Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Published by cpd pathumthani, 2021-02-01 04:54:55

Description: CPS Plan 2564

Search

Read the Text Version

4. สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ป2ี 562 ปี 2561 หน่วย : บาท ปี 2560 สนิ ทรัพย์รวม บาท 62,350,641.43 52,168,522.24 65,515,460.57 สินทรัพย์หมุนเวียน 61,198,071.83 หน้ีสินรวม บาท 58,818,378.53 48,397,703,74 38,722,170.58 30,201,922.85 หน้ีสินหมนุ เวียน บาท 40,615,694.58 32,242,139.62 26,793,289.99 ทุนของสหกรณ์ ทุนสารอง บาท 31,925,468.68 23,735,405.72 - กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (5,896,156.05) อตั ราส่วนทางการเงินทส่ี าคัญ บาท 21,734,946.85 19,926,382.62 -อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทนุ (DE Ratio) 1.45 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) บาท 0 - -22.01 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) -9.00 -อตั ราสว่ นทุนหมนุ เวียน บาท 903,064.23 (5,88,557.37) 2.03 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ 0.00 เท่า 1.86 1.6 รอ้ ยละ 4.15 -2.95 ร้อยละ 1.4 -1.12 เท่า 1.84 2.03 เท่า 0.0000 0.00 5. ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์มีการแบ่งส่วนและกาหนดหน้าที่ความรบั ผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีแตล่ ะตาแหนง่ ไว้ชัดเจนเว้นแตผ่ ู้จัดการ สหกรณ์ไม่ได้จัดจ้าง มีการมอบหมายใหป้ ฏบิ ตั ิงานโดยจ่ายคา่ ตอบแทน การสรรหา การบรรจุแต่งตั้งเป็นไปตามระเบียบท่ี กาหนดเจ้าหน้าที่มคี วามรู้เกี่ยวกับงานท่ีปฏิบัติ เพ่ือส่งเสริมการควบคุมภายในใหม้ ีประสิทธิภาพสหกรณ์ควรมีการสับเปล่ียน หมุนเวยี นเจ้าหน้าท่ีในการปฏบิ ตั ิงาน อีกทั้งสหกรณ์ควรมีการควบคมุ การทางานและติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติงานของ เจา้ หนา้ ท่ีทุกฝา่ ยอย่างสม่าเสมอ -สหกรณ์มีการกาหนดระเบียบต่างๆ เพื่อถือใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานเหมาะสมเพยี งพอแกธ่ รุ กจิ และการ ดาเนินงานของสหกรณ์ เวน้ แต่ สหกรณ์เก็บรักษาเงินไวเ้ กินระเบียบว่าด้วยการรับจา่ ยและเกบ็ รักษาเงินสดของสหกรณท์ ่ี กาหนดไว้ให้เก็บรักษาเงนิ สด ดงั นนั้ เพื่อป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้น สหกรณ์ ต้องปฏบิ ัติให้เป็นไปตามระเบียบท่ี กาหนด -สหกรณ์มีการกาหนดแผนการดาเนินธุรกิจ และงบประมาณรายจา่ ยไว้ โดยได้รับการอนุมตั ิต่อท่ีประชุมใหญ่ ในระหวา่ ง ปี สหกรณ์มีรายการค่าใชจ้ า่ ยบางสว่ นเกนิ กวา่ งบประมาณท่ีต้ังไว้ ด้ังนน้ั สหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณให้ครอบคลุมกับ คา่ ใช้จ่ายท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น 6. ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี – Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 51

 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพ้นื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ดา้ นบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจ้าหน้าท่ี - มีคณะกรรมการจานวน 15 คน - มีการพนักงานทาหน้าทต่ี ามฝา่ ยบัญช/ี การเงิน/สินเชื่อ/ตลาด มีการแบ่งหน้าที่ความรับผดิ ชอบตามตาแหน่งท่ีได้รับมอบหมาย - การบรหิ ารงานของคณะกรรมการดาเนินการมีการประชุมประจาเดือนทุกเดือนคณะกรรมการยึดถือและปฏบิ ตั ติ ามข้อบังคับและระเบียบที่ กาหนดไว้ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนนิ งานท้งั ส้ิน 62,350,641.43 บาท เพิ่มขึ้นจากปกี ่อนจานวน 10,182,119.19 บาท หรือเพ่ิมข้ึนจากปกี ่อนจานวน 10,182,119.19 บาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 19.52 ทุนดาเนนิ งานดังกลา่ วประกอบด้วย ทุนของสหกรณ์ จานวน21,734,946.85 บาท คิดเป็นร้อยละ 34.86 และหน้สี นิ จานวน40,615,694.58 บาท คิดเป็นร้อยละ 65.14 หากพจิ ารณาถึงความเข้มแข็งแลว้ พอเพียงของเงินทนุ ต่อความเสี่ยงแล้ว พบวา่ เจ้ายังคงมีความเส่ยี งอยู่ เนื่องจากทุนของสหกรณ์ไม่สามารถคมุ้ ครองหน้ีได้ท้ังหมด จากอัตราส่วนหนสี้ ินท้งั สิ้นตอทุทน 1.84 เท่า สหกรณ์ ดาเนินงานมผี ลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 4.34 - สหกรณ์ไดน้ าทนุ ดาเนินงานของสหกรณ์ไดน้ าทุนดาเนินงานของสหกรณ์ทีมีอยู่ไปลงทุนในสนิ ทรัพย์ ซ่ึงสว่ นใหญ่เปน็ ลูกหนี้สุทธิ ร้อยละ 63.59 รองลงมาคือ เงินสด เงินฝากธนาคารและ เงินฝากสหกรณ์ร้อยละ 25.48 ท่ดี ิน อาคาร และอุปกรณส์ ทุ ธริ ้อยละ 5.37สนิ คา้ คงเหลอื และ ทรัพยส์ นิ ร้อยละ 5.33 และหุ้นชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรปทุมธานี จากัดร้อยละ 0.23สินทรัพย์ของสหกรณ์ที่มีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนนิ งาน เพ่ือก่อให้เกิดรายได้ 0.81รอบ และในขณะเดยี่ วกันสนิ ทรัพย์ทีม่ ีทีมอี ยู่ไดน้ าไปสร้างผลตอบแทนให้กบั สหกรณ์ได้ในอัตรา ร้อยละ 1.58 ซ่ึงแสดง ให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการใชส้ ินทรัพย์อยู่ในเกณฑ์ทด่ี ีกวา่ ปีก่อน อย่างไรก็ตามสหกรณ์ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพย์สนิ ทม่ี ีอยู่ ให้มากข้นึ และเกิดผลตอบแทนสงู สดุ 3. ดา้ นวัตถดุ ิบ* (Material) เครอ่ื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - ฉางคอนกรีต ลานตาก เครื่องชงั่ สหกรณ์มอี ุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่ทนั สมัย 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกจิ (Method) - สหกรณ์มรี ายไดท้ ั้งสิน 47,520,040.41 บาท และมีคา่ ใชจ้ ่ายทั้งส้ิน 46,616,976.18 บาท ส่งผลใหส้ หกรณด์ าเนินงานมีผลกาไรสุทธิ จานวน 903,064.23 บาทคิดเปน็ ร้อยละ 1.96 ของยอดขาย/ บริการ - สภาพคล่องสหกรณ์มีอัตราส่วนทนุ หมุนเวยี น 1.84ปีก่อน2.04 แสดงถึงสภาพคล่องของสหกรณ์ลดลงจากปีก่อน เมื่อพจิ ารณาสนิ ทรัพย์ หมุนเวยี นส่วนใหญเ่ ป็นลูกหนี้เงินให้กู้ และลูกหน้ีการค้า ดังน้ัน สภาพคล่องของสหกรณจ์ ึงขน้ึ อยู่กับการบริการสินทรัพย์ดังกล่าว จากการวเิ คราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์ควรเคร่งครดั ในการยดึ ถือปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ข้อบังคับ - สหกรณม์ ีความเข้มแข็งสามารถพึงพอตนเองได้ และอยู่ภายใต้การดูแลของภาครัฐ - สหกรณค์ วรบรหิ ารลูกหน้ีใหช้ าระหน้ีตามกาหนด เพ่ือไม่ใหม้ ีผลกระทบต่อสภาพคล่อง Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 52

แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ ั้น 1 และชน้ั 2  ยกระดบั สหกรณช์ ั้น 2 และ ชัน้ 3 ส่ชู นั้ ที่ดขี นึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ท่ดี ขี ้ึน 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผ้ดู าเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1กจิ กรรมรักษาระดับช้ันสหกรณ์ จากชั้น1ช้ัน2 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ ดเี ลิศ 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 2. ด้านการพัฒนาการดาเนินธุรกิจ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ60 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจดั ทาแผนธุรกจิ เพอื่ ใหบ้ ริการตามความตอ้ งการของสมาชิก 2 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 3. ด้านการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กิจกรรม เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 3.2กจิ กรรมการควบคุมภายในสหกรณ์ 1 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหนีส้ ินสมาชกิ 3 ครง้ั ต.ค.63 - ก.ย.64 1.1กิจกรรม การแกไ้ ขปัญหาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์ 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั สง่ เสริมการจัดทาแผนกลยุทธ์ 1 ครง้ั ต.ค.63 - ก.ย.64 2.1 กิจกรรม 1 ครัง้ ต.ค.63 - ก.ย.64 2.2กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสรมิ สหกรณใ์ หน้ าหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..............อ...ร...ิญ.....ช...ยั.......ส...ขุ....ใ..จ.......(..แ...ทเจนา้รหายนมา้ ือทช่ีผอื่ รู้ )ับผิดชอบ (นายอรญิ ชัย สุขใจ) วนั ท่ี 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 53

10. สหกรณ์ : การเกษตรสามโคก จากดั ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวเิ คราะห์ข้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป ปบี ัญชีสนิ้ สุดวันท่ี 30 กันยายน 2561 1.1 จานวนสมาชกิ 1,304 ราย 1.2 จานวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทาธุรกจิ 350 ราย 1.3 ธรุ กจิ หลกั ธรุ กจิ รับฝากเงิน 1.4 ผลผลติ หลกั …….-……. 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเกรด F 1.6 ระดับชนั้ สหกรณ์ระดับ 2 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต……-…… 1.8 การแปรรปู …..-….. 1.9 ผลิตภัณฑเ์ ดน่ ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพ้นื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณเ์ ช่น ฉางโกดงั โรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมูลการดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1. ธรุ กจิ สนิ เช่ือ 19,000,600.00 9,376,800.00 743,000.00 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 42,299,981.42 32,232,492.17 8,244,870.17 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 4. ธุรกิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ 52,165,761.95 49,762,517.15 9,707,795.54 - - - รวม 113,466,343.37 46,571,809.32 18,695,665.71 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 54

4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 นบั สนิ ทรัพย์รวม บาท 225,816,998.04 190,473,319.21 132,941,601.54 สินทรัพย์หมนุ เวียน บาท 205,145,287.01 175,785,029.31 124,283,193.28 หนส้ี ินรวม บาท 243,801,966.76 239,567,294.18 235,836,662.88 หนี้สินหมุนเวียน บาท 237,755,060.14 233,544,429.18 229,324,907.88 ทนุ ของสหกรณ์ บาท (17,984,966.72) (49,093,974.97) (102,895,061.34) ทุนสารอง บาท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 0 0 0 อตั ราส่วนทางการเงนิ ท่สี าคัญ (26,258,518.71) (36,613,426.33) (55,142,477.04) -อตั ราส่วนหนส้ี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ -13.56 -2.00 -2.29 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 146.00 269.75 53.59 -อตั ราสว่ นทุนหมุนเวียน เท่า -11.63 -268.51 -41.48 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.86 0.75 0.54 0.00 0.00 0.00 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - สหกรณ์ได้กาหนดแผนงานดาเนินงาน และประมาณการรายรับ-รายจ่ายประจาปี ไว้โดยได้รับอนุมัติจาก ที่ประชุมใหญ่ประจาปี แต่ยังไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายทุกด้าน มีค่าใช้จ่ายบางรายการ ที่ประมาณการไม่ได้กาหนดไว้ สหกรณ์ ควรกาหนดแผนการดาเนินงานและงบประมาณรายรับ-รายจ่ายโดยพิจารณาจากสภาพข้อเท็จจริงท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันและความ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ตลอดจนนาปัจจัยอื่นๆตามสถานการณ์มาประกอบการพิจารณา เพื่อให้สามารถใช้แผนและงบประมาณ เป็นแนวทางในการบริหารงานและใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารการเงิน รวมท้ังควบคุมค่าใช้จ่ายแต่ละประเภทให้อยู่ภายใน วงเงินประมาณ ท่ีกาหนด - ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 สหกรณ์มีขาดทุนสะสม จานวน 124,921,894.09 บาท และมียอดรวมหน้ีสิน สูงกว่ายอดรวมสินทรัพย์ เป็นผลให้มีส่วนขาดแห่งทุน จานวน 102,895,061.34 บาท คือมีหนี้สินทั้งสิ้นมากกว่าสินทรัพย์ท้ัง สนิ สหกรณ์ควรพิจารณาปรับปรุงการดาเนินงานให้พ้นจากภาวการณ์ขาดทุน โดยการติดตามเร่งรัดการชาระหนี้ให้เป็นไปตาม กาหนดสญั ญาเพื่อเปน็ การสร้างวินัยทางการเงินให้แก่สมาชิก และทาให้สหกรณ์มีเงินทุนไหลกลับเข้ามาหมุนเวียนในระบบ ซ่ึง จะสรา้ งสภาพคล่องทางการเงินทีด่ ีแก่สหกรณ์ และคณะกรรมการดาเนนิ การยังมิได้จัดทาแผนฟื้นฟูแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์การเกษตรสามโคก จากัดกรณีจ่ายเงินล่วงหน้าค่าสินค้า-ตั๋วปุ๋ย มูลค่าความเสียหาย 91,435,842.36 บาท นายทะเบียนสหกรณ์ได้มีคาสั่งให้สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง โดยให้สหกรณ์เรียกให้บริษัทฯ ส่งมอบ ปุ๋ยตามจานวนที่ระบุในสัญญาตั๋วปุ๋ยทั้งหมด หากบริษัทไม่สามารถส่งมอบปุ๋ยได้ทั้งหมด ให้บอกเลิกสัญญาและเรียกเงินคืน พร้อมท้ังชดใช้ค่าเสียหายแก่สหกรณ์ วันท่ี 27 มกราคม 2560 สหกรณ์ฯ ได้ฟ้องร้องบริษัทปุ๋ยเป็นคดีแพ่ง ณ ศาลจังหวัด กาญจนบุรี คดีหมายเลขดา ที่ พ.63/2560 วันท่ี 25 กันยายน 2560 สหกรณ์ฯ ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกับ บริษัท แพลททินัมอะโกร จากัด และบริษัท ปุ๋ยอินทรีย์เกษตรกรไทย จากัด ยินยอมรับมอบปุ๋ยจานวน 9,680.50 ตัน ส่ง มอบใหเ้ สร็จสนิ้ ภายใน 3 ปี Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 55

 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพนื้ ฐานและสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั น้ี 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หน้าที่ - สหกรณ์มีการแบ่งแยกหน้าที่ด้านการเงินและการบัญชีออกจากกัน การมอบหมายงานและกาหนดหน้าท่ี ความรับผิดชอบของแต่ละตาแหน่งไว้เหมาะสมกับการดาเนินงาน เจ้าหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายมีความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์เพียงพอเหมาะสมกับตาแหนง่ ที่ไดร้ บั มอบหมาย 2. ด้านการบรหิ ารเงินทุน (Money) - สหกรณ์จ่ายเงินกู้ให้กับสมาชิก จานวน 743,000.00 บาท ณ วันส้ินปีมีลูกหนี้คงเหลือ จานวน 287 ราย จานวน 37,693,516.00 บาท มีดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 15,887,535.89 บาท และค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 2,314,701.15 บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญลูกหน้ีเงินให้กู้ จานวน 8,799,771.00 บาท ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 5,020,785.30 บาท ค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญค่าปรับให้กู้ค้างรับ จานวน 2,314,701.15 บาท ผล การดาเนินงานของสหกรณ์ มีผลขาดทุนเฉพาะธุรกิจ จานวน 1,033,399.78 บาท ในการบริหารธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์ควร พิจารณาวางแผนการติดตามหนี้ โดยให้ลูกหน้ีมาชาระหน้ีตามสัญญาทั้งต้นเงินและดอกเบี้ย ซ่ึงจะทาให้สหกรณ์มีเงินทุนไหล กลบั มาหมนุ เวียน ในระบบกอ่ ใหเ้ กดิ สภาพคลอ่ งทางการเงินแก่สหกรณ์ 3. ดา้ นวัตถดุ ิบ *(Material) เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ (Machine) *ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และ การดาเนินธุรกจิ (Method) - ณ วันส้ินปี สหกรณ์มีลูกหน้ีการค้าคงเหลือ จานวน 146 ราย จานวน 16,286,255.50 บาท เป็นสมาชิกสหกรณ์ 129 ราย จานวน 16,232,249.50 บาท บุคคลภายนอก 17 ราย จานวน 54,006.00 บาท สหกรณ์ต้ังค่าเผ่ือ หนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้การค้า จานวน 11,346,850.95 บาท สหกรณ์ต้องติดตามเร่งรัดการชาระหนี้ให้ได้ผลและเป็นไปตาม กาหนดสัญญาโดยเฉพาะลูกหนี้ท่ีค้างนาน สหกรณ์ควรพิจารณาดาเนินการ ตามความเหมาะสมให้ลูกหน้ีชาระหนี้คืนแก่ สหกรณโ์ ดยเรว็ เพื่อสหกรณ์จะไดน้ าเงินเป็นทุนหมุนเวยี นในการดาเนนิ งานต่อไป - ระหว่างปีสหกรณ์ขายปุ๋ยเป็นเงินเช่ือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสหกรณ์อื่นๆ กลุ่มเกษตรกร สมาคม และกองทุนหมู่บ้าน นอกเขตพ้ืนท่ีจังหวัดปทุมธานี ซ่ึงมิใช่สมาชิกของสหกรณ์ จานวน 16 ราย จานวน 3,720,000.00 บาท โดยกาหนดเงื่อนไขการชาระหนี้ให้ปลอดหน้ี 1 ปี นับแต่วันที่ในสัญญาซื้อขายปุ๋ย วันสิ้นปีมีลูกหน้ีการค้า(ต๋ัวปุ๋ย) คงเหลือ จานวน 36,062,421.00 บาท และค่าปรับค้างรับลูกหนี้การค้า (ต๋ัวปุ๋ย) จานวน 6,549,210.00 บาท และในระหว่างปีได้รับชาระ หนี้ท้ังส้ิน จานวน 622,879.00 บาท สหกรณ์ตั้งค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญลูกหน้ีการค้า (ตั๋วปุ๋ย) จานวน 18,540,590.70 บาท และไดต้ ้งั คา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสญู ค่าปรับคา้ งรับลกู หนี้การค้า (ต๋ัวปุ๋ย) ไว้เต็มจานวน ระหว่างปีสหกรณ์ได้ฟ้องร้องดาเนินคดีกับ ลูกหนี้ที่ผิดนัดชาระหน้ี โดยนับแต่วันที่ผิดนัดชาระหน้ี จานวน 3 ราย จานวน 13,566,379.90 บาท ศาลได้พิพากษาส้ินสุด แล้วท้ัง 3 ราย ณ วันสิ้นปีสหกรณ์มีลูกหน้ีตามคาพิพากษา (ต๋ัวปุ๋ย) จานวน 18,379,720.82 บาท ดอกเบ้ียลูกหนี้ตามคา พิพากษา(ต๋วั ปุย๋ )ค้างรบั จานวน 673,437.38บาท ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี (ต๋ัวปุ๋ย) จานวน 240,300.00 บาท สหกรณ์ได้ตั้ง ค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญลูกหนี้ตามคาพิพากษา (ต๋ัวปุ๋ย) และดอกเบี้ยค้างรับลูกหนี้ตามคาพิพากษา(ต๋ัวปุ๋ย) เต็มจานวน การ ดาเนินธุรกรรมด้านต๋ัวปุ๋ยไม่ประสบผลสาเร็จ กล่าวคือ สหกรณ์นาเงินไปลงทุนในการซ้ือตั๋วปุ๋ยเป็นจานวนมาก โดยไม่ใช่ เงินทนุ ของสหกรณ์สว่ นใหญเ่ ป็นเงินทนุ จากเงินรับฝากและเงินกู้ยืม ซึ่งต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับดอกเบ้ียจ่ายเป็นจานวน มากอกี ท้ังไม่สามารถพิสูจน์ความมีตัวตนของลูกหน้ีได้ รวมท้ังไม่สามารถติดตามลูกหน้ีให้ชาระหน้ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ได้ในอนาคต คณะกรรมการดาเนินการควรพิจารณาทบทวนการดาเนินธุรกรรมดังกล่าว เพือ่ ใหเ้ กดิ ผลดีแก่สมาชิกและสหกรณ์ รวมทั้งติดตามเร่งรัดหน้ีให้เสรจ็ ส้ินครบถว้ น Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 56

-ระหว่างปมี ีการลดาคาขายสินค้าต่ากว่าทุน จานวน 5 รายการ ได้แก่ ปุ๋ยตราภูเขาไฟสูตร 18-4-8 , 16-8-8 นาริญต้า ปุ๋ย 30-0-0 ไดมอนด์ ปุ๋ย 16-6-4 ไดมอนด์ และปุ๋ยอินทรีย์ตราปลามังกรเป็นผลให้วันสิ้นปี มีค่าเผ่ือมูลค่าลดลง จานวน 79,189.29 บาท ตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการวันที่ 10 มกราคม 2560 วันที่ 12 เมษายน 2560 และ วันท่ี 9 มกราคม 2561 -ลกู หนีต้ ามคาพพิ ากษา-เงนิ จ่ายล่างหน้าค่าต๋ัวปุ๋ย ตามที่สหกรณ์ได้ฟ้องดาเนินคดี กับบริษัทแพล็ททินั่ม อะโกร จากัด และบริษัทปุ๋ยอินทรีย์เกษตรไทย จากัด โดยมีสัญญาประนีประนอมยอมความ คดีหมายเลขแดงท่ี 1003/2560 ศาลจังหวัดกาญจนบุรี ลงวันท่ี 25 กันยายน 2560 ได้กาหนดให้การขนส่ง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 จานวน 3,072 ตัน แต่สหกรณ์รับมอบปุ๋ยตราปลามังกรเพียง จานวน 444 ตัน ราคาทุน 4,218,000.00 บาท ปริมาณต่ากว่า แผนการขนส่ง จานวน 2,628 ตัน ราคาทุน 24,966,000.00 บาท สหกรณ์ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสันจะสูญลูกหนี้ตามคาพิพากษา-เงิน จา่ ยลว่ งหนา้ คา่ ตวั๋ ปุ๋ยไว้ จานวน 24,966,000.00 บาท - สหกรณ์ตัดจาหน่ายสินค้าเส่ือมคุณภาพ 13 รายการ คิดเป็นราคาทุน 94,964.96 บาท ตามมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนนิ การ ชดุ ท่ี 43 ครง้ั ที่ 7 ลงวันท่ี 11 กันยายน 2561 - เงินจ่ายล่างหน้าค่าสินค้า สหกรณ์ซ้ือสินค้าซึ่งได้แก่ ปุ๋ย และยาปราบ-ศัตรูพืชจากบริษัท และร้านค้า และได้จ่ายเงินครบถ้วนตั้งแต่ปีก่อนๆ โดยสหกรณ์ยังไม่ได้รับมอบสินค้าดังกล่าวตามจานวนท่ีซ้ือมาทั้งจานวน สินค้าจะอยู่ที่ บริษัทไดมอนด์ อโกร โปรดักช์ 2005 จากัด บริษัทนาริญต้ากรุ๊ป จากัด บริษัททองพันช่ังกรุ๊ป (ประเทศไทย) จากัด และร้าน วิชิตพันธุ์ข้าว สหกรณ์จะรับมอบสินค้าเฉพาะที่มีการขายสินค้าเกิดขึ้นเท่าน้ัน วันสิ้นปีมีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าทั้งนั้น จานวน 8,055,821.10 บาท ณ วันส้ินปีไม่ได้ทดสอบสินค้าคงเหลือดังกล่าวข้างต้นกับใบตรวจสินค้าคงเหลือวันส้ินปี เนื่องจาก สินคา้ ไมไ่ ด้อยใู่ นความครอบครองของสหกรณ์ จงึ ได้ขอคายืนยันยอดสินค้ากับบริษัทฯ และร้านค้าฯ ดังกล่าว ปรากฏว่า มียอด ถูกต้องตรงกับสหกรณ์ คณะกรรมการควรพิจารณาดาเนินการตามความเหมาะสมเพ่ือให้สินค้าดังกล่าวเป็นกรรมสิทธ์ของ สหกรณ์ ท้งั น้ี เพือ่ ปอ้ งกันความเสยี หายท่ีอาจเกิดขึ้นแก่สหกรณ์ - ระหว่างปีสหกรณ์รับเงินฝากจากสมาชิก และสหกรณ์อื่นรวมทั้งสิ้น จานวน 8,244,870.17 บาท วันส้ินปี มเี งินฝากคงเหลือ จานวน 156,101,256.58บาท ประกอบด้วยเงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 111,959,996.97 บาท และเงินรับ ฝากจากสหกรณ์อ่ืน จานวน 44,141,259.61 บาท อน่ึง สหกรณ์ให้ผลตอบแทนดอกเบี้ยจ่ายในอัตราที่ไม่เท่ากันและไม่เป็นไป ตามหลักการของประเภทเงินรับฝาก กล่าวคือเงินรับฝากออมทรัพย์และสัจจะออมทรัพย์จากสมาชิกคิดอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4 ถ้าเป็นเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่นประเภทออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบ้ียไม่เท่ากัน โดยมีอัตราร้อยละ 4.5,6,6.5 และ 7 ข้ึนอยู่ กับจานวนเงินรับฝากของแต่ละสหกรณ์ สาหรับเงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษจากสมาชิก และเงินรับฝากประจาจากสมาชิก คิด อัตรารอ้ ยละ5คณะกรรมการควรพิจารณาอัตราดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง ควรคานึงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมของธนาคารพาณิชย์ท่ัวไป เป็นข้อมูลอ้างอิงในการปรับลดอัตราดิกเบี้ย ซึ่งจะส่งผลให้ สหกรณ์ลดภาระค่าใช้จ่ายเก่ียวกับดอกเบ้ียโดยเฉพาะเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น สหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก และสหกรณ์ อื่นเป็นไปตามระเบียบ ว่าด้วยการรับฝากเงินของสหกรณ์ เม่ือพิจารณาจากหน้ีสินรวมท้ังสิ้นของสหกรณ์ จานวน 235,836,662.88 บาท ซึ่งหน้ีสินส่วนใหญ่ของสหกรณ์เป็นเงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 111,959,996.97 บาท โดย ทุนของสหกรณ์ จานวน (102,895,061.34) บาท เจ้าหน้ีมีความเส่ียงในการได้รับชาระหน้ีคืน หากผู้ฝากเงินถอนเงินฝากในคราว เดียวกนั เปน็ เงินจานวนมากย่อมสง่ ผลกระทบต่อเงินทุนหมุนเวียนของสหกรณ์ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 57

จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงินลดลงจากปีก่อน โดยพิจารณาจากอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.54 เท่า ปีก่อน 0.75 เท่าเนอ่ื งจากแหลง่ เงนิ ทุนทีส่ หกรณ์นามาให้สนิ เชื่อกับสมาชิกและเงินจ่ายล่วงหน้า ค่าสินค้า-ตั๋วปุ๋ย ส่วนใหญ่มาจากการกู้ยืม จากภายนอกและเงินรับฝาก ซ่ึงเป็นหนี้สินระยะสั้นจานวนมาก หากแต่เงินที่สหกรณ์ให้กู้แก่สมาชิก มีงวดชาระหนี้ระยะยาว และส่วนใหญ่เป็นหนี้ผิดนัดชาระหนี้มีจานวนเงินมากและเป็นเวลานาน รวมทั้งสหกรณ์ลงทุนในเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้า-ต๋ัว ปุ๋ยเป็นจานวนมาก และไม่สามารถจาหน่ายตั๋วปุ๋ยได้ทันต่อเหตุการณ์ ส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์กันระหว่างการได้มาและการ ใช้ไปของเงินทุน ดังนั้น สภาพคล่องของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับการบริหารสินทรัพย์ดังกล่าวให้เกิดประสิทธิภาพโดยการเร่ง จาหน่ายต๋ัวปุ๋ยให้หมด รวมทั้งควรกาหนดเง่ือนไขการชาระหนี้ให้เหมาะสมตามข้อเท็จจริงที่สหกรณ์กาลังประสบปัญหาขาด สภาพคลอ่ งทางการเงนิ และควรคานึงถึงความเสีย่ งในการรับชาระหน้ีคืนจากลูกหนี้ ใหเ้ ป็นไปตามกาหนดสญั ญาด้วย -ณวันที่ 30กนั ยายน2561สหกรณ์มีขาดทุนสะสม จานวน 124,921,894.09 บาท และมียอดรวมหนี้สินสูงกว่ายอด รวมสินทรัพย์ เป็นผลให้มีส่วนขาดแห่งทุน จานวน 102,895,061.34 บาท คือมีหนี้สินทั้งส้ินมากกว่าสินทรัพย์ทั้งสิน สหกรณ์ ควรพิจารณาปรับปรุงการดาเนินงานให้พ้นจากภาวการณ์ขาดทุน โดยการติดตามเร่งรัดการชาระหน้ีให้เป็นไปตามกาหนด สญั ญาเพ่อื เป็นการสรา้ งวินัยทางการเงินให้แกส่ มาชิก และทาให้สหกรณ์มีเงินทุนไหลกลับเข้ามาหมุนเวียนในระบบ ซ่ึงจะสร้าง สภาพคลอ่ งทางการเงินทด่ี แี กส่ หกรณ์ และคณะกรรมการดาเนินการยังมิได้จดั ทาแผนฟื้นฟูแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดบั ช้นั สหกรณ์ :  รักษาระดับสหกรณช์ ัน้ 1 และช้ัน 2  ยกระดบั สหกรณช์ ั้น 2 และ ชน้ั 3 สชู่ ้นั ทด่ี ขี ึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ทดี่ ีขึ้น 3) อืน่ ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้ดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ ร ดาเนินการ 1.1กจิ กรรมรักษาระดับช้ันสหกรณ์ จากช้ัน1ช้ัน2 1 กจิ กรรม ตค63–กย64 1.2กิจกรรมผลักดนั มาตรฐานของสหกรณ์ จากไมผ่ า่ นเป็นดี 1 แห่ง ตค63–กย64 2. ด้านการพัฒนาการดาเนินธุรกจิ 2.1กิจกรรมการรักษาการมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ60 1 แหง่ ตค63–กย64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธรุ กิจเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารตามความต้องการของสมาชกิ 1 แห่ง ตค63–กย64 3. ด้านการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 3.1กิจกรรมการแกไ้ ขข้อบกพร่องของสหกรณ์ตดิ ตามคาสง่ั นายทะเบียน 4 คร้งั ตค63-กย64 สหกรณ์ ในเรื่องตั๋วปุ๋ย 3.2กจิ กรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 แหง่ ตค63-กย64 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 58

แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักการแกไ้ ขปัญหาหนสี้ ินสมาชิก 1 แผน ตค63 -กย64 1 แผน 1.1กิจกรรม สร้างการมสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปญั หาหนสี้ ินของสมาชิก ตค63 -กย64 สหกรณ์ เพ่ือกาหนดแนวทางร่วมกนั 1 แผน 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสริมการจดั ทาแผนกลยุทธ์ ตค63 -กย64 2.1กจิ กรรมให้สหกรณม์ ีการจดั ทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนนิ งานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏิบตั ิงาน ในกรณีทส่ี หกรณ์ขาดทุนเกินทนุ สารอง 2.2กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสริมธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสริมสหกรณใ์ หน้ าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงช่ือ.......พ....ิท....ัก...ษ....์....อ...ุ่น...ท....ร...ัพ....ย...์....(..แ...ท. เนจรา้ าหยนม้าือทช่ีผอื่ ูร้) ับผิดชอบ (นายพิทักษ์ อ่นุ ทรัพย์) วันท่ี 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 59

11. สหกรณ์ : การเกษตรหนองเสือ จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลทั่วไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชน้ั สหกรณ/์ ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชิก . 124 . ปีบญั ชี 31 ธันวาคม 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ่วมทาธรุ กิจหลกั 37 ราย . 1.3 ธรุ กิจหลกั ธุรกิจสนิ เชื่อ . 1.4 ผลผลิตหลัก . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . F . 1.6 ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 . 2 . 1.7 ศักยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ . - . 2. โครงสร้างพ้ืนฐานของสหกรณ์ :อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี .- . 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธุรกจิ สนิ เช่ือ 100,000 35,000.00 - 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน - 3,129.34 - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - - 4. ธรุ กิจแปรรูปผลผลิต 100,000 - - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย - - 6. ธุรกิจบริการ - - 7. ธุรกิจอ่นื ๆ (ระบุ) - - รวม 6,629.34 4. สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 สินทรัพย์รวม บาท 109,997.07 30,195.19 53,248.64 สินทรัพย์หมนุ เวียน หนส้ี ินรวม บาท 109,996.07 30,194.19 53,248.64 หนีส้ นิ หมุนเวียน ทนุ ของสหกรณ์ บาท 59,751.14 156,527.92 153,398.58 บาท 119,751.14 116,527.92 113,398.58 บาท -49,754.07 -126,332.73 (100,149.94) Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 60

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ทนุ สารอง บาท 0 - 10,445.33 บาท 65,378.66 -34,482.79 2,554.70 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ เท่า -3.2108 -1.2390 -1.53 อตั ราส่วนทางการเงินทส่ี าคัญ ร้อยละ -131.4036 27.2952 -2.55 -อตั ราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) ร้อยละ 59.4367 -114.1996 4.80 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) เท่า 0.9185 0.2591 0.47 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) เท่า 0.0000 0.0000 0.20 -อตั ราสว่ นทุนหมนุ เวยี น -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ 5. ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -สหกรณ์ไม่ไดจ้ ัดจ้างเจา้ หนา้ ท่ีของสหกรณ์ แต่มีการมอบหมายใหเ้ หรญั ญิกเป็นผู้จดั ทาบัญชี โดยปฏิบตั ิหน้าที่ดา้ น สนิ เชื่อ และการเงินดว้ ย ซ่งึ ไมเ่ ป็นไปตามหลักการควบคุมภายในทีด่ ี สหกรณค์ วรแบ่งแยกหน้าท่ดี ้านการเงนิ กบั บัญชี ออกจาก กนั ผู้ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีมีความรู้ความสามารถในการบันทึกบัญชี ขั้นตน้ ขนั้ ปลายและบัญชี ย่อยได้ แต่ไม่สามารถจดั ทางบการเงิน ได้ และรายละเอยี ดประกอบงบการเงินสหกรณ์ได้รับการอนุเคราะหจ์ ากสว่ นราชการจัดทางบการเงินและรายละเอียดประกอบ งบการเงิน - ข้อบังคับของสหกรณ์ พ.ศ. 2556 ข้อ 57 กาหนดให้คณะกรรมการดาเนนิ การเรยี กประชุมใหญส่ ามัญปีละละคร้ัง ภายใน 150นับแตว่ นั สนิ ปีทางบัญชี นับแต่ปีสิ้นบัญชี จาการตรวจสอบพบว่า สหกรณ์ไม่ได้มีการจัดประชมุ ใหญส่ ามัญ ประจาปีทางบัญชสี น้ิ สุดทางบัญชี 31ธันวาคม 2561 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาวินจิ ฉยั เร่ืองทัง้ ปวงทีเ่ กิดขึ้นกับการดาเนิน กจิ การของสหกรณ์ ซง่ึ รวมทั้งการพจิ ารณาอนุมตั ิงบแสดงฐานะทางการเงิน อนมุ ัติแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี - สหกรณ์ไม่ได้กาหนดระเบียบข้ึนถือใช้ ได้แก่ ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับ –จ่ายและเก็บรักษาเงนิ ระเบียบวา่ ดว้ ยการให้กู้เงิน และระเบียบว่าดว้ ยการรับฝากเงิน เปน็ ต้น สหกรณ์ควรกาหนดระเบียบต่างๆ เพ่ือรองรับการดาเนนิ งานขึน้ ถือใชใ้ ห้ครอบคลุม การปฏิบตั ิงานในแต่ละด้าน พร้อมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏบิ ัติเป็นไปตามระเบียบอย่างสมา่ เสมอ - สหกรณ์ไม่ได้กาหนดแผนการดาเนินงานและงบประมาณการรายจ่ายไว้ ดังนั้นสหกรณ์ควรกาหนดแผนงานและ งบประมาณการรายจ่ายไวโ้ ดยที่ประชมุ ใหญ่อนมุ ัติ ให้ครอบคลุ่มการดาเนินงานของสหกรณ์ที่คาดว่าอาจจะเกดิ ขน้ึ -ผตู้ รวจสอบกิจการสหกรณม์ ีผู้ตรวจสอบกจิ การซ่ึงได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมใหญ่ แต่ไม่ปรากฏว่า รายงานการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบกิจการ สหกรณค์ วรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการจัดทารายงานการตรวจสอบเป็นลายลักษณ์อักษรเสนอ ตอ่ ทีป่ ระชมุ คณะกรรมการดาเนินการ เพื่อสหกรณ์จะไดน้ าข้อสังเกตข้อเสนอแนะของผตู้ รวจสอบกิจการมาใช้ประโยชน์ในการ บริหารหรือแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน 6. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -ไม่มี - Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 61

 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพ้นื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจ้าหน้าท่ี - คณะกรรมการมีจานวน 15 คน - ไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าท่ี มอบหมายกรรมการทาหน้าที่ - คณะกรรมการขาดการรอบขอบ -ผ้ตู รวจสอบกิจการไม่ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีให้สมบูรณ์ 2. ด้านการบรหิ ารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มที ุนดาเนินทั้งส้ิน 109,997.07 เพ่ิมข้ึนจาปก่อน 79,801.88 บาท หรือเพ่ิมขึ้น 2.64ทุนดาเนินงานของสหกรณ์ ประกอบดว้ ยส่วนขาดแห่งทุน49,754.07 บาท หน้สี ิน้ ในสว่ นของสมาชกิ 111,338.55 บาท และหนสี้ ินจากแหล่งเงินทุนภายนอก 48,412.59บาท หากพิจารณาความเข้มแข็งของเงินทุนต่อความเสี่ยงแล้ว เจา้ หนมี้ ีความเสีย่ ง เนื่องจากสหกรณ์มยี อดขาดทุนสะสม คงเหลือ 277,372.71 บาท และมียอดรวมหนส้ี นิ สงู กว่ายอดรวมสินทรพั ย์ 49,754.07 บาททนุ ของสหกรณ์ไม่สามารถคุ้มครองหนส้ี นิ ได้ - สหกรณ์มสี นิ ทรัพย์ท้ังส้ิน 109,997.07 บาท เพิ่มขึ้นจากปที ี่แล้ว79,801.88 บาท หรือเพิ่มขึ้น 2.64 เท่าสนิ ทรัพย์ของสหกรณ์ลงทุน อยู่ในลูกหนีเ้ งินใหก้ ยู้ ืมสุทธิ 91,199.33 บาทหรือร้อยละ 82.91 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 14,424.41 หรือร้อยละ 13.11 และ สินทรัพย์อนื่ 4,373.33 หรือร้อยละ 3.98สินทรัพย์ของสหกรณ์ท่ีมีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนนิ งานเพื่อก่อให้เกิดรายได้ 0.77 รอบ สรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตรา 93.27 แสดงใหเ้ ห็นถึงประสิทธภิ าพในการใช้สิทธเิ พ่ือก่อใหเ้ กิดผลตอบแทนมี ประสิทธภิ าพ 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - สหกรณ์มอี ุปกรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ดา้ นการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนินธรุ กิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนินธรุ กิจ 2ด้านปริมาณธุรกิจรวม ทั้งสิ้น 103,223.22 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 65,003.88 บาท หรือเพิ่มขึ้น 1.70เท่า - สหกรณ์มีรายได้ธุรกิจ 53,660.12 บาท รายได้เฉพาะธุรกิจ 10,196.34 บาทและรายได้อนื่ 220.71 บาท รวมมีรายไดท้ ้ังส้ิน 64,077.17บาท และมคี ่าใชจ้ ่ายเฉพาะธรุ กิจ เป็นหนสี้ งสัยจะสูญเกินความต้องการ (21,457.29)บาท และค่าใชจ้ า่ ยดาเนินงาน 20,155.60บาท รวมค่าใชจ้ ่ายทงั้ สนิ้ (1,301.69) บาท สหกรณจ์ ึงมีกาไรสุทธิ 65,378.66 บาท คิดเป็น 1.22 เท่าของยอดขาย/บริการ สหกรณ์มีกาไรเฉลย่ี ต่อสมาชิก 527.25 บาทมีเงินออมเฉลี่ยสมาชิก 2,675.35 บาท และมหี นส้ี ินเฉล่ียตอ่ สมาชิก 3,997.69 - สหกรณม์ อี ัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.92 เท่าปีก่อน 0.26 เท่าจะเห็นได้วา่ สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงินเพ่ิมขน้ึ จากปีก่อน แต่ อย่างไรก็ตาม สหกรณ์มหี นี้สินหมนุ เวียนมากกว่าสินทรัพย์หมนุ เวียน กล่าวคือ สนิ ทรัพย์หมนุ เวยี นของสหกรณ์มีไม่เพียงพอท่จี ะ ชาระหนส้ี ินหมุนเวียนท้ังจานวนได้ หากพิจารณาส่วนประกอบของสนิ ทรัพย์หมุนเวียนแล้วพบว่า ส่วนใหญ่เปน็ ลูกหน้ีเงินให้กยู้ ืม 91,199.33บาท หรือร้อยละ 82.91ซึ่งลูกหนี้ได้กาหนดร้อยละ 23.36 ของหนี้ทก่ี าหนดชาระ ดังนั้น สภาพคล่องทางการเงินของ สหกรณจ์ งึ ข้นึ อยู่กบั ประสิทธภิ าพในการบริหารลูกหนี้เป็นสาคญั นอกจากนี้ หากพิจารณาส่วนประกอบของหนี้ส้ินหมนุ เวียนแล้ว จะเห็นว่า หนสี้ ินหมุนเวียนส่วนใหญเ่ ป็นเงนิ รับฝากออมทรัพย์จากสมาชิก 110,663.55 บาท หรือร้อยละ 92.41 ของยอดรวมหนีส้ นิ หมนุ เวียนหากผฝู้ ากเงินถอนเงินฝากในคราวเดี่ยวกนั เป็นจานวนมาก อาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องของสหกรณ์ได้ จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์ควรใหบ้ ุคลากรไดเ้ ข้ารบั การอบรมจากหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง - คณะกรรมการสหกรณ์ควรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ -คณะกรรมการควรศึกษาระบบงานสหกรณ์ ควรจดั ทาระเบียบใหถ้ กู ต้อง -สหกรณค์ วรได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานภาครัฐ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 62

แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ชัน้ 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และชั้น 3 สชู่ นั้ ท่ดี ีขน้ึ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทีด่ ีข้ึน 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผูด้ าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองค์กร ดาเนนิ การ 1.1กจิ กรรมการรักษา/ยกระดบั การควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 4 ครง้ั ไตรมาสละ1ครั้ง 1.2กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/ 4 คร้งั ไตรมาสละ1ครั้ง กลมุ่ เกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กิจกรรมการรักษา/ยกระดับการใหบ้ ริการสมาชกิ ของสหกรณ์/กลุม่ 4 คร้ัง ไตรมาสละ1ครงั้ เกษตรกร(การมสี ว่ นร่วมการเพิ่มปริมาณธรุ กิจ) 2.2กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดาเนินธุรกจิ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร 3.1กจิ กรรมการแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ติดตามเร่งรัดหน้ีค้างนาน 1 ครง้ั 6 คร้ัง ไตรมาสที่ 1 1.1กิจกรรมแยกอายหุ นี้/วิเคราะห์หน้รี ายตัว/กาหนดวิธตี ดิ ตาม/จดั ทาแผน ตดิ ตาม ไตรมาสท่ี 1-4 1.2กจิ กรรมติดตามเร่งรัดหนี้ตามแผน ลงช่ือ.......ก...อ...บ....เ..ก...ีย...ร...ต...ิ....ป....ญั....ญ.....า...โ..ร...จเนจ์า้ ห(แนท้านทรี่ผายู้รัมบอืผชิด่อืช)อบ (นายกอบเกียรติ ปัญญาโรจน์) วนั ที่ 31 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 63

12. สหกรณ์ : การเช่าซ้ือท่ีดินธญั บรุ ี จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวเิ คราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมลู ทัว่ ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกที่ร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชัน้ สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชกิ . 929 . ปบี ญั ชี 31 มนี าคม 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกท่รี ่วมทาธรุ กิจหลกั 199 ราย . 1.3 ธุรกจิ หลกั .ธรุ กิจสนิ เช่ือ . 1.4 ผลผลิตหลกั ลกู หนเี้ งนิ กู้ . 1.5 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร . F . 1.6 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 . 2 . 1.7 ศักยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรูป . - . 1.9 ผลติ ภัณฑเ์ ด่น . - . 2. โครงสร้างพ้นื ฐานของสหกรณ์ :อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เช่น ฉาง โกดังโรงสี ฉาง 500ตนั 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธุรกิจสนิ เช่ือ 2,000,000.00 - - 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 1,252,500.13 - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต - - 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย - - - 6. ธุรกจิ บริการ 8,377,077.34 - - 7. ธุรกิจอ่นื ๆ (ระบุ) - - - - - - รวม 10,502,577.50 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 64

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด)ปรับตามปีบัญชขี องสหกรณ์ งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2562 ปี 2561 หน่วย : บาท ปี 2560 สินทรัพย์รวม บาท 63,811,045.00 79,147,954.66 80,735,812.54 สินทรัพย์หมนุ เวียน 24,604,903.97 หนสี้ นิ รวม บาท 10,691,589.23 23,422,362.19 34,092,536.83 หน้ีสินหมุนเวียน 28,057,504.76 ทุนของสหกรณ์ บาท 8,586,489.90 32,210,848.34 46,643,275.71 ทนุ สารอง กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 4,434,764.83 28,292,241.27 0.00 อตั ราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ 0.00 -อัตราส่วนหนส้ี นิ ต่อทุน (DE Ratio) บาท 55,224,555.55 46,937,106.32 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 0.7309 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) บาท 439906.87 16,063,105.65 0.0000 -อัตราสว่ นทุนหมนุ เวียน 0.0000 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ บาท 8,109,541.78 - 0.8769 0.0000 เท่า 0.1555 0.69 รอ้ ยละ 14.6847 - รอ้ ยละ 12.7087 - เท่า 2.4109 0.83 เท่า 0.0069 0.20 5. ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -สหกรณ์จัดจา้ งเจา้ หนา้ ท่ี โดยคณะกรรมการดาเนินการมีการมอบหมายการปฏิบตั ิงานภายใต้การควบคุมของ คณะกรรมการดาเนินการซ่ึงแต่ละคนมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านตามหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมายอยา่ งเหมาะสม - คณะกรรมการปฏบิ ตั ิตามระเบียบ และข้อกฎหมายท่กี าหนด -สหกรณม์ ีการกาหนดแผนงานการดาเนนิ ธรุ กจิ โดยไดร้ ับการอนมุ ัติจากทปี่ ระชุมใหญ่ ปรากฏวา่ สหกรณม์ ีค้าใช้จา่ ยในเกิน แผนงบประมาณท่ีวางไว้ แต่มีรายจา่ ยบางรายการไม่ได้กาหนดงบประมาณไว้ สหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณให้ครอบคลมุ กบั คา่ ใชจ้ ่ายที่คาดว่าจะเกิดข้ึน 6. ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) สหกรณ์การเช่าซื้อทด่ี ินธัญบุรี ข้อบกพร่อง ดังนี้ 1. ทุจรติ เกี่ยวกับธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย เจ้าหน้าท่สี หกรณ์ จานวน 4ราย ไดน้ าเงนิ ท่ีลูกหน้ี การค้าชาระให้แกส่ หกรณ์ไปใช้ส่วนตวั และอีกสว่ นหน่งึ เปน็ การใช้ช่อื สมาชกิ ในการเติมน้ามันเช้ือเพลิงทป่ี ั้มของสหกรณ์และ ซื้อสินค้าไปใช้ส่วนตวั โดยสมาชิกไม่ทราบจานวน 25 ราย รวมเป็นเงนิ ทงั้ ส้ิน 1,026,361 บาท ประกอบดว้ ย 1.1 นางมะลิ อุ่นขาผู้จัดการสหกรณ์ จานวน 203,616 บาท 1.2 นายอานาจ หน่อพงษ์ ผชู้ ่วยผ้จู ัดการจานวน 188,155 บาท 1.3 นางกรรณิการ์ อยู่สนิ ธ์ุ เจา้ หน้าที่บัญชี จานวน 396,450 บาท 1.4 นายกาพล นามกร พนักงานขายจานวน 238,140 บาท Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 65

2. ทุจรติ เกี่ยวกับเงินกู้ เจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ จานวน 7 ราย ได้ปลอมหนังสือเงินกู้ของสมาชกิ โดยสมาชกิ ไม่ทราบ และนาเงนิ ดังกล่าวไปใช้ส่วนตัว จานวน 63 สญั ญา เป็นเงนิ ต้น จานวน 4,888,887 บาท ดอกเบ้ียค้างรับ จานวน 1,969,216 บาท ค่าปรับค้างรับ จานวน 131,336 บาท รวมเป็นเงินทั้งส้ิน จานวน 6,989,439 บาท ประกอบด้วย 2.1 นางมะลิ อุ่นขา ผ้จู ัดการจานวน 1,763,781 บาท รวมสญั ญาเงินกทู้ ้ังส้ิน 15 สัญญา 2.2 นายอานาจหน่อพงษ์ ผู้ชว่ ยผ้จู ัดการ จานวน 2,289,904 บาท รวมสัญญาเงินกู้ท้ังส้ิน 20 สญั ญา 2.3 นางกรรณิการ์ อยสู่ นิ ธ์ุ เจ้าหนา้ ท่บี ัญชี จานวน 1,842,644 บาท รวมสญั ญาเงินกู้ทัง้ ส้ิน 18 สัญญา 2.4 น.ส.ดวงพร วาดเขยี น เจา้ หน้าท่ีการเงิน จานวน 289,759 บาท รวมสัญญาเงินกู้ทั้งสิ้น 3สัญญา 2.5 นายเฉลิมพล พันธ์แตง เจ้าหนา้ ทสี่ นิ เชื่อจานวน 17,887 บาท รวมสญั ญาเงินกู้ทั้งสิ้น 1สัญญา 2.6 นายกาพล นามกร พนักงานขายจานวน 693,837 บาท รวมสัญญาเงินกู้ทั้งสิ้น 5 สญั ญา 2.7 นางสาวนุกูล เสง็ แสงทอง พนักงานทาความสะอาด จานวน 91,627 บาท รวมสัญญาเงนิ กูท้ ั้งส้ิน 1 สญั ญา 3. นาเงินไปใชป้ ระโยชนส์ ่วนตัวแลว้ บันทึกบัญชีเปน็ เงินทดรอง กรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ จานวน 8 ราย ได้ยืมเงินทดรองของสหกรณ์ ไปใช้ส่วนตัวและไม่ชอบดว้ ยลักษณะการยืมเนื่องจากเปน็ การยืมท่ไี มเ่ ก่ียวกบั การ ดาเนินงานของสหกรณ์ เปน็ เงินท้ังสิ้น 2,600,999.78 บาท ประกอบดว้ ย 3.1 นายวงเดือน แสวงหา ประธานกรรมการ จานวน 325,159.00 บาท ได้ยืมเงนิ ทดรองตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2547 ถึงเดือน มถิ ุนายน 2550 3.2 นางมะลิ อนุ่ ขา ผจู้ ัดการจานวน 1,958,666.58 บาท ไดย้ ืมเงินทดรองตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2547 ถงึ เดือนธันวาคม 2550 3.3 นายอานาจหน่อพงษ์ ผชู้ ่วยผจู้ ัดการ จานวน 34,950 บาท ได้ยมื เงนิ ทดรองต้ังแต่เดือน เมษายน 2547 ถงึ เดือนสิงหาคม 2550 3.4.นางสาวดวงพรวาดเขยี น เจ้าหนา้ ที่การเงินจานวน 150,000 บาท ไดย้ ืมเงินทดรองตั้งแต่เดือน มถิ ุนายน 2555 3.5 นางกรรณิการ์ อยสู่ ินธ์ุ เจ้าหน้าท่บี ัญชี จานวน 52,342 บาท ได้ยืมเงินทดรอง ต้งั แต่เดือนมิถุนายน 2550 ถงึ เดือน มถิ ุนายน 2554 3.6 นายโปรยทับทิมโต ทปี่ รึกษาสหกรณ์ จานวน 8,517.45 บาท ไดย้ ืมเงินทดรอง ต้ังแต่เดอื น พฤษภาคม 2551 ถงึ เดือน กุมภาพัน 2555 3.7 นางสาวนุกูล เส็งแสงทอง พนักงานทาความสะอาดจานวน 20,000 บาท ไดย้ ืมเงนิ ทดรองตั้งแต่เดือน มิถนุ ายน 2555 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 66

3.8 นายธีระชยั สายแสง อดีตเจ้าหน้าที่สินเช่ือจานวน 51,365.75 บาท นายทะเบยี นสหกรณ์ ได้มีคาสั่ง 2/2556 ลงวนั ท่ี 4 ก.ค. 2556 ให้คณะกรรมการดาเนนิ การ สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่องทางการเงนิ การบัญชี 3 กรณี - กรณีกรรมการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ จานวน 8 ราย ไดย้ ืมเงินทดรองของสหกรณ์ไปใช้ ส่วนตัว - กรณีเจ้าหน้าทีส่ หกรณ์ จานวน 7 ราย ปลอมหนังสอื ก้ยู ืมเงินของสมาชกิ โดยสมาชิกไม่ทราบ และนาเงินไปใช้สว่ นตวั - เจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ จานวน 4รายนาเงนิ ท่ลี ูกหนี้การค้าชาระหนีไ้ ปใช้สว่ นตวั กาหนดให้ แล้วเสรจ็ ภายใน 15 วนั และมสี ิทธ์อิ ุทธรณ์ภายใน 30 วนั - สหกรณ์ฯ ได้มีการฟอ้ งร้องดาเนินคดี กับอดีตเจ้าหนา้ ที 3 ราย ดงั น้ี รายที่ 1 นางมะลิ อุ่นขา อดีตผ้จู ัดการ และมีการทาสญั ญาประนีประนอมยอมความ เมื่อ วันที่ 9 เมษายน 2561 ตกลงยินยอมชาระหนี้ จานวน2,712,149.58 บาท ขอผ่อนชาระเป็นรายเดือน ๆละ ไมน่ ้อยกว่า 6,000 บาทโดยเริ่มผ่อนชาระเดือนแรกวันที่ 9 มิถุนายน 2561กาหนดให้ชาระให้เสรจ็ ส้นิ ภายใน 8 ปี ค้างชาระ 1 งวด ยอดคงเหลือ2,592,149.58 บาท รายที่ 2 นายธีรชัย สายแสง ได้ดาเนินคดีเสร็จส้ินแล้วตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ตาลงชาระหน้ี 75,559 บาท ผ่อนชาระรายเดือนๆละ ไม่น้อยกว่า 1,300 บาท โดยผ่อนชาระเดือนแรกวันท่ี 5 ก.พ.2561 เดอื นตอ่ ไปไมเ่ กินวันที่ 5 ของทุกเดือนงวดสุดท้ายภายในวนั ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2565 นายธีรชัย สายแสงเสียชีวิต ผู้ค้าประกัน ส่งชาระหนแี้ ทนเดือนละ 1,000 บาท เริ่มชาระเดอื นธันวาคม 2562 ยอดคงเหลือ 71,259.00 บาท รายท่ี 3 นายอานาจ หน่องพงษ์ ได้ดาเนินคดีเสร็จสิ้นแล้ว มีการทาสัญญาประนีประนอม ยอมความตกลงชาระหนี้เป็นเงิน 153,607 บาท ผ่อนชาระรายเดือน ๆ ละ ไม่น้อยกว่า 2,500 บาท โดยเริ่มผ่อนชาระเดือน แรกวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561 เดือนต่อไปไม่เกินวันท่ี 5 ของทุกเดือน งวดสุดท้ายภายในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 ยอด คงเหลอื 98,607 บาท - สหกรณไ์ ดจ้ ัดให้มีการทาหนังสือรับสภาพหนี้ 3 ราย ดังนี้ รายที่ 1 นายวงเดือน แสวงหา ได้ทาหนังสือรับสภาพหน้ีเงินยืมทดรอง จานวน 319,500 บาท โดยผ่อนชาระรายเดือน ๆ ละ 1,000 บาท คงเหลอื 319,500 บาท รายท่ี 2 นางกรรณิการ์ รุง่ เรืองนาม ได้ทาหนังสือรับสภาพหนี้เกี่ยวกับลูกหนี้การค้าจานวน 362,974 บาท ผอ่ นรายเดอื นๆ ละ 2,000 บาท คงเหลอื 361,516 บาท รายที่ 3 นายกาพล นามกร ได้ทาหนังสือรับสภาพหนี้เก่ียวกับลูกหนี้การค้า จานวน 170,670 บาท ผ่อนชาระรายเดือน ๆ ละ 2,000 บาท คงเหลอื 140,984 บาท Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 67

 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพน้ื ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจดั การและเจา้ หน้าท่ี - คณะกรรมการจานวน 9 คน - คณะกรรมการรว่ มกันแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ - ฝา่ ยจัดการรว่ มกันทางานพร้อมฟืน้ ฟูสหกรณ์ - เจ้าหนา้ ทีม่ ีความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 2. ดา้ นการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) ทุนของสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.66 และมีหนี้สนิ ลดลงร้อยละ 73.34 สหกรณ์มที ุนดาเนนิ งานทั้งสิ้น 63,811,045.45 บาทลดลง จากปีก่อนจานวน 15,3366,909.21 บาทหรือลดลงร้อยละ 19.38 ทนุ ดาเนินงานดงั กล่าว ประกอบด้วยทุนของสหกรณ์ จานวน 55,224,555.55 บาทคดิ เป็นร้อยละ 86.54 และหน้ีสนิ จานวน 8,586,489.90 บาท คิดเป็นร้อยละ 13.46 หากพิจารณาถึงความ เข้มแข็งและเพียงพอของทุนต่อความเสยี่ ง จากอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน0.16 เท่าแสดงวา่ สหกรณ์มเี งินทุนเพียงพอท่ีจะชาระหน้ีได้ สามารถคุมครองหนีส้ ินได้ทั้งหมด เมื่อเจ้าหนา้ ทวงถาม สหกรณด์ าเนินงานมผี ลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 15.88 สหกรณ์มีทรัพย์สนิ ท้ังสิ้น 63,811,045.45 บาทลดลงจากปีทแี่ ล้วรอ้ ยละ 19.38 สนิ ทรัพย์ทั้งสินของสหกรณ์อยู่ในรปู เงนิ สดและ เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์อื่นร้อยละ 6.30 เงินให้กู้ยืมลูกหน้ี และดอกเบี้ยเงนิ ใหก้ ู้คา้ งรับ-สทุ ธิ ร้อยละ 20.25 ทด่ี นิ อาคารและ อปุ กรณ์-สทุ ธริ ้อยละ 71.83 เงินลงทุนร้อยละ 0.88สนิ ค้าคงเหลือ รอ้ ยละ 0.53 และทรัพย์สอนอน่ื รอ้ ยละ 0.21 เงินใหก้ ยู้ ืมและ ลูกหนี้สหกรณ์ควรหาแนวทางในการใชป้ ระโยชน์จากสินทรัพย์ท่มี ีอยูใ่ ห้มากขึน้ และเกิดผลตอบแทนสงู สดุ สินทรัพย์ท่ีมีอยู่นาไปใช้ ในการดาเนินงานก่อให้เกิดรายได้0.15 รอบ และมอี ัตราผลการตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 11.35 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เครอ่ื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ - เคร่ืองจักรไม่พร้อมในการใชง้ าน - ฉางไม้ โรงผลิตปยุ๋ หมักชีวภาพ ไม่พร้อมใช้งาน 4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนินธรุ กิจ(Method) - ผลการดาเนินงานของสหกรณม์ ีกาไรสุทธิประจาปี จานวน 8,109,541.78 บาทคิดเป็นร้อยละ 77.47 ของยอดขาย/บริการปีก่อน ขาดทุนสุทธจิ านวน 1,811,660.39 บาท - สหกรณ์มีลูกหน้ีผิดนดั ชาระหน้ี ร้อยละ 98.94 ของตน้ เงินถงึ กาหนดชาระระหว่างปี สหกรณ์ควรหาแก้ไขปัญหา - สภาพคล่องสหกรณม์ ีอัตราส่วนทุนหมนุ เวยี น 2.41 เม่าปีก่อน 0.83 เท่าแสดงถึงสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณส์ งู กว่าปี ก่อน เม่ือพิจารณาสินทรัพย์หมุนเวยี นส่วนใหญเ่ ปน็ ลูกหนี้เงินให้กู้ยมื ลูกหน้ี การค้า และดอกเบี้ยเงินให้กคู้ ้างรับดังน้ันสภาพ คล่องของสหกรณจ์ งึ ขนึ้ อยู่กับการบริหารสินทรัพยด์ ังกล่าวใหม้ ีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนโดยการลกู หนี้ให้เปน็ ไปตามกาหนดสัญญา รวมท้ังติดตามเร่งรัดใหล้ ูกหนีท้ ผี่ ิดนดั ชาระหนี้เป็นฯเวลานานชาระหนใี้ ห้เสร็จโดยเรว็ - จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ -สหกรณร์ ่วมกบั สว่ นงานราชการแก้ไขปัญหาหน้ีค้างนาน -สหกรณ์ควรแก้ไขข้อบกพร่องและเรง่ ติดตาม -สหกรณ์ผลกาไรจากการขายทรัพย์สนิ จานวน 28,096,031.10 บาท ซงึ่ หากสหกรณ์ไม่มีกาไรจากการขายทรัพย์สิน จะมผี ลขาดทุนสุทธิ จานวน 19,986,489.32บาท สหกรณ์ควรบริหารทรัพยส์ ินทม่ี ีอยู่ให้เกดิ ประโยชนแ์ ละเกิดผลกาไรกับ สหกรณม์ ากข้ึน -สหกรณม์ ี ควรพฒั นาและเพิ่มศักยภาพการดาเนนิ งานเพิ่มข้ึน และต้องอยู่ภายใต้การดูแลจากภาครัฐ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 68

แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชนั้ สหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณช์ ัน้ 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณช์ น้ั 2 และ ช้นั 3 สชู่ ั้นทดี่ ีขนึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ทีด่ ีขึ้น 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผ้ดู าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองค์กร 1.1กิจกรรมยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และ ช้ัน 3 สชู่ ัน้ ที่ดีข้นึ 1 คร้งั ต.ค.63-ก.ย.64 1 ครงั้ ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมผลักดันให้ผา่ นมาตรฐาน 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมีสว่ นรว่ มของสมาชิกไมน่ ้อยกว่าร้อยละ60 1 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กิจกรรมการจัดทาแผนธรุ กจิ เพอ่ื ให้บรกิ ารตามความต้องการของสมาชกิ 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 ครงั้ ต.ค.63-ก.ย.64 กล่มุ เกษตรกร 3.1กจิ กรรมเข้ารว่ มประชมุ คณะกรรมการดาเนินการ 3.2 กิจกรรม การควบคุมภายในสหกรณ์ 1 ครัง้ ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การแก้ไขปัญหาหน้ีสนิ สมาชิก 3 ครั้ง ต.ค.63 - ก.ย.64 ครัง้ 1.1กจิ กรรม การแก้ไขปัญหาหนีส้ นิ ของสมาชิกสหกรณ์ 2 ต.ค.63 - ก.ย.64 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักส่งเสริมการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ 2.1กิจกรรมให้สหกรณ์มกี ารจัดทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนนิ งานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ัติงาน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลักส่งเสรมิ ธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสริมสหกรณใ์ หน้ าหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..............อ...ร...ิญ.....ช...ัย.......ส...ุข....ใ..จ.......(..แ...ทเจน้ารหายนม้าือทชี่ผ่ือรู้ )ับผิดชอบ (นายอริญชัย สุขใจ) วันท่ี 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 69

13. สหกรณ์ : การเช่าซอื้ ทีด่ นิ นาขวัญ จากดั ประเภทสหกรณ์ : นิคม การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชกิ สามัญ 48 ราย ปบี ัญชี : 30 เมษายน 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ท่ีร่วมทาธุรกิจ : 48 ราย 1.3 ธุรกิจหลัก : สนิ เชื่อ/รบั ฝากเงิน/จัดหาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย 1.4 ผลผลติ หลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด A 1.6 ระดบั ช้นั สหกรณ์ : ชนั้ 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลติ ภัณฑ์เดน่ : - 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เชน่ ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไมม่ ี) 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธรุ กิจสินเช่ือ 605,800.00 509,200.00 564,200.00 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 24,087.41 23,475.38 20,893.50 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - - - 5. ธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหนา่ ย - - - 6. ธุรกิจบริการ 497,970.00 550,335.00 396,070.00 - - - รวม 1,127,857.41 1,083,010.38 981,163.50 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 5,062,052.55 5,076,581.44 5,020,977.72 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 5,036,880.25 5,050,909.14 4,994,805.42 หนี้สนิ รวม บาท 237,038.73 256,514.11 272,585.78 หน้ีสินหมุนเวียน บาท 237,038.73 256,514.11 272,585.78 ทุนของสหกรณ์ บาท 4,825,013.82 4,820,067.33 4,748,391.94 ทุนสารอง บาท 300,901.80 824,071.80 825,910.14 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 3,693,273.00 17,816.51 (84,287.22) อัตราส่วนทางการเงนิ ท่สี าคัญ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 70

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราสว่ นหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.05 0.05 0.06 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 76.54 0.37 -1.78 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 72.96 ร0.35 -1.68 -อัตราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 21.25 19.69 18.32 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.06 0.16 0.16 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ปีบัญชี 30 เมษายน 2560 สหกรณ์ขายโฉนด เลขที 116 เน้ือที่ 5 ไร่ ราคา 4,000,000.00 บาท จ่ายค่า นายหน้า จานวน 120,000.00 บาท สหกรณ์ไม่ได้หักภาษี ณ ท่ีจ่ายสาหรับเงินค่านายหน้า ไม่ได้ปฏิบัติตามประมวลรัษฎากร ตามมาตรา 50 (1) 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -  ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ดา้ นบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหนา้ ที่ - สหกรณ์จัดจ้างบุคคลภายนอกเป็นผู้จัดทาบัญชี และได้มอบหมายให้ประธานกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบ ดา้ นการเงินผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏบิ ตั ิงานด้านการเงินและการบัญชีมีความรู้ ความสารถ และประสบการณ์เหมาะสมกับหน้าที ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย การปฏิบัตงิ านเป็นไปตามระเบียบ และมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการดาเนินการ 2. ดา้ นการบรหิ ารเงินทุน (Money) - ความเพียงพอของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงาน ทั้งส้ินจานวน 5,020,977.72 บาท ลดลงจากปีก่อน 55,603.72 บาท หรือร้อยละ 1.10 ทุนดาเนินงานดังกล่าวส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายใน ร้อยละ 99.37 ประกอบด้วยเงินรับ ฝากร้อยละ4.80และทุนของสหกรณ์ร้อยละ 94.57 ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 0.63 มาจากแหล่งเงินทุนภายนอกซ่ึงเป็นหนี้สินอ่ืน หาก พจิ ารณาถึงความเข้มแข็ง และเพียงพอของเงินทุนต่อความเสย่ี งแลว้ ทุนของสหกรณส์ ามารถคุ้มครองหนี้สินได้ทั้งหมด - ด้านคุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีสินทรัพย์ลดลงร้อยละ 1.10 สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ใน รปู ของเงินสดและเงินฝากธนาคารร้อยละ 88.70 ลูกหน้ีเงินให้กู้ยืมร้อยละ 11.97 เงินฝากสหกรณ์อ่ืนร้อยละ 0.14 ท่ีดิน อาคารและ อุปกรณ์ร้อยละ 0.12 เงินลงทุนร้อยละ 0.40 ส่วนท่ีเหลือร้อยละ 1.67 สินทรัพย์อ่ืน ๆ ท้ังน้ีลูกหน้ีเงินให้กู้ยืมชาระหนีได้ตาม กาหนดร้อยละ 56.70 ของหน้ีที่ถึงกาหนดชาระ สินทรัพย์ที่มีอยู่ได้ถูกนามาใช้ในการดาเนินงานเพื่อก่อให้เกิดรายได้ 0.10 รอบ ลดลงจากปีก่อนท่ีนาไปใช้ได้ 0.12 รอบ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ลดลง ดังนั้น สหกรณ์ควรหาแนวทางใน การใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทม่ี ีอยู่ให้มากข้ึน และเกดิ ผลตอบแทนสูงสุด -ขีดความสามารถในการบริหารสหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 3 ด้าน มีอัตราการเติบโตของธุรกิจลดลงร้อยละ 8.51 โดยเปน็ ธุรกจิ สินเชอื่ ร้อยละ 56.94 ลองลงมาเปน็ ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ยร้อยละ 40.95 และธรุ กจิ รบั ฝากเงินร้อยละ 2.11 - ด้านสภาพคล่อง สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 18.32 เท่า ปีก่อน 19.69 เท่า เห็นได้ว่าสหกรณ์มี สภาพคล่องทางการเงินลดลงจากปีก่อน หากพิจารณาส่วนประกอบของสินทรัพย์หมุนเวียนแล้วพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเงินฝาก ธนาคารรองลงมาเป็นลกู หนี้เงินให้กู้ยืม ดังน้ัน สภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับการบริหารสินทรัพย์ดังกล่าวให้มี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน รวมท้ังให้ลูกหน้ีชาระหนี้ให้เป็นไปตามกาหนดสัญญา ติดตามเร่งรัดให้ลูกหน้ีท่ีผิดนัดชาระหนี้เป็นเวลานาน มาชาระหนี้ให้เสร็จส้ินโดยเร็ว เพ่ือสหกรณ์จะได้ใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดาเนินธุรกิจและเอ้ืออานายประโยชน์ให้แก่สมาชิกได้ อยา่ งทว่ั ถงึ ย่ิงข้ึน Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 71

3. ดา้ นวตั ถดุ ิบ* (Material) เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - ไม่มี - 4. ดา้ นการบรหิ ารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธรุ กิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนนิ ธรุ กิจ 3 ด้าน - ธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก 564,200.00บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 55,000.00 บาท หรือร้อยละ 10.80 ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนด 35,800.00 บาท ลูกหนี้ชาระหนี้ได้ร้อยละ 56.70 ของหนี้ที่ถึงชาระ ณ วันส้ินปี มี ลกู หนเี้ งนิ ใหก้ ู้คงเหลอื 27รายเปน็ เงนิ 930,000.00บาทมีลูกหนี้นัดชาระหนี้ จานวน 11 ราย เป็นเงิน 365,800.00 บาท หรือร้อย ละ 39.33 ของลูกหนี้คงเหลือ ณ วันส้ินปี มีดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 112,093.00 บาท สหกรณ์ตั้งค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ – ดอกเบ้ียเงินให้กู้คา้ งรับ จานวน 94,006.20 บาท ผลการดาเนินงานขาดทุนเฉพาะธุรกจิ จานวน 57,342.00 บาท - ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย สหกรณ์จัดหาสินค้ามาจาหน่าย 396,070.00 บาท ลดลงจากปีก่อน 140,35.00บาทหรือร้อยละ26.21ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนด 153,930.00 บาท โดยจาหน่ายสินค้ากับสมาชิก 405,770.00 บาท มี สมาชิกได้รับบริการ 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.67 ของจานวนสมาชิก ณ วันสิ้นปี ถือได้ว่าสหกรณ์ยังไม่อานายประโยชน์ให้กับ สมาชิกได้อยา่ งทั่วถึง ผลการดาเนินงานมกี าไรเฉพาะธรุ กิจ 9,700.00 บาท - ธุรกิจรับฝากเงิน ระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก จานวน 20,893.50 บาท โดยเป็นเงินรับฝาก จากสมาชิกจานวน 13,982.00 บาท และเงินรับฝากท่ีได้จากการคานวณดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากให้แก่สมาชิก จานวน 6,911.50 บาท ณ วันสน้ิ ปมี ีเงนิ รบั ฝาก 48 บัญชี เป็นเงิน 240,743.56 บาท โดยเปน็ เงินรบั ฝากจากสมาชิกท้ังหมด - ด้านการทากาไร สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังสิ้น จานวน 542,966.78 บาท มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น จานวน 627,254.00บาทจงึ ทาใหข้ าดทุนสทุ ธิ 84,287.22บาท คิดเป็น 17.27 ของยอดขาย/บริการ มีอัตราการเติบโตของทุนสารองร้อยละ 0.22 มีเงินออมเฉลี่ยต่อสมาชิกเท่ากับ 16,238.20 บาท มีหน้ีสินเฉลี่ยต่อสมาชิก 13,870.52 บาท แม่สหกรณ์จะมีสัดส่วนปริมาณ เงนิ ออมสูงกว่าหนสี้ นิ สมาชกิ แต่ความสามารถในการทากาไรของสหกรณ์ลดลง ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงกาลังความสามารถในการชาระ หน้ีของสมาชิกในอนาคตที่อาจส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของสหกรณ์ ท่ีจะต้องวางแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้สินให้เป็นไป ตามกาหนดสญั ญา จากการวิเคราะห์ข้อมลู สหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังน้ี กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มที่ต้องแกไ้ ขปัญหา สหกรณท์ ต่ี ้องพฒั นาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ท่มี ีข้อบกพร่องต้องไดร้ บั การแก้ไข/และเร่งรดั (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นคิ ม) ติดตาม สหกรณท์ ีต่ ้องการพฒั นาและเพมิ่ ศักยภาพการดาเนนิ ธรุ กจิ  กลุ่มสหกรณท์ ่มี ีปัญหาหน้คี ้างนาน โดยการสนับสนุนจากภาครฐั  สหกรณ์ทม่ี ีปัญหาหนี้สูญ สหกรณท์ ่ีเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ โดยใหภ้ าครัฐแนะนา  สหกรณ์ทจี่ าเป็นต้องฟืน้ ฟกู ิจการ ส่งเสริมและกากับดแู ลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ที่ควรควบกิจการกับสหกรณอ์ ่ืน  สหกรณ์ท่คี วรเลกิ กิจการ  สหกรณ์ทีม่ ปี ัญหาอื่น ๆ (ระบ)ุ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 72

แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ชัน้ 1 และชั้น 2  ยกระดบั สหกรณ์ช้ัน 2 และ ชนั้ 3 สู่ชน้ั ท่ีดีขึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์ :  รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดับดีขน้ึ ไป  ผลกั ดนั สหกรณใ์ ห้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทด่ี ีขึ้น 3) ระบุเป้าหมายอ่ืน ๆ เช่น การเพิ่มปริมาณการรวบรวมผลผลิต/แปรรูปผลผลิตสมาชิกมีส่วนรว่ มในการดาเนนิ ธุรกจิ กบั สหกรณเ์ พ่ิมข้ึน เป็นต้น  แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้ดาเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ระดับชัน้ สหกรณ์ รักษาช้ัน1และช้นั 2  ยกระดับสหกรณ์ ชัน้ 2และช้ัน3สูช่ นั้ ท่ีดขี ้นึ 1.1 กิจกรรมใหค้ าแนะนามาตรฐานสหกรณแ์ ละการรกั ษาระดับชนั้ สหกรณ์ 4 ครัง้ ก.ย.63-ต.ค.64 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณด์ าเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักพฒั นาการดาเนนิ ธุรกิจ 1.1กิจกรรมจดั ปยุ๋ ยาปราบมาจาหน่ายให้สมาชิก 400,000 บาท ก.ย.63-ต.ค.64 ลงช่ือ..............ส....วุ...ทิ....ย...์...ท....มุ....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจรา้ าหยนม้าอื ทชี่ผอื่ ู้ร)ับผิดชอบ (นายสุวิทย์ ทุมมณี) วนั ท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 73

14. สหกรณ์ : การเช่าซอ้ื ที่ดินลาลูกกา จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลทว่ั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชนั้ สหกรณ/์ ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ /การแปรรูป/ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชกิ .2008 . ปีบัญชี 31 มนี าคม 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกท่รี ่วมทาธรุ กิจหลกั 1807 ราย . 1.3 ธุรกจิ หลัก .ธรุ กจิ สสนิ เช่ือ . 1.4 ผลผลิตหลัก ลูกหนเ้ี งินกู้ . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . A . 1.6 ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 . 1 . 1.7 ศกั ยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลิตภัณฑ์เดน่ . - . 2. โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์ :อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี 1. เคร่ืองชั่ง 40ตัน 2. ลานตาก 3200 ตารางเมตร 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธรุ กจิ สนิ เชื่อ 42,867,568.00 64,110,543.00 108,896,489.48 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 11,475,301.32 11,859,906.42 108,896,489..48 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต 45,958,829.00 - 5. ธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย 44,573,912.00 6. ธรุ กิจบริการ 100,301,698.32 - 7. ธรุ กิจอน่ื ๆ (ระบุ) - 120,544,361.42 รวม Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 74

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2561 หน่วย : บาท ปี 2560 สินทรัพย์รวม บาท 204,817,837.90 195,295,818.55 191,988,438.87 บาท 138,694,251.27 163,977,344.69 156,828,071.06 สินทรัพย์หมุนเวียน บาท 60,600,094.51 60,965,192.81 62,543,077.40 บาท 51,741,652.43 53,444,683.83 51,475,869.84 หนสี้ นิ รวม บาท 144,217,743.39 134,330,625.74 129,445,361.47 หน้สี ินหมุนเวียน บาท 72,749,358.54 71,745,899.77 71,047,092.68 บาท ทนุ ของสหกรณ์ 7,696,200.73 2,438,238.95 6,239,017.72 เท่า ทุนสารอง ร้อยละ 0.42 0.47 0.45 ร้อยละ 4.14 5.68 4.45 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ เท่า 2.91 3.87 3.06 เท่า 2.68 3.08 3.07 อตั ราส่วนทางการเงนิ ทสี่ าคัญ 0.35 0.39 0.37 -อัตราสว่ นหนสี้ ินต่อทุน (DE Ratio) -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน -อัตราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ 5. ข้อสงั เกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) - สหกรณ์การแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการในระดังตา่ งๆ ไว้อยา่ งเหมาะสมตาม สว่ นงานทีก่ าหนด ผู้บรหิ ารไดก้ าหนดวิสัยทัศน์และภารกิจในการปฏิบัตงิ านไวอย่างชัดเจน โดยการสื่อสารและทาความเข้าใจ กับผู้ปฏิบตั ิงานทุกฝ่ายในสหกรณ์ การจดั จ้างเจ้าหน้าท่ีมีการจัดมีหลักประกันเหมาะสมกับตาแหน่งงานและงานท่ีได้รับ มอบหมาย โดยอยู่ในการควบคุมของคณะกรรมการดาเนนิ การ - สหกรณ์ฝากเงินกับสหกรณอ์ ่ืน ซึ่งบางสหกรณม์ ีฐานะทางการเงินมสี ว่ นขาดของแหล่งทุน อาจทาใหส้ หกรณ์เกิด ความเสยี หาย สหกรณ์ควรศึกษาข้อมูลฐานะทางการเงินของสหกรณ์ผรู้ บั ฝากเงนิ ด้วยความระมัดระวัง 6. ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) - ไมม่ ี - Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 75

 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ดา้ นบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจดั การและเจ้าหน้าท่ี - คณะกรรมการมีความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านดาเนินการตามระเบียบข้อบังคับ - สหกรณม์ ีการแบง่ แยกหน้าที่และความรบั ผิดชอบของฝ่ายบรหิ าร และฝ่ายจัดการในระดบั ตา่ งๆ ไว้อยา่ งเหมาะสมตามสว่ นงานทก่ี าหนด ผู้บริหารงานกาหนดแนวทางการปฏิบตั ิงานอย่างชัดเจน โดยการส่ือสารและทาความ เข้าใจกับผปู้ ฏบิ ัติงานทุกฝ่ายในสหกรณ์ การจัดจ้างเจ้าหน้าที่มีการจัดหลักประกันเหมาะสมกับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ - เจา้ หน้าทมี่ ีความรู้ความสามารถและสมกับตาแหนง่ และงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - ระหวา่ งปีสหกรณจ์ า่ ยเงินกู้แกส่ มาชิก จาแนกเป็นประเภทเงินก้รู ะยะส้นั 958สัญญาจานวน 42,867,568 บาทระยะปานกลาง 142 สัญญา จานวน 11,510,500 บาท ระยะยาว 2สัญญา จานวน 715,750 บาท และเงินกู้สวสั ดิการ 10สัญญาจานวน 494,000 บาท รวมเป็นเงิน 55,587,818 บาท ณ วันสน้ิ ปีสหกรณ์มีลกู หน้ีคงเหลือ 733 ราย จานวน 74,228,174.44 บาท ดอกเบ้ียเงนิ ให้กู้คา้ งรับจานวน 19,174,950.47 บาท และค่าปรบั เงินให้กูค้ ้างรับ 7,293,586.30 บาท สหกรณ์มลี ูกหน้ีเงนิ ให้กู้ ผิดนัดชาระหนี้ 407 รายจานวน 41,458,716.44 บาท สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผื่อหน้สี งสัยจะสูญลูกหนี้เงินกู้ จานวน 19,560,593.98 บาท ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดอกเบย้ี เงินใหก้ ู้ค้างรับ จานวน 18,065,890.17 บาท และค่าเผ่ือหนี้สงสยั จะสูญค่าปรับเงินใหก้ ู้คา้ ง รบั จานวน 7,293,586.80 บาท สหกรณ์ควรติดตามลกู หน้ีให้ชาระหนี้ให้เป็นไปตามกาหนดสญั ญา - สหกรณ์มอี ัตราส่วนทุนหมุนเวียน 2.68 เท่าปที ่ีแลว้ 3.02 เท่าหากพจิ ารณาส่วนประกอบของสนิ ทรัพย์หมนุ เวียนส่วนใหญเ่ ป็น ลูกหน้ี เงินฝากธนาคาร สภาพคล่องจงึ ขึน้ อยู่กบั การบรหิ ารสนิ ทรัพย์ดังกลา่ วให้มีประสิทธิภาพ 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เครอ่ื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทท่ี ันสมัย - เคร่ืองช่ัง ลานตาก ฉางคอนกรตี พร้อมการใช้งาน 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - สหกรณม์ เี งนิ ฝากสหกรณ์อ่ืน 8สหกรณ์ จานวน 9บัญชี เป็นเงนิ 38,285,579.29 บาท สหกรณ์ได้บนั ทึกค่าเสียหายเงินฝาก สหกรณ์ อ่ืนสงสยั จะสญู สหกรณ์การเกษตรสามโคก จานวน 3,000,000บาท เนื่องจากผูร้ บั ฝากเงนิ ฐานะการเงินมีสว่ นขาดแห่ง ทุนสหกรณ์ต้องศึกษาข้อมลู ฐานะ ทางการเงินของสหกรณผ์ ู้รบั ฝากเงนิ ด้วยความระมัดระวังอย่างเพียงพอเพ่ือป้องกนั ความ เสยี หายท่ีอาจเกิดข้ึนหากสหกรณ์ไมส่ ามารถถอนเงินฝากดังกล่าวได้ - ความเสี่ยงด้านสภาพคลอ่ ง สหกรณม์ อี ัตราสว่ นทนุ หมุนเวยี น 2.68 เท่าปีก่อน 3.02 เท่าหากพิจารณาสว่ นประกอบของ สินทรัพย์หมุนเวยี นส่วนใหญเ่ ป็นลกู หน้ี เงินฝากสหกรณ์ และเงินฝากสหกรณ์อ่นื ดังนัน้ สภาพคล่องทางการเงินจึงขึ้นอยู่ ประสิทธิภาพในการบริหารสนิ ทรัพยด์ ังกล่าวให้มปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงงสุด รวมถึงไม่ให้เกิดความเสี่ยง โดยเฉพาะ ควรระมัดระวังการนาเงินไปฝากสหกรณ์อ่ืน ควรศึกษาข้อมลู ทางด้านการเงินของสหกรณ์ที่จะนาเงินไปฝากว่ามีความเสี่ยงมาก นอ้ ยเพยี งใดที่สหกรณ์อาจจะไม่ได้รบั ฝากคืนหากสหกรณ์มีความประสงค์จะถอนเงนิ ฝาก - สหกรณ์มีลูกหน้ีตามคาพิพากษา ตามคดีหมายเลขดาท่ี 173/2548 และคดีหมายเลขแดงท่ี 130/2548 ลงวันท่ี 7สิงหาคม 2550 จานวน 1 ราย เปน็ เงิน 9,745,200 บาท ดอกเบยี้ ตามคาพิพากษาค้างรบั ไวเ้ ต็มจานวนแล้ว เม่ือวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2551 ศาล อทุ รณ์ภาค 1 ไดม้ ีคาพิพากษาให้จาคุกจาเลยมกี าหนด 10ปี ปจั จุบันจาเลยได้พ้นโทษแล้ว สหกรณ์ได้มอบหมายให้ ทนายความดาเนินการสืบทรัพยจ์ าเลย ปรากฏ ไม่พบทรัพย์สนิ ใดๆ ที่เปน็ ของจาเลย ซึ่งคดถี ึงท่สี ุดแลว้ สหกรณ์ควรพิจารณาดาเนินการตามความเหมาะเพ่ือให้เกดิ ผลดีแก่ สหกรณต์ ่อไป Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 76

จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ - สหกรณ์ฝากเงินกับสหกรณ์อ่ืน ซงึ่ บางสหกรณ์มีฐานะทางการเงินมสี ว่ นขาดของแหลง่ ทุน อาจทาใหส้ หกรณ์เกดิ ความเสยี หาย สหกรณ์ควรศึกษาข้อมูลฐานะทางการเงินของสหกรณผ์ ู้รบั ฝากเงินด้วยความระมัดระวงั - คณะกรรมการสหกรณ์ควรมีความรอบคอบรัดกมุ ศึกษาหาความรู้ด้านการบริหารเพื่อผลประโยชน์ทางสหกรณ์ - สหกรณ์ควรหาแนวทางป้องกันปัญหาด้านลูกหน้ีสหกรณ์ ซ่ึงอาจสง่ ผลต่อสภาพคล่องได้ - สหกรณ์มี ความเขม้ แขง็ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ ต้องอยู่ภายใต้การดแู ลจากภาครัฐ แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณ์ชัน้ 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณช์ ัน้ 2 และช้ัน 3 สชู่ ัน้ ที่ดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทดี่ ีขึ้น 3) อืน่ ๆ  การเพิ่มปริมาณธรุ กิจ  การสร้างการมีสว่ นร่วมในการดาเนินธรุ กิจระหว่างสหกรณ์กบั สมาชกิ ให้เพิม่ ขึน้  การสร้างสวัสดิการสมาชกิ ให้เพ่ิมมากขึ้น  แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 1.1กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดบั ชั้นสหกรณ์ 4 ครง้ั ไตรมาสละ1ครั้ง 1.2กจิ กรรมการรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/ 4 คร้ัง ไตรมาสละ1คร้งั กลุ่มเกษตรกร 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กจิ กรรมการรกั ษา/ยกระดบั การให้บรกิ ารสมาชกิ ของสหกรณ/์ กลมุ่ 4 ครั้ง ไตรมาสละ1คร้ัง เกษตรกร(การมีส่วนรว่ มการเพิม่ ปริมาณธุรกจิ ) 2.2กิจกรรมการรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 3.1กจิ กรรมการแกไ้ ขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 77

แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดาเนินการ 1.แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การสรา้ งสวัสดิการสมาชิก คร้ัง 1 1.1กจิ กรรมกาหนดรปู แบบวธิ ีการแหล่งเงินทุนของสวสั ดกิ าร ครั้ง 1 ไตรมาสที่ 1 1.2กจิ กรรมแกไ้ ข/ปรับปรุงระเบียบทเี่ กีย่ วข้อง คร้ัง 3 ไตรมาสท่ี 2 1.3กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์ใหส้ มาชิกทราบ ไตรมาสที่ 2-4 ลงชื่อ .......ก...อ...บ....เ..ก...ยี...ร...ต...ิ....ป....ัญ....ญ.....า...โ..ร...จเนจ์ ้าห(แนท้านทรี่ผายู้รัมบือผชิดือ่ ช)อบ (นายกอบเกียรติ ปัญญาโรจน์) วันที่ 31 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 78

15. สหกรณ์ : เครดติ ยูเนี่ยนชมุ ชน 48 ไร่ไพร่ฟ้า จากดั ประเภทสหกรณ์ : เครดติ ยูเน่ียน การวิเคราะหข์ อ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทัว่ ไป : ปีบัญชีส้ินสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 1.1 จานวนสมาชกิ 608ราย 1.2 จานวนสมาชิกทร่ี ว่ มทาธรุ กจิ 530ราย 1.3 ธุรกจิ หลกั ธุรกิจสินเช่อื 1.4 ผลผลติ หลกั ……-……. 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเกรด B 1.6 ระดบั ช้ันสหกรณ์ระดบั 2 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต…….-…… 1.8 การแปรรูป……-…… 1.9ผลิตภณั ฑ์เด่น ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพน้ื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉางโกดังโรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด ) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเช่ือ 1,234,761.05 15,899,511.00 15,480,500.00 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 2,128,566.71 3,034699.96 6,921,663.67 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต 3,130,180.59 2,814,392.01 1,005,300.19 5. ธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย 438,466.00 449,866.00 238,000.00 6. ธรุ กจิ บริการ 6,931,974.35 22,198,468.97 23,645,463.86 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชลี า่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 หน่วย : บาท นบั 46,691,046.01 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 40,057,174.96 13,155,665.17 35,232,319.10 46,896,128.94 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 9,943,119.08 22,302,752.12 15,053,045.62 11,458,726.91 34,973,030.00 หน้ีสนิ รวม บาท 29,696,270.48 24,783,858.21 184,887.56 11,082,000.00 หนี้สินหมุนเวียน บาท 23,251,702.75 394,901.86 258,430.89 ทุนของสหกรณ์ บาท 10,360,904.48 474,398.06 ทุนสารอง บาท 132,721.61 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 351,438.21 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 79

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นับ อัตราส่วนทางการเงินทสี่ าคัญ 2.87 3.07 3.16 -อตั ราสว่ นหนส้ี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 3.39 3.45 4.28 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 0.88 0.85 1.01 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 0.43 0.59 0.61 -อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 0.00 0.00 0.01 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - การควบคุมภายใน สหกรณ์มีการกาหนดแผนการดาเนินงานและรายจ่ายประจาปีไว้โดย ที่ประชุมใหญ่ เป็นผู้อนุมัติเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน สหกรณ์มีรายจ่ายโดยรวมอยู่ภายในประมาณการรายจ่ายท่ีกาหนดไว้ แต่มี ค่าใช้จ่ายบางรายการไม่ไดก้ าหนดงบประมาณไว้ สหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณ ให้ครอบคลุมกับค่าใช้จ่ายท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน โดยคานงึ ถงึ ภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ เพ่ือใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือในการบริหารทางการเงิน รวมทัง้ ควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยแต่ละประเภทให้อยูภ่ ายในวงเงินงบประมาณท่ีกาหนด - สหกรณ์มีการกาหนดระเบียบว่าด้วยการรับ-จ่าย และเก็บรักษาเงินขึ้นถือใช้และมีการปฏิบัติตาม ระเบียบดังกล่าวอย่างเหมาะสม เว้นแต่ในวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันทางานของสหกรณ์หากมีสมาชิก ทาธุรกรรมจานวนมากกับ สหกรณ์ ทาให้สหกรณ์เก็บรักษาเงินสดเกินวงเงินตามระเบียบกาหนดไว้ เนื่องจากธนาคารปิดทาการในวันดังกล่าว สหกรณ์ได้ นาเงนิ สดไปฝากธนาคารเปิดทาการ - สหกรณ์มีผู้ตรวจสอบกิจการซ่ึงได้รับการเลือกตั้งจากท่ีประชุมใหญ่ จานวน 3 คน ได้เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการดาเนินการเป็นประจา พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจสอบต่อท่ีประชุมด้วยวาจามิได้จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร สหกรณ์ควรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการจัดทารายงานการตรวจสอบเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรต่อคณะกรรมการดาเนินการ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพน้ื ฐานและสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจ้าหน้าที่ - สหกรณ์จัดแบ่งส่วนงานและแยกหน้าท่ีความรับผิดชอบ สหกรณ์จัดจ้างเจ้าหน้าที่เป็นของสหกรณ์เอง จานวน4คนประกอบดว้ ยผ้จู ดั การเจ้าหน้าทบี่ ญั ชี เจ้าหน้าท่ีการเงิน และเจ้าหน้าท่ีธุรการ เจ้าหน้าที่ มีความรู้ความสามารถ ในการปฏบิ ตั งิ านเป็นไปตามท่ีไดร้ บั มอบหมายพอควร 2. ด้านการบริหารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น จานวน 46,896,128.94 บาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อน 205,082.93 บาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.44 ทุนดาเนินงานส่วนใหญ่ เป็นแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ จานวน32,087,796.31 บาท ประกอบด้วย เงินกู้ยืม จานวน 16,819,642.75 บาท ต๋ัวเงินจ่าย จานวน 4,000,000.00 บาท เงินฝากสหกรณ์อ่ืน จานวน10,888,884.17 บาท ค่าบารุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยค้างจ่าย จานวน 51,584.23 บาท อื่นๆ จานวน 327,685.16 บาท และเป็นแหล่ง เงินทุนภายในสหกรณ์ จานวน 14,808,332.63 บาท ประกอบด้วย ทุนสหกรณ์ จานวน 11,923,098.94 บาท เงินรับฝากจาก สมาชิก จานวน 2,723,384.69 บาท และอื่นๆ จานวน 161,849.00 บาท หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและความเพียงพอของ เงินทุนตอ่ ความเสี่ยงแล้ว เจ้าหนี้คงมีความเส่ียงเนื่องจากสหกรณ์มีอัตราส่วนหนี้สินท้ังส้ินต่อทุน 2.93 เท่า ทุนของสหกรณ์ไม่ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 80

สามารถคุ้มครองหนี้ได้ทั้งหมด หนี้สินของสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมจากภายนอกและเงินรับฝาก เพ่ือลดภาวะความเส่ียง ทางการเงินสหกรณ์ควรระดมทุนโดยให้สมาชิกถือหุ้นเพ่ิม - สหกรณ์มีสินทรัพย์ท้ังส้ิน 46,896,128.94 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 205,082.93 บาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 00.44 สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของลูกหน้ีเงินให้กู้ยืมสุทธิ จานวน 30,192,503.19 บาท ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ จานวน 8,974,423.22 บาท เงินสด/เงินฝากธนาคารและเงินฝากสหกรณ์อ่ืน จานวน 5,795,397.32 บาท สินทรัพย์ หมุนเวียนอื่น จานวน 799,283.05 บาท เงินลงทุนระยะยาว จานวน 646,000.00 บาท สินค้าคงเหลือ 368,500.00 บาท ลูกหน้ี ตามคาพิพากษาสุทธิ จานวน 110,354.21บาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอ่ืน จานวน 9,667.95 บาท สินทรัพย์ของสหกรณ์ท่ี มีอยู่ได้ใช้ในการดาเนินงานเพ่ือก่อให้เกิดรายได้ 0.10 รอบ มีอัตราการเติบโตของสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.44 สหกรณ์มี อัตราหนี้ค้างชาระต่อหน้ีถึงกาหนดชาระ ร้อยละ 37.54 ดังน้ันสหกรณ์ควรหาวิธีการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ท่ีผิดนัดชาระหนี้ ให้สง่ ชาระหน้โี ดยเร็ว เพื่อสหกรณ์จะไดม้ ีเงินทุนใชห้ มนุ เวียนในการดาเนินธรุ กิจในอนาคตต่อไป 3. ด้านวัตถุดิบ *(Material) เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) *ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - สหกรณ์นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทของเอกชน มาใช้ในการประมวลผลข้อมูลด้านทุน เรือนหุ้น ลูกหนี้ เงินรับฝาก รวมท้ังจัดทาบัญชีแยกประเภท โปรแกรมที่สหกรณ์ใช้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและการ ดาเนินงาน เว้นแต่ การจัดทาบัญชีแยกประเภทไม่เป็นไปตามรูปแบบที่ถูกต้องตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์กาหนดได้ แนะนาให้สหกรณ์ใช้โปรแกรมระบบบัญชีแยกประเภทที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ โดยปัจจุบันสหกรณ์ได้ดาเนินการ บันทึกบัญชีด้วยโปรแกรมดังกล่าวแล้ว ซึ่งการประมวลผลข้อมูลของโปรแกรมเป็นไปโดยถูกต้อง สหกรณ์มีการควบคุมภายใน สาหรับการใช้โปรแกรมระบบงานเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยมาตรฐานขั้นต่าในการควบคุมภายในและการ รักษาความปลอดภัย สาหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล พ.ศ.2553 และสหกรณ์ไดม้ ีการสารองข้อมูลเก็บไวท้ ีเ่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์และสื่อภายนอกอยา่ งเหมาะสม 4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และ การดาเนินธุรกจิ (Method) - สหกรณ์มีสมาชิกคงเหลือ ณ วันสิ้นปี จานวน 608 ราย สหกรณ์ได้กาหนดแผนการดาเนินธุรกิจ มีมูลค่า รวมทั้งสิ้น 23,255,000.00 บาท ระหว่างปีสหกรณ์ดาเนินธุรกิจมีมูลค่ารวมทั้งส้ิน จานวน 23,645,463.86 บาท คิดเป็นร้อยละ 101.68 ของเป้าหมาย เฉลี่ยเดือนละ 1,970,455.32 บาท มีอัตราการเติบโตของธุรกิจลดลงจากปีก่อน ร้อยละ 8.11 มีผลงาน ธรุ กจิ 4 ด้าน - ระหว่างปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิกทั้งส้ิน จานวน 15,480,500.00 บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 3,666,011.00 บาท หรือลดลง ร้อยละ 19.15 ผลการดาเนินธุรกิจคิดเป็นร้อยละ 103.20 ของเป้าหมาย มีสมาชิกได้รับบริการ 281 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.22 ของจานวนสมาชิก ณ วันสิ้นปี ระหว่างปีสหกรณ์สามารถติดตามให้สมาชิกชาระหนี้ได้ตาม กาหนด เป็นเงินจานวน 5,344,481.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 62.46 ของต้นเงินถึงกาหนดชาระ ณ วันสิ้นปี สหกรณ์มีลูกหน้ีเงิน ให้กู้ คงเหลือ จานวน 30,373,937.09 บาท ซึ่งเป็นลูกหน้ีระยะส้ัน จานวน 8,160,944.94 บาท ลูกหนี้ระยะยาว จานวน 22,121,992.15 บาท มีลูกหน้ีเงินให้กู้ผิดนัดชาระหน้ี จานวน 166 ราย เป็นจานวน 3,212,613.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.54 ของต้นเงิน ถึงกาหนดชาระ สหกรณ์มีดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 950,229.00 บาท ค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 163,729.85 บาท สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ-ลูกหน้ีเงินให้กู้ระยะสั้น จานวน 181,433.90 บาท ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะ สูญ-ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 152,384.93 บาท และค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับได้ต้ังค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญไว้เต็มจานวน เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณก์ าหนด ผลการดาเนนิ งาน มกี าไรเฉพาะธุรกจิ จานวน 2,399,894.56 บาท - ระหว่างปีสหกรณ์จาหน่ายสินค้า จานวน 1,005,300.19 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.19 ของเป้าหมาย ลดลง จากปีกอ่ นจานวน1,809,091.82บาทหรือลดลงร้อยละ 64.28 ผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะธุรกิจ จานวน 19,623.67 บาท ปี กอ่ นกาไรเฉพาะธรุ กิจ จานวน 93,652.10 บาท ณ วันสิน้ ปี สหกรณ์ไดห้ ยุดดาเนินการธุรกจิ แล้ว Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 81

-ระหวา่ งปีสหกรณ์มีรายได้จากการให้บริการแก่สมาชิกและบุคคลท่ัวไป จานวน 238,000.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 119.00 ของเป้าหมาย ลดลงจากปีก่อนจานวน 211,866.00 บาท หรือลดลงร้อยละ 47.10 ผลการดาเนินงานมกาไร เฉพาะธรุ กจิ จานวน 104,326.86บาท ปีก่อนกาไรเฉพาะธุรกิจ จานวน 81,702.08 บาท สหกรณ์ควรพิจารณาหาแนวทางในการ บรหิ ารธุรกจิ ด้านนี้ใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น - ระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก และสหกรณ์อ่ืน จานวน 6,921,663.67 บาท คิดเป็นร้อยละ 138.43 ของเป้าหมาย เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนจานวน 3,600,367.17 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 108.40 ณ วันส้ินปีมีเงินรับฝากจาก สมาชิกจานวน 2,723,384.69 บาท สหกรณ์อน่ื จานวน 10,888,884.17 บาท - สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังส้ิน 5,569,360.62 บาท และมีค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน จานวน 5,094,962.56 บาท เป็นผล ให้มีกาไรสุทธิ จานวน 474,398.06 บาท สหกรณ์มีอัตราค่าใช้จ่ายดาเนินงานต่อกาไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ร้อยละ 82.89 มีเงินออมเฉล่ียต่อสมาชิก 22,706.23 บาท มีหน้ีสินเฉล่ียต่อสมาชิก 52,005.57 บาท ซ่ึงหากพิจารณาเงินออมเฉลี่ยต่อ สมาชิกแล้วจะเห็นว่าสมาชิกมีเงินออมเฉลี่ยน้อยกว่าหนี้สิน สะท้อน ให้เห็นถึงความสามารถในการชาระหนี้ของสมาชิกใน อนาคตททท่ีอาจสง่ ผลกระทบต่อการบริหารของสหกรณ์ ทจ่ี ะต้องวางแผนในการติดตามเร่งรัดหน้ีให้เป็นไปตามกาหนดสัญญา จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.61 เท่า ปีก่อน 0.59 เท่า แสดงถึงสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์เพิ่มข้ึน จากปีก่อน เม่ือพิจารณาสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงินให้กู้ระยะสั้น-สุทธิ ร้อยละ 53.74 เงินสดและเงินฝากธนาคาร และสหกรณ์อนื่ รอ้ ยละ38.501และสินทรัพย์หมนุ เวียนอื่นๆ ร้อยละ 7.76 ส่วนหนี้สินหมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงินฝาก ร้อยละ 54.92เงนิ กรู้ ะยะส้ัน ร้อยละ44.09และหน้สี นิ หมนุ เวียนอ่ืนๆ ร้อยละ 0.99 โดยลูกหนี้เงินให้กู้ระยะสั้นชาระหนี้ได้ตามกาหนด ร้อยละ 62.46 ของหน้ีท่ีถึงกาหนดชาระ ดังนั้นสภาพคล่องของสหกรณ์จะข้ึนอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้เป็น สาคญั นอกจากน้ีถ้าพิจารณาส่วนประกอบของหน้ีสินหมุนเวียนควบคู่กันไปด้วย จะเห็นว่าหน้ีสินหมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงิน รับฝาก ดังน้ัน สหกรณ์ควรบริหารด้านเงินรับฝากให้ทันต่อสถานการณ์ และระมัดระวังเงินไหลออกจากการถอนเงินฝากของผู้ ฝากเงินรายใหญ่ ซ่งึ หากมกี ารถอนเงนิ พร้อมกันในคราวเดียวก็อาจส่งผลถึงสภาพคล่องของสหกรณ์ แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณ์ชัน้ 1 และชัน้ 2  ยกระดบั สหกรณช์ ัน้ 2 และ ชัน้ 3 สู่ชน้ั ท่ีดีขน้ึ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ึ้นไป  ผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับที่ดีข้ึน 3) อน่ื ๆ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 82

 แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองค์กร 1.1กิจกรรมรกั ษาระดับช้ันสหกรณ์ จากชั้น1ชั้น2 1 กิจกรรม ตค63–กย64 1.2กจิ กรรมรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลศิ 1 แห่ง ตค63–กย64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธรุ กจิ 2.1กิจกรรมการรักษาการมีส่วนร่วมของสมาชกิ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ60 1 แหง่ ตค63–กย64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธุรกจิ เพอ่ื ใหบ้ ริการตามความตอ้ งการของสมาชกิ 1 แห่ง ตค63–กย64 3. ด้านการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 ครง้ั ตค63-กย64 กล่มุ เกษตรกร 1 แห่ง ตค63-กย64 3.1กจิ กรรมเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ให้คาปรึกษา เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบงั คับและกฎหมายของสหกรณ์ 3.2กจิ กรรมการควบคุมภายในสหกรณ์ แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหนส้ี นิ สมาชิก 1 แผน ตค63 -กย64 1.1กจิ กรรม สร้างการมสี ่วนร่วมในการแก้ไขปญั หาหนีส้ ินของสมาชิก 1 แผน ตค63 -กย64 สหกรณ์ เพ่ือกาหนดแนวทางร่วมกัน 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั สง่ เสริมการจัดทาแผนกลยุทธ์ 2.1กิจกรรมใหส้ หกรณม์ ีการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งานเพ่ือเป็น 1 แผน ตค63 -กย64 แนวทางในการปฏิบตั ิงาน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสริมธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสริมสหกรณ์ให้นาหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงช่ือ.......พ....ทิ....ัก...ษ....์....อ...ุน่...ท....ร...พั....ย...์....(..แ...ท. เนจร้าาหยนม้าอื ทช่ีผ่อื ู้ร) ับผิดชอบ (นายพิทักษ์ อนุ่ ทรัพย์) วันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 83

16. สหกรณ์ : เครดติ ยูเน่ียน มงคลเศรษฐี จากดั ประเภทสหกรณ์ : เครดิตยูเน่ียน การวิเคราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมลู ทัว่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชิกสามัญ 12,410 ราย ปบี ญั ชี : 31 มีนาคม 2562 1.2 จานวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทาธรุ กิจ : 1,247 ราย 1.3 ธรุ กจิ หลกั : สนิ เชอ่ื และรับฝากเงนิ 1.4 ผลผลิตหลัก : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด F 1.6 ระดบั ชั้นสหกรณ์ : ช้นั 2 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : - 1.8 การแปรรปู : - 1.9 ผลติ ภัณฑเ์ ด่น : - 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เชน่ ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไมม่ ี) 3) ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ - 629,000.00 1,337,000.00 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน 80,942,044.49 86,336,252.79 160,159,418.57 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสินค้ามาจาหน่าย - - - 6. ธรุ กิจบริการ 81,664.90 - - - - - รวม 81,023,709.39 86,965,252.79 161,496,418.57 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 1,344,717,170.27 1,342,538,415.29 1,014,488,252.30 สินทรัพย์หมนุ เวียน หน้ีสินรวม บาท 737,514,331.76 1,112,118,877.40 984,807,689.88 หนสี้ ินหมนุ เวียน ทุนของสหกรณ์ บาท 1,034,758,280.55 1,028,425,920.77 858,619,759.52 ทุนสารอง กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 1,028,883,254.16 1,022,642,616.06 852,920,710.02 อัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญ บาท 309,958,889.72 314,112,494.52 155,868,492.78 บาท - - - บาท (7,482,279.94) (1,422,004.80) - Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 84

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราส่วนหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 3.34 3.27 5.51 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ -2.41 -0.45 0 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์(ROA) รอ้ ยละ -0.56 -0.11 0 -อตั ราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 0.72 1.09 1.15 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0 0 0 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) 5.1.การติดตามแก้ไขข้อสังเกต - สหกรณ์ใช้โปรแกรมระบบบัญชีซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทเอกชน แต่สหกรณ์ปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยมาตรฐานขั้นต่าในการควบคุมภายในและรักษาความปลอดภัยสาหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีใช้ โปรแกรมระบบบัญชีคอมพวิ เตอร์ประมวลข้อมูล พ.ศ.2553 ดงั น้ี 1) ไม่มีก่ีกาหนดนโยบายหรือระเบียบปฏิบัติในการควบคุมการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์เป็น ลายลกั ษณ์อักษร 2) ไม่มีคู่มือหรือเอกสารประกอบ การปฏิบัติงานด้านฐานข้อมูลของระบบบัญชีที่จาเป็นเพื่อให้ สามารถเขา้ ถงึ โครงสรา้ งการจัดเก็บข้อมูล การใช้งาน หรืออ้างอิงเพื่อแก้ไขปัญหา ได้แก่ โครงสร้าง ฐานข้อมูล (Data Structure) หรอื พจนานกุ รมข้อมูล (Data Dictionary) หรือตารางแสดงรายละเอียดการเก็บข้อมูลระบบบัญชีคอมพวิ เตอร์ 3) ไม่มกี ารจัดทาแผนสารองฉุกเฉนิ ในการนาชดุ ข้อมลู ที่สารองมาใชง้ าน ดงั นนั้ เพอ่ื ให้โปรแกรมระบบงานสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีระบบงานสารองใช้ กรณีฉุกเฉินได้ทันเหตุการณ์ สหกรณ์ควรปฏิบัติตามหลักการควบคุมภายใน และการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบท่ีนาย ทะเบยี นสหกรณ์กาหนด และควรจดั ทานโยบายการรักษาความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสหกรณ์ข้ึนถือใช้ 5.2.ตามคาสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ท่ี 704/2556 เรื่อง ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์แก้ไข ข้อบกพร่องทางการเงินการบัญชี สั่ง ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดยให้คณะกรรมการดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่องทางการเงิน การบัญชี นั้น ข้าพเจา้ ไดต้ ิดตามแก้ไขข้อสังเกต สหกรณ์ยังไม่ได้ดาเนินการแก้ไข สรุปได้ดังน้ี 1) การจ่ายเงินกู้แก่สมาชิก และสมาชิกสมทบของสหกรณ์มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบที่ กาหนด - จ่ายเงินกู้พิเศษเพื่อดาเนินการเก่ียวกับโครงการจัดสรรท่ีอยู่อาศัย ซ่ึงการจ่ายเงินกู้ ดังกล่าวไม่เป็นไปตามระเบียบ ว่าด้วยเงินให้กู้แลพดอกเบ้ียเงินกู้ พ.ศ.2544 จากการตรวจสอบ ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2562 สหกรณ์มีลูกหนเ้ี งนิ กพู้ ิเศษโครงการจดั สรรที่อยู่อาศัยคงเหลือ 2 โครงการ 3 สัญญา จานวน 192,016,361.00 บาท - สหกรณ์ให้เงินกู้พิเศษแกสมาชิก และสมาชิกสมทบ ไม่พบหลักฐานการอนุมัติโดยที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ การ และไม่มหี ลักทรัพย์ค้าประกัน รวมทั้งมีการจ่ายเงินใหก้ ู้เป็นจานวนสงู มาก ได้แก่ (1) สัญญาเงินกู้ของสมาชิกสมทบ บริษัท ยูแอรืไลน์ จากัด (ปัจจุบัน เปล่ียนชื่อ แอร์ไทย ยูไนเต็ด จากัด) จานวน 4 สัญญา มีเงินกู้คงเหลือ จานวน 2000,000,000.00 บาท สหกรณ์ได้ดาเนินคดี ตามกฎหมาย และศาลแงกรุงเทพใต้ได้พิพากษาคดีหมายเลขแดงท่ี ผบ.1174/2560 เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2561 ให้บริษัท ยู แอรไ์ ลน์ จากัด ชาระเงิน 236,493,152.00 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 12 ต่อปี ของต้นเงิน 200,000,000.00 บาท นับ ถัดจากวันฟ้อง (ฟ้องวันที่ 8 ตุลาคม 2557) เป็นต้นไป จนกว่าจะชาระเสร็จ สหกรณ์บันทึกบัญชีเป็นลูกหน้ีตามคาพิพากษา บริษทั ยแู อร์ไลน์ จากัดจานวน 304,930,741.00 บาท ดอกเบ้ียค้างรับ จานวน 38,400,000.00 บาท และต้ังค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สญู ทงั้ ตน้ เงนิ และดอกเบยี้ ค้างรับไว้เต็มจานวน Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 85

(2) สัญญาเงินกู้พิเศษของนายศุภชัย ศรีศุภอักษร สมาชิกเลขที่ 1 มียอด ลูกหน้ีเงินกู้คงเหลือ จานวน 1 สัญญา เป็นเงิน 453,574,646.00 บาท สหกรณ์ได้ดาเนินคดีตามกฎหมาย และได้ทาสัญญา ประนีประนอมยอมความโดยสัญญาว่าจะนาเงินมาชาระแก่สหกรณ์ แต่ผิดนัดชาระหน้ี ขณะน้ีสหกรณ์ได้ดาเนินการบังคับคดี โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยึดอสังหาริมทรัพย์ รวมราคาประเมิน 424,993,072.00 บาท จากลูกหนี้แล้ว ขณะน้ีอยู่ระหว่าง ดาเนินการขายทอดตลาด 5.3.ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ สหกรณ์มีการบันทึกบัญชีโดยใช้โปรแกรมระบบ คอมพิวเตอร์เครดิตยูเนี่ยนก้าวหน้า ปรากฏว่า สหกรณ์ยังปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยมาตรฐาน ขั้นต่าในการควบคุมภายในการควบคุมภายในและการรักษาความปลอดภัย สาหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ใช้โปรแกรม ระบบคอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล พ.ศ.2553 คือ ไม่มีกาหนดนโยบายหรือระเบียบปฏิบัติในการควบคุมการปฏิบัติงานเป็น ลายลักษณ์อักษร ไม่มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง ผู้ใช้งานมีการใช้ Password ร่วมกัน ไม่มีการเปลี่ยนรหัสผ่านในการใช้ งานและผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลในระบบได้แบบไร้ร่องรอย และไม่มีเอกสารสนับสุนนการปฏิบัติงานด้านฐานข้อมูล (Data Structure) หรือพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) รวมทั้ง สหกรณ์ไม่ทาการต่อสัญญาในการดูแลระบบกับบริษัทเดิม มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี เม่ือมีปัญหาเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์จะใช้บริการจากบุคคลภายนอกจากการตรวจสอบ สหกรณ์ยัง ไม่ได้ดาเนนิ การจัดทาระเบียบ ฯ และนโยบาย 5.4.จากรายงานผลการตรวจสอบบัญชีปีก่อนพบว่า สหกรณ์ถือใช้ข้อบังคับองสหกรณ์ พ.ศ.2549 กาหนด ท่ีต้ังของสานักงาน (ใหญ่) เลขท่ี 31 หมู่ 7 ตาบลคลองสาม อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และไม่มีท่ีตั้งสานักงานสาขา ในทางปฏิบัติสหกรณ์มีสานักงานบริการดาเนินงานปฏิบัติงานเช่นเดียวกับท่ีต้ังของสานักงาน (ใหญ่) จานวน 3 แห่ง คือ สานักงานบริการร้อยเอ็ด อยู่ที่จังหวัดร้อยเอ็ดสานักงานบริการนครราชสีมา อยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา และสานักงานบริการ ชัยภมู ิ อยู่ที่จังหวัดชัยภูมิสหกรณ์ดาเนินการไม่เป็นไปตามข้อบังคับของสหกรณ์ สหกรณ์ยังไม่ได้ดาเนินการแก้ไขการปฏิบัติ ใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับของสหกรณ์ อนึ่ง สหกรณ์ถูกดาเนินคดีจากเจ้าหนี้เงินรับฝากสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด ฟ้องเรียกเงิน คืนทนุ ทรพั ย์ จานวน215,788,513.60 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.50 ต่อปี ของต้นเงิน จานวน 215,88,513.60 บาท นับต้ังแต่วันที่ 22 เมษายน 2558 โดยศาลจังหวัดธัญบุรี ได้พิพากษาความคดีหมายเลขแดงที่ พ.893/2559 เม่ือวันที่ 12 มกราคม 2560 ให้สหกรณ์เครดิตยูเนียนมงคลเศรษฐี จากัด ชดใช้เงินคืน ต่อมาเมื่อวันท่ี 31 กรกฎาคม 2560 สหกรณ์ได้รับ หมายจากสานักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 5 ลงวันท่ี 2 มีนาคม 2560 แจ้งยึดหุ้น บริษัทสหประกันชีวิต จากัด (มหาชน) ในหน่วยลงทุนที่สหกรณ์เครดิตยูเนียนมงคลเศรษฐี จากัด เป็นผู้ถือครองตามหมายบังคับคดีของศาลจังหวัดธัญบุรี ตามคดีหมายเลขแดงที่ พ.89/2559 พิพากษาให้สหกรณ์จ่ายเงินรับฝากคืนแก่สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากดั และเจา้ หนีเ้ งินรบั ฝากสหกรณเ์ ครดิตยเู นียนสวุ รรณภูมิ จากัด ได้ดาเนินคดีตามกฎหมายกับสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมงคล เศรษฐี จากัด เพื่อเรียกคืนทุนทรัพย์ จานวน 96,360,477.83. บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.50 ของเงินต้น จานวน 94,821,256.08บาทศาลจงั หวดั ธัญบรุ ี ไดพ้ ิพากษาตามคดีหมายเลขแดง ที่ พ.238/2561 ให้สหกรณ์เครดิตยูเนียนมงคลเศรษฐี จากัด ชาระเงิน จานวน 94,821,256.08 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อนละ 2.5 ปี ของต้นเงินดังกล่าวนับแต่วันที่ 27 ตุลาคม 2559 ถึงวันท่ี 3 ธันวาคม 2559 และดอกเบ้ียอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินจานวนเดียวกัน นับแต่วันท่ี 4 ธันวาคม 2559 เป็นต้นไป จนกว่าจะชาระเสร็จ ต่อมาในวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2561 ศาลฎีกามีคาพิพากษาที่ 7840/2561 ยืนตามศาลขั้นต้น ซึ่งสานักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 5 ดาเนินการขายทอดตลาด หุ้นประเภทหุ้นสามัญบริษัทสหประกันชีวิต จากัด (มหาชน) ซ่ึงมีราคาทุน 190,000,000.00 บาท ต้ังแต่หมายเลขหุ้น 34951008 ถึงหมายเลขหุ้น 43951007 และหมายเลขหุ้น 48655108ถึงหมายเลขหุ้น 58655107 โดยสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากัด เป็นผู้ซื้อได้เมื่อวันท่ี 9 มกราคม 2562 จานวน 48,390,000.00 บาท และ 53,760,000.00 บาท ตามลาดับมีค่าธรรมเนียมร้อยละ 3 ของยอดเงิน 102,150,000.00 บาท เป็นเงิน 3,064,500.00 บาท ค่าใช้จ่ายที่สานักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 5 จานวน 7,593.00 บาท ค่าใช้จ่ายภายหน้า จานวน 673.00 บาท คืนเงินค่าใช้จ่ายให้สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด จานวน 8,500.00 บาท จ่ายให้สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสุวรรณภูมิ จากัด ผู้ร้องขอเฉลี่ยตามคดีแดง พ38/2561 จานวน 28,539,832.88 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 86

บาทและจ่ายใหส้ หกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด จานวน 70,537,401.12 บาท สหกรณ์มีผลขาดทุนจากการ จาหน่ายเงินลงทนุ จานวน 87,841,500.00 บาท 6) ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ประธานและผู้ที่เกี่ยวข้องมีการทจุ รติ เกี่ยวกับเงินกู้ยืม  ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพน้ื ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ดา้ นบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจ้าหน้าท่ี - สหกรณม์ ีสมาชิกคงเหลือ ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2562 มีจานวน 12,410 คน - สหกรณไ์ ด้จัดจ้างเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติงานในสหกรณ์ 2. ดา้ นการบริหารเงนิ ทุน (Money) - ความพอเพียงของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งส้ิน จานวน 1,014,488,252.30 บาท ทุนดาเนินงาน ดังกล่าวส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายใน ร้อยละ 57.37 ประกอบด้วย เงินรับฝากจากสมาชิก ร้อยละ 41.39 ทุนของสหกรณ์ ร้อยละ 41.39 ทุของสหกรณ์ร้อยละ 15.36 และอื่น ๆ ร้อยละ 0.62 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ42.63 มาจากแหล่งเงินทุนภายนอกซ่ึง ได้มาจากเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น ร้อยละ 17.26 เงินกู้ยืมร้อยละ 0.21 เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา ร้อยละ 21.33 และหนี้สินอื่น ๆ ร้อนละ3.83หากพจิ ารณาถงึ ความเข้มแข็งและความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงแล้ว เจ้าหน้ีมีความเส่ียง เน่ืองจากสหกรณ์มี ยอดขาดทนุ สะสมคงเหลือณวันที่ 31 มีนาคม 2562 จานวน 692,251,717.71 บาท อีกท้ังสหกรณ์มีอัตราส่วนหนี้สินทั้งส้ินต่อทุน 5.51เทา่ ปกี ่อน3.27เท่า ทุนของสหกรณ์ไม่สามารถคุ้มครองหน้ีสินท้ังหมดได้ สหกรณ์ควรระมัดระวังความเส่ียงอันเกิดจากการท่ี ผ้ฝู ากเงนิ ถอนเงินในคราวเดียวกันเป็นจานวนมากอาจทาให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่อง - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์ได้นาทุนดาเนินงานของสหกรณ์ท่ีมีอยู่ไปลงทุนในเงินกู้ยืมร้อยละ 20.53 ซงึ่ เป็นสว่ นของเงินให้กู้ยมื ระยะสั้นสทุ ธิ ร้อยละ19.73ลูกหนอ้ี นื่ -สุทธิ ร้อยละ 38.02 เงินให้กู้ยืมระยะยาว ร้อยละ 0.79 ท่ีดินแทน การชาระหน้ีรอจาหน่าย ร้อยละ 25.48 เงินลงทุนระยะยาวร้อยละ 0.48 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับสุทธิ ร้อยละ 11.94 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ ร้อยละ 2.20 และส่วนท่ีเหลือเป็นสินทรัพย์อ่ืน ๆ สหกรณ์ได้นาสินทรัพย์ไปใช้ในการดาเนินงาน เพ่ือก่อให้เกิด รายได้ 0.04 รอบ ต่อปี 0.03 รอบ สหกรณ์ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ท่ีมีอยู่ให้มากขึ้นและเกิดผลตอบแทน สงู สดุ - สภาพคล่อง สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.16 เท่า ปีก่อน 1.09 เท่า จะเห็นได้ว่าสหกรณ์มีสภาพ คล่องทางการเงนิ อยู่ในเกณฑ์ที่ดขี นึ้ จากปีก่อน อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ของสหกรณ์ของสหกรณ์เป็นเงินให้กู้ยืม และลูกหน้ี แต่แหล่งเงินทุนท่ีสหกรณ์นามาให้สินเชื่อกับสมาชิก ส่วนใหญ่มาจากเงินรับฝาก ซึ่งเป็นหนี้สินระยะสั้นจานวนมาก ดังนน้ั ภาพคลอ่ งทางการเงินของสหกรณ์ข้ึนอยกู่ ับประสิทธภิ าพในการบรหิ ารลูกหน้ีเป็นสาคัญ 3. ดา้ นวัตถดุ บิ * (Material) เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - สหกรณ์นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทเอกชนมาใช้ในการประมวลข้อมูลด้านทุนเรือนหุ้น ลูกหน้ี เงินรับฝาก รวมทั้งการจัดทาบัญชีแยกประเภท โปรแกรมระบบบัญชีท่ีสหกรณ์ใช้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและการ ดาเนนิ งานการควบคุมภายในสาหรับการใช้โปรแกรมระบบงานส่วนใหญ่เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยมาตรฐาน ข้ันต่าในการควบคุมภายในและการรักษาความปลอดภัย สาหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ประมวลผลข้อมูล พ.ศ. 2553 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกจิ (Method) - ขดี ความสามารถในการบริหาร ณ วันสน้ิ ปี สหกรณ์มสี มาชิก 12,410 คน - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 2 ด้าน รวมท้ังสิ้น 161,496,418.57 บาท ประกอบด้วย การให้สินเช่ือแก่สมาชิก จานวน 1,337,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.83 และเงินรับฝากจานวน 160,159,418.57 บาท คิดเป็นร้อยละ 99.17 การ บรหิ ารธุรกจิ แตล่ ะด้านสรปุ ได้ ดังน้ี Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 87

-ธุรกจิ สินเชือ่ ในระยะปสี หกรณจ์ า่ ยเงินกู้แก่สมาชิก จานวน 1,337,000.00 บาท จาแนกเป็น เงินกู้ฉุกเฉิน 30 สัญญา จานวน 110,000.00 บาท เงินกู้พิเศษ 4 สัญญา จานวน 1,227,000.00 บาท ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมชาระหนี้ได้ตามกาหนด ร้อยละ 5.77 ของหน้ีท่ีถึงกาหนดชาระ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 ลูกหน้ีเงินให้กูคงเหลือ 2,637 สัญญา จานวน 344,405,302.00 บาท จาแนกเป็น เงินกู้ฉุกเฉิน 181 สัญญา จานวน 636,287.00 บาท สหกรณ์ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ จานวน 587,350.00 บาท เงินกสู้ ามญั 2,171สญั ญาจานวน 39,508,584.00 บาท เป็นลูกหน้ีเงินกู้สามัญที่ยกยอดมาจากปีก่อน ๆ ในระหว่างปีสหกรณ์ไม่ได้ จ่ายเงินกู้สามัญเพ่ิมเติม สหกรณ์ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญไว้จานวน 3,950,858.40 บาท และเงินกู้พิเศษ 285 สัญญา จานวน 304,260,431.00บาทในจานวนนี้เป็นเงินกู้พิเศษท่ีสมาชิกทาสัญญาขานท่ีดินไว้กับสหกรณ์ตั้งแต่ในปีก่อน ๆ ที่ได้กู้เงิน โดยไม่ได้ จดจานองเป็นหลักประกันเงินกู้กับสหกรณ์ จานวน 253,273,648.00 บาท สหกรณ์ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญไว้จานวน 131,636,824.00 บาท ส่วนเงินกู้พิเศษที่จ่ายในระหว่างปี จานวน 4 สัญญา จัดให้มีหลักประกันโดยมีการจดจานองครบถ้วน สหกรณ์มีดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 134,481,364.00 บาท และสหกรณ์ตั้งค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 13,352,449.17 บาท - สหกรณ์ดาเนินงานมีผลขาดทุนเฉพาะธุรกิจ จานวน 71,511,294.02 บาท ในการบริหารสินเชื่อ สหกรณ์ ควรพจิ ารณาวางแผนการติดตามเร่งรดั หนี้สนิ โดนให้ลูกหนี้มาชาระหน้ีตามกาหนดสัญญา ท้ังต้นเงินและดอกเบี้ย เพื่อเป็นการสร้าง วินัยทางการเงินท่ีดีแก่สมาชิก และทาให้สหกรณ์มีเงินทุนไหลกลับเข้ามาหมุนเวียนในระบบก่อให้เกิดสภาพคล่องทางการเงินแก่ สหกรณ์ -การรับฝากเงิน ในระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิกและสหกรณ์อื่น จานวน 160,159,418.57 บาท ณ วันสิ้นปี สหกรณ์มีเงินรับฝากคงเหลือ จานวน 595,019,89.43 บาท จาแนกเป็นเงินรับฝากออมทรัพย์จากสมาชิก จานวน 13,283บัญชี จานวน 68,324,239.41 บาท เงินรับฝากออมทรัพย์เพื่อผู้สูงอายุ จานวน 140 บัญชี จานวน 6,240,669.12 บาท เงิน ออมทรัพย์พิเศษ1,077บญั ชี จานวน 520,454,912.90 บาท ซึ่งแยกเป็นเงินรับฝากสมาชิก จานวน 338,524,467.31 บาท สหกรณ์ อ่ืน จานวน 175,125,533.39 บาท สวัสดิการเงินกองทุนสงเคราะห์ จานวน 5,367,174.00 บาท และดอกเบ้ียผลสวัสดิการกองทุน สงเคราะห์ จานวน 1,434,738.17 บาท - การทากาไร สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังส้ิน จานวน 161,964,625.56 บาท และมีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น จานวน 322,355,917.30 บาท ประสบผลขาดทุนสุทธิ จานวน 160,391,291.74 บาท เพ่ือเป็นการเสริมสร้างสภาพคล่องทางการเงินของ สหกรณ์ และสร้างวินัยทางการเงินแกสมาชิก สหกรณ์ควรวางแผนในการติดตามเร่งรัดให้ลูกหนีมาชาระหนี้เป็นไปตามกาหนด สญั ญา เรือ่ งอนื่ ๆ - สหกรณ์เครดิตยูเนียนมงคลเศรษฐี จากัด มียอดขาดทุนสะสมคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 จานวน 692,251,717.71 บาท สหกรณ์ปรับลดมูลค่าหุ้นเพื่อจ่ายคืนสมาชิกที่ลาออก กรณีสหกรณ์มียอดขาดทุนสะสมคงเหลือจะได้รับเงิน คา่ หุ้นคืน - ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 สหกรณ์มีมูลค่าหุ้นคงเหลือ (8.66) บาท การจ่ายคืนค่าหุนกรณีขาดทุนสะสม สหกรณ์ จ่ายคืนตามมูลค่าท่ีคานวณได้ตามท่ีปรากฏในงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินเรียบร้อยแล้ว สาหรับส่วน ต่างของมูลค่าหุ้นท่ีปรากฏในข้อบังคับ ซ่ึงอยู่ในบัญชีเรือนหุ้นและมูลค่าหุ้นท่ีจ่ายคืนสมาชิก สหกรณ์นาไปลดยอดบัญชีขาดทุน สะสม เป็นไปตามคาแนะนาของนายทะเบียนสหกรณ์ เร่ืองแนวทางการปฏิบัติในการจ่ายคืนค่าหุ้นกรณีสหกรณ์/ชุมนุมสหกรณ์ ขาดทนุ สะสม พ.ศ. 2549 -ระหว่างปีสหกรณ์โอนทุนเรือนหุ้นของสมาชิกท่ีเสียชีวิต 37 ราย จานวนทุนเรือนหุ้นเต็มมูลค่า 5,923,870.00 บาท ให้ทายาทซึ่งเป็นสมาชิกสหกรณ์ โดยที่มูลค่าหุ้นของสหกรณ์คงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 จานวน (8.82) บาท สหกรณ์ ปฏิบัติไม่เป็นไปตามคาแนะนาของนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติงานในการจ่ายคืนค่าหุ้นกรณีสหกรณ์/ชุมนุม สหกรณ์ขาดทุนสะสม พ.ศ. 2549 - เงินฝากสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจ่ัน จากัด – สุทธิ ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2560 และ 2559 จานวน 357,249,725.04 บาท สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจ่ัน จากัด อยู่ระหว่างปฏิบัติตามแผนฟ้ืนฟูกิจการของสหกรณ์ โดยศาล Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 88

ล้มละลายกลางมีคาส่ังเห็นชอบ กาหนดให้สหกรณ์ชาระเงินต้นคืนทุกครึ่งปี เป็นเวลา 26 ปี (พ.ศ.2559-2584) โดยไม่มีดอกเบ้ีย สหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ นมงคลเศรษฐี จากัดไม่รับแผนฟ้ืนฟูจึงไม่ได้รับเงินคืนตามแผนการฟ้ืนฟู ซึ่งเงินฝากจานวนดังกล่าว เม่ือวันท่ี 24พฤศจกิ ายน2558เจ้าพนักงานพทิ ักษ์ทรัพย์ สานักฟืน้ ฟูกิจการลูกหน้ี ได้มีคาสั่งอนุญาตให้สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมงคลเศรษฐี จากัดได้รับชาระหนี้ในการฟื้นฟกู ิจการเฉพาะในมูลหนเี้ งินฝากเป็นจานวนเงินท้ังส้ิน จานวน 367,084,433.06 บาท พร้อมดอกเบ้ีย ในอัตราร้อยละ 7.50 ต่อปี จากต้นเงิน 365,909,571.69 บาท นับแต่วันถัดจากที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ืนฟูกิจการจนกว่าจะได้รับชาระ เสร็จจากสหกรณเ์ ครดิตยูเน่ียนคลองจ่ัน จากดั - เมื่อวันท่ี 3 กรกฎาคม 2560 ศาลฎีกาพิพากษาให้สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนคลองจ่ัน จากัด จ่ายชาระหน้ีให้สหกรณ์ เครดติ ยูเนย่ี นมงคลเศรษฐี จากัด ได้รับชาระหน้ีในการฟ้ืนฟูกิจการเฉพาะในมูลหนี้เงินฝาก เป็นจานวนเงินท้ังส้ิน 367,084,433.06 บาทพร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.50 ต่อปี จากต้นเงิน 365,909,571.69 บาท นับแต่วันถัดจากวันท่ีศาลมีคาส่ังให้ฟื้นฟูกิจการ จนกว่าจะไดร้ ับชาระ เสรจ็ ส้นิ จากสหกรณ์เครดิตยูเนย่ี นคลองจน่ั จากดั -ในระหวา่ งปีสหกรณ์ขายที่ดิน โฉนดเลขท่ี 24083 ตาบลเมืองแก อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ให้นายแก้วคงทรัพย์ ซ่ึงเป็นเจ้าของเดิม ในราคา 1,020,000.00 บาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ชุดที่ 16 คร้ังท่ี 13 เมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2561 มีกาไรจากการขายสินทรัพย์ จานวน 470,000.00 บาท - สหกรณ์ได้จาหน่ายท่ีดินแทนการชาระหน้ีรอจาหน่าย ประกอบด้วย ห้องชุดเลขที่ 50/102 อาคารเลขที่ เอ อาคาร ชุด มงคลเศรษฐี เอ-บี โฉนดที่ดินเลขท่ี 129863,129864,129865 และ113648 จังหวัดปทุมธานี จานวน 1,108,500.00 บาท และ ท่ีดินจัดสรรโครงการผาตะวัน โฉนดท่ีดินเลขท่ี 65198 จังหวัดนครราชสีมา จานวน 56,736,148.00 บาท มีกาไรจากการจาหน่าย ทรัพย์สิน จานวน 4,348,760.00 บาท - สาหรับปีทางบัญชีส้ินสุดวันท่ี 31 มีนาคม 562 สหกรณ์มียอดขายขาดทุนสะสมคงเหลือ จานวน 692,251,717.71 บาท ปัจจัยดังกล่าวแสดงถึงความไม่แน่นอนท่ีสาคัญ ซึ่งอาจทาให้เกิดข้อสงสัยอย่างมากเกี่ยวกับความสารถของสหกรณ์ท่ีจะ ดาเนนิ งานได้อย่างต่อเน่ือง จากการวิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มท่ตี ้องแกไ้ ขปัญหา สหกรณ์ที่ต้องพฒั นาให้เป็นองค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ท่มี ขี ้อบกพร่องต้องได้รบั การแก้ไข/และเร่งรัด (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นคิ ม) ติดตาม สหกรณท์ ต่ี ้องการพฒั นาและเพิ่มศักยภาพการดาเนินธุรกิจ  กลมุ่ สหกรณท์ มี่ ีปญั หาหน้ีค้างนาน โดยการสนบั สนุนจากภาครัฐ  สหกรณ์ทม่ี ีปัญหาหนีส้ ูญ สหกรณท์ ี่เข้มแข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ โดยให้ภาครฐั แนะนา  สหกรณ์ทจี่ าเป็นต้องฟืน้ ฟกู ิจการ สง่ เสริมและกากับดแู ลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ทค่ี วรควบกิจการกับสหกรณ์อื่น  สหกรณ์ทีค่ วรเลิกกจิ การ  สหกรณ์ท่ีมปี ัญหาอ่ืน ๆ (ระบ)ุ เปา้ ประสงคใ์ นการแนะนา สง่ เสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  เป้าประสงค์ดา้ นการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร  พัฒนาสหกรณ์ใหเ้ ป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสงั คมของชุมชน (พฒั นาให้เป็นสหกรณห์ ลักระดับอาเภอ)  พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเน่ือง  รกั ษามาตรฐานการดาเนินงานของสหกรณ์ให้มั่นคง  อ่นื ๆ (ระบุ)................................................ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 89

 เปา้ ประสงค์ดา้ นการกากับ ดูแล ตรวจสอบ และคุ้มครองสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  กากบั ดูแล ให้ดาเนินการตามกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ  ป้องกนั การเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  อ่นื ๆ (ระบุ)................................................  เป้าประสงคด์ ้านการแก้ไขปัญหาการดาเนนิ งานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  แก้ไขปัญหาหน้ีค้างนาน  แก้ไขปัญหาหนสี้ ูญ  แก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง  ปรับปรงุ การดาเนินงานตามข้อสงั เกตของผู้สอบบญั ชี  ฟนื้ ฟูกิจการสหกรณ์  เตรียมเลิกสหกรณ์  แก้ไขปญั หาอื่น ๆ (ระบุ) ปัญหาสภาพคล่องในการดาเนินธุรกจิ ของสหกรณ์ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ช้ัน 1 และช้ัน 2  ยกระดบั สหกรณช์ ั้น 2 และ ชนั้ 3 สูช่ น้ั ทีด่ ีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ์ :  รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป  ผลักดันสหกรณใ์ หผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับท่ดี ีข้ึน 3) ระบุเป้าหมายอื่น ๆ เช่น การเพิ่มปริมาณการรวบรวมผลผลิต/แปรรูปผลผลิตสมาชิกมีส่วนร่วมในการดาเนินธรุ กิจกบั สหกรณเ์ พิ่มขึ้น เป็นต้น  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผูด้ าเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ระดับชน้ั สหกรณ์ รักษาชัน้ 1และชัน้ 2  ยกระดบั สหกรณ์ ช้นั 2และชั้น3สชู่ ้นั ท่ดี ีข้ึน 1.1กิจกรรมให้คาแนะนาหลกั เกณฑ์การรักษาและการยกระดับสหกรณ์ส่ขู ั้นทด่ี ีข้นึ 4 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ดาเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั แก้ไขปญั หาสภาพคลอ่ ง 1.1กจิ กรรมติดตามผลการขายทรัพย์ทอดตลาดจากกรมบังคบั คดี 2 คร้งั ต.ค.63-ก.ย.64 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักแก้ไขปญั หาข้อบกพร่อง 2.1กิจกรรมตดิ ตามผลการแกไ้ ขข้อบกพร่องของสหกรณ์ 2 คร้งั ต.ค.63-ก.ย.64 ลงช่ือ..............ส....วุ...ิท....ย...์...ท....มุ....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจรา้ าหยนมา้ ือทชี่ผอื่ ู้ร)ับผิดชอบ (นายสุวทิ ย์ ทุมมณี) วนั ท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 90

17. สหกรณ์ : เครดติ ยูเนี่ยนทอผ้ากรุงเทพ จากัด ประเภทสหกรณ์ : เครดติ ยูเนี่ยน การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ข้อมลู ท่วั ไป :ปีบัญชสี ิ้นสดุ วนั ที่ 30 พฤศจิกายน 2562 1.1 จานวนสมาชิก 123 ราย 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ่วมทาธุรกจิ 123 ราย 1.3 ธุรกิจหลกั ธรุ กจิ สนิ เชือ่ 1.4 ผลผลิตหลัก……-…… 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเกรด A 1.6 ระดบั ชั้นสหกรณ์ระดับ 1 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต……-…… 1.8 การแปรรปู ……-…….. 1.9 ผลติ ภณั ฑเ์ ด่น ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดงั โรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เช่ือ 50,264,000.00 11,146,779.50 13,319,542.501 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 1,958,364.58 - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต - - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสินค้ามาจาหน่าย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - - รวม 52,222,364.58 11,146,779.50 13,319,542.501 4)สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 75,961,513.24 38,448,031.47 35,164,520.18 สินทรัพย์หมนุ เวียน หน้สี นิ รวม บาท 23,680,546.21 16,930,078.29 17,587,571.59 หน้ีสินหมนุ เวียน ทนุ ของสหกรณ์ บาท 3,128,673.81 38,060.00 28,765.00 ทุนสารอง กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 1,988,748.58 38,060.00 28,765.00 อตั ราส่วนทางการเงินที่สาคัญ บาท 72,832,839.43 38,409,971.47 35,135,755.18 บาท 12,915,622.76 13,294,622.76 13,464,888.76 บาท 3,783,933.31 1,702,658.76 1,119,889.41 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 91

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราสว่ นหนส้ี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.04 5.02 0.00 0.00 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 4.98 4.43 3.19 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 11.91 4.43 3.18 -อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 0.17 444.83 611.42 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.35 0.38 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -  ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั น้ี 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หนา้ ท่ี - การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดของสหกรณ์ ฝ่ายจัดการและคระกรรมการดาเนินการของสหกรณ์ทุกฝ่าย มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบไว้เหมาะสมการปฏิบัติงานเป็นไปตามที่ได้รับมอบหมาย การจัดทาบัญชี การเงินและการ จัดทางบการเงินสหกรณ์ไดปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไข พ.ศ.2553 ตามระเบียบ นายทะเบียน สหกรณ์วา่ ดว้ ยการบญั ชีของสหกรณ์ พ.ศ.2560 และคาสั่ง คาแนะนาของนายทะเบียนสหกรณ์ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานส่วนใหญ่มาจากทุนของสหกรณ์เอง และสหกรณ์บริหารจัดการเงินทุนโดยนาไป ให้สมาชิกกู้ยืมเป็นส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 79.15 ของสินทรัพย์ท้ังส้ิน รองลงมาเป็นเงินสด เงินฝากธนาคาร และสหกรณ์อื่น ร้อย ละ 19.12 สหกรณ์มีทุนการดาเนินงาน จานวน 35,164,520.18 บาท ทุนดาเนินงานดังกล่าว เป็นทุนของสหกรณ์เองเป็นส่วน ใหญ่ หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอของเงนิ ทนุ ต่อความเสีย่ งแล้วถือว่า ไมม่ คี วามเสี่ยง 3. ดา้ นวัตถุดบิ * (Material) เครื่องจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สนิ คา้ ของสหกรณ์ - สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของลูกหน้ีสุทธิ ร้อยละ 79.15 รองลงมา เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากสหกรณ์อื่น ร้อยละ 19.12 และอื่นๆร้อยละ 1.73 สินทรัพย์ของสหกรณ์ที่มีอยู่ถูกนาไปใช้ในการดาเนินงานเพื่อ ก่อใหเ้ กิดรายไดแ้ ละสรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ร้อยละ 3.04 ปีก่อนร้อยละ 2.98 อาจกล่าวได้ว่าสหกรณ์นาสินทรัพย์ไป บริหารจักการให้เกิดรายได้ดีกวา่ ปีก่อน 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และ การดาเนนิ ธรุ กจิ (Method) - สหกรณ์จ่ายเงินกู้แก่สมาชิกและสหกรณ์อ่ืน จานวน 13,319,542.50 บาท ลูกหน้ีส่วนใหญ่สามารถชาระ หนี้ได้ตามกาหนด ณ วันส้ินปี มีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือเป็นเงิน จานวน 21,807,519.50 บาท และมีลูกหน้ีขาด สมาชิกภาพ จานวน 6,124,700.75 บาท สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญลุกหนี้ดังกล่าวไว้ จานวน 167,645.501 บาท ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 173,237.00 บาท สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญดอกเบ้ียค้างรับ จานวน 8,661.86 บาท สหกรณม์ ีรายไดร้ วมท้ังส้ิน 2,278,662.60 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมท้ังสิ้น 1,158,773.19 บาท มีกาไรสุทธิจานวน 1,119,889.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.925 ของยอดรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจาก เงินลงทุน กาไรต่อสมาชิก 9,104.79 บาทต่อคนมีเงิน ออมเฉล่ียต่อสมาชิก 149,733.74 ต่อคน และหนี้เฉลี่ยต่อสมาชิก 177,855.69 บาทต่อคน หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วน ปริมาณเงินออมเฉลี่ยกับหนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก จะเห็นได้ว่าสมาชิกมีเงินออมน้อยกว่าหนี้สินเฉล่ีย อาจส่งผลกระทบต่อกาลัง ความสามารถในการชาระหน้ีของสมาชิกในอนาคตได้ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 92

จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมอาจส่งผลกระทบให้สหกรณ์เกิดความเส่ียงในด้านต่างๆ การ ปรับตัวของอัตราดอกเบ้ียในท้องตลาดอาจส่งผลกระทบต่อการบริหารเงินทุนของสหกรณ์ในอนาคต ดังน้ันสหกรณ์ต้องติดตาม สถานการณ์และปรบั การบริหารลูกหนี้ใหม้ ีประสิทธิภาพและทันต่อการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้นั สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณ์ช้ัน 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณช์ ั้น 2 และช้ัน 3 ส่ชู ัน้ ที่ดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับท่ีดีขึ้น 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ าเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนินการ 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาองคก์ ร 1.1กจิ กรรมการรักษาระดบั ชั้นสหกรณ์ ระดับ1 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กิจกรรมการรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ ดเี ลิศ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธุรกจิ 2.1กจิ กรรมการรักษาการให้บริการสมาชกิ ของสหกรณ์ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 70 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กิจกรรมการจดั ทาแผนธุรกิจให้บรกิ ารตามความต้องการของสมาชกิ 3. ด้านการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 ครง้ั ต.ค.63–ก.ย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กิจกรรม การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 93

แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสริมประสิทธิภาพในการดาเนนิ ธุรกิจของ 1 แผน สหกรณ์ 1 แห่ง ต.ค.63 – ก.ย.64 1.1กจิ กรรมการแก้ไขปัญหาหน้ีคา้ งนานของสมาชิก 1 คร้ัง ต.ค.63 – ก.ย.64 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสริมการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1 กิจกรรม ให้สหกรณ์มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏิบตั งิ าน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสรมิ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณใ์ ห้นาหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงช่ือ..........ก...ร...ร..ณ.....กิ...า...ร...์....ก...ล...้า...ก...ร...ก...จิ.. เจ(า้แหทนน้ารทาย่ีผม้รู ือับชผ่ือิด)ชอบ (นางสาวกรรณิการ์ กล้ากรกิจ) วนั ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 94

18. สหกรณ์ : เครดิตยเู นี่ยนนกั กีฬาคนพิการ จากดั ประเภทสหกรณ์ : เครดติ ยูเนยี่ น การวเิ คราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทว่ั ไป ปีบัญชสี นิ้ สดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 2562 1.1 จานวนสมาชิก 146 ราย 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ว่ มทาธรุ กจิ 102 ราย 1.3 ธุรกิจหลักธรุ กิจสินเช่อื 1.4 ผลผลติ หลัก……-…… 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเกรด A 1.6 ระดับชัน้ สหกรณ์ระดบั 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต……-…… 1.8 การแปรรปู …..-…… 1.9 ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉางโกดังโรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 19,297,560.00 22,760,684.00 30,662,300.00 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน 646,020.00 1,324,195.00 12,140,408.50 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจาหน่าย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - - - รวม 19,943,580.00 24,084,879.00 42,802,708.50 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั สนิ ทรัพย์รวม บาท 19,851,254.88 22,657,751.73 31,084,804.77 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 5,958,294.71 9,486,038.22 14,157,093.26 หน้ีสนิ รวม บาท 7,943,251.25 8,802,361.75 13,153,843.78 หนี้สนิ หมนุ เวียน บาท 4,612,824.00 5,854,514.50 12,197,771.53 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 11,908,003.63 13,855,389.98 17,930,960.99 ทุนสารอง บาท 280,162.70 338,716.88 กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 570,780.93 683,451.10 407,550.47 800,433.52 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 95

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 นบั อัตราส่วนทางการเงินท่สี าคัญ 0.67 4.79 064 0.73 -อตั ราส่วนหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 2.88 4.93 4.46 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 1.29 3.02 2.57 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 0.01 1.60 1.16 -อตั ราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 0.01 0.01 -อัตราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์มีการกาหนดระบบการควบคุมภายในเหมาะสมกับการดาเนินและลักษณะ การดาเนินธุรกิจ มีการใชแ้ ผนงานรวมท้ังงบประมาณซึ่งที่ประชุมใหญ่อนุมัติไว้เป็นเป้าหมายในการปฏิบัติงานผลการปฏิบัติงานสูงกว่าแผนงาน ที่กาหนดไว้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจริงอยู่ภายในงบประมาณการรายจ่าย ท่ีได้วางแผน แต่การกาหนดงบประมาณรายจ่ายยังไม่ ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจริง สหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณรายจ่ายให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดย คานึงถึงภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติงานเพื่อใช้งบประมาณเป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานทาง การเงนิ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -  ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพ้นื ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หนา้ ที่ - สหกรณ์ได้จัดจ้างเจ้าหน้าท่ี จานวน 2 ราย ในตาแหน่งผู้จัดการ เป็นผู้รับ-จ่าย และเก็บรักษาเงินสด ได้รับค่าตอบแทนเดือนละ 15,000.00 บาท และผู้จัดทาบัญชี ซ่ึงได้ปฏิบัติงานด้านการจัดทาบัญชี ทะเบียนย่อยต่างๆ งบ ทดลอง และจัดทางบการเงินพร้อมด้วยรายละเอียดประกอบ ได้รับค่าตอบแทนเดือนละ 11,025.00 บาท หลังวันส้ินปีสหกรณ์ ได้จัดจา้ งเจา้ หน้าท่ีเพิ่ม 1 ราย ในตาแหนง่ เจ้าหน้าที่การเงิน 2. ดา้ นการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงาน จานวน 31,084,804.77 บาท เป็นแหล่งเงินทุนภายใน จานวน 22,681,133.73 บาท ประกอบด้วยทุนของสหกรณ์ จานวน 17,930,960.68 บาท เงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 4,602,674.75 บาท และอื่นๆ จานวน 147,498.00 บาท และแหล่งเงินภายนอก จานวน 8,403,671.04 บาท ประกอบด้วยเจ้าหนี้เงินกู้ยืม จานวน 8,237,847.25 บาท และอ่ืนๆ จานวน 165,823.79 บาท หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอ ต่อความเส่ียงของเงินทุน นับว่า เจ้าหนี้ไม่มีความเสยี่ งเนื่องจากสหกรณ์มอี ัตราหนสี้ นิ ท้ังส้นิ ต่อทนุ 0.73 เทา่ - สหกรณ์ได้นาทุนดาเนินงานสหกรณ์ของสหกรณ์ที่มีอยู่ไปลงทุนในลูกหน้ีเงินให้กู้ยืม จานวน 24,243,694.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 77.99 เงินสดและฝากธนาคาร จานวน 4,954,338.26 บาท ท่ีดิน อาคาร และเคร่ืองใช้ สานักงาน จานวน 1,061,952.51 บาท และทรัพย์อื่นๆ จานวน 824,820.00 บาท ทั้งนี้ลูกหน้ีเงินให้กู้ยืมชาระหน้ีได้ตาม กาหนดทุกราย สินทรัพย์ของสหกรณ์ที่มีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนินงานเพื่อก่อให้ก่อให้เกิดรายได้ 0.06 รอบ และใน ขณะเดยี วกันนาไปสรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 2.98 3. ด้านวัตถดุ ิบ* (Material) เครอ่ื งจกั รและอุปกรณ์ (Machine)* ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 96

4. ด้านการบรหิ ารการจัดการ(Management) และ การดาเนินธุรกจิ (Method) - สหกรณ์มีการดาเนินธุรกิจด้านสินเช่ือ และเงินรับฝากจากสมาชิก ระหว่าปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก จานวน22รายเปน็ เงิน30,662,300.00 บาทระหว่างปีลูกหนี้สามารถชาระหนี้ได้ตามสัญญา วันส้ินปีมีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ 80 ราย เป็นเงิน 24,243,694.00 บาท และมีดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 58,7058.00 บาท มีรายได้ดอกเบ้ียรีบขากเงินให้กู้ จานวน 1,674,330.00 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 22.96 ระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก จานวน 12,140,408.50 บาท ณ วันส้ินปี มีเงินรับฝากคงเหลือ 70 ราย จานวน 4,602,674.75 บาท ประกอบด้วยเงินรับฝากออมทรัพย์ จานวน 1,569,538.75 บาท และเงินรับฝาก ออมทรัพย์พิเศษ จานวน 3,033,136.00 บาท สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังสิ้น จานวน 1,964,452.38 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมท้ังสิ้น 1,164,018.86 บาท ผลการดาเนินงานมีกาไรสุทธิ จานวน 800,433.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.25 ของรายได้ดอกเบ้ียและผลตอบแทนจากเงินลงทุน หากสหกรณ์ไม่นาดอกเบ้ียค้างรับ จานวน 58,705.00 บาทมารวมเป็นรายได้ แล้ว สหกรณ์มีกาไร จานวน 741,728.52 บาท มีอัตราการเติบโตของทุนสารอง ร้อยละ 20.32 กาไรเฉล่ียต่อสมาชิก 5,482.40 บาทเงินออมเฉลยี่ ต่อสมาชิก144,886.47บาท และหนี้สินต่อสมาชิกเฉลี่ย 166,454.79 บาท หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วน ปริมาณเงินออมเฉลี่ยกับหนี้สินต่อสมาชิกเฉล่ียแล้วว่าสมาชิกมีเงินออมน้อยกว่าหน้ีสิน ซึ่งก็สะท้อนให้เห็นถึงกาลัง ความสามารถในการชาระหนีข้ องสมาชิกในอนาคตที่อาจส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของสหกรณ์ที่จะต้องวางแผนให้สมาชิก ชาระหนีใ้ หเ้ ป็นไปตามกาหนดสัญญา จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ - สหกรณ์มีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหน้ีสินหมุนเวียน 1.16 เท่า หากพิจารณาส่วนประกอบของสินทรัพย์ หมนุ เวียนแล้ว สว่ นใหญเ่ ป็นลูกหน้ีเงินให้กู้ยืม รองลงมาเป็นเงินสดและเงินฝากธนาคาร อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียนส่วน ใหญ่เป็นลูกหนี้เงินให้กู้ระยะส้ัน ดังน้ันสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้เป็น สาคัญ และสหกรณ์ควรพิจารณาการถือเงินสดและเงินฝากธนาคารไว้มากเกินความจาเป็นหรือไม่ ซึ่งจะเป็นผลให้สหกรณ์ สูญเสยี โอกาสที่จะนาไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อก่อให้เกดิ รายไดส้ งู สุด แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณช์ ้ัน 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณ์ชนั้ 2 และชั้น 3 ส่ชู นั้ ที่ดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับท่ีดีข้ึน 3) อ่ืน ๆ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 97

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ 1. ด้านการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร ดาเนินการ 1.1กิจกรรมการรกั ษาระดับช้ันสหกรณ์ ระดบั 1 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กจิ กรรมการรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลศิ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กจิ 2.1กิจกรรมการรักษาการให้บริการสมาชกิ ของสหกรณ์ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 70 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจัดทาแผนธรุ กิจใหบ้ รกิ ารตามความตอ้ งการของสมาชิก 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/ 4 ครั้ง ต.ค.63–ก.ย.64 กลุม่ เกษตรกร 3.1กิจกรรมการเข้ารว่ มประชมุ คณะกรรมการ แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลักสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพในการดาเนนิ ธรุ กิจของ 1 แหง่ สหกรณ์ 1 แผน ต.ค.63 – ก.ย.64 1.1กิจกรรมสง่ เสริมการดาเนินธุรกิจใหม้ ีปรมิ าณธรุ กจิ เพ่ิมขน้ึ ไมน่ ้อยกว่า 1 ครง้ั รอ้ ยละ3 ต.ค.63 – ก.ย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ส่งเสริมการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1กิจกรรมให้สหกรณ์มกี ารจัดทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนนิ งานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสรมิ ธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมสง่ เสริมสหกรณ์ให้นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..........ก...ร...ร..ณ.....ิก...า...ร...์....ก...ล...้า...ก...ร...ก...ิจ.. เจ(้าแหทนน้ารทายี่ผมู้รอื ับชผ่ือิด)ชอบ (นางสาวกรรณิการ์ กล้ากรกิจ) วันท่ี 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 98

19. สหกรณ์ : เครดติ ยเู นี่ยนบา้ นเอื้ออาทรรังสติ คลอง 1 จากัด ประเภทสหกรณ์ : เครดติ ยเู น่ียน การวิเคราะห์ข้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทว่ั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดบั ชัน้ สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เด่น ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชกิ . 51 . ปีบัญชี 30 กันยายน 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกทีร่ ่วมทาธรุ กิจหลกั 51 ราย . 1.3 ธรุ กจิ หลัก . ธรุ กจิ สินเช่ือ . 1.4 ผลผลิตหลัก ลูกหนี้เงินกู้ . 1.5 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . F . 1.6 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 . 3 . 1.7 ศกั ยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลิตภัณฑ์เด่น . - . 2. โครงสรา้ งพื้นฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี .- . 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธรุ กจิ สินเช่ือ 174,300 292,100 391,800.00 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจัดหาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย - - 6. ธรุ กิจบริการ 12,014.01 7. ธรุ กิจอน่ื ๆ (ระบุ) 381,605.04 612,112.34 446,542.16 รวม 555,905.04 904,212.34 - 403,814.01 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 99

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2562 ปี 2561 หน่วย : บาท 1,010,274.07 สนิ ทรัพย์รวม บาท 950,364.81 792,974.99 ปี 2560 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน บาท 709,341.21 6,995.58 866,939.52 6,995.58 731,048.03 หนส้ี นิ รวม บาท 12,028.43 1,003,278.49 22,128.02 - 22,128.02 หนี้สินหมนุ เวียน บาท 12,028.43 77,737.13 844,811.50 - ทุนของสหกรณ์ บาท 938,336.38 (106,643.67) ทนุ สารอง บาท - กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 18,727.79 อัตราส่วนทางการเงนิ ทส่ี าคัญ -อัตราสว่ นหนีส้ ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.012 0.00 0.03 7.74 -12.62 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 1.9959 7.94 -12.30 133.30 33.04 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 1.9706 0.00 0.00 -อัตราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 58.9721 -อัตราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.0000 5. ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์มีการกาหนดแผนการดาเนินงานและรายจา่ ยประจาปีไวโ้ ดยได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมใหญ่ สหกรณ์ มคี า่ ใชจ้ า่ ยบางรายการไม่ได้กาหนดงบประมาณไว้ สหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณให้ครอบคลุมกับคา่ ใช้จ่ายท่ีคาดว่าจะ เกิดข้ึนโดยคานึงถึงภาวะเศรษฐกิจ -สหกรณย์ ังไม่ได้แก้ไขเพิ่มเตมิ ข้อบงั คับตามคาส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ ในการกาหนดวิธีการปฏบิ ตั ใิ นการจ่ายคนื คา่ หุ้น หากสมาชกิ ลาออก กรณที ่ีขาดทุนเกินทุนสารองท่ีมีอยู่ สหกรณต์ ้องแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับใหเ้ รียบร้อยก่อนจึงสามารถจ่ายคืน ค่าหนุ้ แกส่ มาชิก หากมสี หกรณ์ลาออก 6. บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) - ไมม่ ี - Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 100