Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Published by cpd pathumthani, 2021-02-01 04:54:55

Description: CPS Plan 2564

Search

Read the Text Version

 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หนา้ ที่ - คณะกรรมการ จานวน 13 คน - มคี วามพร้อมด้านบุคลากร -สมาชิกให้ความร่วมมือและรว่ มกิจกรรม/ธรุ กจิ ของสหกรณ์มีมาก - คณะกรรมการสนใจการบรหิ ารสหกรณ์ - เจ้าหน้าที่มีความรู้ความสามารถในการดาเนินการ 2. ดา้ นการบริหารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มที ุนดาเนินงานทั้งสิ้น จานวน 513,250,320.72 บาท เพิม่ ข้นึ จากปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 7.18โดยเปน็ ทนุ ของสหกรณ์ รอ้ ยละ 62.63 เงินรับฝากและหนี้สินอน่ื ร้อยละ 37.37 สหกรณ์มีอัตราส่วนหนสี้ ินท้ังสนิ ต่อทุนของสหกรณ์ 0.60 เท่าปีก่อน0.56 เท่า แสดงว่าสหกรณ์มีหนีส้ ิน้ เพ่ิมขึ้นเม่ือเทยี บกับปีก่อน สหกรณ์มที ุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ทั้งสิน 0.04เทา่ เทา่ กับปีก่อน และ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 6.08ปีก่อนร้อยละ6.50 แสดงให้เห็นว่า สหกรณ์บริหารงานโดยใช้เงนิ ทุนของสหกรณเ์ อง ในปนี ี้ให้ผลตอบแทนลดลงเมื่อเทียบกบั ปีก่อน - สหกรณด์ าเนินธรุ กิจด้านสินเช่ือและเงินรับฝาก มผี ลให้อตั ราการเตบิ โตของธุรกิจโดยรวม ลดลงจากปีก่อน รอ้ ยละ (2.16)ปกี ่อนร้อยละ 6.89 แสดงวา่ สหกรณ์มจี ่ายเงนิ ให้กู้และรับฝากเงินโดยรวมลดลงเมื่อเทียบจากปกี ่อน 3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - มีอุปกรณท์ ันสมัย และความพร้อมในการปฏบิ ัตงิ าน 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธรุ กจิ (Method) -สหกรณ์มีกาไรสุทธิ จานวน 19,075,817.99 บาท -สภาพคล่อง สหกรณ์มอี ัตราทุนหมุนเวียน 0.87 เท่าปีก่อน 0.74 เท่าจะเห็นว่าสหกรณ์มีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนน้อยกวา่ หนสี้ ิน หมุนเวียนแต่อัตราส่วนเพิ่มขึน้ จากปีก่อน แสดงให้เห็นวา่ สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงินเพ่ิมขึน้ เมื่อเทียบกบั ปีก่อน ซึง่ หนีส้ ิน ส่วนใหญเ่ ปน็ เงนิ รับฝากจากสมาชิก จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์มกี ารบริหารจัดการท่ดี ี มคี วามพรอ้ มในการดาเนินธุรกิจ ดาเนนิ การตามระเบียบ ขอ้ บังคับ - สหกรณ์มีประสิทธิภาพ ทีทุนดาเนินงานเพ่ิมขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 7.18 ถึงแม้ว่าความสามรถในการทากาไรลดลง สหกรณ์ยังมีเงินทุนเพียงพอในการดาเนินธุรกิจและเงินทุนส่วนเกินจากการให้สมาชิกกู้ สหกรณ์จะนาไปลงทุนในตั๋ว สัญญาใชเ้ งิน พันธบัตรรัฐบาล หุ้นทุนและเงินฝากกับชุมนุมและสหกรณ์อื่น เพ่ือให้ได้ผลตอบแทนที่สูงกว่าการนาไปฝาก ธนาคารดงั น้ัน ควรพิจารณาให้รอบคอบ โดยนาเงินไปฝากหรือลงทุนในแหล่งที่มีความม่ันคง และสามารถในการจ่ายชาระ คนื เพ่อื ป้องกันความเส่ียงในอนาคต - สหกรณม์ ีความเข้มแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ซึ่งต้องอย่ภู ายใต้การดูแลจากภาครัฐ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 401

แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณช์ น้ั 1 และชัน้ 2  ยกระดับสหกรณช์ ัน้ 2 และ ชน้ั 3 สชู่ ั้นที่ดขี ึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีข้ึนไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับท่ดี ีข้ึน 3) อนื่ ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร ดาเนนิ การ 1.1กจิ กรรมรักษาระดบั ช้ันสหกรณ์ จากช้ัน1ชั้น2 1 กิจกรรม ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลิศ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธุรกจิ 2.1กิจกรรมการรกั ษาการมีส่วนร่วมของสมาชิกไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ60 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธรุ กจิ เพ่อื ให้บรกิ ารตามความต้องการของสมาชกิ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ์/ 4 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 กล่มุ เกษตรกร 3.1กจิ กรรมเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 3.2กจิ กรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหน้สี ินสมาชิก 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 1 แผน 1.1กิจกรรม สรา้ งการมีสว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาหน้ีสนิ ของสมาชิก 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 สหกรณ์ เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกัน 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักส่งเสรมิ การจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ต.ค.63 - ก.ย.64 2.1กิจกรรมใหส้ หกรณ์มีการจดั ทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนนิ งานเพื่อเป็น แนวทางในการปฏบิ ัติงาน 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสรมิ ธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณใ์ หน้ าหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..........พ....ฤ...ก...ษ....า.......พ....ุท...ธ...ร...ัก...ษ....์....(.แเจท้านหรนายา้ มทือี่ผชู้รอื่ ับ)ผิดชอบ (นางพฤกษา พุทธรักษ์) วันที่ 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 402

94. สหกรณ์ : ออมทรัพย์พนักงานมาร์จอเร็ตส์ (ประเทศไทย) จากดั ประเภทสหกรณ์ : ออมทรพั ย์ การวิเคราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมูลทว่ั ไป : 1.1 จานวนสมาชกิ : สมาชิกสามัญ 381 ราย ปบี ญั ชี : 30 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ : 245 ราย 1.3 ธุรกจิ หลัก : สนิ เช่อื /รบั ฝากเงิน 1.4 ผลผลติ หลัก : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดับช้นั สหกรณ์ : ชน้ั 2 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรปู : - 1.9 ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ : - 2) โครงสร้างพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เชน่ ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไมม่ ี) 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 34,177,800.00 35,474524.00 34,485,000.00 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน 2,232,480.00 3,104,655.49 2,773,500.00 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 4. ธุรกิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจาหน่าย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - - - - รวม 36,410,280.00 38,579,179.49 37,258,500.00 4) สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 37,117,338.87 42,021,694.28 47,111,049.86 สินทรัพย์หมนุ เวียน บาท 12,319,943.87 15,908,585.28 18,356,873.86 หนี้สินรวม บาท 4,963,125.16 5,560,131.03 6,498,555.36 หนีส้ ินหมุนเวียน บาท 4,963,125.16 5,560,131.03 6,498,555.36 ทุนของสหกรณ์ บาท 32,154,213.71 36,461,563.25 40,612,494.50 ทุนสารอง บาท 1,382,201.97 1,599,764.81 1,861,775.60 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 2,175,616.06 2,620,107.94 2,978,951.00 อตั ราส่วนทางการเงนิ ทส่ี าคัญ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 403

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราส่วนหนีส้ ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.15 0.15 0.16 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 6.77 7.19 7.34 -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์(ROA) ร้อยละ 5.86 6.24 6.32 -อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 2.48 2.86 2.82 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.04 0.04 0.04 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -สหกรณ์กาหนดระเบียบให้สหกรณ์เก็บรักษาเงินสดได้ไม่เกิน วันละ 200,000.00 บาท จากการตรวจสอบบัญชี พบว่า สหกรณ์เก็บรักษาเงินสดคงเหลือในมือเกินกว่าวงเงินท่ีกาหนดเป็นครั้งคราว ดั้งนั้น เพ่ือป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึน สหกรณ์ควรปฏบิ ัติให้เป็นไปตามระเบียบท่กี าหนดไว้ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไมม่ ี -  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หน้าที่ - สหกรณ์จดทะเบยี นเม่ือวนั ที่ 14 พฤษภาคม 2547 ณ วันสิน้ ปี มีสมาชกิ 381 คน - สหกรณ์จัดแบ่งส่วนงานและแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบไว้อย่างเหมาะสม สหกรณ์ไม่ได้จัดจ้าง เจา้ หน้าที่แต่ได้รับความอนุเคราะห์จากพนักงานของบริษัท มาร์จอเร็ตต์ (ประเทศไทย) จากัด มาปฏิบัติงานของสหกรณ์ 1 คน โดยปฏิบัติหน้าท่ีด้านบัญชี คณะกรรมการดาเนินการมีการมอบหมายให้กรรมการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน สินเช่ือ และงาน อ่ืน ๆ ของสหกรณ์การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการดาเนินการ ซ่ึงผู้ที่ได้รับมอบหมายการปฏิบัติงานมี ความร้คู วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านเป็นไปตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - ความพอเพยี งของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงานท้ังสิ้น จานวน 47,111,049.86 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 5,089,355.58บาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 12.11 ทุนดาเนินงานดังกล่าว ประกอบด้วย ทุนของสหกรณ์ 40,612,494.50 บาท หรือ ร้อยละ 86.21 เงินรับฝากจากสมาชิก 6,324,295.00 บาท หรือร้อยละ 13.42 และ หน้ีสินอื่น 174,260.36 บาท หรือร้อยละ 0.37สหกรณม์ ีทุนสารองต่อสินทรัพย์ 0.04 เท่า รวมทั้งมีอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 7.73 แหล่งท่ีมาของเงินทุน ส่วนใหญ่เป็นทุนของสหกรณ์เอง และเงินรับฝากจากสมาชิก สหกรณ์จึงไม่มีความเส่ียงทางด้านเงินทุน อย่างไรก็ตาม หาก สหกรณป์ ระสงคจ์ ะขยายปริมาณธุรกิจโดยการก่อหน้ีผูกพันย่อมสามารถทาได้ แต่ทั้งน้ีต้องคานึงถึงค่าใช้จ่ายและความเส่ียงท่ี อาจจะเกิดขนึ้ ด้วย - ด้านคุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีสินทรัพย์รวมท้ังส้ิน จานวน 47,111,049.86 บาท เพ่ิมข้ึนจาก ปี ก่อนร้อยละ 12.11 สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในรูของลูกหนี้เงินให้กู้ยืมสุทธิ 38,941.291.00 บาท หรือร้อยละ 82.66 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 5,125,590.60 บาท หรือร้อยละ 10.88 เงินลงทุน 3,036,500.00 บาท หรือร้อยละ 6.45 และ สนิ ทรพั ย์อื่นๆ7,668.26หรอื รอ้ ยละ 0.02 สินทรัพย์ของสหกรณ์ที่มีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนินงานเพื่อก่อให้เกิดรายได้ 0.08 รอบ สร้างผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 6.68 แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพดี อย่างไรก็ตามสหกรณ์ควรใช้ สินทรัพยท์ ีม่ ีอยใู่ ห้เกิดผลตอบแทนสูงสดุ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 404

-สภาพคล่อง สหกรณ์มีอัตราทุนหมุนเวียน 2.83 เท่า ปีก่อน 2.86 เท่า สภาพคล่องทางการเงินลดลงจากปี ก่อนแต่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี เม่ือพิจารณาสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงินให้กู้ยืมระยะส้ันร้อยละ 55.69 ดังน้ัน สภาพคล่อง ของสหกรณจ์ ะขน้ึ อยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหน้ีชาระหน้ีเป็นไปตามกาหนด ในหน้ีสินหมุนเวียนเป็นเงินรับฝากร้อย ละ 97.32 ของหน้ีสินหมุนเวียน ดังน้ันสหกรณ์ควรระมัดระวังการถอนเงินฝากของผู้ฝากเงินรายใหญ่ ซ่ึงหากมีการถอนเงิน พร้อมกันในคราวเดียวกันก็อาจส่งผลถึงสภาพคล่องของสหกรณ์ได้ 3. ด้านวตั ถดุ ิบ* (Material) เคร่อื งจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - ไมม่ ี- 4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกจิ (Method) - ด้านการดาเนินธุรกิจ สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเช่ือและรับฝากเงินจากสมาชิก มีมูลค่าธุรกิจรวมท้ังสิ้น 37,258,500.00 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 3,812,700.00 บาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 11.40 ระหว่างปีสหกรณ์จ่ายเงินกู้ให้สมาชิก 34,485,00.00 บาท แยกเป็น เงินกู้ฉุกเฉิน 7,008,000.00 บาท เงินกู้สามัญ 26,477,000.00 บาท และเงินกู้พิเศษ 1,000,000.00 บาท และเงินรับฝากจากสมาชิกประเภทออมทรัพย์พิเศษ 2,773,500.00 บาท - ขีดความสามารถในการบริหารงาน สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงินจากสมาชิก มีปริมาณ ธุรกิจรวมทัง้ สน้ิ 37,258,500.00บาทแยกเป็น ธุรกิจสินเช่ือร้อยละ 92.56 และการรับฝากเงินร้อยละ 7.44 การบริหารธุรกิจ แต่ละด้านสรปุ ไดด้ งั น้ี -ธรุ กิจสินเชื่อระหวา่ งปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก 34,485,000.00 บาท เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน 3,799,100.00 บาทหรือเพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ12.38การจา่ ยเงนิ กู้เป็นไปตามระเบียบท่ีกาหนด และมติท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการ มีเอกสาร สญั ญา และการคา้ ประกันถูกต้องครบถว้ น - ณ วันส้ินปี สหกรณม์ ีลกู หนีเ้ งินกู้คงเหลือ จานวน 245 คน เปน็ จานวนเงนิ 38,941,291.00 บาท สหกรณไ์ ม่ไดต้ ้ังค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ เนอื่ งจาก สามารถเรยี กเก็บหนี้จากสมาชิกได้ตามกาหนดสัญญา -การรับฝากเงินสหกรณ์รับฝากเงนิ จากสมาชิกระหว่างปีรับฝากเงิน 2,773,500.00 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 13,6000.00 บาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 049 ซ่ึงสหกรณ์ได้ปฏิบัติตามระเบียบท่ีกาหนดไว้ ณ วันสิ้นปี มีเงินรับฝาจากสมาชิก คงเหลอื 51 บัญชี เปน็ เงิน 6,324,295.00 บาท - การทากาไร สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังสิ้น 3,356,343.62 บาท และมีค่าใช้จ่ายทั้งส้ิน 377,39.62 บาท จึงมี กาไรสุทธิ 2,978,951.00 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 358,843.06 บาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 13.70 คิดเป็นร้อย 89.30 ของยอดรวม รายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจากเงินลงทุน สหกรณ์มีกาไรเฉลี่ยต่อสมาชิก 7,818.77 บาท มีเงินออมเฉล่ียต่อสมาชิก 109,501.72 และมีหน้สี นิ เฉลี่ยต่อสมาชิก 102,208.11 บาท - ผลกระทบของธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม อาจส่งผลกระทบให้สหกรณ์เกิด ความเสยี่ งในดา้ นต่างๆกล่าวคือ ปัจจัยเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยท่ีมีการปรับตัวสูงขึ้นหรือลดลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งผลกระทบต่อการให้เงินกู้ซ่ึงเป็นธุรกิจหลักของสหกรณ์ และการรับฝากเงิน ดังนั้นสหกรณ์ต้องติดตามสถานการณ์และ ปรับปรุงการบรหิ ารธุรกจิ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง - เรื่องอ่ืน ๆ สหกรณ์มีลูกหนี้อ่ืนยกมาจากปีก่อน ๆ จานวน 51,988.00 บาท และได้ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะ สญู ไวเ้ ตม็ จานวน สหกรณ์ควรเร่งรัดติดตามใหล้ ูกหนี้มาชาระหนี้ไห้เปน็ ไปตามกาหนด Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 405

จากการวิเคราะหข์ ้อมลู สหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังน้ี กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มทีต่ ้องแกไ้ ขปัญหา สหกรณท์ ต่ี ้องพฒั นาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องต้องไดร้ บั การแก้ไข/และเร่งรดั (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นิคม) ติดตาม  สหกรณ์ทตี่ ้องการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการดาเนินธุรกิจ  กลมุ่ สหกรณ์ท่มี ีปญั หาหนี้ค้างนาน โดยการสนับสนุนจากภาครฐั  สหกรณ์ที่มปี ัญหาหนี้สูญ  สหกรณ์ท่ีเข้มแข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ โดยใหภ้ าครัฐแนะนา  สหกรณ์ทจ่ี าเป็นต้องฟ้ืนฟูกิจการ สง่ เสริมและกากับดแู ลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ทค่ี วรควบกิจการกับสหกรณอ์ ื่น  สหกรณ์ที่ควรเลกิ กิจการ  สหกรณ์ท่มี ปี ัญหาอ่ืน ๆ (ระบ)ุ แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะหข์ ้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเปา้ หมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับ ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้ันสหกรณ์: รักษาระดับสหกรณช์ ้ัน 1 และชน้ั 2ยกระดบั สหกรณช์ นั้ 2 และ ช้นั 3 สูช่ ั้นท่ีดขี น้ึ 2) มาตรฐานสหกรณ์:รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป ผลกั ดนั สหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทด่ี ขี ้ึน 3) อื่น ๆ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ระดับช้ันสหกรณ์ รกั ษาชัน้ 1และชนั้ 2 ยกระดับสหกรณ์ ชั้น2และชัน้ 3สู่ชน้ั ทีด่ ีขึน้ 6 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.1 กิจกรรม เข้าร่วมประชุมประจาเดือน 2 ครั้ง 1.2กิจกรรม.แนะนาส่งเสรมิ สหกรณ์ 4 คร้งั 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักรกั ษาระดับมาตรฐานสหกรณ์ 3.1กิจกรรมแนะนาใหส้ หกรณร์ ักษามาตรฐานใหอ้ ยู่ในระดับ 1อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั 1.1 กิจกรรม ลงชื่อ........พ....เิ..น....ต...ร.....ก...ล...บี....ส...วุ...ร...ร...ณ........(เแจท้านหรนาา้ยทมี่ผือช้รู ับื่อ)ผิดชอบ 406 (นายพิเนตร กลีบสุวรรณ) Cooperวaนั ทtี่i1v1eเดือนPสrิงoหกาmครมoมพ.ศtส.i2o่ง56nเ3สDรeิมpสaหrtกmรeณn์ t Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

95. สหกรณ์ : ออมทรัพย์พนกั งานสถาบันเอ ไอ ที จากดั ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลท่วั ไป : 1.1 จานวนสมาชกิ :สมาชิกสามญั 116 ราย สมทบ 11 ราย ปีบญั ชี: 31 ธันวาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกท่รี ่วมทาธุรกิจ : 104 ราย 1.3 ธุรกจิ หลกั : สนิ เช่ือ 1.4 ผลผลิตหลัก : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดับชน้ั สหกรณ์:ชนั้ 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลิตภัณฑ์เดน่ : - 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาด เชน่ ฉางโกดัง ฯลฯ 3) ข้อมลู การดาเนินธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสินเช่ือ 32,262,333.58 28,071,729.00 30,159,270.50 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน 10,849.33 300,500.00 1,300,000.00 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 0 0 0 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต 0 0 0 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจาหน่าย 0 0 0 6. ธุรกิจบริการ 0 0 0 รวม 32,273,182.91 28,372,229.00 31,459,870.50 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชีล่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นับ 44,673,297.79 42,293,138.22 ปี 2562 สนิ ทรัพย์ บาท 618,345.18 360,109.01 35,675,215.31 หนสี้ นิ บาท 44,054,952.61 41,933,029.21 1,319,653.83 1,256,568.15 1,510,899.28 34,355,561.48 ทนุ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 1,623,518.79 0.001 0.009 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 2.85 3.69 0.038 2.81 5.11 4.84 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสาคัญ 6.02 -อตั ราสว่ นหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ (ROA) Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 407

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นับ -อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 36.96 54.50 7.96 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.04 0.05 0.06 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) - ไมม่ ี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) - ไมม่ ี -  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจา้ หน้าท่ี - สหกรณ์มีการจัดแบ่งส่วนงานและกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีไว้อย่างเหมาะสม มีการ แบ่งแยกหน้าที่ระหว่างบัญชีกับการเงินออกจากกัน สอดคล้องกับหลักการควบภายในท่ีดี มีการสอบทานข้อมูลระหว่างกันของ ผู้ปฏิบตั งิ าน ช่วยลดโอกาสท่ีจะเกิดข้อผดิ พลาดท่ีอาจเกิดข้ึน และการปฏิบัติงานและเป็นไปตามขั้นตอนของระบบงานท่ีกาหนด - คณะกรรมการดาเนินงาน ซ่ึงได้รับเลือกตั้งจากสมาชิกเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีความเข้าใจใน วตั ถุประสงคข์ องการรวมกนั เปน็ สหกรณ์ มีทักษะในการบริหารงานสหกรณ์ และสามารถปฏิบัติงานได้ตามนโยบาย มีการนาเร่ือง เข้าที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณา เพ่ือให้การบริหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส โดยในระหว่างปีได้มีการจัดประชุม อย่างสม่าเสมอ 2. ด้านการบรหิ ารเงินทุน (Money) - ความพอเพียงของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงานท้ังสิ้น จานวน 35,675,215.31 บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 6,617,922.31 บาท หรือร้อยละ 15.65 โดยทุนดาเนินงานทั้งหมด 96.30 เป็นทุนภายในของสหกรณ์เอง และมีหน้ีสินเพียง ร้อยละ 3.70 โดนมอี ตั ราผลตอบแทนต่อส่วนของทนุ ร้อยละ 4.84 - ด้านคุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น จานวน 35,675,215.31 บาท โดยส่วนใหญ่อยู่ ในธุรกิจปลอ่ ยสินเชอ่ื ใหก้ ูย้ ืมเงินคิดเป็นร้อยละ 84.54 เป็นเงินสดและเงินฝากธนาคารร้อยละ 3.79 เป็นเงินฝากสหกรณ์อ่ืนร้อยละ 5.61 และสินทรัพย์หมุนเวียนอ่ืนร้อยละ 0.15 สินทรัพย์ท่ีมีอยู่ได้สร้างผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตรา 4.16 ปี ซ่ึงแดสงถึง การบรหิ ารสินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลตอบแทนอย่างมปี ระสิทธิภาพ - สินทรัพย์ของสหกรณ์มีคุณภาพดี และไม่มีลูกหน้ีที่มีปัญหา NPL ซึ่งเป็นเร่ืองที่ดี แสดงให้เห็นถึงดาร บรหิ ารจัดการท่มี ีประสิทธภิ าพ - สภาพคล่อง สหกรณ์มีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าหนี้สินหมุนเวียน 7.96 เท่า โดยสินทรัพย์ หมุนเวียนเป็นลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากสหกรณ์อ่ืน รวมท้ังสิ้น 10,510,538.90 บาท ในขณะที่หน้ีสิน หมนุ เวียนอ่นื ๆมีเพยี ง1,319,653.83บาทซ่งึ แสดงให้เห็นว่าสหกรณ์ไม่มีปัญหาในการชาระหน้ี อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียน สว่ นใหญ่คอื ลกู หน้ีเงินใหก้ ยู้ ืม ดงั นัน้ สภาพคล่องจงึ ข้ึนอยู่กบั ประสิทธิภาพในการบริการลูกหนี้เป็นสาคัญ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 408

3. ด้านวัตถดุ บิ * (Material) เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - สหกรณ์ใช้โปรแกรมระบบบัญชีออมทรัพย์ Version 2.1 ที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ฯ ในการ จัดทาบัญชี ทะเบียน และรายละเอียดต่าง ๆ เรียบร้อยเป็นปัจจุบัน มีเอกสารหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชีครบถ้วน การ ประมวลผลถูกต้อง การสารองข้อมูลเป็นไปอย่างเหมาะสม ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีมีความรู้ความสามารถในการใช้โปรแกรม ส่งผลให้สหกรณ์ สามารถปดิ งบการเงินได้ 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธรุ กิจ(Method) -ด้านการดาเนินธุรกิจ พระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562 ในมาตรา 36 ท่ีเกี่ยวข้องกับสมาชิก ชาวตา่ งชาติ ซึ่งมผี ลบังคับใช้ตั้งแตว่ นั ท่ี 19พฤษภาคม 2562 ซ่ึงกาหนดให้บุคคลท่ีจะเข้ามาเป็นสมาชิกสหกรณ์ได้น้ันต้องเป็นผู้มี สัญชาติไทย ด้วยผลของกฎหมายทาให้สมาชิกสหกรณ์ท่ีเป็นต่างชาติขาดสมาชิกภาพตามกฎหมายทันที ส่งผลให้สมาชิกต่างชาติ ไมต่ ้องส่งหุ้นรายเดือนอีกต่อไป ส่วนในเรื่องหน้ีสินเงินกู้ยืมของสมาชิกต่างชาตินั้นยังคงมีภาระผูกพันคู่สัญญาจนกว่าจะสิ้นสุดไป ตามเงื่อนไขเวลาท่ีตกลงกนั แมจ้ ะเกิน 1 ปี แตส่ หกรณ์จะทาสัญญาใหม่ให้กบั สมาชิกต่างชาติอีกไม่ได้ - สมาชิกต่างชาติ ณ 19 พฤษภาคม 2562 มีจานวน 45 ราย มีทุนเรือนหุ้น 21,223,440.00 บาท ในจานวน 45 ราย มีจานวน 27 ราย ทมี่ หี นเ้ี งินกยู้ ืมกับสหกรณ์ ดงั นี้ เงนิ กู้สามัญ 7,997,500.00 บาท เงินกู้ฉุกเฉนิ 147,100.00 บาท - เน่ืองจากใช้เงินจานวนมากในการคืนทุนเรือนหุ้นให้แก่สมาชิกต่างชาติ เพ่ือสภาพคล่องทางการเงินของ สหกรณ์เอง สหกรณ์จึงได้มีมติคณะกรรมการให้ทยอยคืนเงินแก่สมาชิกต่างชาติ บางส่วนในระหว่างปี จึงส่งผลให้ ณ 31 ธันวาคม 2562 ยังคงเหลอื ตา่ งชาตทิ ่ยี ังไม่ไดเ้ งินคืนค่าหุน้ จานวนอีก 24 ราย เป็นทุนเรอื นหุ้นทั้งสิน้ 11,514,340 บาท - ขีดความสามารถในการบริหาร สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเช่ือโดยให้เงินกู้แก่สมาชิกในระหว่างปี เป็น จานวน 36,300,364.00 บาท โดย ณ วันสิ้นปีรอบปีบัญชี มีลูกหน้ีคงเหลือรวม 30,159,270.50 บาท ในขณะที่ธุรกิจรับฝากเงิน ระหว่างปเี พ่มิ ข้ึน เน่ืองจากมีความจาเปน็ ในการระดมทุน โดยมีเงินรับฝากส้ินปีคงเหลือ 1,300,300.00 บาท - การทากาไร สหกรณ์รายได้รวม 2,345,522.84 บาท มีรายจ่ายรวม 722,004.05 บาท ทาให้ผลการ ดาเนินงานมีกาไรสุทธิ 1,623,51879 บาท คิดเป็นร้อยละ 69.59 ของรายได้รวมท้ังสิ้น ซ่ึงสหกรณ์สามารถทากาไรสูงว่าปีก่อน 112,619.51 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 7.45 โดยมีกาไรเฉลี่ยต่อสมาชกิ 12,783.61 บาท ต่อคน แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชนั้ สหกรณ์ :  รักษาระดับสหกรณช์ ้ัน 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และช้ัน 3 ส่ชู นั้ ท่ีดีขน้ึ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับที่ดขี ึ้น 3) อื่น ๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 409

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร ดาเนินการ 1.1กจิ กรรมการรักษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 2 ครง้ั ตค.63-กย.64 1.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ/์ 1 ครัง้ ตค.63-กย.64 กลุ่มเกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ/์ กลุม่ 1 ครง้ั ตค.63-กย.64 เกษตรกร 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 80 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 2.2กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดับประสทิ ธภิ าพการดาเนินธรุ กิจของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2.3กิจกรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ใหส้ มาชกิ มีสว่ นร่วม 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 1 ครง้ั ตค.63-กย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กจิ กรรมการแก้ไขข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักส่งเสริมสหกรณ์การดาเนินธุรกจิ สหกรณ์ 2 ครั้ง 1.1กจิ กรรมแนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ในการดาเนนิ ธรุ กิจสหกรณ์ 1 แผน ตค.63-กย.64 1.2กจิ กรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์จัดทาแผนธุรกิจสหกรณ์ 3 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 1.3กจิ กรรมติดตามผลการแนะนาส่งเสรมิ การจัดทาแผนธุรกิจเพ่มิ ข้ึน ตค.63-กย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักส่งเสริมสหกรณ์ใหส้ มาชกิ มสี ่วนร่วม 4 ครั้ง 2.1กิจกรรมแนะนาสง่ เสริมสหกรณใ์ ห้สมาชิกมีส่วนร่วมเพิ่มข้ึน 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 2.2กจิ กรรมตดิ ตามการแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ให้สมาชิกมีสว่ นร่วมเพิ่มขึ้น ตค.63-กย.64 รอ้ ยละ80 ลงชื่อ........ก....ม...ล....ว...ร..ร...ณ.......ศ...ร...ีจ...ะ...บ....ก......(เแจทา้ นหรนา้ายทม่ีผอื ู้รชับอื่ )ผิดชอบ (นางสาวกมลวรรณ ศรจี ะบก) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 410

96. สหกรณ์ : ออมทรัพย์พนักงานสยามคโู บต้า จากัด ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทัว่ ไป : 1.1 จานวนสมาชกิ :สมาชกิ สามญั 2,810 ราย ปบี ัญช:ี 31 ธันวาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ : 2,115 ราย 1.3 ธุรกิจหลัก: สินเช่อื 1.4 ผลผลิตหลัก : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดับช้นั สหกรณ์:ชัน้ 2 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลติ ภณั ฑ์เด่น: - 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาด เช่น ฉางโกดัง ฯลฯ 3) ข้อมลู การดาเนินธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธรุ กจิ สนิ เชื่อ 128,645,947.00 145,228,567.37 234,847,776.01 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 0 0 0 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 0 0 0 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลิต 0 0 0 5. ธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหนา่ ย 0 0 0 6. ธรุ กจิ บริการ 0 0 0 128,645,947.00 145,228,567.37 234,847,776.90 รวม 4) สถานภาพทางการเงิน (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นับ สินทรัพย์ บาท 329,853,810.82 395,986,736.18 ปี 2562 หน้สี นิ บาท 682,751.36 497,548.89 ทนุ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 464,390,117.40 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 329,171,059.46 395,489,187.29 448,749.94 อัตราส่วนทางการเงนิ ทส่ี าคัญ 10,561,308.16 17,167,106.83 -อัตราสว่ นหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 463,941,367.46 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 0.001 0.001 20,172,079.17 -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 3.21 4.49 (ROA) 3.20 4.59 0.0096 4.84 4.95 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 411

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั -อตั ราสว่ นทุนหมนุ เวยี น เท่า 283.05 358.76 600.42 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.02 0.02 0.02 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) - ไมม่ ี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (ถ้ามี) - ไม่มี –  ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พ้ืนฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั น้ี 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจดั การและเจา้ หนา้ ที่ - สหกรณ์มสี มาชกิ คงเหลอื ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 มีจานวน 2,810 คน เพมิ่ ขน้ึ จากปีก่อน 63 คน - สหกรณ์มีโครงสร้างด้านการบริหารเหมาะสมกับขนาดและสภาพของสหกรณ์ สหกรณ์มีเจ้าหน้าท่ี 2 คน ผู้จดั การ 1 คน 2. ดา้ นการบริหารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มที นุ ดาเนินงานทงั้ สน้ิ จานวน464.39ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จานวน 68.40 ล้านบาท หรือ เพิ่มข้ึนร้อยละ 17.27 ของทุนดาเนินงานดังกล่าว มาจากแหล่งเงินทุนภายในเกือบทั้งจานวน ร้อยละ 93.00 ซ่ึงประกอบกอบด้วย ทุนของสหกรณ์เองร้อยละ 93.00 แสดงให้เห็นว่า ทุนของสหกรณ์สามารถคุ้มครองหนี้สินได้ทั้งจานวน มีทุนสารองต่อสินทรัพย์ ทง้ั สนิ้ 0.02 เทา่ - สหกรณ์มีสินทรัพย์ทั้งส้ิน จานวน 464.39 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน จานวน 68.40 ล้านบาท โดย ลกู หนส้ี ว่ นใหญ่สามารถชาระหน้ไี ดต้ ามกาหนดสญั ญาเงินลงทุน จานวน 131.40 ล้านบาท เงินฝากสหกรณ์อ่ืน จานวน 58.00 ล้าน บาท และอ่ืน ๆ อีกจานวน 40.14 ล้านบาท สินทรัพย์ท่ีมีอยู่ได้ถูกนาไปใช้ในการดาเนินงานเพ่ือก่อให้เกิดรายได้และสร้าง ผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ ดังน้ันประสิทธิภาพในการบริหารงานของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับการบริหารลูกหนี้การลงทุน และการฝาก เงินสหกรณอ์ ่ืนเป็นสาคัญ 3. ดา้ นวัตถดุ ิบ* (Material) เครื่องจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - ไมม่ ี 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกิจ(Method) - ในรอบปีสหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเช่ือ มีปริมาณธุรกิจทั้งสิ้น 234.85 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อน จานวน 31.78 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 15.65 โดยเป็นการให้เงินกู้ยืม มีมูลค่ารวม 234.85 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ100 ของมูลค่าธุรกิจรวม การบริหารธุรกิจสินเชื่อสรุปได้ดังน้ี ระหว่างปีสหกรณ์ให้เงินกู้สมาชิก จานวน 258.92 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินกู้สามัญ จานวน 244.12 ล้านบาท จ่ายเงินกู้เป็นไปตามระเบียบ และมติคณะกรรมการฯ การชาระหนี้ส่วน ใหญเ่ ปน็ ไปตามกาหนดสัญญา ณ วันส้ินปีมีเงินกู้คงเหลือ จานวน 234.85 ล้านบาท แยกเป็นระยะสั้น จานวน 66.16 ล้านบาท และระยะยาว จานวน 168.69 ลา้ นบาท - ผลการดาเนินงานสหกรณ์มีรายได้ดอกเบ้ีย และผลตอบแทนจากเงินทุน จานวน 21,260,385.12 บาท เพิม่ ขึ้นจากปีก่อน จานวน 3,126,982.63 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.24และมีกาไรสุทธิ จานวน 20,172,079.17 บาท คิดเป็น รอ้ ยละ 97.88 ของรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจากเงนิ ลงทนุ - สหกรณ์มีรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจากเงินลงทุน จานวน 21.26 ล้านบาท และมีค่าใช้จ่าย ทั้งสนิ้ จานวน1.12ลา้ นบาทจงึ มกี าไรสุทธิ จานวน20.17 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 94.88 ของรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทน Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 412

จากเงินลงทุน สหกรณ์มีกาไรสุทธิเพิ่มข้ึนจากปีก่อน จานวน 3.00 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 0.21 กาไรที่เพิ่มข้ึนมาจากการให้กู้ ที่เพ่ิมในระหว่างปี ทาใหม้ รี ายได้เพิ่มข้ึน และสหกรณ์สามารถควบคุมค่าใชจ้ ่ายในแต่ละหมวดได้ไมเ่ กนิ ตามงบประมาณท่ีตง้ั ไว้ แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รักษาระดับสหกรณช์ ั้น 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณช์ ั้น 2 และช้ัน 3 สชู่ ั้นท่ีดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ท่ีดขี ึ้น 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร ดาเนินการ 1.1กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดบั การควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 2 ครัง้ ตค.63-กย.64 1.2กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ/์ 1 ครงั้ ตค.63-กย.64 กล่มุ เกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กิจ 2.1กิจกรรมการรักษา/ยกระดบั การใหบ้ ริการสมาชิกของสหกรณ/์ กลุม่ 1 ครง้ั ตค.63-กย.64 เกษตรกร 1 ครงั้ ตค.63-กย.64 80 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 2.2กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดบั ประสิทธภิ าพการดาเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร 2.3กจิ กรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ใหส้ มาชกิ มีส่วนร่วม 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/ 1 ครง้ั ตค.63-กย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1กิจกรรมการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 413

แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั สง่ เสริมสหกรณ์การดาเนินธุรกิจสหกรณ์ 2 คร้งั 1.1กิจกรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ในการดาเนนิ ธุรกิจสหกรณ์ 1 แผน ตค.63-กย.64 1.2กจิ กรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์จัดทาแผนธุรกิจสหกรณ์ 3 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 1.3กจิ กรรมตดิ ตามผลการแนะนาส่งเสรมิ การจดั ทาแผนธุรกิจเพิ่มขึ้น ตค.63-กย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสริมสหกรณ์ให้สมาชิกมีสว่ นร่วม 4 ครั้ง 2.1กิจกรรมแนะนาส่งเสรมิ สหกรณ์ใหส้ มาชกิ มีส่วนร่วมเพ่ิมขึ้น 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 2.2กิจกรรมตดิ ตามการแนะนาส่งเสรมิ สหกรณใ์ ห้สมาชิกมสี ่วนร่วมเพมิ่ ข้ึน ตค.63-กย.64 รอ้ ยละ80 ลงช่ือ........ก....ม...ล...ว....ร..ร...ณ.......ศ...ร...จี...ะ...บ...ก.......(เแจท้านหรนาา้ ยทม่ีผือู้รชับอ่ื )ผิดชอบ (นางสาวกมลวรรณ ศรจี ะบก) วนั ที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 414

97. สหกรณ์ : ออมทรัพยม์ หาลยั รงั สิต จากดั ประเภทสหกรณ์ : ออมทรพั ย์ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป ปบี ญั ชสี น้ิ สุดวันท่ี 31 พฤษภาคม 2562 1.1 จานวนสมาชกิ 1,770 ราย 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ว่ มทาธุรกจิ 1,500ราย 1.3 ธรุ กิจหลักธุรกจิ สนิ เชื่อ 1.4 ผลผลติ หลกั ……-……. 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกรด A 1.6 ระดับช้ันสหกรณ์ระดบั 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต......-....... 1.8 การแปรรูป…….-……. 1.9 ผลติ ภัณฑ์เด่น ฯลฯ 2) โครงสร้างพน้ื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณเ์ ช่น ฉางโกดังโรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธรุ กจิ สนิ เชื่อ 378,053,000.00 380,777,000.00 396,192,300.00 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 193,188,451.00 312,901,380.00 223,644,754.00 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - - - - รวม 573,965,451.00 693,678,380.00 619,837,054.00 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 999,022,468.85 1,044,236,279.26 1,126,112,285.73 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 452,208,943.10 458,639,151.95 516,208,316.67 หนีส้ นิ รวม บาท 559,466,001.00 555,836,818.00 610,674,561.00 หน้ีสนิ หมุนเวียน บาท 2,121,942.00 553,479,906.00 608,098,729.00 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 439,556,467.85 488,399,461.26 515,437,724.73 ทนุ สารอง บาท 17,088,598.00 19,463,264.00 21,999,277.00 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 23,746,656.83 25,360,133.41 25,116,352.47 อัตราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 415

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อตั ราส่วนหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 1.27 1.14 1.18 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 0.00 5.19 4.87 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 0.00 2.43 2.23 -อัตราสว่ นทุนหมนุ เวยี น เท่า 213.11 0.83 0.85 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.02 0.02 0.02 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - การให้สินเชื่อของสหกรณ์ฯ และ การรับชาระหน้ีของลูกหนี้สหกรณ์ฯ เป็นไปตามปกติ เว้นแต่ลูกหน้ีเงินกู้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ จานวนเงิน 3,952,593.00 บาท สหกรณ์ฯได้ต้ังค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญไว้ในบัญชี เพยี งพอแก่จานวนหนคี้ ้างชาระแล้ว - ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 สหกรณ์มีเงินให้กู้ยืมจานวนเงินให้กู้ยืมจานวน 659,319,727.00 บาท ซึ่ง คิดเป็นร้อยละ 58.55 ของสินทรัพย์ และมีค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญจานวน 3,794,204.00 บาท ซ่ึงเป็นเร่ืองสาคัญในการ ตรวจสอบ เน่ืองจากมีจานวนเงินเป็นนัยสาคัญ จากการสอบทานของผู้สอบ สัญญาเงินกู้และการค้าประกันเป็นไปตามระเบียบ ของสหกรณ์ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -  ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หนา้ ท่ี - สหกรณ์ฯมีการแบ่งแยกหน้าท่ีบุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านการเงิน/การบัญชีอย่างเหมาะสม และมีการจัดให้ มีหลกั ประกันการทางานเหมาะสมแกต่ าแหน่ง - คณะกรรมการสหกรณ์ฯ และฝ่ายจัดการของสหกรณ์ฯ มีความรู้ความสามารถในการบริหารงานและในการ ดาเนนิ งานของสหกรณ์ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) - เงนิ ทนุ ส่วนใหญเ่ ป็นเงนิ ของสหกรณ์ไม่มีการกู้จากท่ีอื่นมีสภาพคล่องสูง 3. ดา้ นวตั ถดุ ิบ *(Material) เครอื่ งจกั รและอุปกรณ์ (Machine) *ผลผลิตของสมาชกิ /สนิ ค้าของสหกรณ์ - 4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และ การดาเนนิ ธุรกิจ(Method) - การดาเนินธุรกิจของสหกรณ์แบ่งเป็น 2 ประเภทธุรกิจสินเช่ือและธุรกิจเงินรับฝาก มีการบริหารจัดการ โดยคณะกรรมการและฝ่ายจัดการเป็นไปตามงบประมาณ จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - อัตรำส่วนหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) วิเคราะห์โครงสร้างเงินทุน ว่ามีแหล่งท่ีมาของทุนดาเนินงาน จากการก่อ หน้ีสินหรือทุนมากน้อยเพียงใด ซ่ึงผลจากการวิเคราะห์ของสหกรณ์อยู่ที่ 1.18 เท่า เมื่อเทียบ กับอัตราส่วนเฉล่ียของสหกรณ์ ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มากมีค่า 0.53ซ่ึงสหกรณ์ได้สูงกว่าค่าเฉล่ีย แสดงให้เห็นว่า สหกรณ์มีหนี้สินมากกว่าทุน ซึ่งอาจ ก่อให้เกิดความเสี่ยงทางการเงิน ความสามารถในการชาระหน้ีเพื่อให้บรรลุข้อผูกพันก็กระทาได้ยากข้ึน ดังน้ัน เจ้าหนี้อาจมี ความเส่ยี งในการไดร้ บั ชาระหนี้ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 416

- อัตรำผลตอบแทนต่อทุน (ROE) วิเคราะห์ความสามารถในการใช้เงินทุนของสหกรณ์เพื่อให้ เกิดผลตอบแทน ทั้งนี้ จะข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ท้ังด้านการถือหุ้น การใช้เงินทุนในการดาเนินงาน ซ่ึงผลจากการวิเคราะห์ของสหกรณ์อยู่ท่ี ร้อยละ 4.87 เม่ือเทียบกับอัตราส่วนเฉล่ียของสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มาก มีค่าเท่ากับร้อยละ 6.21ซึ่งสหกรณ์ได้ต่ากว่า คา่ เฉลย่ี แสดงให้เหน็ ถึงผลการดาเนินงานอยใู่ นระดับต่าหรือการบริหารทรัพยากรทมี่ ีอย่ยู ังไม่มีประสิทธภิ าพเท่าที่ควร - อัตรำผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) วิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์เพ่ือก่อให้ เกิดกาไร แสดงถึง ผลการดาเนินงานอยู่ในข้ันดีหรือมีการบริหารทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ของสหกรณ์อยู่ท่ี ร้อยละ 2.23 เม่ือเทียบกับอัตราส่วนเฉล่ียของสหกรณ์ออมทรัพย์ ขนาดใหญ่มาก มีค่าเท่ากับร้อยละ 4.00ซ่ึงสหกรณ์ได้ต่า กวา่ คา่ เฉล่ีย แสดงให้เห็นว่า ผลการดาเนินงาน อยู่ในระดับตา่ หรือการบริหารทรัพยากรท่ีมีอยยู่ ังไม่มีประสิทธภิ าพเท่าที่ควร - อัตรำส่วนทุนหมุนเวียน วิเคราะห์สินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าหนี้สินหมุนเวียนก่ีเท่า เพ่ือดูความสามารถในการ ชาระหนี้ระยะสั้นของสหกรณ์ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ของสหกรณ์อยู่ที่ 0.85 เท่า เมื่อเทียบกับอัตราส่วนเฉล่ียของสหกรณ์ ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มาก มีค่าเท่ากับ 0.89 เท่า ซึ่งสหกรณ์ได้ต่ากว่าค่าเฉลี่ยแสดงให้เห็นถึงสหกรณ์อาจไม่สามารถชาระ หน้สี ินระยะสั้นได้เม่ือครบกาหนด - อัตรำส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ วิเคราะห์ความเข้มแข็งของเงินทุน โดยดูว่าสหกรณ์มีการจัดสรรทุนสารองไว้ มากน้อยเพียงใดซึ่งผลจากการวิเคราะห์ของสหกรณ์อยู่ท่ี 0.02 เท่า เม่ือเทียบกับอัตราส่วนเฉล่ียของสหกรณ์ออมทรัพย์ ขนาดใหญ่มาก มีค่าเท่ากับ 0.05 เท่าซึ่งสหกรณ์ได้ต่ากว่าค่าเฉลี่ย แสดงให้เห็น ว่าสหกรณ์ยังมีทุนสารองตามกฎหมายใน สัดสว่ นทต่ี ่าเม่ือเทยี บกับสินทรัพยท์ ้ังสนิ้ ท่ีมีอยู่ สหกรณ์อาจประสบปัญหา หากดาเนินงานขาดทนุ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี 1) ระดับช้นั สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณช์ ้นั 1 และช้ัน 2  ยกระดบั สหกรณช์ น้ั 2 และ ช้ัน3 สชู่ ้นั ท่ีดขี ึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดับดีข้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์ใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับท่ดี ีขึ้น 3) อื่น ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้ดาเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. ด้านการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร 1.1กิจกรรมรกั ษาระดับช้ันสหกรณ์ จากช้ัน1ช้ัน2 1 กจิ กรรม ตค63–กย64 1.2กิจกรรมรกั ษามาตรฐานสหกรณ์ 1 แหง่ ตค63–กย64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธุรกิจ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมีส่วนร่วมของสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ70 1 แหง่ ตค63–กย64 2.2กจิ กรรมการจดั ทาแผนธรุ กิจเพือ่ ใหบ้ รกิ ารตามความตอ้ งการของสมาชิก 1 แหง่ ตค63–กย64 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์ 3.1กิจกรรมเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการเพื่อให้คาปรึกษาระเบยี บ 4 ครัง้ ตค63-กย64 ข้อบังคับของสหกรณ์ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 417

แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี 3.2 กิจกรรม การควบคุมภายในสหกรณ์ 1 แห่ง ดาเนินการ ตค63 - กย64 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ แผน ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแก้ไขปัญหาหนีส้ ินสมาชกิ 1 ตค63 -กย64 1 แผน 1.1กิจกรรม สร้างการมสี ่วนร่วมในการแก้ไขปญั หาหนีส้ ินของสมาชิก 1 ตค63 -กย64 สหกรณื เพ่ือกาหนดแนวทางร่วมกัน แผน 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักสง่ เสรมิ การจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ตค63 -กย64 2.1กิจกรรมใหส้ หกรณ์มกี ารจดั ทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ส่งเสริมธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมสง่ เสริมสหกรณ์ใหน้ าหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงช่ือ.......พ....ิท....กั...ษ....์....อ...่นุ...ท....ร...ัพ....ย...์....(..แ...ท. เนจร้าาหยนมา้อื ทชี่ผือ่ รู้) ับผิดชอบ (นายพิทักษ์ อุ่นทรัพย์) วันท่ี 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 418

98. สหกรณ์ : ออมทรัพยม์ หาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ จากัด ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทัว่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก :สมาชกิ สามญั 717 ราย ปีบญั ช:ี 31 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกที่ร่วมทาธุรกิจ : 691 ราย 1.3 ธุรกจิ หลกั : สนิ เช่อื 1.4 ผลผลิตหลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดบั ชน้ั สหกรณ์: ชั้น 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรปู : - 1.9 ผลติ ภัณฑ์เด่น: - 2) โครงสรา้ งพน้ื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาด เช่น ฉางโกดัง ฯลฯ 3) ข้อมูลการดาเนินธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปบี ัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สนิ เช่ือ 128,273,313.09 100,037,300.00 86,618,592.75 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 39,934,729.57 51,050,799.80 54,844,939.87 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 0 0 0 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต 0 0 0 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาหนา่ ย 0 0 0 6. ธรุ กิจบริการ 0 0 0 รวม 168,208,042.50 151,088,099.80 141,463,532.60 4) สถานภาพทางการเงิน (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นบั 381,216,880.42 395,014,672.16 ปี 2562 สินทรัพย์ บาท 41,128,312.42 52,569,677.50 340,088,568.00 342,444,994.66 414,200,356.65 หนสี้ นิ บาท 14,554,526.67 14,572,031.68 55,514,663.91 358,685,692.74 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 0.12 0.15 14,386,605.38 4.52 4.50 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 4.68 4.61 0.15 4.33 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ที่สาคัญ 4.50 -อตั ราส่วนหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ (ROA) Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 419

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นับ -อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน เท่า 2.36 1.97 2.48 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.05 0.05 0.05 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) - ไมม่ ี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) - ไมม่ ี -  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หน้าที่ - สหกรณ์มีการแบ่งแยกหน้าที่บุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านการเงิน/การบัญชีอย่างเหมาะสมมีการจัดให้มี หลักฐานประกันการทางานเหมาะสมแก่ตาแหน่งงาน สหกรณ์มีการจัดทาบัญชีและรายงานทางการเงินโดยถูกต้องตามท่ีควรใน สาระสาคัญเป็นไปตามพระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - ความเพียงพอของเงินทุน สหกรณ์มีอัตราส่วนหนี้สินท้ังสิ้นต่อทุนเท่ากับ 0.15 แสดงว่าโครงสร้างเงินทุน ของสหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ทดี่ ี สหกรณบ์ รหิ ารโดยใช้เงินจากทุนภายในของสหกรณ์เป็นส่วนใหญ่ - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์บริหารสินทรัพย์เพ่ือให้เกิดกาไรในปีน้ีได้ดีใกล้เคียงกีบปีก่อน อัตรา ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เท่ากับ 4.50% - สภาพคลอ่ งทางการเงิน สหกรณม์ สี ภาพคล่องทางการเงนิ ดี สามารถชาระหน้แี ละภาระผูกพันได้ตามปกติ 3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เครือ่ งจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - ไมม่ ี - 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - คณะกรรมการสหกรณ์ และฝ่ายจัดการของสหกรณ์ ฯ มีความรู้ความสารถในการบริหารงานของสหกรณ์ โดยมีกาไรสุทธิ 14,386,605.38 บาท ลดลงจากปีก่อน 185,426.30 บาท (ลดลง 1.27%) เน่ืองจากมีการต้ังค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ เพ่ิมขึน้ จานวน 328,541.86 บาท - การทากาไร ปีน้ีสหกรณ์มีอัตรากาไรสุทธเิ ท่ากบั 79.30% ถือวา่ มอี ตั ราส่วนในการทากาไรไดด้ ี แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณช์ นั้ 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และชั้น 3 สู่ชัน้ ที่ดีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับที่ดขี ้ึน 3) อืน่ ๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 420

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ ร ดาเนินการ 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 2 คร้งั ตค.63-กย.64 1.2กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/ 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 กลมุ่ เกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กิจ 2.1กจิ กรรมการรักษา/ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของสหกรณ/์ กลุ่ม 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 เกษตรกร 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 80 ร้อยละ ตค.63-กย.64 2.2กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 2.3กจิ กรรมแนะนาสง่ เสริมสหกรณ์ให้สมาชิกมีส่วนร่วม 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์/ 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กิจกรรมการแก้ไขข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสรมิ สหกรณ์การดาเนินธุรกิจสหกรณ์ 2 ครัง้ 1.1กิจกรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ในการดาเนินธรุ กิจสหกรณ์ 1 แผน ตค.63-กย.64 1.2กิจกรรมแนะนาส่งเสรมิ สหกรณ์จัดทาแผนธรุ กิจสหกรณ์ 3 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 1.3กิจกรรมติดตามผลการแนะนาส่งเสริมการจัดทาแผนธรุ กิจเพ่มิ ขึ้น ตค.63-กย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสริมสหกรณ์ให้สมาชกิ มีสว่ นร่วม 4 ครั้ง 2.1กิจกรรมแนะนาส่งเสรมิ สหกรณใ์ หส้ มาชกิ มีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 2.2กจิ กรรมตดิ ตามการแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ใหส้ มาชิกมีส่วนร่วมเพม่ิ ข้ึน ตค.63-กย.64 ร้อยละ 80 ลงชื่อ........ก....ม...ล....ว...ร..ร...ณ.......ศ...ร...ีจ...ะ...บ....ก......(เแจทา้ นหรนาา้ ยทม่ีผอื ู้รชับ่ือ)ผิดชอบ (นางสาวกมลวรรณ ศรจี ะบก) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 421

99. สหกรณ์ : ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จากดั ประเภทสหกรณ์ : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชกิ สามัญ 2,385 ราย ปบี ัญชี : 30 มิถุนายน 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ทร่ี ่วมทาธุรกิจ : 1,286 ราย 1.3 ธรุ กิจหลกั : สนิ เชื่อ/รบั ฝากเงิน 1.4 ผลผลิตหลัก : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดบั ชน้ั สหกรณ์ : ชั้น 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลิตภณั ฑเ์ ด่น : - 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เช่น ฉาง โกดัง โรงสี ฯลฯ (ไมม่ )ี 3) ข้อมลู การดาเนินธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเช่ือ 492,938,060.00 412,333,150.00 735,083,708.56 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 117,762,546.85 127,497,367.50 197,701,838.73 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ - - - - - - รวม 610,700,606.85 536,149,643.85 754,785,547.29 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 536,149,643.85 673,640,428.75 805,639,849.24 สนิ ทรัพย์หมุนเวียน บาท 96,227,384.92 129,966,790.60 151,774,888.47 หน้สี ินรวม บาท 131,465,854.20 189,049,245.03 231,108,074.26 หนสี้ ินหมนุ เวียน บาท 129,100,444.20 186,472,985.03 228,321,104.26 ทุนของสหกรณ์ บาท 404,683,789.65 484,591,183.72 574,531,744.98 ทนุ สารอง บาท 25,160,601.57 27,599,430.26 31,078,901.49 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 21,120,646.42 29,184,347.73 35,970,614.76 อตั ราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 422

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อตั ราส่วนหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.27 0.39 0.40 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 4.37 6.02 6.26 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์(ROA) รอ้ ยละ 3.39 4.33 4.46 -อตั ราสว่ นทุนหมนุ เวยี น เท่า 0.75 0.76 0.66 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.05 0.04 0.04 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไม่มี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไมม่ ี -  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพ้ืนฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ดา้ นบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หน้าท่ี - สหกรณ์มีการแบ่งแยกหน้าที่การเงิน การบัญชี อย่างเหมาะสมตามส่วนงานที่กาหนดอย่างชัดเจน เจ้าหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตาแหน่งที่ได้รับมอบหมาย เจ้าหน้าที่สหกรณ์มี หลักประกันเปน็ เงินสดหรือบุคคลคา้ ประกัน 2. ด้านการบริหารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงาน ในรอบปีบัญชี 2562 จานวน 574,531,744.98 บาท เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน ซ่ึงมี จานวน 484,591,183.72 บาท - ความเส่ียงด้านเครดิต สหกรณ์ ฯ ได้ปฏิบัติตามระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก พ.ศ.2560 และ เรื่องเกณฑ์การให้เงินกู้สามัญ และเงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉิน สาหรับ สมาชิกกลุ่มข้าราชการและลูกจ้างประจา สาหรับสมาชิกกลุ่มพนักงานมหาลัยและพนักงานราชการ และเกณฑ์การค้าประกันเงินกู้ สามัญของสมาชิกสหกรณ์ ฯ พ.ศ.2560 แนวทางปฏิบัติในการให้เงินกู้แก่สมาชิกของสหกรณ์ ฯ แยกเป็น 3 ประเภท คือ เงินกู้เพื่อ เหตุฉกุ เฉนิ เงนิ กสู้ ามญั และเงนิ กู้พิเศษ -ความเส่ียงดา้ นสภาพคล่อง สภาพคล่องพิจารณาจากสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหน้ีสินหมุนเวียน 022 เท่า ซ่ึงสินทรัพย์หมุนเวียน ต่ากว่า หนี้สินหมุนเวียน โดยสินทรัพย์หมุนเวียน ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย เงินสดและเงินฝาก ธนาคารในอัตราร้อยละ 13.40 เงินฝากสหกรณ์อ่ืนในอัตราร้อยละ 20.48 เงินให้กู้ยืมระยะส้ันใน อัตราร้อยละ 63.68 ในส่วนของ หน้ีสินหมุนเวียน ส่วนใหญ่ประกอบด้วย เงินรับฝากในอัตราร้อยละ 97.98 ด้ังนั้น สภาพคล่องของสหกรณ์ ฯ จึงขึ้นอยู่กับการ บริหารจัดการเงินฝากธนาคาร เงินฝากสหกรณ์อื่น เงินให้กู้ยืมระยะส้ัน และเงินรับฝากจากสมาชิกให้สมดุลกัน และสหกรณ์ ฯ จะตอ้ งมีอตั ราการดารงสนิ ทรัพยส์ ภาพคล่องของสหกรณ์ ได้ต่ากวา่ รอ้ ยละหน่ึงของยอดเงินฝากทั้งหมด - ความเส่ียงด้านเงินลงทุนของสหกรณ์ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2562 สหกรณ์ ฯ มีเงินลงทุน จานวน 20,290,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.52 ของสินทรัพย์ท้ังสิน สหกรณ์ ฯ มีการจัดทาทะเบียนคุมเงินลงทุน การเก็บรักษาใบหุ้น และเอกสารที่สาคัญไว้ในตู้นิรภัย โดยผู้จัดการ และ นางสาวจิราภรณ์ ผิวกระด้าง เป็นผู้ดูแลรักษา สหกรณ์ ฯ ได้บันทึกบัญชีเงิน ลงทุนตามหลักการบัญชี และเป็นปัจจุบัน Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 423

3. ด้านวัตถดุ บิ * (Material) เครอ่ื งจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - สหกรณ์นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท้ังน้ีได้เริมใช้ โปรแกรมดังกลา่ ว เมือ่ เดือนกนั ยายน 2561 เป็นต้นมา - การบันทึกบัญชขี องสหกรณ์ เปน็ ไปโดยถกู ต้องตามข้อเท็จจริง ครบถ้วน และเป็นปัจจบุ นั 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - ด้านการดาเนินธุรกิจ สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงินจากสมาชิก มีมูลค่าธุรกิจรวมทั้งส้ิน จานวน 757,785,547.29 บาท แยกได้ดังนี้ ด้านสินเชื่อ จานวน 735,083,708.บาท ด้านเงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 197,701,838.73 บาท - ในดา้ นการทากาไร ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2562 สหกรณ์มีกาไรสทุ ธิประจาปี 35,970,614.76 บาท ซ่ึง เพิม่ ขึ้นจากปกี ่อนซ่ึงมีกาไรสุทธิ 29,184,347.73 บาท จากการวิเคราะหข์ ้อมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มทต่ี ้องแก้ไขปัญหา สหกรณท์ ี่ต้องพัฒนาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ท่มี ีข้อบกพร่องต้องไดร้ บั การแก้ไข/และเร่งรัด (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นคิ ม) ติดตาม  สหกรณ์ที่ต้องการพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพการดาเนินธุรกิจ  กลุม่ สหกรณท์ ม่ี ีปญั หาหนี้ค้างนาน โดยการสนบั สนุนจากภาครฐั  สหกรณ์ท่ีมีปัญหาหน้ีสูญ  สหกรณ์ที่เข้มแข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ โดยใหภ้ าครฐั แนะนา  สหกรณ์ทจี่ าเป็นต้องฟน้ื ฟูกิจการ สง่ เสริมและกากบั ดูแลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ทค่ี วรควบกิจการกับสหกรณ์อื่น  สหกรณ์ท่ีควรเลิกกจิ การ  สหกรณ์ที่มปี ัญหาอ่ืน ๆ (ระบ)ุ แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ ้นั 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณ์ช้ัน 2 และช้ัน 3 สชู่ นั้ ทดี่ ีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ท่ดี ขี ึ้น 3) อืน่ ๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 424

 แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ระดับช้ันสหกรณ์ รกั ษาช้ัน1และชน้ั 2  ยกระดบั สหกรณ์ ช้นั 2และช้นั 3สชู่ ั้นทีด่ ขี ้นึ 2.1กิจกรรมให้คาแนะนามาตรฐานสหกรณ์และการรกั ษาระดับชนั้ ของสหกรณ์ 4 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักการดาเนินคดกี ับผ้คู า้ ประกนั 1.1กิจกรรมติดตามผลการดาเนินคดีกบั สมาชิกผคู้ า้ ประกัน 13 ราย ต.ค.63-ก.ย.64 ลงชื่อ..............ส....ุว...ทิ....ย...์...ท....มุ....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจรา้ าหยนมา้ ือทช่ีผ่อื ู้ร)ับผิดชอบ (นายสวุ ทิ ย์ ทุมมณี) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 425

100. สหกรณ์ : ออมทรัพย์โรงพยาบาลภทั ร-ธนบรุ ี จากดั ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะห์ข้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่ัวไป : 1.1 จานวนสมาชิก :สมาชกิ สามัญ 254 ราย ปีบญั ชี: 30 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ทร่ี ่วมทาธุรกิจ : 147 ราย 1.3 ธรุ กิจหลกั : สินเชือ่ 1.4 ผลผลิตหลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดับชนั้ สหกรณ์: ชน้ั 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลิตภัณฑเ์ ดน่ : - 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาด เชน่ ฉางโกดัง ฯลฯ 3) ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 16,283,538.65 18,609,598.58 20,307,000.00 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 2,389,665.03 3,013,102.54 1,758,445.22 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ 0 0 0 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลิต 0 0 0 5. ธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจาหนา่ ย 0 0 0 6. ธรุ กจิ บริการ 0 0 0 รวม 18,673,203.68 21,622,701.12 22,065,445.22 4) สถานภาพทางการเงิน (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นบั 17,366,248.73 20,572,809.77 ปี 2562 สนิ ทรัพย์ บาท 3,629,220.53 3,045,537.37 13,737,028.20 17,527,272.40 15,934,704.99 หนี้สนิ บาท 838,408.90 1,154,726.12 3,852,294.97 22,689,015.00 ทนุ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 0.26 0.17 1,432,136.41 6.10 7.64 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 4.83 6.94 0.17 7.39 อตั ราสว่ นทางการเงินที่สาคัญ 6.62 -อตั ราส่วนหนส้ี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ (ROA) Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 426

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั -อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 2.63 2.43 2.75 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.01 0.01 0.20 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) - ไม่มี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) - ไม่มี -  ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั น้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หน้าที่ - สหกรณ์มสี มาชิกคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 มจี านวน 254 คน ลดลงจากปีกอ่ น 1 คน - สหกรณ์จัดแบ่งส่วนงานและแบ่งแยกหน้าท่ีความรับผิดชอบไว้เหมาะสม สหกรณ์ได้มอบหมายคณะกรรมการ ดาเนินการปฏิบัติงานด้านการเงิน สินเชื่อ และงานอ่ืน ๆ ของสหกรณ์ สหกรณ์ได้มอบหมายให้สมาชิก 1 คน ปฏิบัติหน้าท่ีด้าน บัญชี การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการดาเนินการ ซึ่งผู้ที่ได้รับมอบหมายมีความรู้ความสามารถในการ ปฏบิ ัติงานเปน็ ไปตามที่ไดร้ ับมอบหมาย 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - ความเพียงพอของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งส้ิน 26,541,309.97 บาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อน 5,968,500.20 บาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 29.01 ทุนดาเนินงานส่วนใหญ่ได้มาจากแหล่งเงินทุนภายในสหกรณ์ จานวน 26,489,328.40 บาท หรือร้อยละ 99.80 ประกอบด้วย ทุนของสหกรณ์เอง 22,689,015.00 บาท หรือร้อยละ 85.48 และเงินรับฝาก จากสมาชิก 3,800,313.40 บาท หรือร้อยละ 14.32 ส่วนแหล่งเงินทุนภายนอก 51,981.57 บาท หรือร้อยละ 0.20 เป็นส่วนของ หน้ีสินอื่นทั้งจานวน หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและความเพียงของเงินทุนต่อความเสี่ยงของเงินทุน นับว่า เจ้าหนี้ไม่มีความ เสี่ยงเนอื่ งจากสหกรณ์มอี ัตราส่วนหนี้สินทง้ั สน้ิ ตอ่ ทนุ 0.17 เท่า และมีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 7012 ทุนของ สหกรณ์สามารถคุ้มครองหนี้ได้ทงั้ หมด อกี ทง้ั สหกรณ์มีอตั ราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ 0.02 เทา่ - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีสินทรัพย์ท้ังส้ิน 26,541,309.97 บาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อนร้อยละ 29.01 สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของลูกหนี้เงินให้กู้ยืม 20,356,760.11 บาท หรือร้อยละ 76.70 รองลงมาเป็น เงินสดและ เงินฝากธนาคาร 4,510,019.14 หรือรอ้ ยละ 16.99 ลูกหน้ีระยะสั้น – สทุ ธิ 1,627,096.21 บาท หรอื ร้อยละ 6.13 และสินทรัพย์อ่ืน ๆ 47,434.51 บาท หรือร้อยละ 0.18 สินทรัพย์ของสหกรณ์ท่ีมีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนินงานเพ่ือ ก่อให้เกิดรายได้ 0.07รอบสรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 6.08 แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ เพ่อื ก่อให้เกดิ ผลตอบแทนมีประสทิ ธภิ าพดีพอควร -สภาพคลอ่ งสหกรณ์มีอตั ราส่วนทุนหมุนเวียน 2.75 เท่า สูงกว่าปีก่อนซึ่งเท่ากับ 2.43 เท่า แสดงว่าในหน้ีสิน หมนุ เวียน1.00เท่ามสี ินทรพั ย์หมนุ เวียนเป็นประกนั การชาระหน้ีได้ท้ังจานวน ซึ่งนับว่าสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์อยู่ใน เกณฑ์ทดี่ ี - ขีดความสามารถในการบริหาร สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเช่ือ และรับฝากเงินจากสมาชิกมีปริมาณธุรกิจรวม ท้ังส้ิน 22,065,445.22 บาท แยกเป็น ธุรกิจสินเช่ือร้อยละ 92.03 และการรับฝากเงินร้อยละ 7.97 การบริหารธุรกิจแต่ละด้านสรุป ได้ดังน้ี Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 427

3. ดา้ นวัตถดุ บิ * (Material) เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ -สหกรณ์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รูป Express ในการจัดทาบัญชีแยกประเภท โปรแกรมท่ีใช้เหมาะสมกับ ลักษณะและปริมาณธุรกิจ การควบคุมภายในสาหรับการใช้ระบบงานส่วนใหญ่เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วย มาตรฐานข้ันต่าในการควบคุมภายในและการรักษาความปลอดภัยสาหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีใช้โปรแกรมบัญชี คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล พ.ศ. 2553 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงินจากสมาชิก มีมูลค่าธุรกิจธุรกิจรวมท้ังส้ิน 22,065,445.22 บาท ลดลงจากปกี ่อน 430,938,09 บาท หรอื ลดลงร้อยละ 1.92 - ธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก 20,307,000.00 บาท ลดลงจากปีก่อน 273,862.40 บาท หรือลดลงร้อยละ 1.33 แยกเป็น เงินให้ก็ประเภทฉุกเฉิน 3,174,000.00 บาท หรือร้อยละ 15.63 และเงินให้กู้ประเภทสามัญ 17,133,000.00 บาท หรือร้อยละ 84.37 สหกรณ์ไมได้กาหนดเป้าหมายการดาเนินธุรกิจไว้ ทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบผลงานต่อ เป้าหมายได้ สมาชิกได้รับบริการเงินกู้ 147 คน คิดเป็นร้อยละ 57.87 ของสมาชิกคงเหลือ ณ วันสิ้นปี เฉล่ียต่อสมาชิกต่อรายท่ีใช้ บริการ 138,142.86 บาท ณ วันสิ้นปีสหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ จานวน 175 คน เป็นเงิน 20,356,760.11 บาท และมี ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 1,768.30 บาท สหกรณไ์ ดต้ ้งั ค่าเผ่ือหนี้สงสยั จะสูญดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับทั้งจานวน - การรับฝากเงิน ระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิกประเภทออมทรัพย์ 1,758,445.22 บาท ลดลงจากปี กอ่ น 157,075.69 บาท หรือลดลงร้อยละ 8.20 ณ วนั สนิ้ ปี มีเงินรบั ฝากสมาชกิ คงเหลือ 200 บัญชี เปน็ เงนิ 3,8000,313.40 บาท -การทากาไรสหกรณม์ รี ายได้รายได้รวมท้ังส้ิน 1,560,576.26 บาท และค่าใช้จ่ายท้ังหมด 128,439.85 บาท จึง มีกาไรสุทธิ 1,432,136.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 91.99 ของยอดรวมรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจากเงินลงทุน สหกรณ์มีกาไร เฉลีย่ ต่อสมาชิก 5,638.33 บาท มีเงินออมเฉลี่ยต่อสมาชิก 97,002.00 บาท และมหี นี้สนิ เฉลย่ี ต่อสมาชิก 80,151.69 บาท - ผลกระทบของธุรกิจ จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม อาจส่งผลกระทบให้สหกรณ์เกิด ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ กล่าวคือ ปัจจุบันมีการระบาดของโรคไวรัส“โควิท-19” ในประเทศไทย อาจส่งผลกระทบต่อการเรียกเก็บ เงนิ จากสมาชิกได้ ดงั นั้น สหกรณ์ควรเตรียมความพร้อมการรองรับผลกระทบในด้านการจัดหาเงินทุน และหาแนวทางในการบริหาร จัดการธรุ กิจใหด้ าเนนิ ตอ่ ไปได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพใต้สภาพแวดล้อมดังกล่าว รวมทั้งปัจจัยเส่ียงด้านอัตราดอกเบ้ียท่ีมีการปรับตัว สูงขึ้นหรือลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อการให้เงินกู้ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของสหกรณ์ ดังน้ันสหกรณ์ ตอ้ งตดิ ตามสถานการณ์ และปรบั การบริหารธุรกิจให้ทันต่อการเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอ แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ ้ัน 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ชน้ั 2 และชั้น 3 สู่ชน้ั ท่ีดีขึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีข้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทดี่ ขี ้ึน 3) อ่ืน Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 428

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ดาเนินการ 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 2 คร้งั ตค.63-กย.64 1.2กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ/์ 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 กลมุ่ เกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กจิ กรรมการรักษา/ยกระดบั การให้บรกิ ารสมาชิกของสหกรณ/์ กลุ่ม 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 เกษตรกร 1 คร้ัง ตค.63-กย.64 80 ร้อยละ ตค.63-กย.64 2.2กจิ กรรมการรักษา/ยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 2.3กิจกรรมแนะนาสง่ เสริมสหกรณ์ให้สมาชิกมีส่วนร่วม 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/ 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กจิ กรรมการแก้ไขขอ้ บกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสริมสหกรณ์การดาเนินธุรกิจสหกรณ์ 2 ครัง้ 1.1กจิ กรรมแนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ในการดาเนินธรุ กิจสหกรณ์ 1 แผน ตค.63-กย.64 1.2กิจกรรมแนะนาสง่ เสริมสหกรณ์จัดทาแผนธรุ กิจสหกรณ์ 3 รอ้ ยละ ตค.63-กย.64 1.3กิจกรรมตดิ ตามผลการแนะนาส่งเสริมการจัดทาแผนธุรกิจเพ่มิ ข้ึน ตค.63-กย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ส่งเสรมิ สหกรณ์ใหส้ มาชกิ มีส่วนร่วม 4 ครั้ง 2.1กจิ กรรมแนะนาส่งเสริมสหกรณใ์ ห้สมาชิกมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 2.2กจิ กรรมตดิ ตามการแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ใหส้ มาชิกมีส่วนร่วมเพิ่มข้ึน ตค.63-กย.64 รอ้ ยละ80 ลงชื่อ........ก....ม...ล....ว...ร..ร...ณ.......ศ...ร...จี...ะ...บ...ก.......(เแจทา้ นหรนาา้ ยทม่ีผอื ู้รชับ่ือ)ผิดชอบ (นางสาวกมลวรรณ ศรจี ะบก) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 429

101. สหกรณ์ : ออมทรัพยโ์ รงพิมพอ์ าสารกั ษาดนิ แดน จากดั ประเภท : ออมทรัพย์ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลท่วั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับช้ันสหกรณ/์ ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชิก . 132 . ปีบัญชี 31 ธันวาคม 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกที่ร่วมทาธรุ กิจหลกั 105 ราย . 1.3 ธรุ กิจหลกั . ธุรกจิ สนิ เชื่อ . 1.4 ผลผลิตหลัก ลูกหนี้เงนิ กู้ . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร . A . 1.6 ผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2562 . 2 . 1.7 ศักยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรูป . - . 1.9 ผลติ ภณั ฑ์เด่น . - . 2. โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี .- . 3. ข้อมูลการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธุรกจิ สนิ เช่ือ 83,827,440.00 79,989,361.00 73,119,660.00 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 1,897,266.17 5,444,725.24 825,192.20 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ 4. ธุรกิจแปรรูปผลผลิต 85,724,706.17 85,434,086.24 - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาหนา่ ย - 6. ธุรกิจบริการ - 7. ธรุ กิจอืน่ ๆ (ระบุ) - - รวม 73,944,852.20 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 430

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2562 หน่วย : บาท ปี 2561 ปี 2560 สินทรัพย์รวม บาท 53,531,121.57 51,195,862.50 51,069,853.82 สินทรัพย์หมนุ เวียน บาท 12,509,247.38 11,418,229.27 11,355,701.75 หนส้ี นิ รวม บาท 5,798,189.34 5,665,932.62 7,821,746.36 หน้ีสินหมุนเวียน บาท 5,658,389.34 5,526,132.62 7,465,946.36 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 47,732,932.23 45,529,929.88 43,248,107.46 ทุนสารอง บาท 7,087,383.87 6,849,624.90 6,618,262.52 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 2,151,908.25 2,377,589.66 2,313,623.78 อัตราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ -อัตราส่วนหน้ีสินต่อทนุ (DE Ratio) เท่า 0.1215 0.12 0.18 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 4.5082 5.22 5.35 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 4.0199 4.60 4.53 -อัตราสว่ นทุนหมนุ เวยี น เท่า 2.2107 2.0 1.52 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.1324 0.10 0.13 5. ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - สหกรณ์ไม่ได้จัดจา้ งเจ้าหน้าที่ แตม่ ีเจ้าหน้าท่ีโรงพิมพ์อาสารักษาดนิ แดน มาชว่ ยโดยจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายไดใ้ ห้ สหกรณ์ แบ่งแยกหน้าท่ีความรบั ผิดชอบอยา่ งชัดเจน - ด้านการบัญชี การเงินของสหกรณ์ สหกรณย์ ังไมม่ ีการใชโ้ ปแกรมบัญชีสาเร็จรปู ในการเก็บข้อมลู และการบันทึกบัญชี 6. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไม่มี - Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 431

 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ดา้ นบุคลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจดั การและเจ้าหนา้ ที่ - คณะกรรมการ จานวน 10 คน - สมาชิกมีส่วนรว่ มทางธุรกจิ มากโดยเฉพาะธุรกจิ สินเช่ือ - สหกรณ์ไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าท่ีประจา - คณะกรรมการให้ความรว่ มมือและบรหิ ารงานด้วยความตัง้ ใจ 2. ด้านการบริหารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณม์ ีทุนดาเนินงานจานวน 53,531,121.57 บาท เพ่ิมขึน้ จากปีก่อนเป็นจานวน 2,355,259.07 บาทหรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 4.56 โดยทุนดาเนินงานทั้งหมด 70.86 เป็นทุนเรือนหุ้นของสมาชิกสหกรณเ์ อง และมีหนีส้ ้ินเพียงร้อยละ 10.83 โดยมีอัตราผลการตอบแทน ต่อสว่ นของทนุ ร้อยละ 5.42 - สหกรณ์มสี นิ ทรัพย์รวมท้งั สิ้น 53,531,121.57บาทโดยส่วนใหญ่อยู่ในธุรกิจปล่อยสินเชื่อให้ก้ยู ืมเงินคิดเป็นร้อยละ 92.05เปน็ เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคารร้อยละ 7.52สนิ ทรัพย์ทีมีอยู่ได้สรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 4.83 ซึง่ แสดงถึงการบริหาร สินทรัพย์เพ่ือให้เกิดผลตอบแทนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ -สนิ ทรัพย์ของสหกรณ์มีคุณภาพ และไมม่ ลี ูกหน้ี แสดงให้เห็นถึงการบริหารท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 3. ดา้ นวัตถดุ ิบ* (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สนิ ค้าของสหกรณ์ - มีอุปกรณเ์ พยี งพอในการดาเนินธุรกิจ 4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกจิ (Method) - สหกรณม์ ีสดั สว่ นของสนิ ทรัพย์หมนุ เวียนมากกว่าหน้ีสินหมุนเวียน 45.23โดยสินทรัพยห์ มนุ เวียนเป็นลกู หนเี้ งินกู้ระยะสน้ั เงนิ สด เงินฝากธนาคารรวมทั้งส้ิน 12,509,247.38 บาทซ่ึงแสดงให้เหน็ ว่าสหกรณ์ไม่มปี ัญหาในดา้ นการชาระหน้ีทั้งหมด อยา่ งไรก็ ตามสินทรัพยห์ มุนเวียนสว่ นใหญค่ ือลกู หน้ีเงินให้กยู้ ืม ดังน้ันสภาพคล่องจึงข้ึนอยู่กบั ประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการลูกหนี้ จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ข้อมูลสหกรณ์ - สหกรณม์ ีการบริหารจัดการท่ดี ี มีความพร้อมในการดาเนินธรุ กิจดาเนินการตามระเบียบ ข้อบังคับ - สหกรณ์มีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ซ่ึงต้องอยู่ภายใต้การดูแลจากภาครัฐ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 432

แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณ์ชน้ั 1 และชน้ั 2  ยกระดับสหกรณ์ชนั้ 2 และ ชน้ั 3 สชู่ นั้ ที่ดขี ึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีข้ึนไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทดี่ ีข้ึน 3) อนื่ ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผูด้ าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร ดาเนนิ การ 1.1กิจกรรมรักษาระดับชั้นสหกรณ์ จากชั้น1ช้ัน2 1 กจิ กรรม ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลศิ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กิจ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ60 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธรุ กิจเพ่ือให้บรกิ ารตามความต้องการของสมาชิก 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 กล่มุ เกษตรกร 3.1กจิ กรรมเข้าร่วมประชมุ คณะกรรมการ 3.2กจิ กรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหนส้ี นิ สมาชิก 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 1 แผน 1.1กิจกรรม สรา้ งการมสี ว่ นร่วมในการแกไ้ ขปัญหาหน้ีสนิ ของสมาชิก 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 สหกรณ์ เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกนั 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสริมการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ต.ค.63 - ก.ย.64 2.1กิจกรรมใหส้ หกรณ์มกี ารจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ัติงาน 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั สง่ เสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณใ์ หน้ าหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..........พ....ฤ...ก...ษ....า.......พ....ุท...ธ...ร...ัก...ษ....์....(.แเจทา้นหรนายา้ มทอื่ีผชรู้ ือ่ ับ)ผิดชอบ (นางพฤกษา พุทธรักษ์) วันท่ี 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 433

102. สหกรณ์ : ออมทรัพย์โรงเรียนเอกชนปทุมธานี จากัด ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชน้ั สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ /การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เด่น ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชิก . 295 . ปบี ญั ชี 30 กนั ยายน 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกทีร่ ่วมทาธุรกิจหลกั 244 ราย . 1.3 ธุรกจิ หลัก . ธรุ กิจสนิ เช่ือ . 1.4 ผลผลิตหลกั ลูกหนี้เงินกู้ . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . A . 1.6 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 . 1 . 1.7 ศกั ยภาพในการรวบรวมผลผลิต . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลิตภณั ฑเ์ ด่น . - . 2. โครงสรา้ งพน้ื ฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เช่น ฉาง โกดังโรงสี .- . 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธุรกิจสินเชื่อ 17,251,170.00 12,962550.00 11,828,040.00 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 1,000,000.00 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - 5. ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจาหน่าย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - 7. ธุรกจิ อ่ืน ๆ (ระบุ) - - - - - 12,828,040.00 รวม - - 12,962,550.00 17,251,170.00 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 434

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 สนิ ทรัพย์รวม บาท 47,993,361.28 43,863,488.13 42,308,134.07 สนิ ทรัพย์หมุนเวียน บาท 25,608,945.92 19,538,854.82 13,869,213.24 หนส้ี ินรวม บาท 31,500.00 3,100,500.00 หนส้ี ินหมุนเวียน บาท 31,500.00 1,238.30 3,100,500.00 ทุนของสหกรณ์ บาท 47,961,861.28 1,238.30 39,207,634.07 ทนุ สารอง บาท 2,520,971.16 43,863,488.13 2,097,999.16 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 1,821,964.45 2,320,404.16 2,212,765.96 อัตราส่วนทางการเงินทีส่ าคัญ 2,005,661.76 -อัตราสว่ นหนส้ี นิ ต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.0007 0.08 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 3.7988 2.82 5.64 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 3.7963 4.57 5.23 -อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 812.9824 4.57 4.47 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.0525 157 0.05 0.52 5. ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -สหกรณม์ ีการกาหนดระเบียบการควบคุมภายในเหมาะสมกบั การดาเนินงานและลักษณะการดาเนินธุรกิจปฏบิ ัติตาม กฎหมายประกาศ คาสงั่ คาแนะนามีการกาหนดข้อบงั คบั ระเบียบเกย่ี วกบั เงินและการดาเนินธุรกิจ -สหกรณ์มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรบั ผิดชอบของเจ้าหน้าทแ่ี ตล่ ะตาแหน่งไว้อย่างชดั เจน เจา้ หน้าทีม่ ีความรู้ความสามารถ ในตาแหน่งหน้าที่ สหกรณ์ยังส่งเสรมิ ใหเ้ จ้าหน้าท่ีได้รับการพฒั นา โดยการสง่ เข้ารับการอบรม 6. ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี - Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 435

 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หน้าท่ี - คณะกรรมการจานวน 8 คน - สมาชกิ สหกรณ์เปน็ บุคลากรทางการศึกษา - คณะกรรมการเป็นผู้บรหิ ารมีความรอบคอบในการบริหารงาน - สหกรณ์มีการแบง่ ส่วนงานและกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไว้อย่างเหมาะสม -สหกรณ์ปฏบิ ัติงานตามระเบียบ ข้อบังคับ การควบคุมคุณภาพอยู่ในระดับท่ีดี -มีเจา้ หน้าที่ปฏิบัติงาน 2. ดา้ นการบริหารเงนิ ทุน (Money) - -สหกรณน์ าเงนิ ไปลงทุนโดยการซื้อหุ้นกับชมุ นุมสหกรณ์ออมทรพั ย์แห่งประเทศไทย จากดั ไม่พบปญั หาด้านสภาพคล่องของ สหกรณ์ - อตั ราสว่ นหนสี้ นิ ต่อทุนเทา่ กับ 0.00 แสดงให้เห็นว่าสหกรณม์ ีเงินทุนเพียงพอด้วยทุนดาเนนิ งาน สว่ นใหญ่อยู่ในในทนุ ของ สหกรณอ์ ัตราการเติบโตของหนส้ี ินลดลง อัตราการเติบโตของทุนเพ่ิมข้ึนจากปกี ่อนและได้รับผลตอบแทนต่อส่วนของทนุ ในเกณฑด์ ี ความพอเพยี งของเงินทุนต่อความเสย่ี งจึงค่อนข้างดี 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สนิ คา้ ของสหกรณ์ มอี ุปกรณ์ในการทางานท่ีทันสมัย 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - ลูกหน้ีของสหกรณ์ชาระหนี้เป็นไปตามงวดการชาระอย่างสม่าเสมอ - ใชเ้ งินทุนของสหกรณเ์ อง - สหกรณม์ ีการบริหารทดี่ ี - สหกรณ์มีความเข้มแข็งสามารถพึงพอตนเองได้ จากการวิเคราะหส์ หกรณข์ ้อมูลสหกรณ์ - สหกรณ์มีการบริหารจัดการท่ีดี มีความพร้อมในการดาเนินธุรกิจดาเนินการตามระเบียบ ข้อบังคับ - สหกรณม์ ีความเข้มแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ซึ่งต้องอยู่ภายใต้การดแู ลจากภาครัฐ แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ ั้น 1 และชนั้ 2  ยกระดบั สหกรณ์ช้นั 2 และ ชั้น3 สู่ช้ันทดี่ ขี นึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยูใ่ นระดบั ท่ดี ขี ้ึน 3) อืน่ ๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 436

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร ดาเนนิ การ 1.1กิจกรรมยกระดับสหกรณ์ช้ัน 1 และ ชน้ั 2สู่ช้ันที่ดีขึน้ 1 คร้งั ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กจิ กรรมรกั ษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กจิ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมีสว่ นร่วมของสมาชิกไมน่ ้อยกว่าร้อยละ60 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธุรกจิ เพ่อื ใหบ้ รกิ ารตามความตอ้ งการของสมาชิก 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ์/ 4 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1กจิ กรรมเขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการ 3.2กิจกรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหน้ีสนิ สมาชิก 1 ครง้ั 1.1กจิ กรรม การแกไ้ ขปญั หาหนส้ี นิ ของสมาชกิ สหกรณ์ 2 ครั้ง ต.ค.63 - ก.ย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสรมิ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณ์ใหน้ าหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ต.ค.63 - ก.ย.64 ลงชื่อ..............อ...ร...ญิ.....ช...ัย.......ส...ขุ....ใ..จ.......(..แ...ทเจนา้รหายนม้าือทชี่ผ่อื รู้ )ับผิดชอบ (นายอริญชัย สุขใจ) วนั ท่ี 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 437

103. สหกรณ์ : ออมทรัพยศ์ ูนยซ์ ่อมสร้างส่ิงอุปกรณ์สายสรรพาวุธ จากดั ประเภทสหกรณ์ : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทว่ั ไป ปีบัญชีสน้ิ สุดวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562 1.1 จานวนสมาชกิ 475ราย 1.2 จานวนสมาชิกทีร่ ว่ มทาธุรกิจ 395 ราย 1.3 ธรุ กจิ หลกั ธรุ กจิ สนิ เช่ือ 1.4 ผลผลติ หลกั …..-…… 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเกรด A 1.6 ระดับชน้ั สหกรณ์ระดับ 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต…..-……. 1.8 การแปรรปู ……-……. 1.9 ผลติ ภณั ฑ์เดน่ ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพ้นื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณเ์ ช่น ฉางโกดังโรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 67,829,700.00 88,995,650.00 100,565,320.00 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 12,303,437.26 16,895,861.85 15,517,950.99 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสินค้ามาจาหนา่ ย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ - - - - - - รวม 80,133,137.26 105,891,511.85 116,083,270.99 4) สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั สินทรัพย์รวม บาท 83,745,632.41 95,349,023.07 101,606,170.63 สินทรัพย์หมุนเวียน บาท 23,373,175.08 22,817,536.80 25,104,901.15 หนี้สินรวม บาท 12,338,437.26 16,913,361.85 15,557,958.99 หนส้ี ินหมนุ เวียน บาท 12,338,437.26 16,913,361.85 15,557,958.99 ทุนของสหกรณ์ บาท 71,407,186.15 78,435,661.22 86,048,211.64 ทนุ สารอง บาท 7,934,596.08 8,392,527.01 8,877,547.21 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 4,579,309.29 4,850,201.99 5,513,068.05 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 438

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นับ อตั ราส่วนทางการเงนิ ทีส่ าคัญ 0.17 6.41 0.22 0.18 - อตั ราส่วนหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 5.47 6.18 6.41 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 1.89 5.09 5.43 -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 0.09 1.35 1.61 -อตั ราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 0.09 0.09 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจา้ หนา้ ที่ - สหกรณ์มีเจ้าหน้าท่ี 4 ท่านได้รับความอนุเคราะห์จากต้นสังกัดคือ ศูนย์ซ่อมสร้างส่ิงอุปกรณ์สาร สรรพาวธุ ส่งเจ้าหนา้ ที่มาชว่ ยงาน สหกรณม์ กี ารแบ่งส่วนงานและกาหนดหน้าท่ีความรับผดิ ชอบของเจ้าหน้าที่อย่างเหมาะสม 2. ด้านการบรหิ ารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งส้ิน 101,606,162.63 บาท ทุนดาเนินงานส่วนใหญ่เป็นแหล่งเงินทุนภายใน 86,564,150.99 บาท แหล่งเงินทุนภายในน้ีคิดเป็นร้อยละ 85.20 สหกรณ์มีการเติบโตของทุนเพ่ิมขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 10.02 ดา้ นหนส้ี ินลดลงรอ้ ยละ8.16 การใช้ทุนส่วนใหญ่ของสหกรณ์เป็นการปล่อยให้สมาชิกกู้ยืม ร้อยละ 98.98 ของทุนดาเนินงาน ท้ังส้ิน อัตราส่วนหน้ีสินต่อทุน ของสหกรณ์คิดเป็น 0.18 เท่า แสดงให้เห็นว่าสหกรณ์มีการระดมทุนจากภายในสหกรณ์ในรูป เงินรบั ฝารกจากสมาชิก ซึ่งจะมีภาระผูกพันคือการจ่ายดอกเบ้ียเงินรับฝากให้แก่สมาชิก อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของทุน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.70 หมายถงึ เงินทุนจากสว่ นของสมาชิกของสหกรณ์ 100 บาท สามารถให้ผลตอบแทนได้ 6.70 บาท - สินทรัพย์ส่วนใหญ่ของสหกรณ์ คือลูกหน้ีเงินกู้ยืมของสหกรณ์ เป็นเงินจานวนท้ังส้ิน 100,565,328 บาท คิดเป็นร้อยละ 98.98 แสดงถึงว่า สหกรณ์ให้ความสาคัญต่อการให้เงินกู้ยืมแก่สมาชิกมากเพราะสินทรัพย์ส่วนใหญ่คือการ ปล่อยเงนิ ใหก้ ้ใู หแ้ ก่สมาชกิ อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ คิดเป็นร้อยละ 58.60 เป็นอัตราส่วนท่ีแสดงกาไรสุทธิต่อสินทรัพย์ รวมของสหกรณ์ แสดงให้เห็นว่าสหกรณ์ได้นาสินทรัพย์ทั้งสิ้นท่ีมีอยู่ไปใช้ในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพเพียงไร ทาให้ ไดผ้ ลตอบแทนรับผลตอบแทนสูงหรือไม่เพียงใด 3. ดา้ นวตั ถดุ ิบ* (Material) เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - มีการจัดทาบัญชีโดยใช้โปรแกรม Saving2.1 ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ โดยมีการจัดทาบัญชีโดยระบบ มือมาเทียบว่าตรงกันหรือไม่ทุกๆเดือน 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และ การดาเนนิ ธรุ กจิ (Method) - สหกรณม์ ีการดาเนนิ ธุรกจิ 2ประเภทคือ ธุรกิจสินเช่ือ และธุรกิจรับฝากจากสมาชิก ถ้าเทียบสัดส่วนการ ประกอบธุรกิจให้เงินกู้ยืมร้อยละ 86.63 ส่วนธุรกิจรับฝาก ร้อยละ 13.37 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์มีอัตราการขยายตัวลดลง ร้อยละ 14.22 เนื่องจากในปีปัจจุบันมีการปล่อยเงินกู้น้อยลงกว่าปีก่อน โดยภาพรวมการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์จะให้ ความสาคัญกับธุรกิจการให้เงินกู้ยมมากกว่าธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์มีรายได้ท้ังสิ้น 6,440,044.22 บาท ค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 439

926,976.17 บาท ทาให้มีผลกาไรสุทธิ 5,513,068.05 บาท หรือมีกาไรสุทธิ เฉลี่ย 11,606.46 บาท แม้ว่าสหกรณ์จะมี ความสามารถในการทากาไร แต่หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณเงินออมกับหน้ีของสมาชิกแล้ว พบว่าสมาชิกมี ปริมาณเงินออมเฉล่ีย 182,240.32 บาท/คน แต่จะมีปริมาณหนี้สินเฉลี่ย 211,716.48 บาท/คน สหกรณ์อาจจะต้องพิจารณา ส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมเงินมากข้นึ จากการวเิ คราะห์สหกรณ์ - ความเพียงพอของสภาพคล่องต่อความต้องการเงินของสหกรณ์ ในภาพรวมถือว่าการดาเนินธุรกิจ ประสบความสาเร็จมีกาไร และมีสภาพคล่องทางการเงินพอใช้ได้ คือมีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนน้อยกว่าหนี้สิน หมุนเวียนที่ 1.61 เท่า ซ่ึงสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นลูกหน้ี ร้อยละ 98.98 เงินสด/เงินฝากธนาคาร ร้อยละ 0.87 แต่ หนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝาก ดังนั้นการแปรสภาพเป็นเงินสดของสินทรัพย์ของสหกรณ์จะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการ บริหารเงินรับฝากและลูกหนี้เงินกู้ สหกรณ์ควรกระตุ้นให้สมาชิกท่ีฝากเงินให้อยู่ในรูปของการถือหุ้นมากกว่าการฝากเงิน เพื่อ ลดความเสย่ี งในกรณีที่สมาชิกมาถอนเงนิ คราวละมากๆ ซึ่งอาจทาใหส้ หกรณ์ขาดสภาพคล่องทางการเงินได้ แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณ์ชั้น 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ชัน้ 2 และชั้น 3 สู่ชั้นทดี่ ีขนึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับท่ดี ีข้ึน 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1กิจกรรมการรักษาระดบั ช้ันสหกรณ์ ระดับ1 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กจิ กรรมการรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดเี ลิศ 1 แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กิจกรรมการรกั ษาการให้บรกิ ารสมาชกิ ของสหกรณ์ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 1 แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 70 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธรุ กิจใหบ้ รกิ ารตามความตอ้ งการของสมาชกิ 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ์/ 4 ครั้ง ต.ค.63–ก.ย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กิจกรรมการเข้าร่วมประชมุ คณะกรรมการ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 440

แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักส่งเสรมิ ประสิทธิภาพในการดาเนนิ ธุรกิจของ 1 แห่ง สหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค.63 – ก.ย.64 1.1กจิ กรรมสง่ เสริมการดาเนินธุรกจิ ให้มีปรมิ าณธุรกิจเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่า 1 แหง่ ร้อยละ 3 ต.ค.63 – ก.ย.64 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักสง่ เสรมิ การจดั ทาแผนกลยุทธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1กจิ กรรมให้สหกรณ์มีการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนินงานเพื่อเป็น แนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสรมิ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ให้นาหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ.........อ...ม....ร..ร...ตั...น....์..ไ..ช...ย....ณ....ร...ง...ค...์....(แเจทา้ นหรนาา้ยทม่ีผือชรู้ ือ่ับ)ผิดชอบ (นางสาวอมรรตั น์ ไชยณรงค)์ วันที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 441

104. สหกรณ์ : ออมทรพั ย์สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย จากดั ประเภทสหกรณ์ : ออมทรพั ย์ การวิเคราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลท่วั ไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชกิ สามัญ 943 ราย สมาชกิ สมทบ 20 ราย ปีบัญชี : 31 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ทร่ี ่วมทาธรุ กิจ : 943 ราย 1.3 ธรุ กิจหลกั : สินเชอ่ื /รบั ฝากเงิน 1.4 ผลผลิตหลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดบั ชัน้ สหกรณ์ : ชนั้ 2 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลติ ภณั ฑ์เด่น : - 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เช่น ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไม่มี) 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธรุ กจิ สนิ เชื่อ 224,506,250.29 225,489,337.09 217,749,200.47 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 313,507,049.92 359,739,276.65 416,139,955.83 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กิจจัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - - - - รวม 538,013,300.21 585,228,613.74 633,889,156.30 4) สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 1,203,432,294.57 1,263,196,728.67 1,517,459,712.54 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 226,176,496.03 350,657,934.22 493,230,070.28 หน้ีสนิ รวม บาท 683,830,951.11 699,779,650.19 917,208,430.16 หนีส้ นิ หมนุ เวียน บาท 678,973,875.32 694,208,620.67 910,892,238.92 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 519,601,343.46 563,417,078.48 600,251,282.38 ทนุ สารอง บาท 34,432,268.11 38,398,857.91 43,075,361.47 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 39,665,898.01 46,765,035.57 42,149,930.25 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 442

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 อตั ราส่วนทางการเงินทส่ี าคัญ -อตั ราส่วนหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 1.32 1.24 2.53 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 7.63 8.30 7.02 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์(ROA) รอ้ ยละ 3.30 3.70 4.60 -อตั ราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 0.33 0.51 0.54 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.03 0.03 0.05 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไมม่ ี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไม่มี -  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ดา้ นบคุ ลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหนา้ ท่ี - สหกรณ์ได้มีการแบ่งแยกหน้าท่ีในการดาเนินงานออกเป็น 3 ฝ่าย โดยแบ่งเป็นฝ่ายการเงิน บัญชี และ เงินกู้ มกี ารใชโ้ ปรแกรมบัญชี 2. ดา้ นการบริหารเงินทุน (Money) -ความเพยี งพอของเงินทุนสหกรณม์ ีหน้ีสินทั้งส้ิน 917.21 ล้านบาท และทุนของสหกรณ์ 600.25 ล้านบาท เทียบอตั ราสว่ นของหนีส้ ินต่อทนุ เท่ากับ 1.53 เท่า แสดงถงึ หนี้สนิ ทีส่ ูงกว่าเงนิ ทนุ 1.53 เทา่ - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีกาไรสุทธิในปีน้ี 42.15 ล้านบาท และสินทรัพย์ถัวเฉลี่ย1,390.33 ล้าน บาท เทยี บอัตราความสามารถผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เท่ากับ 3.03% - สภาพคล่อง ปีนี้สหกรณ์มีสินทรัพย์หมุนเวียน 501.43 ล้านบาท และหน้ีสินหมุนเวียน 910.89 ล้านบาท เทียบอัตราสว่ นหมนุ เวียนเท่ากับ 0.55 แสดงถงึ ความสามารถสภาพคล่องการชาระหนขี้ องสหกรณ์ 3. ดา้ นวตั ถุดบิ * (Material) เครอ่ื งจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - ไมม่ ี 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธรุ กจิ (Method) - สหกรณม์ ีรายไดจ้ าการปลอ่ ยกใู้ หส้ มาชิกปีน้ีจานวน 15.13 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนประมาณ 0.46 ล้าน บาทมผี ลตอบแทนจากเงินลงทุนจานวน 37.01 ล้านบาท สูงกว่าปีก่อนประมาณ 1.28 ล้านบาท มีรายได้จากเงินฝากจานวน 14.98 ล้านบาท เพ่ิมข้ึน 3.73 ล้านบาท และกาไรจากการไถ่ถอนและจาหน่ายเงินลงทุน 2.13 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 4.99 ล้านบาท รวมเปน็ รายได้จากดอกเบ้ียและเงินลงทุนลดลง 0.44 ลา้ นบาท - ขีดความสามารถในการบริหาร สหกรณ์มีเงินให้กู้ระหว่างปี 178.84 ล้านบาท และเงินรับฝากระหว่างปี 286.63 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 465.47 ล้านบาท เทยี บกับปีก่อนสูงขึ้นร้อยละ 16.32 แสดงให้เหน็ ถึงการเติบโตของธรุ กิจเพิ่มขนึ้ - การทากาไร สหกรณ์มีอัตรากาไรสุทธิต่อรายได้ ดอกเบ้ียและผลตอบแทนในปีน้ีเท่ากับร้อยละ 60.86 ซง่ึ เปน็ อตั ราท่แี สดงถงึ ความสามารถในการทากาไร Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 443

จากการวิเคราะหข์ ้อมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังน้ี กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มท่ีต้องแกไ้ ขปัญหา สหกรณท์ ตี่ ้องพัฒนาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ทม่ี ขี ้อบกพร่องต้องไดร้ บั การแก้ไข/และเร่งรัด (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นคิ ม) ติดตาม สหกรณท์ ่ตี ้องการพฒั นาและเพ่ิมศักยภาพการดาเนินธรุ กจิ  กลุ่มสหกรณ์ท่ีมีปญั หาหนคี้ ้างนาน โดยการสนับสนุนจากภาครฐั  สหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้สูญ สหกรณท์ ่ีเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ โดยให้ภาครฐั แนะนา  สหกรณ์ทจ่ี าเป็นต้องฟนื้ ฟูกิจการ ส่งเสริมและกากับดูแลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ทคี่ วรควบกิจการกับสหกรณอ์ ่ืน  สหกรณ์ที่ควรเลกิ กจิ การ  สหกรณ์ที่มีปัญหาอ่ืน ๆ (ระบ)ุ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี 1) ระดับชนั้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ นั้ 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณช์ น้ั 2 และชั้น 3 ส่ชู นั้ ทด่ี ีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับที่ดีข้ึน 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผู้ดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. ระดับชนั้ สหกรณ์ 4 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 รักษาช้ัน1และชนั้ 2 ยกระดับสหกรณ์ ชั้น2และชั้น3สู่ชนั้ ทีด่ ีข้นึ 1.1กิจกรรมผลกั ดนั สหกรณใ์ ห้ผา่ นมาตรฐานหรืออย่ใู นระดับดีข้นึ ไป แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั พัฒนาความเข้มแขง็ สหกรณ์ 1.1กิจกรรมการแนะนาให้ความรู้ การบริหารความเสีย่ งในการลงทุน 2 ครงั้ ต.ค.63-ก.ย.64 ลงช่ือ..............ส....วุ...ทิ....ย...์...ท....ุม....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจร้าาหยนมา้ อื ทช่ีผ่ือรู้)ับผิดชอบ (นายสวุ ทิ ย์ ทุมมณี) วนั ท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 444

105. สหกรณ์ : ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยครู าโบ จากัด ประเภทสหกรณ์ : ออมทรัพย์ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : 1.1 จานวนสมาชกิ : สมาชกิ สามัญ 393 ราย ปบี ัญชี : 31 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ท่รี ่วมทาธุรกิจ : 299 ราย 1.3 ธุรกิจหลกั : สนิ เชือ่ /รับฝากเงิน 1.4 ผลผลิตหลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด B 1.6 ระดับชนั้ สหกรณ์ : ช้นั 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรปู : - 1.9 ผลติ ภณั ฑเ์ ด่น : - 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เช่น ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไม่มี) 3) ข้อมูลการดาเนินธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 164,367,002.88 138,175,688.00 103,116,451.21 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 27,001,42.68 27,690,599.25 13,422,837.59 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาหนา่ ย - - - 6. ธรุ กิจบริการ - - - - - รวม 164,367,002.88 138,175,688.00 116,539,288.80 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 181,658,016.69 171,057,873.02 157,931,035.02 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 29,356,972.44 27,457,871.82 24,717,169.16 หน้ีสินรวม บาท 119,736,155.42 113,509,036.51 101,079,905.83 หน้ีสนิ หมุนเวียน บาท 44,238,860.42 45,290,839.51 48,781,608.83 ทุนของสหกรณ์ บาท 61,921,861.27 57,548,836.51 56,581,129.19 ทนุ สารอง บาท 14,475,672.00 10,351,763.38 10,613,263.38 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท (4,123,908.62) 2,610,225.24 1,443,566.93 อัตราส่วนทางการเงนิ ท่สี าคัญ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 445

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อตั ราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 1.93 1.97 1.79 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ -6.66 4.54 2.55 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์(ROA) รอ้ ยละ -2.27 0 0 -อตั ราสว่ นทุนหมนุ เวียน เท่า 0.66 0.61 0.51 - อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.08 0.06 0.07 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไม่มี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี -  ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พ้นื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หน้าท่ี - สหกรณ์มสี มาชกิ คงเหลือ ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 มีจานวน 393 คน ลดลงจากปกี ่อน 16 คน - สหกรณ์ได้มกี ารจดั จ้างเจา้ หน้าทีใ่ นการปฏิบัติงาน และมอบหมายกรรมการให้ทาหน้าท่ีผู้จัดการสหกรณ์ โดยจ่ายค่าตอบแทน เพื่อช่วยในการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี รวมทั้งจ้างผู้จัดทาบัญชีมาช่วยในการจัดทาบัญชีให้กับ สหกรณ์ ท้ังน้ีเพื่อให้มีการแบ่งแยกหน้าท่ีด้านการเงินการบัญชีได้อย่างเหมาะสม เจ้าหน้าท่ีได้รับมอบหมายมีความรู้ความสามารถ เหมาะสมกับตาแหน่งที่ได้รับมอบหมาย แต่อย่างไรก็ตาม ควรส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีสหกรณ์จัดจ้างให้สามารถจัดทาบัญชี และงบ การเงินได้เอง ดังน้ัน สหกรณ์อาจต้องส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ที่รับการพัฒนาเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้และเป็นไปตามท่ีกรมตรวจ บัญชสี หกรณก์ าหนด 2. ด้านการบริหารเงนิ ทุน (Money) - ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเส่ียง อัตราส่วนหน้ีสินต่อทุน มีอัตราส่วน 1.78 เท่า ปีก่อน 7.97 เท่า แสดงว่าสหกรณม์ หี น้ีสินในสดั ส่วน1.78เทา่ โดยหน้ีสินโดยส่วนใหญ่มาจาก เงินกู้ยืมจากแหล่งภายนอก ร้อยละ 43.18 และเงินรับ ฝากสหกรณ์อ่ืน ร้อยละ 19.01 หากพิจารณาในส่วนของหนี้สินทั้งส้ิน จะเป็นหนี้ระยะสั้น ร้อยละ 30.89 และเป็นหนี้สินระยะยาว ร้อยละ 33.11 และในการนาเงินไปลงทุน สหกรณ์ลงทุนในรูปของลูกหน้ีเงินกู้ร้อยละ 65.29 แยกเป็นลูกหนี้ระยะสั้น ร้อยละ 9.94 เป็นลูกหนี้ระยะยาว ร้อยละ 55.35 หากพิจารณาจากแหล่งท่ีมาและใช้ไป โดยพิจารณาระยะสั้นยาว สหกรณ์มีการบริหารงานอย่าง เหมาะสมพอควร - หากพิจารณาสัดส่วนของทุนสารองต่อสินทรัพย์ทั้งส้ินสหกรณ์มีอัตราส่วน 0.07 เท่า ปีก่อน 0.06 เท่า แต่เม่ือเปรียบเทียบกับทุนดาเนินงานอยู่ในสัดส่วนท่ีไม่มากเท่าท่ีควร ดังนั้น การพิจารณาจัดสรรต่อไป สหกรณ์อาจพิจาณา มากกว่าที่กฎหมายกาหนด ซง่ึ สง่ ผลให้สหกรณ์มีความเขม้ แขง็ ขึ้น -ด้านคุณภาพสนิ ทรพั ย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.05 รอบ เท่ากับปีก่อน อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 0.88 ปีก่อนอัตราร้อยละ 1.48 อัตราเติบโตของสินทรัพย์ ร้อนละ (7.67) ปีก่อน ร้อยละ (5.84) อัตราการเติบโตของ สินทรัพย์มีอัตราติดลบมากข้ึน แสดงว่าการเติบโตของสินทรัพย์ถดถอยมากข้ึนเม่ือเปรียบเทียบกับปีก่อน เนื่องจากสหกรณ์มีการ ลดลงของทุนดาเนนิ งานลดลงอย่างต่อเน่ือง ผลจากการสหกรณ์ชาระหน้ีสินต่อเจ้าหน้ีให้กู้ แต่มีการรับฝากเงินจากสหกรณ์เพ่ิมข้ึน แตก่ ารสง่ ชาระหนค้ี นื ต่อเจ้าหนี้เงินกู้มีมากกว่าเงินฝากเงินเพิ่ม ในขณะท่ีลูกหนี้เงินกู้ ณ วันส้ินปีคงเหลือลดลงจากปีก่อน จานวน 9,434,634.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 8.53 ระหว่างปีสหกรณ์มีภาระดอกเบ้ียจ่ายเงินกู้และเงินฝาก คิดเป็นร้อยละ 57.72 ปีก่อน ร้อยละ 55.10 ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ลดลง หากพิจารณาคุณภาพของสินทรัพย์ พบว่า สหกรณ์มีลูกหนี้อ่ืน ๆ ที่ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 446

ประกอบด้วยลกู หนที้ ข่ี าดสมาชกิ ภาพจานวน 89,719.80 บาท ลูกหน้ีตามคาพิพากษา จานวน 322,02.00 บาท และลูกหนี้ระหว่าง ดาเนินคดี จานวน 267,157.10 บาท รวมท้ังส้ิน 1,481,878.90 บาท ทาให้สหกรณ์ต้องรับภาระค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ จานวน 1,168,971.90 บาท ดังนั้น สหกรณ์ต้องติดตามหนี้จากลูกหนี้ที่ขาดสมาชิกภาพ รวมทั้งป้องกันมิให้เกิดลูกหน้ีดังกล่าวเพิ่มขึ้นอีก ทั้งน้ีอยู่กับการการกาหนดหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ยืมรัดกุมมากขึ้น รวมทั้งหามาตรการป้องกันความเสี่ยงจากการที่สมาชิกไม่ สามารถส่งชาระหน้ี และป้องกันมิให้เกิดลูกหน้ีเงินให้กู้ยืมท่ีหลักประกันบกพร่อง อาทิเช่น คนค้าประกันไม่ครบ หรือค้าประกัน เกนิ กวา่ ทีร่ ะเบียบกาหนด เปน็ ต้น -สภาพคล่องทางการเงิน สหกรณ์มีอัตราทุนหมุนเวียน 0.51 เท่า ปีก่อน 0.61 เท่า ซ่ึงลดลงจากปีก่อนและ หากพิจารณาจากส่วนประกอบของสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่จะอยู่ในลูกหน้ีเงินกู้ซึ่งสามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนดท้ังจานวน สหกรณม์ สี ภาพคล่องทางการเงนิ และสามารถชาระหนี้สินระยะสั้นได้ตามกาหนด อย่างไรก็ตามสภาพคล่องของสหกรณ์ย่อมข้ึนอยู่ กับการบริหารลูกหนี้เงินกู้ด้วย และพิจารณาจากส่วนประกอบของหนี้สินหมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมและเงินรับฝากสมาชิก ซ่ึงในปัจจุบันอัตราดอกเบ้ียในท้องตลาดมีการปรับตัวลดลงเป็นระยะ ๆ ดังน้ัน สหกรณ์ควรบริหารด้านเงินรับฝากให้ทันต่อ สถานการณ์ และระมัดระวังการไหของเงินรับฝากท่ีมีอัตราเพิ่มจานวนมาก แต่อย่างไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบว่าสหกรณ์มีการ บริหารเงินทุนท่ีมีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่บางส่วน อาทิเช่น การนาเงินไปฝากสหกรณ์อื่น สหกรณ์ต้องระมัดระวังในการนา เงินทุนของสหกรณ์ไปฝากหรือให้เงินกู้กับสหกรณ์ที่มีผลประกอบการท่ีไม่ดี อาจส่งผลกระทบให้สหกรณ์ต้องรับภาระค่าเผ่ือหนี้ สงสยั จะสูญ ซงึ่ ส่งผลกระทบต่อกาไรของสหกรณ์ได้ 3. ดา้ นวตั ถุดิบ* (Material) เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - ไม่มี 4. ดา้ นการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 2 ด้าน ธุรกิจของสหกรณ์ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.25 ปีก่อนอัตราลดลง ร้อยละ (13.34) หากพิจารณาข้อมูลการทาธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์จะมีธุรกิจที่เพิ่มเทียบกับปีก่อน โดยรายละเอียดการดาเนินธุรกิจ ดังน้ี - ธุรกิจสินเช่ือ สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจถึงร้อยละ 81.45 ของข้อมูลธุรกิจรวม ในระหว่างปีสหกรณ์จ่าย เงินกู้ให้แก่สมาชิก จานวน 139,479516.00 บาท เฉล่ียเดือนละ 11,623,293.00 บาท ปีก่อน 138,176,688.00 บาท เพิ่มข้ึนจากปี ก่อน จานวน 1,303,828.00 บาท วันสิ้นปีสหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้ยืมคงเหลือ 299 ราย เป็นเงิน 102,768,451.21 บาท มีรายได้ ดอกเบยี้ เงนิ ให้กู้ คดิ เป็นร้อยละ 83.56 ของรายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากการลงทุน -การรับฝากเงิน สหกรณ์รับฝากเงินระหว่างปีท้ังสิ้น 31,773,220.46 เฉล่ียเดือนละ 2,647,768.37 บาท วัน ส้ินปีสหกรณ์มีเงินรับฝากคงเหลือ จาวน 31,733,220.46 บาท แยกเป็นของสมาชิกจานวน 40 ราย เป็นเงินจานวน 1,756,055.13 บาท เป็นของสหกรณ์อ่ืน จานวน 8 แห่ง เป็นเงินจานวน 30,017,165.33 บาท มีดอกเบ้ียจ่าย คิดเป็นร้อยละ 16.29 ของรายได้ ดอกเบย้ี และผลตอบแทนจากการลงทุน - ด้านทากาไร สหกรณ์มีอัตรากาไรสุทธิ ร้อยละ 19.11 ปีก่อนร้อยละ 31.11 มีอัตราค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ต่อกาไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดาเนินงานร้อยละ 52.32 ปีก่อนร้อยละ 35.59 กาไรต่อสมาชิกโดยเฉล่ีย 3,673.20 บาทต่อคน ปีก่อน 6,381.97 บาทต่อตน เงินออมสมาชิกโดยเฉลี่ย11,712.61 บาทต่อคน ปีก่อน 11,29.68 บาทต่อคน หนี้สินต่อสมาชิกโดยเฉลี่ย 262,382.83 บาทต่อคน ปีก่อน 275,919.52 บาทต่อคน หากวิเคราะห์ในภาพรวม จะพบว่าสหกรณ์มีอัตรากาไรสุทธิลดลงมีอัตรา ค่าใช้จ่ายต่อกาไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดาเนินงานสูงขึ้น กาไรต่อสมาชิก ลดลงเม่ือเทียบกับปีก่อน รวมทั้งเงินออมและหนี้สินสมาชิก เพิม่ มากขนึ้ เม่ือเทียบกับปีก่อนเช่นเดียวกัน หากพิจารณาจากข้อมูลสมาชิกท่ีมีหน้ีสิน จานวน 299 ราย ขณะที่จานวนสมาชิกที่มี เงินออมมีจานวน 40 ราย ซ่ึงมีสัดส่วนของสมาชิกที่มีหน้ีสินมากกว่าสมาชิกท่ีมีเงินออม ซ่ึงเป็นการสะท้อนถึงกาลังความสามารถ ในการชาระหน้ีในอนาคตของสมาชิก และหากพิจารณาจากจานวนสมาชิก จะเห็นว่ามีจานวนสมาชิกท่ีเป็นหนี้มากกว่าสมาชิกท่ีมี การออมเงินในรูปของเงินฝาก ดังน้ันสหกรณ์ต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการทาธุรกรรมกับสหกรณ์ทั้งระบบ ซงึ่ เปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของการจดั ตัง้ สหกรณ์ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 447

จากการวิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังน้ี กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มที่ต้องแก้ไขปัญหา สหกรณ์ทต่ี ้องพฒั นาให้เป็นองค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ท่มี ีข้อบกพร่องต้องไดร้ ับการแก้ไข/และเร่งรัด (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นิคม) ตดิ ตาม  สหกรณ์ที่ต้องการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการดาเนินธรุ กิจ  กลมุ่ สหกรณ์ที่มีปัญหาหน้คี ้างนาน โดยการสนับสนุนจากภาครฐั  สหกรณ์ที่มปี ัญหาหนสี้ ูญ  สหกรณ์ทีเ่ ข้มแข็งสามารถพ่งึ ตนเองได้ โดยให้ภาครัฐแนะนา  สหกรณ์ทจ่ี าเป็นต้องฟื้นฟูกิจการ ส่งเสริมและกากบั ดแู ลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ที่ควรควบกิจการกับสหกรณอ์ ื่น  สหกรณ์ทคี่ วรเลกิ กิจการ  สหกรณ์ทม่ี ีปัญหาอ่ืน ๆ (ระบ)ุ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ชัน้ 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณช์ ั้น 2 และชั้น 3 สู่ชั้นท่ดี ีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับที่ดีขึ้น 3) อื่น ๆ  แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผ้ดู าเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ระดับชน้ั สหกรณ์ รกั ษาช้ัน1และชัน้ 2  ยกระดับสหกรณ์ ชน้ั 2และชัน้ 3สชู่ ้ันทีด่ ีขน้ึ 1.1กจิ กรรมให้คาแนะนามาตรฐานสหกรณ์และการรกั ษาระดบั ช้ันของสหกรณ์ 4 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ดาเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พัฒนาการดาเนนิ ธุรกิจ 1.1กิจกรรมแนะนาการระดมทุนจากสมาชกิ สหกรณ์เพ่ือลดตน้ ทุนเงิน 2 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 ลงชื่อ..............ส....ุว...ทิ....ย...์...ท....ุม....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจร้าาหยนมา้ อื ทช่ีผอ่ื ู้ร)ับผิดชอบ (นายสุวทิ ย์ ทุมมณี) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 448

106. สหกรณ์ : ออมทรัพยส์ หภาพแรงงานนิคเคสยามอลูมิเนยี ม จากดั ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก :สมาชิกสามญั 124 ราย สมาชกิ สมทบ 36 ราย ปบี ัญชี: 31 ธนั วาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ่วมทาธุรกิจ : 115 ราย 1.3 ธุรกิจหลกั : สนิ เชอื่ 1.4 ผลผลิตหลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดบั ชนั้ สหกรณ์: ช้นั 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลติ ภณั ฑ์เดน่ : - 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาด เชน่ ฉางโกดัง ฯลฯ 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 32,748,773.00 21,212,163.72 24,451,569.49 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 1,334,853.97 3,514993.00 262,096.97 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต 0 0 0 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต 0 0 0 5. ธรุ กิจจัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย 0 0 0 6. ธรุ กจิ บริการ 0 0 0 รวม 34,082,853.97 24,272,156.72 24,713,666.46 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นับ สนิ ทรัพย์ บาท 31,410,959.04 31,497,250.92 ปี 2562 หนส้ี ิน บาท 10,911,914.32 11,076,133.02 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 20,499,044.72 20,421,117.90 29,610,510.03 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 1,266,019.04 1,320,606.21 10,467,849.53 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ทีส่ าคัญ 19,142,660.50 -อตั ราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.53 0.54 1,027,107.70 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 6.18 7.15 -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 4.03 7.26 0.54 (ROA) 5.81 6.97 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 449

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั -อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 2.14 1.35 2.30 -อัตราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.08 0.08 0.09 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) - ตามคาส่ังกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ท่ี สตท.1 215/2562 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 ได้แต่งตั้งนางสาว วนาพร ทองทิ เป็นผู้สอบบัญชีสหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานนิคเคสยามอลูมิเนียม จากัด จังหวัดปทุมธานี สาหรับปี สน้ิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 2562 ผสู้ อบบญั ชีไดเ้ ขา้ ตรวจสอบบัญชปี ระจาปี พบวา่ สหกรณม์ ีข้อสังเกต ดงั น้ี 1. ตามข้อบังคับของสหกรณ์ พ.ศ. 2561 ข้อ 39 กาหนดว่า สมาชิกผู้ไม่มีหนี้สินอยู่ต่อสหกรณ์ในฐานะ ผู้ค้าประกันอาจลาออกจากสหกรณ์ได้ โดนแสดงความจานงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการดาเนินการ และเม่ือคณะกรรมการ ดาเนินการได้สอบสวนพิจารณาเห็นว่าเป็นการชอบด้วยข้อบังคับและอนุญาตแล้ว จึงให้ถือว่าลาออกจากสหกรณ์ได้ จากการ ตรวจสอบพบว่ามีสมาชกิ 4 คน ลาออกถอนเงนิ ค่าหุ้นแลว้ แต่ยังมีภาระค้าประกนั เงนิ กู้อยู่ ดังนี้ ที่ ชอื่ ผคู้ ้าประกัน เลขท่ี ชอ่ื ผกู้ ู้เงนิ เลขท่ี ประเภทเงินกู้ สญั ญาเลขที่ จานวนเงนิ สมาชิก สมาชิก คงเหลือ (บาท) 1. นายยุทธนาวาดงาม 246 นายสมชายศรีสงคราม 463 เงินกู้สามัญ 2560000037 440,622.83 นายสมชายศรีสงคราม 463 เงินกู้สามัญ 2560000018 41,920.00 นายพัฒนธรเทียมทะนง 493 เงนิ กู้ฌาปณกจิ 2560000001 35,350.00 สงเคราะห์ นายพัฒนธรเทยี มทะนง 493 เงนิ กูพ้ ิเศษ 2560000024 50,920.00 2. นายคงวุฒิ ฉ่าทอง 284 นายเสกสรรชืน่ จิต 306 เงินกูส้ ามัญ 2561000038 684,202.37 นายอนนั ต์ ปะเกียร 439 เงนิ กสู้ ามญั 2562000023 769,631.91 นายเอกสินสทิ ธิชัย 405 เงินกู้สามญั 2562000036 307,004.12 นายเอกสนิ สิทธิชยั 405 เงินกสู้ ามญั 2562000015 115,000.00 3. นายวีรวัฒน์พงษ์งาม 675 นายสุรยิ าคาพลิ าโสม 675 เงนิ กสู้ ามญั 2562000038 44,0000.00 4. นายสมยั ภเู ลาสงิ ห์ 254 นายรัฐพลพรมมินทร์ 543 เงินกู้พเิ ศษ 2560000035 38,392.00 รวมทั้งสนิ้ 2,525,043.23 2. ตามระเบยี บสหกรณว์ ่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก พ.ศ.2561 ข้อ 44 กาหนดว่า สมาชิกคนหน่ึงเป็นผู้ค้า ประกันสาหรับผู้กู้มากกว่าห้าคนในเวลาเดียวกันไม่ได้ จากการตรวจสอบพบว่า สหกรณ์มีสมาชิก 1 คน ค้าประกันเงินกู้เกิน กว่า 5 คน คอื นายบุญเสริม จักษุ เลขที่สมาชิก 334 ท้ังน้ี ขอให้สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานนิคเคสยามอลูมิเนียม จากัด แจ้งผลการดาเนินการ หรือ ช้ีแจงเหตผุ ลให้สานักงานตรวจบัญชสี หกรณ์ปทุมธานีทราบดว้ ย 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) -ไมม่ ี - Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 450