 2 lines had slender, intermediate slender, intermediate and bold shapes with 74, 32 and 2 lines, respectively. The slender, and round shapes, respectively. These basic data can be used by researchers and breeders in the selection and development of rice varieties. Keywords: chemical properties, physical properties, rice qualities ________________________________________________________________________________ 1) ศนู ย์วิจยั ข้าวพิษณุโลก อ.วงั ทอง จ.พิษณโุ ลก 65130 โทรศัพท์ 0-5531-3134 Phitsanulok Rice Research Center, Wang Thong, Phitsanulok. 65130 Tel. 0-5531-3134 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ัย กล่มุ ศูนย์วจิ ยั ขา้ วภาคเหนือ ประจำปี 2565

405 บทคดั ยอ่ การประเมินคุณภาพทางเคมีและกายภาพของสายพันธุ์ข้าวจากสถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ ภายใต้โครงการ ASEAN Rice NET มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบข้อมูลพื้นฐานด้านคุณภาพทางเคมี และ กายภาพของของสายพันธ์ุขา้ ว สำหรับใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพตรงตาม ความต้องการใชป้ ระโยชน์ของนกั ปรับปรุงพันธ์ุ โดยทำการประเมินสายพันธุข์ ้าวทดสอบในปี 2563 จำนวน 2 ชดุ คอื IRRMERiT1 และ IRRMERiT2 รวมทงั้ หมด 108 สายพันธ์ุ ผลการประเมนิ ลักษณะทางเคมี พบว่า เป็นขา้ วเจ้า 107 สายพนั ธุ์ และข้าวเหนียว 1 สายพันธุ์ ข้าวเจ้าเปน็ ขา้ วอมิโลสสูง ปานกลาง และตำ่ จำนวน 17 86 และ 4 สายพันธุ์ ตามลำดับ ความคงตัวแป้งสุกแข็ง ปานกลาง และอ่อน จำนวน 41 56 และ 10 สายพันธุ์ ตามลำดับ อุณหภูมิแป้งสุกสูงถึงปานกลาง ปานกลาง ปานกลางถึงต่ำ และต่ำ จำนวน 3 42 45 และ 17 สายพันธุ์ ตามลำดับ อัตราการยืดตัวของเมล็ดข้าวสุกอยู่ในอัตราปกติ จำนวน 105 สายพันธุ์ และ อัตราการยืดตัวดี จำนวน 2 สายพันธุ์ ส่วนตัวอย่างข้าวเหนียวพบว่า มีค่าอุณหภูมิแป้งสุกสูงถึงปานกลาง สำหรับคุณภาพทางกายภาพ สีเปลือกเมล็ดมีสีฟาง มีสีข้าวกล้องเป็นสีขาว ความใส-ขุ่นของข้าวสารทุก ตัวอย่างมีความใสปานกลาง ท้องไข่เฉลี่ยน้อยถึงมาก มีค่าระหว่าง 0.0-2.5 โดยมีค่าท้องไข่มาก ปานกลาง และน้อย จำนวน 1 5 และ 101 สายพันธุ์ ตามลำดับ ความยาวเมล็ดข้าวกล้องเฉลี่ย 5.29-7.66 มิลลิเมตร เป็นข้าวเมล็ดยาวมาก 2 สายพันธุ์ เมล็ดยาว 65 สายพันธุ์ เมล็ดปานกลาง 38 สายพันธุ์ และเมล็ดสั้น 3 สายพันธุ์ มีรูปร่างเรียว ค่อนข้างป้อม และป้อม จำนวน 74 32 และ 2 สายพันธุ์ ตามลำดับ ข้อมูลพื้นฐาน เหล่าน้ี นกั วจิ ยั และนกั ปรับปรงุ พนั ธุส์ ามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการคัดเลอื กและพฒั นาพันธ์ุข้าวตอ่ ไป คำสำคญั : คุณภาพทางเคมี คุณภาพทางกายภาพ คณุ ภาพข้าว การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลุ่มศูนยว์ ิจยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

406 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

407 การประชมุ ติดตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย กลุม่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565

408 กลุ่มศนู ย์วจิ ัยข้าวภาคเหนอื ตอนบนและภาคเหนอื ตอนล่าง ❖ศูนยว์ ิจัยขา้ วแพร่ ❖ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วเชียงราย ❖ศูนยว์ ิจยั ขา้ วสะเมิง ❖ศนู ย์วจิ ยั ข้าวเชียงใหม่ ❖ศูนย์วจิ ยั ขา้ วแมฮ่ ่องสอน ❖ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วพษิ ณุโลก ❖ศนู ย์วิจยั ข้าวชัยนาท ❖ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วลพบุรี การประชมุ ตดิ ตามงานและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั กลมุ่ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วภาคเหนอื ประจำปี 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook