Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Published by cpd pathumthani, 2021-02-01 04:54:55

Description: CPS Plan 2564

Search

Read the Text Version

กรมส่งเสริมสหกรณ์ Cooperative Promotion Department แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดูแล สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งำนสหกรณ์จงั หวดั ปทมุ ธำนี เดอื นสงิ หาคม พ.ศ.2563 **สามารถปรับปรงุ เนอ้ื หาการนาเสนอข้อมลู ทีเ่ พิม่ เตมิ จากแบบรายงานดังกลา่ วได้ตามความเหมาะสม**

สำรบญั สว่ นท่ี 1 : ข้อมลู พื้นฐานของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรในจังหวัดปทุมธานี หน้า 1.1 ข้อมลู ทว่ั ไปของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัด 7 1.2 ปรมิ าณธรุ กิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวม และแยกตามประเภทของธุรกจิ 7 1.3 ขอ้ มลู โครงสร้างพ้นื ฐาน/อปุ กรณ์การตลาด เช่น ฉาง ลานตาก อปุ กรณ์การผลติ ฯลฯ 9 ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวดั 10 1.4 ข้อมูลศักยภาพการดาเนินธุรกจิ ของสหกรณ์ภาคการเกษตร/กลมุ่ เกษตรกรในจังหวัด 1.5 ขอ้ มูลศักยภาพการดาเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์นอกภาคการเกษตรในจังหวัด 11 13 สว่ นท่ี 2 : แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร (รายแห่ง) 14  สหกรณ์ 1) ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรปทุมธานี จากดั 14 2) ชมุ นุมสหกรณโ์ คนมแห่งประเทศไทย จากัด 17 3) สหกรณ์การเกษตรกรลาลูกกา จากัด 21 4) สหกรณ์การเกษตรคลองหลวง จากดั 25 5) สหกรณก์ ารเกษตรปฏิรูปที่ดนิ หนองเสอื จากดั 31 6) สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. จากัด 34 7) สหกรณ์การเกษตรเมืองปทมุ จากดั 39 8) สหกรณก์ ารเกษตรลาดหลมุ แก้วพฒั นา จากัด 45 9) สหกรณก์ ารเกษตรศิรริ วมทรพั ย์ จากัด 50 10) สหกรณ์การเกษตรสามโคก จากัด 54 11) สหกรณก์ ารเกษตรหนองเสอื จากัด 60 12) สหกรณก์ ารเชา่ ซอื้ ทด่ี นิ ธัญบรุ ี จากดั 64 13) สหกรณ์การเชา่ ซือ้ ทีด่ ินนาขวญั จากัด 70 14) สหกรณ์การเช่าซ้อื ท่ีดินลาลกู กา จากัด 74 15) สหกรณเ์ ครคติ ยูเน่ียนชมุ ชน 48 ไร่ไพร่ฟ้า จากัด 79 16) สหกรณเ์ ครดติ ยเู นย่ี น มงคลเศรษฐี จากัด 84 17) สหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี นทอผ้ากรงุ เทพ จากัด 91 18) สหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยนนกั กีฬาคนพกิ าร จากัด 95 19) สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียนบ้านเอ้ืออาทรรังสิตคลอง 1 จากัด 99 20) สหกรณ์เครดติ ยเู นยี่ นฟีลาเมนต์คลองหลวง จากดั 103 21) สหกรณ์เคหสถานเทพมงคลบงกช 42 จากัด 107 22) สหกรณเ์ คหสถานฟ้าใหมร่ ่วมใจ จากัด 110 23) สหกรณเ์ คหสถานเกา้ มงคลพฒั นา จากัด 116 24) สหกรณ์เคหสถานเจรญิ พัฒนา จากัด 121 25) สหกรณ์เคหสถานชมุ ชนคนปทุมธานี จากัด 124 26) สหกรณ์เคหสถานชมุ ชนสนิ สมทุ ร จากดั 128 27) สหกรณ์เคหสถานชุมชนหน้าวดั เวฬุวนาราม จากดั 132 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2

สำรบญั หน้า 136 28) สหกรณเ์ คหสถานบวั หลวงพฒั นา จากัด 140 29) สหกรณ์ สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมัน่ คงคลองหลวง จากัด 143 30) สหกรณเ์ คหสถานบ้านมนั่ คงชมุ ชนวดั รงั สิต จากัด 146 31) สหกรณ์เคหสถานบา้ นม่ันคงชุมชนหลักหก จากดั 149 32) สหกรณ์เคหสถานปทมุ ธานีโมเดล จากัด 153 33) สหกรณ์เคหสถานไผ่เขียวพฒั นา จากัด 157 34) สหกรณ์เคหสถานพฒั นาชุมชน จากดั 160 35) สหกรณ์เคหสถานมั่นคงนครรงั สิต จากัด 164 36) สหกรณเ์ คหสถานเมืองบางพนู จากดั 37) สหกรณเ์ คหสถานเมอื งรังสิต จากดั 169 38) สหกรณเ์ คหสถานเมอื งลาลูกกา จากดั 39) สหกรณเ์ คหสถานรว่ มมิตรรว่ มใจ จากดั 172 40) สหกรณ์เคหสถานรัตนปทมุ จากัด 41) สหกรณ์เคหสถานสรา้ งสรรคน์ ครรงั สิต จากัด 176 42) สหกรณเ์ คหสถานสามัคคีธรรมคลองสาม จากัด 43) สหกรณเ์ คหสถานเอกมงคล จากัด 180 44) สหกรณ์ชุมชนซอยคณุ พระ จากดั 45) สหกรณ์แท็กซ่กี รุงไทย จากัด 185 46) สหกรณ์แท็กซ่ขี ัน้ เทพ จากัด 47) สหกรณ์บริการคคู ต จากดั 189 48) สหกรณ์บริการชุมชนซอยรตั นะ จากัด 49) สหกรณ์บริการชมุ ชนหมูบ่ ้านไวท์เฮา้ ส์ จากดั 192 50) สหกรณบ์ ริการดอนใหญเ่ ก้าพัฒนา จากดั 51) สหกรณ์บริการทอ่ี ยู่อาศยั ที่ดินทากินพชื อุดม จากดั 197 52) สหกรณ์บริการบ้านมั่งคงมิตรสัมพันธ์ จากัด 53) สหกรณบ์ ริการบ้านมั่งคงสานฝันนครรังสิต จากดั 201 54) สหกรณ์บริการบ้านเอ้ืออาทร รงั สิต คลอง 5 จากัด 55) สหกรณบ์ ริการบา้ นเอื้ออาทรตวิ านนท์ จากัด 207 56) สหกรณ์บริการปทมุ ธานีแทก็ ซี่ จากดั 57) สหกรณ์บริการรัตตญั ญูบุญชู จากัด 211 58) สหกรณ์บริการสร้างสรรคป์ นั สขุ จากดั 59) สหกรณบ์ า้ นปทุม จากดั 215 219 223 227 231 235 239 244 248 252 256 260 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 3

สำรบัญ หน้า 264 60) สหกรณ์บ้านม่นั คงไทยมสุ ลิมสามัคคี จากัด 268 61) สหกรณ์ประมงการแปรรปู อาหารสัตว์จังหวัดปทมุ ธานี จากัด 272 62) สหกรณ์ประมงผ้เู พาะเลยี้ งสัตวน์ ้าปทมุ ธานี จากัด 276 63) สหกรณร์ วมใจพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชนสามโคก จากดั 280 64) สหกรณ์รา้ นสหกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรุงเทพ จากดั 284 65) สหกรณร์ า้ นสหกรณ์วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี จากัด 288 66) สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงาน บมจ.เครอื่ งสุขภัณฑอ์ เมริกันสแตนดาร์ด (ประเทศไทย) จากัด 292 67) สหกรณอ์ อมทรัพย์พนกั งานไซโก จากัด 296 68) สหกรณอ์ อมทรัพย์พนักงานไทยบรดิ จสโตน จากดั 300 69) สหกรณอ์ อมทรพั ย์พนกั งานบริษทั เจวซี เี คนวดู อิเลก็ ทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด 304 70) สหกรณ์ออมทรัพย์ โรม อินทริเกรเต็ด ซิสเตม็ (ประเทศไทย) จากัด 309 71) สหกรณ์ออมทรพั ย์ สยามบรรจุภณั ฑ์ จากดั 313 72) สหกรณ์ออมทรพั ย์ เอ ไอ กรปุ๊ จากดั 317 73) สหกรณอ์ อมทรพั ย์กรีนสปอต จากดั 321 74) สหกรณอ์ อมทรัพย์กลุ่มพนักงานเครือไทย-ไอชิน จากัด 325 75) สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนทอ้ งถิ่นปทุมธานี จากัด 330 76) สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครูปทุมธานี จากัด 335 77) สหกรณอ์ อมทรัพย์จอมธนา จากัด 339 78) สหกรณอ์ อมทรพั ยต์ ารวจภธู รจังหวดั ปทุมธานี จากัด 343 79) สหกรณอ์ อมทรัพยโ์ ตชบิ า ทีพที ี จากัด 347 80) สหกรณอ์ อมทรพั ยโ์ ตชบิ าแคเรียร์ (ประเทศไทย) จากดั 351 81) สหกรณ์ออมทรัพย์เทพพัฒนาสมั พนั ธ์ จากัด 356 82) สหกรณ์ออมทรัพย์ไทรสนั โพลทร่ี (ไทยแลนด)์ จากัด 359 83) สหกรณอ์ อมทรพั ยบ์ ริษทั แอลเอฟ บวิ ต้ี ประเทศไทย จากดั 363 84) สหกรณ์ออมทรพั ยบ์ างกอกกลา๊ ส จากัด 367 85) สหกรณอ์ อมทรัพยบ์ างกอกคอยล์ เซน็ เตอร์ จากัด 371 86) สหกรณ์ออมทรพั ย์พนักงาน เอส วี ไอ จากดั 375 87) สหกรณอ์ อมทรพั ย์พนกั งานกูด๊ เยียร์ (ประเทศไทย) จากัด 379 88) สหกรณ์ออมทรัพย์พนกั งานเครือ ไอ.อาร์.ซี.ที จากดั 383 89) สหกรณ์ออมทรพั ย์พนกั งานไดซินกรุป๊ และบริษทั ในเครอื จากดั Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 4

สำรบัญ 90) สหกรณอ์ อมทรพั ย์พนักงานไทยซูซูกิมอเตอร์ จากดั หน้า 387 91) สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานบริษทั เอน็ อีซี แพลทฟอมส์ไทย จากัด 391 92) สหกรณอ์ อมทรัพย์พนกั งานบริษัทไลท์ออน อิเลคทรอนิคส์ จากดั 395 93) สหกรณ์ออมทรพั ย์พนักงานฝาจีบ จากัด 399 94) สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานมารจ์ อเรต็ ส์ (ประเทศไทย) จากดั 403 95) สหกรณอ์ อมทรัพย์พนกั งานสถาบันเอ ไอ ที จากัด 407 96) สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานสยามคโู บต้า จากัด 411 97) สหกรณอ์ อมทรัพย์มหาลยั รังสติ จากดั 415 98) สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ จากดั 419 99) สหกรณอ์ อมทรพั ย์มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล จากดั 422 100) สหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลภัทร-ธนบรุ ี จากัด 426 101) สหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพมิ พ์อาสารกั ษาดนิ แดน จากัด 430 102) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงเรยี นเอกชนปทมุ ธานี จากดั 434 103) สหกรณอ์ อมทรัพยศ์ นู ย์ซ่อมสรา้ งส่งิ อุปกรณส์ ายสรรพาวธุ จากัด 438 104) สหกรณ์ออมทรัพยส์ ถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย 442 จากัด 105) สหกรณอ์ อมทรัพยส์ หภาพแรงงานไทยคูราโบ จากัด 445 106) สหกรณ์ออมทรัพยส์ หภาพแรงงานนิคเคสยามอลมู เิ นียม จากัด 449 107) สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสขุ ปทุมธานี จากดั 454 108) สหกรณอ์ อมทรัพยส์ านกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ จากัด 459 109) สหกรณ์ออมทรัพย์เสรมิ สุข จากัด 464 110) สหกรณอ์ อมทรัพยอ์ อมทรพั ย์ ซัมโบ จากัด 468 111) สหกรณอ์ อมทรัพย์อาร์ วี คอนเน็กซ์ จากัด . 112) สหกรณ์ออมทรัพยโ์ อเรกอน จากัด 476 113) สหกรณอ์ อมพนักงานคาร์ตนั ออปทิคัล (สยาม) จากัด 481  กล่มุ เกษตรกรทั่วไป 1) กลมุ่ เกษตรกรทานาคลองพระอุดม 485 2) กลุ่มเกษตรกรทานาบางเตย 489 3) กลุ่มเกษตรกรทานาบางหลวง 492 4) กลมุ่ เกษตรกรทานาบงึ คาพร้อย 496 5) กล่มุ เกษตรกรทานาลาดสวาย 500 6) กลุ่มเกษตรกรทานาสวนพริกไทย 504 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5

สำรบัญ หน้า 508 7) กลุม่ เกษตรกรทาสวนตาบลท้ายเกาะ 512 8) กลุ่มเกษตรกรทาสวนบา้ นใหม่ 516 9) กลุ่มเกษตรกรเล้ยี งสัตว์บึงคอไห 520 10) กลุม่ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว์ลาไทร 524 11) กลมุ่ เกษตรกรแสนสขุ 527  ภาคผนวก Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 6

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลพ้นื ฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรในจงั หวดั ปทมุ ธานี 1.1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัด สรุปข้อมูลทั่วไปของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมท้ังหมด ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 โดยแยกตามประเภทของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประกอบดว้ ย 1) จานวนสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร สถานะ ลาดับท่ี ประเภทสหกรณ์ จานวนสหกรณ์ ดาเนินการ ชาระบัญชี ปกติ หยดุ ดาเนนิ การ จัดต้ังใหม่ 1 1 1 สหกรณ์การเกษตร 13 12 - - - - 2 สหกรณป์ ระมง 32 - - 9 4 3 สหกรณน์ ิคม 44 - - 1 16 4 สหกรณร์ า้ นคา้ 22 - - 5 สหกรณ์บริการ 49 38 2 - 6 สหกรณ์ออมทรัพย์ 54 48 1 1 7 สหกรณ์เครดติ ยเู น่ยี น 7 6 - - รวมสหกรณ์ทงั้ หมด 132 112 3 1 จานวนกลมุ่ เกษตรกร (แห่ง) ประเภทกลุ่มเกษตรกร ดาเนินงาน/ หยุด เลกิ จัดตง้ั ใหม่ จานวนกล่มุ เกษตรกรทัง้ หมด ธุรกจิ ดาเนินงาน/ /ชาระบัญชี ธุรกจิ 1. กลุม่ เกษตรกรทานา 8 - 2- 10 2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน 2 - 2 - 4 3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ - - 1 - 1 4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง - - - - - 6. กลมุ่ เกษตรกรอื่น ๆ - 1 - - 1 (ระบุ) รวม 10 1 5 - 16 2) จานวนสมาชิกทั้งหมด (แยกสมาชิกสามัญและสมาชิกสมทบ) จานวนสมาชิกที่ทาธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร และร้อยละของสมาชกิ ทม่ี ีสว่ นร่วมในการดาเนินธรุ กิจ ลาดับท่ี ประเภทสหกรณ์ สมาชกิ ทัง้ หมด สมาชกิ สามัญ สมาชกิ สมทบ สมาชกิ ทง้ั หมด (คน) (คน) (คน) ทร่ี ่วมทาธรุ กจิ (คน) 1 สหกรณ์การเกษตร 7,487 7,090 397 5,895 2 สหกรณ์ประมง 561 561 - 470 3 สหกรณ์นคิ ม 4,913 4,613 300 4,231 4 สหกรณร์ า้ นคา้ 153 153 - 64 5 สหกรณบ์ ริการ 24,695 24,544 151 10,441 6 สหกรณ์ออมทรัพย์ 50,928 50,227 701 38,514 7 สหกรณ์เครดติ ยูเนี่ยน 5,821 5,821 - 4,326 รวมทั้งหมด 94,558 93,009 1,549 63,941 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 7

3) ระดบั ชนั้ สหกรณ/์ ผลการประเมนิ มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร - ระดบั ช้ันสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ชัน้ 1 ชั้น 2 ช้นั 3 ชัน้ 4 รวม รวม 46 53 20 12 131 21 สหกรณ์ภาคการเกษตร 4 14 2 1 13 5 1. สหกรณ์การเกษตร - 11 2 1 3 110 2. สหกรณน์ คิ ม 32- - 53 7 3. สหกรณป์ ระมง 11 - 1 1 49 สหกรณน์ อกภาคเกษตร 42 40 18 10 ยังไมอ่ อกผล 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 34 13 3 3 5 2 5. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ยี น 23 - 2 3 7 6. สหกรณร์ า้ นคา้ 1- - - 0 0 7. สหกรณบ์ รกิ าร 5 24 15 5 11 28 - ผลการประเมนิ มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ลาดบั ประเภทสหกรณ์ จานวนสหกรณ์ จานวนสหกรณ์ ผลเปรยี บเทยี บ ท่ี ท้งั หมด ทส่ี ง่ รักษาผลได้ รักษาไมไ่ ด้ ยกระดับ จดั เป็นปแี รก ยังไมผ่ า่ นเกณฑ์ 3 1 สหกรณก์ ารเกษตร 13 12 3 10 0 0 0 2 สหกรณ์เครดิตยเู น่ียน 8 6 4 00 0 16 0 3 สหกรณน์ คิ ม 4 4 1 00 0 0 0 4 สหกรณบ์ รกิ าร 48 30 6 01 0 19 5 สหกรณ์ประมง 3 1 1 00 0 6 สหกรณร์ า้ นค้า 1 1 1 00 0 7 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 53 48 35 1 1 0 รวมสหกรณท์ งั้ หมด 130 102 51 2 2 0 ที่ ประเภทกลมุ่ เกษตรกร จานวนทั้งหมด นามาจดั มาตรฐาน ผา่ นมาตรฐาน (กลมุ่ ) ต่ากว่ามาตรฐาน รักษา ผลกั ดัน 1 กลุ่มเกษตรกรทานา (กลมุ่ ) (กลุม่ ) มาตรฐานเดมิ ใหผ้ ่านมาตรฐาน (กลมุ่ ) 2 กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 22 7 2 3 กลุ่มเกษตรกรทาไร่ 8 2 41 0 4 กล่มุ เกษตรกรเล้ยี งสัตว์ 0 0 20 0 5 กลมุ่ เกษตรกรประมง 4 1 00 0 0 0 10 0 รวม 34 10 00 2 71 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 8

1.2 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวม และแยกตามประเภทของธุรกิจ (ข้อมูลปีบัญชี ล่าสุดของแต่ละสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร) 1) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ ปริมาณ ประมาณธรุ กจิ (ล้านบาท) ธรุ กิจ ประเภทสหกรณ์ ของ รบั ฝาก ใหเ้ งนิ กู้ จัดหา รวบรวม แปรรปู บริการ รวม สหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร (แหง่ ) 233.54 287.32 424.92 646.04 44.86 9.63 1,646.31 สหกรณ์นิคม 13.20 46.72 55.05 - - - 114.97 สหกรณ์ประมง 12 2.57 - - 24.83 สหกรณ์ออมทรพั ย์ 4 - - 22.26 - - 11,104.69 สหกรณเ์ ครดิต 2 3,453.56 7,651.13 - - - ยูเน่ียน 52 1.01 - 0.62 349.65 สหกรณบ์ ริการ 6 208.49 139.53 สหกรณ์รา้ นคา้ 41 0.14 57.41 0.003 - - 22.44 79.99 รวม 2 - - 1.94 - - - 1.94 119 668.3 44.86 32.69 1,322.38 3,908.93 8,182.11 485.49 2) ปริมาณธุรกิจของกลมุ่ เกษตรกร ปริมาณ ประมาณธรุ กจิ (ล้านบาท) ธุรกิจของ ประเภทกลมุ่ รบั ฝาก ให้เงินกู้ จัดหา รวบรวม แปรรูป บรกิ าร รวม เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร - 2.63 0.82 - -- 3.45 กลุ่มเกษตรกรทานา (แห่ง) - -- 0.26 กลุ่มเกษตรกรทาสวน - 0.18 0.08 - -- 0.17 กลุม่ เกษตรกรเลยี้ งสัตว์ 7 - -- 3.88 - 0.17 - รวม 3 - 2.98 0.90 2 12 ทม่ี า : ขอ้ มูลระบบสารสนเทศทางการเงินของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร online ปบี ญั ชลี ่าสุด กรมตรวจ บัญชสี หกรณ์ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 9

1.3 ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน/อุปกรณ์การตลาด เช่น ฉาง ลานตาก อุปกรณ์การผลิต ฯลฯ ของสหกรณ์/ กล่มุ เกษตรกรในจงั หวดั รายการอุปกรณ์/ ขอ้ มลู การใช้งาน ที่ ช่อื สหกรณ์ สิง่ กอ่ สรา้ ง ใช้ ใหเ้ ช่า ชารดุ ให้ ไมไ่ ดใ้ ช้ ขนาด งานไมไ่ ด้ งาน 1 สกก.คลองหลวง จากัด โรงสี 40 ตนั ∕ โรงสี 80ตนั ∕ ฉางคอนกรตี 500 ตัน ∕ เครอ่ื งอบความช้ืน 250 ตนั ∕ เคร่ืองอบความชื้น 400 ตนั ∕ รถโฟล์คลิฟท์ 2 คนั ∕ รถตักขา้ ว 3 คัน ∕ รถบรรทุก 10 ลอ้ 2 คนั ∕ รถบรรทุก 10 ลอ้ 3 3 คนั ∕ พว่ ง สายพานลาเลยี ง 1 ตวั ∕ เคร่ืองยงิ สีส่งิ เจอื ปน 1 ตวั ∕ โรงปรับปรงุ คุณภาพ 40 ตัน ∕ ข้าวสาร ลานตาก 9,600 ตรม. ∕ โกดัง 5,000 ตรม. ∕ ไซโล 1,600 ตัน ∕ เครื่องชงั่ 50 ตัน 2 ตัว ∕ เครอ่ื งชง่ั 1 ตนั ∕ เครื่องคดั แยกเมลด็ 450 ตรม. ∕ พันธ์ุ 2 สกก.ลาลกู กา จากดั เครอ่ื งอบลด 400 ตนั /วนั ∕ ความช้นื พร้อมโรง คลมุ โรงสี 40 ตนั ∕ ฉางคอนกรีต 500 ตนั ∕ เครอ่ื งชง่ั 40 ตัน ∕ เครื่องอบความชื้น 200 ตัน ∕ พร้อมโรงคลุมและ โรงเก็บฝ่นุ ลานตาก 8000 ตรม. ∕ 3 สกก.ศิรริ วมทรพั ย์ ฉางคอนกรตี 2500 ตนั ∕ จากดั ฉางคอนกรีต 500 ตนั ∕ ลานตาก 3200 ตรม. ∕ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 10

ที่ ชอ่ื สหกรณ์ รายการอุปกรณ์/ ขอ้ มูลการใชง้ าน สิง่ ก่อสรา้ ง ใช้ ใหเ้ ชา่ ชารุดให้ ไม่ไดใ้ ช้ 4 สกก.ลาดหลมุ แกว้ ฉางคอนกรตี ขนาด งานไม่ได้ งาน จากัด ลานตาก 500 ตนั ∕ 800 ตรม. ∕ 5 สกก.ปฏริ ปู ท่ีดนิ หนอง ลานตาก 3000 ตรม. ∕ เสอื จากดั ฉางคอนกรีต 500 ตัน ∕ เครอื่ งชั่ง 40 ตัน ∕ 6 สก.การเช่าซือ้ ทดี่ นิ ลา 40 ตนั ∕ ลูกกา จากัด เคร่อื งชัง่ 3,200 ตรม. ∕ ลานตาก 500 ตัน ∕ 7 สก.เชา่ ซื้อท่ดี ินธญั บรุ ี ฉางคอนกรีต ∕ จากัด 500 ตนั โรงผลิตป๋ยุ หมัก 36 ตรม. ∕ ฉางไม้ ∕ โรงผลติ ปุ๋ยหมกั ชีวภาพ ∕ โรงผลิตปยุ๋ อินทรยี ์ อัดเมด็ 1.4 ข้อมูลศกั ยภาพการดาเนินธุรกจิ ของสหกรณภ์ าคการเกษตร/กลมุ่ เกษตรกรในจงั หวัด 1) ศักยภาพของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการรวบรวมผลผลิต และการแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตรเพื่อสร้างมลู คา่ (ขอ้ มลู ผลงานในปี 2563 ณ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2563)  สหกรณภ์ าคการเกษตร การรวบรวมผลผลิต การจดั การและแปรรูปผลผลติ จานวน ศักยภาพ ผลการรวบรวม จานวน ศักยภาพ ผลการแปรรูป สหกรณ์ สหกรณ์ ผลผลติ (แห่ง) การรวบรวม ปรมิ าณ มูลคา่ (แหง่ ) การแปร ปรมิ าณ มูลค่า รูป (ตนั ) (ลบ.) (ตัน) (ตัน) (ลบ.) (ตนั ) รวม 3 92,500 36,226 262.28 1 6,000 2,468 17.28 1. ข้าว - 92,500 36,226 262.28 1 6,000 2,468 17.28 - 2. ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ - - - - - -- - 3. มนั สาปะหลัง - - - - - -- - 4. ยางพารา - - - - -- - 5. ปาล์มนา้ มนั - - - - -- - Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 11

โดยแยกเปน็ รายสหกรณ์ ดงั น้ี ผลการรวบรวม ผลการแปรรูป ปรมิ าณ (ตนั ) มลู คา่ (ลบ.) ท่ี ชอื่ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ปริมาณ (ตนั ) มลู ค่า (ลบ.) 2,468 17.28 1 สหกรณก์ ารเกษตรคลองหลวง จากดั 14,907 105.69 -- 2 สกต. ธ.ก.ส. ปทุมธานี จากัด -- 3 สหกรณ์การเกษตรลาลกู กา จากัด 3,890 29.17 2,468 17.28 รวม 17,429 127.41 36,226 262.27  กลมุ่ เกษตรกร การรวบรวมผลผลติ การจัดการและแปรรูปผลผลติ จานวน ศักยภาพ ผลการรวบรวม จานวน ศักยภาพ ผลการแปรรปู กลุ่ม ผลผลติ (แหง่ ) การรวบรวม ปริมาณ มลู ค่า กลุ่ม การแปร ปรมิ าณ มูลค่า (แห่ง) รปู (ตัน) (ลบ.) (ตัน) (ตนั ) (ลบ.) (ตนั ) รวม - - - -- - - - 1. ข้าว - - - -- - - - 2. ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ - - - -- - - - 3. มันสาปะหลัง - - - -- - - - 4. ยางพารา - - - -- - - - 5. ปาลม์ น้ามัน - - - -- - - - 2) สินคา้ หรอื ผลิตภัณฑเ์ ด่นของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และชอ่ งทางการตลาดตา่ ง ๆ ทีส่ าคญั ชอ่ งทางการจาหน่าย มลู คา่ การจาหน่ายในปี ช่อื สหกรณ์/กลุ่ม สนิ คา้ หรอื ในประเทศ (ระบุตลาด ตา่ งประเทศ 2563 (ขอ้ มูล ณ 31 เกษตรกร ผลติ ภณั ฑ์ ทีจ่ าหนา่ ย) ก.ค. 2563) (ระบุประเทศ) (บาท) 1. สหกรณก์ ารเกษตร ข้าวสาร จาหนา่ ยให้กับบรษิ ทั เอกชน/เครือข่าย - 17.28 คลองหลวง จากดั สหกรณ/์ สว่ นราชการภายในจงั หวดั /นอก จังหวัด Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 12

1.5 ข้อมูลศกั ยภาพการดาเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณน์ อกภาคการเกษตรในจังหวดั ปรมิ าณ ประมาณธรุ กิจ (ลา้ นบาท) ธรุ กจิ ประเภทสหกรณ์ ของ รบั ฝาก ใหเ้ งินกู้ จัดหา รวบรวม แปรรูป บรกิ าร รวม สหกรณ์ สหกรณ์ออมทรพั ย์ (แห่ง) 3,453.56 7,651.13 - - - - 11,104.69 สหกรณเ์ ครดติ 208.49 - - 0.62 349.65 ยเู นี่ยน 52 139.53 1.01 สหกรณ์บริการ 6 0.14 - - 22.44 79.99 สหกรณ์รา้ นคา้ - 57.41 0.003 - - - 1.94 รวม 41 - 1.94 - - 23.06 11,536.27 2 3,662.19 2.953 101 7,848.07 สหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดปทุมธานี จานวน 52 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์ออมทรัพย์ในสถาน ประกอบการ และรองลงมาเป็นสหกรณใ์ นหนว่ ยงานราชการ มกี ารดาเนนิ ธรุ กจิ สนิ เชอ่ื สูงสดุ โดยมีปริมาณธุรกิจ ในรอบปีบญั ชีล่าสุดท้ังสิ้นจานวน 11,104.69 ล้านบาท โดยแยกเป็นธุรกิจสินเช่ือ จานวน 7,651.13 ล้านบาท ธรุ กิจรบั ฝากเงิน จานวน 3,453.56 ลา้ นบาท สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียน มีจานวน 6 แหง่ ปรมิ าณธรุ กิจในรอบปบี ญั ชลี ่าสุด รวมท้งั ส้นิ 349.65 ล้านบาท มกี ารดาเนนิ ธรุ กิจรับฝากเงนิ สูงสดุ จานวน 208.49 ลา้ นบาท มปี ริมาณธุรกิจสินเช่ือ จานวน 139.53 ล้านบาท ธรุ กจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย จานวน 1.01 ลา้ นบาท และธรุ กิจให้บรกิ าร จานวน 0.62 ลา้ นบาท สหกรณ์บริการจานวน 41 แห่ง ปริมาณธุรกิจในรอบปีบัญชีล่าสุด รวมท้ังสิ้น 79.99 ล้านบาท โดยมี ปริมาณธุรกิจสินเชื่อสูงสุด จานวน 57.41 ล้านบาท ธุรกิจรับฝากเงิน 0.14 ล้านบาท ธุรกิจจัดหาสินค้า มา จาหน่าย จานวน 0.003 ล้านบาท และธรุ กจิ ใหบ้ รกิ าร จานวน 22.44 ลา้ นบาท สหกรณ์ร้านคา้ จานวน 2 แหง่ มปี ริมาณธุรกิจจัดหาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย จานวน 1.94 ลา้ นบาท Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 13

สว่ นที่ 2 : แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร (รายแห่ง) 1. สหกรณ์ : ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรปทุมธานี จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทั่วไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชกิ สามัญ 12 ราย ปีบญั ชี : 31 ธันวาคม 2562 1.2 จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ : - 1.3 ธุรกิจหลกั : สนิ เชื่อ/รับฝากเงิน 1.4 ผลผลติ หลกั : - 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร : เกรด F 1.6 ระดบั ชั้นสหกรณ์ : ชน้ั 2 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรปู : - 1.9 ผลิตภณั ฑ์เดน่ : 2) โครงสรา้ งพ้นื ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ เช่น ฉาง โกดังโรงสี ฯลฯ (ไม่มี) 3) ข้อมูลการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกจิ สินเช่ือ - - - 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 107,915.83 112,232.46 - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต - 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจาหน่าย - - - 6. ธรุ กิจบริการ - - - - - - รวม 107,915.83 112,232.46 4) สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) : ปรับตามปีบัญชีของสหกรณ์ หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 3,695,471.74 3,780,099.45 - สินทรัพย์หมนุ เวียน - หนส้ี นิ รวม บาท 3,066,874.64 3,154,882.35 - หนส้ี นิ หมนุ เวียน - ทนุ ของสหกรณ์ บาท 107,915.83 113,059.96 - ทนุ สารอง - บาท 107,915.83 113,059.96 บาท 3,587,555.91 3,667,039.49 บาท 1,353,408.64 1,374,112.74 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 82,750.21 31,302.08 - อตั ราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ -อัตราสว่ นหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.03 0.03 - -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 2.31 0.85 - -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 2.24 0.83 - - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน เท่า 28.42 27.90 - -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.37 0.36 - 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี - 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี -  ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจา้ หน้าที่ - สหกรณจ์ ัดจ้างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในสหกรณ์ ในด้านของการจัดทาบญั ชีของสหกรณ์ และจัดทางบ การเงนิ ของสหกรณ์ 2. ดา้ นการบริหารเงินทุน (Money) - ปีบญั ชี 31 ธันวาคม 2562 สหกรณย์ ังไม่ปิดบญั ชีและจัดประชมุ ใหญ่สามัญประจาปี -ปีบัญชี 31ธันวาคม 2561 สหกรณ์มีทุนดาเนินงานจานวน ท้ังสิน้ 3,667,039.49บาท มีหน้สี นิ ทงั้ ส้ิน จานวน 113,059.96 บาท 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สนิ ค้าของสหกรณ์ - ไม่มี - 4. ดา้ นการบรหิ ารการจัดการ (Management) และการดาเนินธรุ กิจ (Method) -สหกรณด์ าเนินธุรกิจเพียงด้านเดียว คือธุรกิจรับฝากเงนิ จากสมาชิก - ในด้านการทากาไร ในปบี ัญชี 31ธนั วาคม 2562 สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้ จงึ ไมส่ ามารถคานวณกาไรของ สหกรณ์ได้ - ปีบญั ชี 31ธันวาคม 2561 สหกรณ์มีกาไรสุทธิประจาปี จานวน 31,302.08 บาท Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 15

จากการวิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มทต่ี ้องแก้ไขปัญหา สหกรณท์ ต่ี ้องพัฒนาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ที่มขี ้อบกพร่องต้องได้รบั การแก้ไข/และเร่งรัด (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นคิ ม) ตดิ ตาม สหกรณ์ทต่ี ้องการพฒั นาและเพิ่มศักยภาพการดาเนินธุรกิจ  กลมุ่ สหกรณ์ที่มีปญั หาหนี้ค้างนาน โดยการสนบั สนุนจากภาครัฐ  สหกรณ์ที่มปี ัญหาหน้สี ูญ สหกรณท์ ่ีเข้มแข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ โดยให้ภาครฐั แนะนา  สหกรณ์ทจี่ าเป็นต้องฟ้นื ฟูกิจการ สง่ เสริมและกากับดูแลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ที่ควรควบกิจการกับสหกรณ์อื่น  สหกรณ์ท่คี วรเลิกกิจการ  สหกรณ์ท่มี ีปัญหาอ่ืน ๆ (ระบุ) แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับ ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับชั้นสหกรณ์: รกั ษาระดับสหกรณช์ ั้น 1 และชนั้ 2ยกระดบั สหกรณ์ชั้น 2 และ ชัน้ 3 สชู่ ัน้ ท่ีดีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์:รกั ษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดบั ดีขึน้ ไป ผลักดนั สหกรณ์ใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทีด่ ขี ้ึน 3) อื่น ๆ แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผ้ดู าเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. ระดับช้นั สหกรณ์ รกั ษาชน้ั 1และช้ัน2 ยกระดับสหกรณ์ ช้ัน2และช้ัน3สูช่ ้นั ที่ดีข้นึ 6 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.1กิจกรรมผลกั ดันสหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ดขี ึน้ ไป แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณด์ าเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั แกไ้ ขปัญหาหน้ีค้างนาน 1 ครั้ง ตค.63-กย.64 1.1 กิจกรรม ร่วมประชุม ให้คณะกรรมการ ชสก. ติดตามทวงหน้ี 1.2กิจกรรมแนะนาให้ ชสก.แตง่ ตั้งผูแ้ ทนในการติดตามหน้ี 1 ครง้ั ตค.63-กย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก.แก้ไขการปิดบัญชี 2.1กิจกรรมรว่ มประชุมแนะนาการจดั ทาบญั ชี 2 ครั้ง ตค.63-กย.64 ลงช่ือ........พ....เิ..น....ต...ร.....ก...ล...ีบ....ส...วุ...ร...ร...ณ........(เแจทา้ นหรนาา้ยทมี่ผอื ชรู้ ับอื่ )ผิดชอบ (นายพเิ นตร กลีบสุวรรณ) วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 16

2. สหกรณ์ : ชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย จากดั ประเภทสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตร การวิเคราะห์ขอ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมูลทั่วไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดบั ชนั้ สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ /การแปรรูป/ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชิก . 113 . ปีบญั ชี 31 มนี าคม 2561 . 1.2 จานวนสมาชิกทีร่ ่วมทาธุรกิจหลัก 0 ราย . 1.3 ธรุ กจิ หลัก . - . 1.4 ผลผลิตหลกั - . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร . f . 1.6 ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2562 . 3 . 1.7 ศักยภาพในการรวบรวมผลผลติ . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลติ ภัณฑ์เด่น . - . 2. โครงสร้างพนื้ ฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เช่น ฉาง โกดังโรงสี 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบญั ชลี ่าสุด) ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2561 หน่วย : บาท 1. ธุรกจิ สนิ เชื่อ ไม่ดาเนินธุรกจิ ไม่ดาเนินธรุ กจิ ปี 2560 2. ธุรกิจรับฝากเงิน - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - - ไม่ดาเนินธรุ กจิ 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย - - - 6. ธรุ กิจบริการ - - - 7. ธุรกจิ อื่น ๆ (ระบุ) - - - - รวม - Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 17

4. สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วย ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 4,335,258.16 4,238,270.05 สินทรัพย์รวม บาท 236,292.42 121,927,33 4,303,285.98 สินทรัพย์หมนุ เวียน บาท 10,783,203.16 10,831,650.00 8,167,010.98 หน้สี ินรวม บาท 8,095,775.83 8,178,734.67 11,000,456.31 หน้ีสินหมุนเวียน บาท -6,447,945.00 -6,593,379.95 8,167,010.98 ทนุ ของสหกรณ์ บาท - -6,697,170.33 บาท 145,434.95 - ทนุ สารอง บาท (115,147.62) - กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ -1.67 (21,877.75) อตั ราส่วนทางการเงินทส่ี าคัญ เท่า 2.25 -อัตราส่วนหนสี้ ินต่อทุน (DE Ratio) รอ้ ยละ 3.354 -1.64 -1.64 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 0.029 เท่า 1.74 0.33 -อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) เทา่ 0.00 เท่า -2.71 -0.51 -อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น เทา่ 0.014 เท่า 0.00 เทา่ -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ 0.00 เทา่ 0.00 เท่า 5. ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ชมุ นมุ ฯไม่ได้กาหนดแผนการดาเนินธุรกิจไว้ เนื่องจากชุมนุมฯหยดุ ดาเนินธุรกิจชุมนุมฯมีรายจ่ายไม่เกินวงเงินที่กาหนดไว้ แต่การประมาณการรายจ่ายยังไม่ครอบคลุมค่าใชจ้ ่ายทุกดา้ นมีคา่ บางอย่างสูงกว่าท่ีกาหนด สหกรณค์ วรกาหนดแผนการ ดาเนินการรายจ่ายตามสภาพข้อเท็จจริงท่ีเปน็ อยู่ในปัจจบุ ัน - ผูต้ รวจสอบกจิ การไม่ได้ปฏิบัติหน้าทีต่ ามที่ได้รับมอบหมายและไม่ปรากฏรายงานการตรวจสอบกิจการในที่ประชุม คณะกรรมการดาเนนิ งาน 6. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) ชุมนุมสหกรณโ์ คนมแห่งประเทศไทย จำกัด สินค้าขาดบัญชี มลู คา่ ความเสียหาย คงเหลือ 4,707,030.45 บาท สหกรณ์ ไดด้ าเนินคดีกับจาเลย ทัง้ 3ดังน้ี 1.จาเลยที่ 1 นายสุรชยั ศริ มิ ัย 2.จาเลยท่ี 2 นายพงศเ์ ดช มนูพิพัฒน์พงศ์ 3.จาเลยที่ 3 นายประมวล เย็นชน่ื ศาลพิพากษายกฟ้องจาเลยท่ี 1,2 และให้จาเลยที่ 3 ชดใช้ ต่อมาจาเลยท่ี 3 อทุ ธรณ์ ศาลอุทธรณ์ยกฟ้องจาเลยที่ 3สหกรณอ์ ุทธรณ์คาสั่งยกฟ้อง ของจาเลยที่ 3 เมื่อวันที่ 26 ก.พ. 56 และ เมื่อวันที่ 2 มิถนุ ายน 2557 ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษาถึงทส่ี ุดให้ นายประมวล เย็นช่นื อดีตผู้จดั การ ให้ชดใช้ สหกรณ์ ได้ออกหมายบังคับและสบื ทรัพย์ แตย่ ังไม่พบทรัพยแ์ ต่อย่างใด Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 18

 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรได้ ดังนี้ 1. ดา้ นบคุ ลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจา้ หนา้ ที่ - คณะกรรมการ จานวน 15 คน -สมาชิกเปน็ สมาชิกจากสหกรณ์โคนมต่างๆ ท่วั ประเทศ การรวมตวั และการมีสว่ นร่วมในการดาเนินงานค่อนข้างรวมตวั กันยาก -ชุมนุมสหกรณจ์ ัดจ้างเจ้าหน้าท่ี จัดทาเอกสารทางบัญชี อยู่ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) - ชมุ นมุ สหกรณม์ ีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น 4,335,258.16 บาท เพิม่ ขนึ้ จากปีท่ีแล้ว 96,988.11 บาท หรือร้อยละ 2.29ทุนของ สหกรณม์ สี ่วนขาดแห่งทุนจานวน 6,447,945 บาท และมีหน้สี ินทั้งสนิ้ 10,783,203.16 บาท ชุมนุมสหกรณ์ดาเนนิ งานโดยใช้แหล่ง เงนิ ทุนจากภายนอกเปน็ สว่ นใหญ่ ชมุ นุมสหกรณ์ไม่มีทนุ ทีจ่ ะคุ้มครองหนส้ี ินได้ท้ังจานวน - สินทรัพย์ของชุมนุมสหกรณส์ ว่ นมากเป็นทดี่ ิน อาคารและอุปกรณ์ ประกอบกับลูกหนี้ของชุมนุมสหกรณ์ ไดต้ ้ังค่าเผ่ือหนีส้ งสยั จะสญู ไว้เต็มจานวน -ชุมนุมสหกรณ์ไม่ได้ดาเนินธุรกิจเพ่ิมเติมแต่อย่างใดมีเพียงรายได้จากกองทุนดาเนนิ การจากสมาชกิ เพ่ือนามาเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนนิ งานของชุมนุมสหกรณ์ 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ -อุปกรณ์ทันสมยั และสามารถใชง้ านได้ 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกิจ(Method) - ชมุ นมุ สหกรณ์ มีกาไรจานวน 145,434.95 บาท -ชุมนุมสหกรณ์มีหน้สี นิ หมุนเวยี นสูงกวา่ สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน สนิ ทรัพย์หมุนเวียนของชุมนุมสหกรณ์ขึ้นอยู่กับลูกหนี้และ ดอกเบี้ยเงินให้กู้คา้ งรับและชมุ นุมสหกรณ์ได้ต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสญู ไว้เต็มจานวน ดั้งนน้ั สภาพคล่องทางการเงินของชุมนุมสหกรณ์ จึงขึ้นอยู่กับการบรหิ ารลูกหน้ีเป็นสาคัญ และชมุ นุมสหกรณ์ควรติดตาม ลกู หนี้ต่างๆ ให้ชาระหนส้ี หกรณโ์ ดยเร็ว เพื่อนาทุนหมุนเวียนในการดาเนินกิจการ จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ข้อมูลสหกรณ์ - ชุมนุมสหกรณ์ควรบรหิ ารจัดการลกู หนี้ เพื่อสภาพคล่องทางการเงินของชุมนุมสหกรณ์ - ชุมนมุ สหกรณ์ควนแก้ไขข้อบกพร่อง/เร่งรดั ติดตาม - ชมุ นมุ สหกรณ์ต้องพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการดาเนินธรุ กิจ แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี 1) ระดับชนั้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ชน้ั 1 และชนั้ 2  ยกระดบั สหกรณช์ ้ัน 2 และ ชน้ั 3 สู่ชั้นท่ีดีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับที่ดีขึ้น 3) อื่น ๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 19

 แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผ้ดู าเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ 1. ดา้ นการสง่ เสรมิ และพัฒนาองคก์ ร ดาเนนิ การ 1.1กิจกรรมยกระดับสหกรณช์ ้นั 2 และ ชัน้ 3 ส่ชู ้ันที่ดีขึ้น 1 กิจกรรม ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ที่ดี 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 ขึน้ 4 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 2. ด้านการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กล่มุ เกษตรกร 2.1กิจกรรมรว่ มประชุมคณะกรรมการดาเนนิ การ 2.2กจิ กรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ส่งเสรมิ การจัดทาแผนกลยุทธ์ 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 1 แผน 1.1กิจกรรมใหส้ หกรณม์ กี ารจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งานเพ่ือเป็น ต.ค.63 - ก.ย.64 แนวทางในการปฏิบตั งิ าน 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสรมิ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 2.1 กิจกรรม ส่งเสริมสหกรณ์ให้นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..........พ....ฤ...ก...ษ....า.......พ....ุท...ธ...ร...ัก...ษ....์....(.แเจทา้นหรนายา้ มทือี่ผชูร้ ่อื ับ)ผิดชอบ (นางพฤกษา พุทธรักษ์) วันท่ี 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 20

3. สหกรณ์ : การเกษตรกรลาลูกกา จากัด ประเภทสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตร การวิเคราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมลู ท่วั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชน้ั สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชกิ . 2741 . ปบี ญั ชี 31 มนี าคม 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกทรี่ ่วมทาธุรกิจหลกั 2412 ราย . 1.3 ธุรกจิ หลกั .ธุรกิจสินเชื่อ . 1.4 ผลผลิตหลัก ลกู หนีเ้ งนิ กู้ . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . A . 1.6 ผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2562 . 2 . 1.7 ศกั ยภาพในการรวบรวมผลผลิต . - . 1.8 การแปรรูป . - . 1.9 ผลิตภณั ฑ์เดน่ . - . 2. โครงสรา้ งพ้นื ฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี 1. ฉาง 2,000ตัน 2. โรงสี 40 ตนั 3. เคร่ืองช่งั 40ตัน 4. เครื่องอบลดความช่นื 200ตัน 5. ลานตาก 8,000ตารางเมตร 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 1. ธรุ กิจสินเชื่อ 186,109,154.19 277,885,914.05 172,411,843.17 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 111,176,460.55 98,572,089.48 99,610,381.60 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 346,321,690.80 107,397,016.00 174,271,280.90 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต - (5,622,593.41) 3,499,925.00 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ คา้ มาจาหน่าย 143,000,026.10 148,727102.11 143,315,758.73 6. ธรุ กจิ บริการ 7,074,241.00 7. ธุรกิจอ่ืน ๆ (ระบุ) 9,283,590.46 7,062,389 - - 600,183,430.04 รวม 795,890,922.10 639,599,510.64 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 21

4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2562 หน่วย : บาท ปี 2561 ปี 2560 สนิ ทรัพย์รวม บาท 775,968,850.08 737,882,545.41 668,093,155.63 สินทรัพย์หมุนเวียน หน้ีสนิ รวม บาท 405,529,092.39 380,367,375.06 411,545,299.39 หนส้ี นิ หมนุ เวียน บาท 8,541,942.00 536,295,033.85 495,849,833.23 ทนุ ของสหกรณ์ ทนุ สารอง บาท 544,133,092.41 513,845,538.74 472,269,485.23 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ อตั ราส่วนทางการเงินที่สาคัญ บาท 207,426,907.82 201,587,511.56 172,243,322.40 -อัตราสว่ นหนส้ี ินต่อทนุ (DE Ratio) -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) บาท 25,030,188.12 14,253,029.12 14,139,730.98 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน บาท 11,788,497.26 30,079,978.00 1,127,116.14 - อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 2.6233 2.66 2.88 รอ้ ยละ 5.6832 14.92 0.65 ร้อยละ 1.5192 4.07 0.17 เท่า 0.7453 0.74 0.87 เท่า 0.0323 0.01 0.02 5. ข้อสงั เกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์ไม่ไดก้ าหนดเจ้าหน้าท่ีผรู้ บั ผดิ ชอบระบบงานสารองข้อมูลจากระบบบัญชี คอมพิวเตอร์เป็น ลายลักษณอ์ ักษร เพ่ือป้องงกันความเสียหายที่อาจเกิดขนึ้ สหกรณ์ควรปฏบิ ัติตามระเบียบว่าด้วยวิธกี ารปฏบิ ตั ิในการควบคุม ภายในและรักษาความปลอดภัยในด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศของสหกรณ์ พ.ศ. 2556 อย่างเคร่งครัด - สหกรณม์ ลี ูกหน้ีเงินกู้กองทุนสงเคราะห์พนักงาน ณ วันสินปี จานวน 6,825,295.29 บาท ซึ่งเปน็ การจ่ายเงนิ ก้จู าก เงนิ ทุนหมนุ เวียนของสหกรณ์ แต่สหกรณ์ไม่มีบัญชีเงินกอทุนสงเคราะห์พนักงาน - สหกรณ์มที ุนบาเหน็จ-บานาญห้นุ ของสหกรณ์ วนั สิน้ จานวน 8,693,574.47 บาทซึ่งจัดสรรจากกาไรสุทธิของ สหกรณใ์ นปกี ่อน แต่ทุนดังกล่าวไม่ไดก้ าหนดไว้ในข้อบังคบั 6. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - ไม่มี - Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 22

 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังน้ี 1. ดา้ นบุคลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หน้าที่ - คณะกรรมการมีจานวน 15 คน - กรรมการมีความรคู้ วามสามารถในการบริหารจัดการ - เจา้ หนา้ ท่ีมีความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงาน จานวน775,968,850.08 เพิ่มขึน้ จากปีก่อน 38,086,304.67 บาทหรือร้อยละ 4.91ทุน ดาเนินงานดังกล่าว ส่วนใหญ่มาจากแหลง่ ทนุ ภายในร้อยละ 83.05 ประกอบด้วยเงินรับฝากร้อยละ 53.44 หนี้สนิ อื่นร้อยละ 2.88 และทุนของสหกรณ์ร้อยละ 26.73สว่ นทีเ่ หลอื อกี ร้อยละ 16.95 มาจากแหล่งเงินทุน ภายนอก ประกอบด้วย เงินกู้ระยะสน้ั ร้อยละ 15.59 เงินรับฝากร้อยละ 0.51 และหน้ีสนิ อื่นร้อยละ 0.85 หาก พจิ ารณาถึงความเข้มแข็งแล้วและพอเพียงของเงินทนุ ต่อความเส่ยี งแล้ว เจ้าหนยี้ ังคงมีความเสี่ยงเน่ืองจาก สหกรณ์มีอัตราส่วนหน้สี นิ ท้งั สินต่อทุน 2.74 เท่าทุนของสหกรณ์ไมส่ ามารถคุ้มครองหนี้สินได้ท้งั หมดหน้สี ิน ของสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝากเพ่ือลดภารความเสี่ยงทางการเงินสหกรณ์ควรระดมทุนโดยใหส้ มาชกิ ถือหุ้น เพิ่ม - สหกรณ์ไดน้ าทุนดาเนินงานของสหกรณ์ทีม่ ีอยู่ไปลงทุนในเงินกู้ยืม ร้อยละ 38.20 ซ่ึงเป็นส่วนของเงนิ ใหก้ ู้ระยะ ยาว ร้อยละ 24.67อยู่ในรูปเงนิ สดและเงินฝากธนาคาร/สหกรณอ์ ่ืน รอ้ ยละ 17.03 ซึ่งเป็นส่วนของลูกหนี้ระยะส้ัน รอ้ ยละ 14.34 ลูกหนรี้ ะยะยาว ร้อยละ 2.69สนิ คา้ ร้อยละ 2.75 ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ ร้อยละ 20.12ส่วนที่ เหลือเป็นทรัพยส์ นิ อน่ื ร้อยละ 1.43ทั้งนล้ี ูกหน้ีเงินให้กู้ยืมชาระหน้ีได้ตามกาหนดร้อยละ 61.51 ของหนี้ทถี่ ึง กาหนดชาระ สนิ ทรัพย์ของสหกรณท์ ี่มีอยู่ได้นาไปใช้ในการดาเนินงานเพ่ือก่อให้เกิดรายได้0.79 รอบใน ขณะเดียวกนั สินทรัพย์ท่มี ีอยู่ได้นาไปสร้างผลตอบแทนใหส้ หกรณ์ในอัตราร้อยละ 1.56 อยา่ งไรก็ตามสหกรณ์ควร หาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากทรัพยส์ ินทมี ีอยู่ให้มากขน้ึ และเกิดผลตอบแทนสงู สุดโดยเฉพาะเงินสด และเงิน ฝากธนาคารทสี่ หกรณ์ถือไว้เป็นจานวนมาก ซึง่ เป็นผลใหส้ หกรณส์ ูญเสียโอกาสทน่ี าไปก่อเกิดรายได้ 3. ดา้ นวัตถดุ ิบ* (Material) เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ - ด้านเครื่องจักรอุปกรณ์ที่จาเป็นในการดาเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์มีความพร้อมยกเว้นธรุ กิจรวบรวม - สหกรณ์ได้รบั งบประมาณจากทางราชการ เครื่องอบผลิตภัณฑ์ และโรงคลุม 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนินธุรกิจ(Method) - สหกรณ์มกี าไรสุทธิ 11,788,497.26 บาท มีกาไรเฉลี่ยต่อสมาชิก 4,282.06 บาท - สหกรณม์ สี ดั ส่วนของสนิ ทรัพยห์ มุนเวียนต่อหนส้ี นิ หมุนเวยี น 0.75 เท่า ใกล้เคียงกับปกี ่อน 0.74 เท่า ใกล้เคียง กับปีก่อน ซง่ึ มี 0.74 เทา่ หากพิจารณาสว่ นประกอบของสนิ ทรัพย์หมนุ เวยี นแล้ว พบว่าสว่ นใหญ่เป็นลกู หนี้เงิน ใหก้ ย็ ืม ซึ่งได้กล่าวข้างตน้ แล้วว่า สามารถชาระหน้ีได้ ร้อยละ 61.51 ของหน้ีถงึ กาหนดชาระ ดงั นั้น สภาพคล่อง ของสหกรณ์ จะขน้ึ อยู่กับการบริหารลูกหนี้เปน็ สาคัญ จากการวิเคราะห์สหกรณ์ข้อมูลสหกรณ์ -หนส้ี นิ ของสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝากเพื่อลดภารความเส่ียงทางการเงินสหกรณ์ควรระดมทุนโดยให้สมาชิกถือ หุ้นเพิม่ - สภาพคล่องของสหกรณ์ จะขึ้นอยู่กับการบริหารลูกหนี้ สหกรณ์หามาตรการติดตามลูกหนี้ให้ชาระตามกาหน สญั ญา - สหกรณม์ ีความเข้มแข็งสามารถพึงพอตนเองได้ และอย่ภู ายใต้การดูแลของภาครฐั Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 23

แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดบั ชัน้ สหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ นั้ 1 และชัน้ 2  ยกระดับสหกรณ์ชน้ั 2 และ ช้นั 3 สชู่ นั้ ทด่ี ีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ที่ดขี ้ึน 3) อนื่ ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาทด่ี าเนนิ การ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1กจิ กรรมรักษาระดบั ชั้นสหกรณ์ จากช้ัน1ช้ัน2 1 กิจกรรม ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กิจกรรมรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดเี ลิศ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กจิ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมสี ่วนร่วมของสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ60 1 แหง่ ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กิจกรรมการจดั ทาแผนธรุ กิจเพ่อื ให้บรกิ ารตามความต้องการของสมาชกิ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กจิ กรรมเขา้ ร่วมประชมุ คณะกรรมการ 3.2 กิจกรรม การควบคุมภายในสหกรณ์ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาทด่ี าเนนิ การ ต.ค.63 - ก.ย.64 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแก้ไขปัญหาหนส้ี นิ สมาชกิ ต.ค.63 - ก.ย.64 1.1กิจกรรม สรา้ งการมสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาหน้สี ินของสมาชิก 1 แผน ต.ค.63 - ก.ย.64 สหกรณ์ เพ่ือกาหนดแนวทางร่วมกัน ต.ค.63 - ก.ย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั สง่ เสรมิ การจัดทาแผนกลยุทธ์ 2.1กจิ กรรมใหส้ หกรณ์มกี ารจดั ทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น 1 แผน แนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน 2.2 กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง 1 กจิ กรรม 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสรมิ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณใ์ หน้ าหลักธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ 1 แผน ลงช่ือ..........พ....ฤ...ก...ษ....า.......พ....ทุ...ธ...ร...ัก...ษ....์....(.แเจท้านหรนายา้ มทอื่ีผชูร้ อ่ื ับ)ผิดชอบ (นางพฤกษา พุทธรักษ์) วันท่ี 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 24

4. สหกรณ์ : การเกษตรคลองหลวง จากดั ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : 1.1 จานวนสมาชิก : สมาชิกสามัญ 1,356 ราย สมาชกิ สมทบ 209 ราย ปบี ญั ชี : 30 มถิ นุ ายน 2562 1.2 จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธรุ กิจ : 1,133 ราย 1.3 ธุรกจิ หลัก : สนิ เช่อื /รบั ฝากเงิน/รวบรวมผลผลติ /แปรรูปผลผลิต/จดั หาสินคา้ มาจาหนา่ ย/บรกิ าร 1.4 ผลผลติ หลัก : รับซื้อข้าวเปลือก 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร :เกรด A 1.6 ระดับช้นั สหกรณ์ : ช้นั 2 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ : - 1.8 การแปรรูป : - 1.9 ผลิตภณั ฑเ์ ด่น : ข้าวเปลือก/ข้าวสารสหกรณ์ 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์ : ฉาง โกดังโรงสี ลานตาก และปั๊มน้ามันบางจาก 3) ข้อมลู การดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธรุ กจิ สินเชื่อ 37,606,496.00 50,067,135.00 48,677,280.00 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 99,379,555.51 77,736,537.21 87,215,090.92 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 319,616,290.51 346,348,708.87 276,950,171.16 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต 29,790,218.06 44,143,733.27 44,864,705.10 5. ธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจาหนา่ ย 180,895,888.29 209,695,446.29 185,754,696.77 6. ธรุ กิจบริการ - - - รวม 667,288,448.37 727,991,560.64 643,461,943.95 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี า่ สดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 348,842,010.13 459,380,176.54 459,289,930.82 สินทรัพย์หมุนเวียน บาท 226,721,852.00 338,329,421.07 295,774,061.98 หนี้สนิ รวม บาท 311,117,618.36 414,727,106.59 413,371,785.81 หน้ีสินหมนุ เวียน บาท 298,338,886.75 396,385,170.50 368,081,601.02 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 37,724,391.77 44,653,609.95 45,918,145.01 ทนุ สารอง บาท - - 249,936.40 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 3,677,586.61 2,353,349.90 3,415,680.17 อตั ราส่วนทางการเงนิ ท่ีสาคัญ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 25

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราส่วนหน้สี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 8.25 9.29 9.00 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 9.75 5.27 7.44 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 1.05 0.51 0 -อัตราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 0.76 0.85 0.80 - อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0 0 0 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) -ไม่มี- 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์ฯ ได้มีการดาเนินคดีกับผู้ทุจริต ในคดีอาญา พนักงานอัยการ(อัยการจังหวัดธัญบุรี) ได้เป็น ผู้แทนโจทก์(สหกรณ์)ฟ้องนางสาวกัญญารัตน์ วัฒนสมบูรณ์ เป็นคดีอาญา คดีหมายเลขดาท่ี อ3673/2560 ณ ศาลจังหวัด ธัญบุรี โดยเม่ือวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 ได้มีหมายนัดคุ้มครองสิทธ์ิ ในวันท่ี 3 สิงหาคม 2560 เวลา 13.30 ซ่ึงนางสาว กัญญารัตน์ฯ ไดข้ อชดใช้หน้ีเปน็ เงนิ จานวน 800,000 บาท จากความเสียหาย 1,243,201 บาท - วันที่ 15 สิงหาคม 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ มีมติยืนยันให้จาเลย (นางสาว กัญญารัตน์ฯ)ชดใช้ตามมูลค่าความเสียหาย จานวน 1,243,201 บาท วันที่ 16 สิงหาคม 2560 จาเลยย่ืนความประสงค์ ณ ศาลจังหวัดธัญบุรี ขอชาระหน้ี 800,000 บาท โดยชาระภายในวันที่ 5 กันยายน 2560 จานวน 300,000บาท และภายใน วันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2560 จานวน 500,000 บาท - เมื่อวันท่ี 17 ตุลาคม 2560 ศาลจังหวัดธัญบุรีได้มีหมายนัดคุ้มครองสิทธิ์จาเลยมีความประสงค์ผ่อน ชาระ ดังนี้ งวดแรก ภายใน 13 ตุลาคม 2560 จานวน 300,000 บาท ชาระแล้ว งวดสอง ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2560 จานวน 487,133 บาท รอชาระ งวดสาม ภายในวันที่ 30 มถิ ุนายน 2561 จานวน 487,133 บาท รอชาระ - สหกรณ์ฯ ไดร้ บั ชาระเงินงวดที่ 2 จากนางสาวกัญญารัตน์ วัฒนสมบรู ณ์ ดังนี้ วันท่ี 11 มกราคม 2561 จานวน 100,000 บาท วันที่ 12 มีนาคม 2561 จานวน 30,000 บาท วันท่ี 2เมษายน 2561 จานวน 44,266 บาท คงค้างอีก 312,867 บาท ซ่ึงเป็นจานวนเงินท่ีไม่ครบตามท่ีกาหนด สหกรณ์ได้แจ้งทนายให้ทราบแล้วว่า น.ส.กัญญารัตน์ วฒั นสมบูรณ์ มาชาระไม่ครบตามจานวน เดือนพฤษภาคม ยังไม่มีการนามาชาระคืน - วันท่ี 26 เมษายน 2562 ศาลนัดฟังคาพิพากษา นางสาวกัญยารัตน์ วัฒนสมบูรณ์ ได้ไปศาล ทนาย โจทกร์ ่วมและจาเลยแถลงว่า จาเลยได้โอนเงินให้แก่โจทก์ร่วมเพียง 20,000 บาท เน่ืองจากในช่วงที่ผ่านมา จาเลย ได้คลอด บุตร และเริ่มทางานใหม่ จาเลยยืนยันว่าจะหาเงินอีก 330,000 บาท ไปชาระให้แก่โจทก์ร่วมให้ครบถ้วนภายในกาหนด 6 เดือน นับแต่วันน้ี ขอให้ศาลเลื่อนอ่านคาพิพากษาออกไปอีกนัดหน่ึง เป็นคร้ังสุดท้าย สอบโจทก์แล้วไม่ค้าน พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า คดีนี้อยู่ระหว่างจาเลยชาระเงินคืนให้แก่โจทก์ กรณีมีเหตุสมควร จึงให้เล่ือนไปนัดฟังผลการชาระค่าเสียหาย และนัด ฟงั คาพพิ ากษาในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 เวลา 13.30 น. - วันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 ศาลนัดคาฟังพิพากษา จาเลยขอผ่อนชาระงวดละ 5,000.00 บาท ที่ ประชมุ คณะกรรมการฯ มีมติให้ผ่อนชาระเดือนละไม่น้อยกว่า 10,000 บาท และชาระให้เสร็จสิ้นภายใน 20 เดือน ศาลเลื่อน นัดฟงั คาพิพากษาเป็น วนั ท่ี 3 สงิ หาคม 2564 - สหกรณ์ฯ ได้รับชาระเมื่อวันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2563 จานวน 5,000 บาท และเม่ือวันที่ 24 เมษายน 2563 จานวน 3,000 บาท ยอดความเสียหายคงเหลือ 667,000 บาท Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 26

เรื่องอืน่ ๆ 1.สหกรณ์มีลูกหน้ีตามคาพิพากษา จานวน 13 ราย เป็นเงิน 1,345,056.92 บาท ดอกเบ้ียตามคาพิพากษา คา้ งรบั จานวน283,729.00บาทและคา่ ปรับค้างรับ จานวน 5,984.00 บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ตามคา พิพากษา จานวน 1,323,734.33 บาท ส่วนที่เหลือสมาชิกมีโฉนดที่ดินค้าประกันไว้ และค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญดอกเบ้ียตามคา พิพากษาค้างรับ ค่าปรับค้างรับสหกรณ์ได้ต้ังไว้เต็มจานวนแล้ว สหกรณ์ควรติดตามลูกหนี้ดังกล่าว ให้ชาระหนี้เป็นไปตามคา พิพากษาของศาล หรือดาเนนิ การบังคับคดีต่อไป 2.สหกรณ์มีลูกหนี้ปฏิเสธหน้ี จานวน 340,457.00 บาท และสินค้าขาดบัญชีรอหาผู้รับผิดชอบ จานวน 338,478.00บาทรวมทง้ั สิน้ 678,935.00บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญไว้เต็มจานวนแล้ว คณะกรรมการดาเนินการ ไดแ้ จ้งความดาเนินคดี นางสาวกัญญารัตน์ วัฒนสมบรู ณ์ อดีตพนักงานสหกรณต์ ามหมายจับศาลจังหวดั ธญั บรุ ี ที่ 73/2559 วันท่ี 29 มกราคม 2559 ความอาญา กระทาความผิดฐานลักทรัพย์นายจ้าง ยักยอกทรัพย์ ปลอมและใช้เอกสาร สิทธิปลอม ซ่ึงจาเลยตกลงชาระหนี้ให้เสร็จสิ้นภายในวันท่ี 20 ธันวาคม 2561 สหกรณ์ติดตามการดาเนินคดีให้เป็นไปตามคา พิพากษาต่อไป 3.สหกรณม์ ที ่ีดินแทนการชาระหนี้ จานวน12แปลง คิดเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 14,872,765.74 บาท ในจานวนนี้ มอี ยู่ 9แปลงเปน็ เงนิ 9,946,925.11 บาท ลูกหนี้มีข้อตกลงกับสหกรณ์จะขอซื้อคืนในภายหลัง แยกได้ดังนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2562จานวน2แปลง เป็นเงิน 956,681.44 บาท ในเดือนมิถุนายน 2562 จานวน 2 แปลง เป็นเงิน 1,255,684.78 บาท ในเดือน เมษายน 2563 จานวน 2 แปลง เป็นเงิน 3,938,583.53 ในเดือนมิถุนายน 2564 จานวน 2 แปลง เป็นเงิน 1,836,463.44 บาท และในเดือนกรกฎาคม 2564 จานวน 1 แปลง เป็นเงิน 1,959,511.92 บาท  ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจา้ หนา้ ท่ี - สหกรณ์จดทะเบียนเมื่อวันท่ี 23 กันยายน 2533 วันส้ินปี 1,565 คน แยกเป็นสมาชิกสามัญ 1,356 คน และสมาชิกสมสบ 209 คน - สหกรณ์มีการแบง่ แยกหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการในระดับต่าง ๆ ไว้อย่าง เหมาะสมตามส่วนงานท่ีกาหนด ผู้บริหารงานได้กาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจในการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน โดยการส่ือสารและ ทาความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่ายในสหกรณ์การจัดจ้างเจ้าหน้าท่ีมีการจัดหลักประกันเหมาะสมกับหน้าท่ีความรับผิดชอบ เจ้าหน้าท่ีทุกคนมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตาแหน่งและงานท่ีได้รับมอบหมาย โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของ คณะกรรมการดาเนินการ 2. ด้านการบรหิ ารเงินทุน (Money) - ความเพียงพอของเงินทุน สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งส้ิน 459,289,930.82 บาท ลดลงจากปีก่อน 90,785.72 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.02 ประกอบด้วย ทุนของสหกรณ์เองร้อยละ 10.00 และหน้ีสินร้อยละ 90.00 ทุนดาเนินงาน ส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายใน ประกอบด้วยเงินรับฝากจากสมาชิก ร้อยละ 72.76 และทุนของสหกรณ์เอง ร้อยละ 10.00 แหล่งเงินทุนภายนอกประกอบด้วย เงินกู้ยืมร้อยละ 7.85 ของหนี้สินท้ังสิ้น หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอของเงินทุน ต่อความเสี่ยงแล้ว เจ้าหนี้ยังคงมีความเส่ียงสูง เนื่องจากสหกรณ์มีอัตราส่วนหน้ีสินท้ังส้ินต่อทุน 9.00 เท่า ทุนของสหกรณ์จึงไม่ สามารถคุม้ ครองหนสี้ นิ ได้ทั้งหมด Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 27

- การจัดหาและการใช้เงินทุน ในระหว่างปีสหกรณ์ได้กู้ยืมเงินเพ่ือให้สมาชิกกู้ยืม และใช้เป็นเงินทุน หมุนเวียนในการดาเนินธุรกิจจานวน 185,700,000.00 บาท ประกอบด้วย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จานวน 179,700,000.00 บาทและกรมส่งเสรมสหกรณ์ จานวน 6,000,000.00 บาท วันสิ้นปีมีเงินกู้ยืมคงเหลือ ท้ังสิ้น 35,987,689.58 บาท ประกอบด้วย ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จานวน 25,000,000.00 บาท และกรมส่งเสริมสหกรณ์ จานวน 10,987,689.58 บาท - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์มีสินทรัพย์ลดลงร้อยละ 0.02 สินทรัพย์ของสหกรณ์อยู่ในเงินสดและเงิน ฝากธนาคารรอ้ ยละ14.76เงินฝากสหกรณ์อื่นร้อยละ 20.88 เงินลงทุนร้อยละ 0.12 เงินให้กู้ยืม-สุทธิ ลูกหนี้-สุทธิ และดอกเบี้ยเงิน ให้กคู้ ้างรบั -สทุ ธิรอ้ ยละ34.21สินคา้ คงเหลอื รอ้ ยละ5.41ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ร้อยละ 20.85 สินทรัพย์ อื่น ๆ ร้อยละ 3.77 ของสินทรัพย์ทั้งส้ิน จะเห็นได้ว่าสินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนมากจะอยู่ในเงินให้กู้ยืม ลูกหนี้และดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ ซ่ึง สหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้ยืมที่ผิดนัดชาระหน้ีถึงวันสิ้นปีร้อยละ 62.74 ของต้นเงินท่ีถึงกาหนดชาระในระหว่างปี สหกรณ์ควรหา แนวทางในการติดตามหนี้สินจากลูกหนี้ให้มาชาระหน้ีเป็นไปตามกาหนด สินทรัพย์ที่มีอยู่ได้ถูกนาไปใช้ในการดาเนินงานเพ่ือ ก่อให้เกิดรายได้ 1.16 รอบ สหกรณค์ วรหาแนวทางในการใชป้ ระโยชน์จากสินทรัพย์ท่ีมีอยู่ให้มากขึ้นและเกิดผลตอบแทนสูงสดุ - สภาพคล่อง สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.80 เท่า ปีก่อน 0.85 เท่า แสดงถึงสภาพคล่องทาง การเงินของสหกรณ์ลดลงจากปีก่อน เม่ือพิจารณาสินทรัพย์หมุนเวียน ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากสหกรณ์อื่นร้อยละ 32.43 ของ สนิ ทรพั ย์หมุนเวยี นและลกู หนเี้ งนิ ให้ก้ยู มื ลูกหน้ี และดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ-สุทธิ ร้อยละ 30.39 ดังนั้นสภาพคล่องของสหกรณ์ จะข้ึนอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้ชาระหน้ีเป็นไปตามกาหนด และ ณ 30 มิถุนายน 2562 สหกรณ์มีเงินฝากสหกรณ์ อ่ืน จานวน 96,646,067.99 บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผ่ือเงินฝากสหกรณ์อื่นสงสัยจะสูญไว้ จานวน 735,166.77 บาท สหกรณ์มีความ เสี่ยงที่สหกรณ์ผู้รับฝากจะไม่มีความสามารถจ่ายคืนได้เม่ือสหกรณ์ขอถอนเงิน สหกรณ์ควรระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความเส่ียงใน การถอนเงินรับฝากและรายได้ที่เกิดขึ้น ซึ่งสหกรณ์ไม่ควรฝากเงินเป็นจานวนมากไว้กับสหกรณ์อื่นเพียงสหกรณ์เดียว ควรจะ กระจายการฝากเงินและศึกษาสหกรณ์ท่ีนาเงินไปฝากเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงในอนาคตท่จี ะเกดิ ขนึ้ 3. ดา้ นวตั ถุดิบ* (Material) เครอ่ื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลติ ของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์ - ไมม่ ี 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - ขีดความสามารถในการบริหาร สหกรณ์ดาเนินธุรกิจสินเชื่อธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย ธุรกิจรวบรวม ผลผลติ ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร และธุรกิจเงินรับฝาก โดยมีมูลค่าธุรกิจทั้งส้ิน 643461,943.95 บาท การบริหารธุรกจิ แต่ละดา้ นสรุปได้ ดังน้ี - ธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก จานวน 48,677,280.00 บาท มีการจัดทาสัญญา ครบถ้วน เป็นไปตามระเบียบและมติท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ณ วันสิ้นปี ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมชาระหน้ีได้ตามกาหนด จานวน 22,387,155.52 บาท หรือร้อยละ 37.26 ของหน้ีท่ีถึงกาหนดชาระ ณ วันส้ินปีมีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ 591 ราย จานวน 117,628,217.15บาทสหกรณ์มลี ูกหนี้เงนิ ใหก้ ู้ผิดนกั ชาระในระหวา่ งปีมีดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 12,491,883.00 บาท และ ค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 979,441.08 บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้เงินให้กู้ จานวน 4,346,603.15 บาท คา่ เผื่อหน้ีสงสยั จะสูญดอกเบย้ี เงนิ ให้กคู้ า้ งรบั จานวน3,249,58.67 บาท และค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญค่าปรับเงินให้ก็ค้างรับ จานวน 362,122.63บาทผลการดาเนินงานมกี าไรเฉพาะธรุ กิจ จานวน 11,131,083.99 บาท อย่างไรก็ตามผลกาไรดังกล่าวได้รวมรายได้ค้าง รับ ซ่ึงประกอบด้วยดอกเบี้ยค้างรับ 5,700,961.39 บาท ซึ่งหากไม่นารายได้จานวนดังกล่าวเข้าเป็นรายได้ของสหกรณ์แล้ว จะมี กาไรเฉพาะธุรกิจเพยี ง5,430,122.60 บาท สหกรณ์ควรติดตามเร่งรัดให้ลูกหนี้มาชาระหน้ีให้เป็นไปตามกาหนดในสัญญาท้ังต้นเงิน และดอกเบย้ี โดยเฉพาะลูกหน้ีเงนิ ให้กู้ท่ีผดิ นัดชาระหน้ี เพอ่ื ที่สหกรณ์จะไดน้ าเงนิ มาเป็นทุนหมุนเวียนในการดาเนินงานต่อไป - ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย ในระหว่างปีสหกรณ์จักหาสินค้ามาจาหน่ายรวมท้ังสิ้น 185,754,696.77 . บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 22,893,066.03 บาท หรือลดลงร้อยละ 10.97 ผลการดาเนินงานสหกรณ์มีกาไรเฉพาะธุรกิจจานวน 3,661,840.42 บาท ลดลงจากปกี ่อน จานวน 830,932.43 บาท หรือลดลงรอ้ ยละ 18.49 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 28

- สหกรณ์ได้ตรวจนับสินค้าคงเหลือเมื่อวันท่ี 30 มิถุนายน 2562 และได้เข้าร่วมสังเกตการณ์ตรวจนับสิน คงเหลอื ณ วันสิ้นปี สหกรณม์ ีสินค้าคงเหลือคิดเป็นราคาทุน จานวน 24,859,884.37 บาท - ในระหว่างปีสหกรณ์มีการจาหน่ายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่สมาชิก ณ วันส้ินปี สหกรณ์สหกรณ์มีลูกหน้ีการค้าคงเหลือ 386 ราย เป็นเงิน 32,091,256.00 บาท ประกอบด้วยลูกหนี้การค้าที่เป็นสมาชิก 333 ราย เป็นเงิน 11,618,449.86 บาท และบุคคลภายนอก จานวน 53 ราย เป็นเงิน 20,472,806.14 บาท ซ่ึงปฏิบัติเป็นไปตามระเบียบ ฯ และอยู่ภายในวงเงินที่กาหนด มีค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ จานวน 674,056.00 บาท สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผื่อหนี้การค้า จานวน 1,137,842.44 บาท และค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ จานวน 664,630.00 บาท เพ่ือประสิทธิภาพในการ บริหารลูกหนี้ สหกรณ์ควรติดตามเร่งรัดลูกหน้ีดังกล่าวให้ชาระหนี้เป็นไปตามกาหนด เพ่ือที่สหกรณ์จะได้นาเงินมาเป็นทุน หมุนเวยี นในการดาเนินงานต่อไป - ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต สหกรณ์มีการรวบรวมข้าวเปลือกเพ่ือจาหน่ายตามโครงการต่าง ๆ ประกอบดว้ ย 1) โครงการสินเชื่อเพ่ือรวบรวมข้าว 60/61 ในระหว่างปีรวบรวมข้าวเปลือก จานวน 99,651,177.00 บาท มีรายได้จากการขายข้าวเปลือก จานวน 102,300,285.65 บาท ผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะธุรกิจ จานวน 106,871.69 บาท 2) โครงการรวบรวมสินเช่ือรวบรวมข้าว 61/62 ในระหว่างปีรวบรวมข้าวเปลือก จานวน 177,298,994.16 บาท มีรายได้จากการขายข้าวเปลือก จานวน 186,822,184.27 บาท ผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะธุรกิจ จานวน 663,439.35 บาท - ธุรกิจแปรรูปผลผลิตการเกษตร สหกรณ์ดาเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตเพื่อการแปรรูปข้าว เปลือกจานวน 44,864,705.10 บาท โดยมีรายได้จากการจาหน่ายข้าวสาร และผลพลอยได้ จานวน 46,716,419.74 บาท ผลการดาเนินงานจากการ แปรรปู ขา้ วเปลือกขาดทุนเฉพาะธุรกิจ จานวน 2,612,261.99 บาท - ธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิกและสหกรณ์อื่น รวม 3 ประเภท ได้แก่ ออมทรัพย์ ออ ทรัพย์พิเศษ และสัจจะออมทรัพย์ จานวน 87,215,090.92 บาท ซึ่งสหกรณ์ได้ปฏิบัติตามระเบียบที่กาหนดไว้ ณ วันส้ินปีสหกรณ์ มีเงินรับฝากคงเหลือ จานวน 334,174,362.79 บาท แยกเป็นเงินรับฝากจากสมาชิก จานวน 1,344 ราย เป็นเงิน 334,173,584.21 บาท และสหกรณ์อน่ื จานวน 1 สหกรณ์ เปน็ เงิน 778.58 บาท - การทากาไร สหกรณ์มีรายได้ทั้งส้ิน 540,348,788.68 บาท และมีค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน 536,933,108.51 บาท สง่ ผลใหส้ หกรณ์ดาเนนิ งานมีผลกาไรสุทธิจานวน 3,415,680.17 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 0.64 ของยอดขาย/บริการ จากการวิเคราะหข์ ้อมลู สหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะนาส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา กลุ่มทต่ี ้องแกไ้ ขปัญหา สหกรณท์ ่ตี ้องพัฒนาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอาเภอ  สหกรณ์ท่มี ขี ้อบกพร่องต้องไดร้ บั การแก้ไข/และเร่งรดั (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นิคม) ตดิ ตาม  สหกรณ์ท่ีต้องการพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพการดาเนินธรุ กิจ  กล่มุ สหกรณ์ที่มีปัญหาหนคี้ ้างนาน โดยการสนบั สนุนจากภาครัฐ  สหกรณ์ท่มี ปี ัญหาหนี้สูญ  สหกรณ์ทีเ่ ข้มแข็งสามารถพง่ึ ตนเองได้ โดยให้ภาครัฐแนะนา  สหกรณ์ทจี่ าเป็นต้องฟืน้ ฟกู ิจการ สง่ เสริมและกากบั ดแู ลการดาเนินงานตามปกติ  สหกรณ์ท่คี วรควบกิจการกับสหกรณ์อื่น  สหกรณ์ท่ีควรเลกิ กิจการ  สหกรณ์ทม่ี ีปัญหาอื่น ๆ (ระบุ) Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 29

แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณ์ชน้ั 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และชั้น 3 สูช่ ้นั ท่ดี ีขนึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทดี่ ขี ึ้น 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เป็นผ้ดู าเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. การสง่ เสริมการประชมุ กลุ่มสมาชิก 1.1กิจกรรมประชมุ กลุ่มสมาชิกแนะนาแนวทางการประชมุ กลุ่ม 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.2 กิจกรรมกาหนดแผนการประชุมกลมุ่ 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.3 กิจกรรมเข้าร่วมการประชุมกล่มุ 26 กลมุ่ ต.ค.63-ก.ย.64 1.4สรปุ ผล 1 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 2. ระดับช้นั สหกรณ์ 4 ครั้ง ต.ค.62-ก.ย.63 รักษาชัน้ 1และช้ัน2  ยกระดับสหกรณ์ ช้ัน2และชัน้ 3สูช่ น้ั ที่ดีขน้ึ 2.1กิจกรรมใหค้ าแนะนามาตรฐานสหกรณ์และการรักษาระดับชนั้ สหกรณ์ แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณด์ าเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักแก้ไขปญั หาการดาเนินงาน 20 ราย 1.1กิจกรรมตดิ ตามการดาเนินคดกี บั สมาชกิ 2 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กจิ กรรมแนะนาแนวทางการแก้ไขปัญหาหน้คี า้ งนาน ต.ค.63-ก.ย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก 20,000 ตนั 2.1กจิ กรรม รวบรวมผลผลติ ตค.63-กย.64 ลงชื่อ..............ส....วุ...ทิ....ย...์...ท....มุ....ม...ณ.....ี...(..แ....ทเนจรา้ าหยนมา้ อื ทช่ีผอื่ ู้ร)ับผิดชอบ (นายสุวิทย์ ทุมมณี) วันท่ี 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 30

5. สหกรณ์ : การเกษตรปฏริ ูปทด่ี นิ หนองเสือ จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลทว่ั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดบั ชน้ั สหกรณ์/ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชิก . 459 . ปบี ัญชี 31 มีนาคม 2561 . 1.2 จานวนสมาชิกทร่ี ่วมทาธุรกิจหลัก 98 ราย . 1.3 ธรุ กจิ หลัก . ธรุ กิจจดั หาสินค้ามาจาหน่าย . 1.4 ผลผลิตหลกั . 1.5 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร . F . 1.6 ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณ์ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2561 . 2 . 1.7 ศักยภาพในการรวบรวมผลผลิต . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลติ ภัณฑเ์ ดน่ . - . 2. โครงสรา้ งพน้ื ฐานของสหกรณ์ :อปุ กรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี .- . 3. ข้อมูลการดาเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 1. ธรุ กจิ สนิ เช่ือ - - - 2. ธุรกิจรับฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย 6. ธุรกจิ บริการ 17,750.00 131,690.00 66,600.00 7. ธรุ กจิ อ่ืน ๆ (ระบุ) - 121,324.37 - - - - รวม 4. สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 สนิ ทรัพย์รวม บาท 529,392.52 502,990.45 347,918.67 สินทรัพย์หมนุ เวียน บาท 466,992.52 440,780.31 286,108.53 หนีส้ ินรวม บาท 1,812,346.00 1,772,346.00 2,241,331.80 หนส้ี ินหมนุ เวียน บาท 1,455,346.00 1,455,346.00 1,849,793.43 ทนุ ของสหกรณ์ บาท -1,282,953.48 -1,269,355.55 -1,893,413.13 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 31

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วย ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 ทุนสารอง บาท - - - กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท (13,597.93) 157,330.15 50,004.60 อัตราส่วนทางการเงินทสี่ าคัญ -อัตราสว่ นหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) เท่า -1.41 -1.40 -1.18 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 1.06 -12.39 -2.64 -อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ -2.57 31.28 14.37 -อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 0.32 0.30 0.15 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ เท่า 0.0 0.00 0.00 5. ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) -ลกู หนี้เงินกู้คานวณ จานวน 1,255,957.00 บาทผิดนัดท้ังจานวนและตั้งค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญเตม็ จานวน -ขาดทุนสะสมจานวน 2,062,757.48 บาทเกินก่ึงหนึ่งของทนุ เรือนห้นุ ท่ชี าระแล้ว 6. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - ไม่มี  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พ้ืนฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจา้ หนา้ ท่ี - มีสมาชิกจานวน 459 คน สมาชกิ สว่ นใหญ่ไม่ไดม้ สี ว่ นร่วมในการดาเนนิ ธรุ กิจสหกรณ์ เนื่องจากสมาชิกมีหนค้ี ้างชาระ - ไม่ได้มีการจดั จ้างเจ้าหน้าที่ แต่มอบหมายคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที ผูจ้ ัดการ และเจา้ หนา้ ที่บัญชี 2. ด้านการบริหารเงนิ ทุน (Money) -สหกรณ์ปิดบัญชไี ด้ล่าสุด 31 มีนาคม 2561 สหกรณ์มีทุนดาเนินงานท้ังสิ้น 529,392.52 บาท ซง่ึ ท่ีผ่านสหกรณ์ไดเ้ ข้ารว่ มโครงการ สง่ เสริมอาชีพสมาชิกสหกรณแ์ ละยกระดับคุณภาพสินคา้ สหกรณ์ เงินกองทนุ พัฒนาสหกรณ์ จานวน 500,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย ร้อยละ 1ต่อปี เพื่อรวบรวมปาล์มจากสมาชกิ 3. ดา้ นวัตถุดิบ* (Material) เครอ่ื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินคา้ ของสหกรณ์ -สหกรณม์ ีลานตาก ฉาง และเครื่องชงั่ สาหรับธรุ กิจรวบรวมปาลม์ น้ามัน -มีอุปกรณ์คอมพิวเตอรท์ ที ันสมัย 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ(Management) และการดาเนนิ ธรุ กจิ (Method) -สหกรณม์ ีดาเนนิ ธรุ กิจรวบรวมปาล์มจากสมาชิก และจัดหาปัจจัยการผลิตจาหนา่ ยแก่สมาชิก - สหกรณ์มีผลการดาเนินงานขาดทุนสุทธิประจาปี 13,597.73 มยี อดทุนสะสม 2,062,747.48 บาท และมีมลู ค่าหุ้นติดลบ จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ - สหกรณไ์ ม่สามารถปิดบัญชีเปน็ ปัจจุบนั ได้ ซ่งึ คณะน้อี ยู่ระหวา่ งรับรองงบจากผู้สอบ - สหกรณ์ตอ้ งฟื้นฟกู ิจการ ปรบั ปรงุ การดาเนินกิจการ Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 32

แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้ันสหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณช์ ัน้ 1 และชน้ั 2  ยกระดบั สหกรณช์ น้ั 2 และ ชัน้ 3 สูช่ นั้ ท่ีดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ที่ดีขึ้น 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ าเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ดาเนนิ การ 1.1กิจกรรมรักษาระดับช้ันสหกรณ์ จากช้ัน1ช้ัน2 1 คร้งั ต.ค.63-ก.ย.64 1.2กจิ กรรมรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลศิ 1 แห่ง ต.ค.63-ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กิจ 2.1กจิ กรรมการรกั ษาการมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ60 2 ครง้ั ต.ค.63-ก.ย.64 2.2กิจกรรมการจดั ทาแผนธรุ กิจเพอ่ื ใหบ้ ริการตามความตอ้ งการของสมาชิก 1 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 3.ด้านการกากับดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/ 3 ครั้ง ต.ค.63-ก.ย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1กิจกรรมเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการ 3.2กจิ กรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 คร้ัง ต.ค.63-ก.ย.64 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักการแกไ้ ขปัญหาหนี้สนิ สมาชกิ 3 ครง้ั ต.ค.63 - ก.ย.64 1.1กิจกรรม การแกไ้ ขปญั หาหน้สี นิ ของสมาชกิ สหกรณ์ 18 กล่มุ 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักส่งเสริมการประชมุ กลุ่ม 1 ครงั้ ม.ิ ย.64-ส.ค. 64 2.1กิจกรรมส่งเสริมใหส้ หกรณจ์ ดั ประชมุ กลุ่มสมาชิก 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ส่งเสริมธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ ต.ค.63 - ก.ย.64 3.1กจิ กรรมส่งเสริมสหกรณใ์ หน้ าหลักธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..............อ...ร...ิญ.....ช...ัย.......ส...ุข....ใ..จ.......(..แ...ทเจนา้รหายนมา้ ือทช่ีผื่อู้ร)ับผิดชอบ (นายอรญิ ชัย สุขใจ) วนั ท่ี 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 33

6. สหกรณ์ : การเกษตรเพ่อื การตลาด ลกู ค้า ธ.ก.ส. จากดั ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป ปีบัญชสี ิ้นสดุ วันท่ี 31 มนี าคม 2562 1.1 จานวนสมาชิก 9,049 ราย 1.2 จานวนสมาชิกท่ีร่วมทาธรุ กจิ 1,500 ราย 1.3 ธุรกจิ หลักธุรกิจจดั หาสินคา้ มาจาหนา่ ย 1.4 ผลผลติ หลัก…..-….. 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเกรด A 1.6 ระดับชน้ั สหกรณร์ ะดบั 1 1.7 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต…..-…… 1.8 การแปรรปู …..-…… 1.9 ผลติ ภัณฑ์เด่น ฯลฯ 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณ์เช่น ฉางโกดงั โรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมูลการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ - - - 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - 16,639,489.50 18,652,438.40 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหนา่ ย 26,689,812.15 22,616,295.31 57,108,509.50 6. ธรุ กจิ บริการ - - - 26,689,812.15 39,255,784.81 75,760,947.90 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 18,558,466.98 53,510,373.06 50,211,010.24 สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน หนสี้ นิ รวม บาท 17,539,439.56 52,603,159.34 49,873,824.18 หนสี้ นิ หมุนเวียน ทุนของสหกรณ์ บาท 3,631,934.57 33,272,402.53 27,658,478.45 ทุนสารอง กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 1,348,425.75 30,745,679.18 24,890,529.54 อตั ราส่วนทางการเงินทีส่ าคัญ บาท 14,926,532.41 20,237,970.53 22,552,531.79 บาท 2,558,885.83 2,643,808.47 2,706,718.60 บาท 162,091.99 334,741.16 181,071.12 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 34

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 - อัตราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.24 1.64 1.65 1.23 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 0.90 0.63 0.80 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 0.90 1.71 0.36 -อัตราส่วนทุนหมนุ เวียน เท่า 13.01 0.05 2.00 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.14 0.05 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์กาหนดระเบียบต่างๆเพื่อถือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและควบคุมงานการปฏิบัติงาน เป็นไปตารมระเบียบท่ีกาหนด เว้นแต่ระเบียบว่าด้วยการจัดหาสิ่งของที่สมาชิกต้องการมาจาหน่าย พ.ศ.2548 ข้อ 10 หน่วย บริการ (ร้านค้า) ต้องทาหนังสือสัญญาการซ้ือของหรือการรับส่ิงของไปจาหน่ายน้ัน ไว้กับสหกรณ์ตามแบบที่สหกรณ์กาหนด และสหกรณ์ได้กาหนดวงเงินขายเช่ือแก่สถาบันเกษตรกรไม่เกิน 500,000.00 บาท และสมาชิกไม่เกินรายละ 300,000.00 บาท ซ่ึงในระหว่างปีสหกรณ์มีการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อแต่ไม่ได้จัดทาสัญญาขายเชื่อ และขายสินค้าเกินวงเงินที่กาหนด ทั้งนี้ สหกรณ์ต้องปฏิบัติใหเ้ ป็นไปตามระเบียบที่ได้กาหนดไว้ - สหกรณ์ได้เลือกผู้ตรวจสอบกิจการตามกฎหมายและข้อบังคับ แต่ผู้ตรวจสอบกิจการไม่ได้เข้าปฏิบัติงาน ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ตามหน้าท่ี สหกรณ์ควรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการเข้าปฏิบัติงานตรวจสอบให้ครบถ้วนตามท่ี ขอ้ บงั คบั กาหนด และรายงานผลการตรวจต่อที่ประชมุ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์โดยสม่าเสมอ - สหกรณ์มีเงินรอจ่ายคืน จานวน 22,106.77 บาท เงินปันผลตามหุ้นค้างจ่าย จานวน 3036,157.96 บาท และเงินเฉล่ียคืนค้างจ่าย จานวน 359,703.51บาท ซึ่งส่วนมากเป็นยอดยกมาจากปีก่อนๆ สหกรณ์ควรติดตามและจ่ายเงินคืน ใหส้ มาชิกในโอกาสต่อไป - สหกรณ์ได้รับเงินจากบริษัทบลูโซลาร์ฟาร์ม 1 จากัด ในการทาสัญญาใช้สิทธิ์การขายไฟฟ้าตามโครงการ ผลติ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน สาหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคเกษตร พ.ศ. 2558 ในปีก่อน จานวน 5,000,000.00 บาท และดอนผลที่เกิดจากทุน จานวน 69,353.38 ณ วันส้ินปี สหกรณ์มีทุนเพื่อพัฒนากิจการสหกรณ์ จานวน 5,085,278.54 บาท - สหกรณ์ได้รับค่าสิทธ์ิการขายไฟฟ้าที่สหกรณ์ได้รับจากบริษัท บลู โซลาร์ฟาร์ม 1 จากัด ตามโครงการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพ้ืนดิน สาหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคเกษตร พ.ศ. 2558 ตั้งแต่เดือน สิงหาคม 2560 ถึงเดือนธันวาคม 2561 รวม 17 เดือน จานวน 25,689,778.68 บาท ดอกผลที่เกิดจากทุน จานวน 10,590.84 บาท รวมทั้งส้ิน 2,700,369.52 บาท สหกรณ์ได้โอนเข้าทุนจัดสวัสดิการสมาชิกและสังคมทั้งจานวน ระหว่างปีสหกรณ์ได้จ่าย ทุนเพื่อจัดสวัสดิการสมาชิกและสังคม จานวน 211,103.85 บาท เป็นไปตามระเบียบและมติท่ีประชุมคณะการดาเนินการ ณ วันสน้ิ ปี คงเหลอื 3,6847,2036.13 บาท 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 35

 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พ้นื ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝา่ ยจัดการและเจ้าหนา้ ท่ี - สหกรณ์จัดแบ่งส่วนงานและแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบไว้เหมาะสม สหกรณ์จัดจ้างเจ้าหน้าท่ี 6 คน โดยคณะกรรมการดาเนินการมีการมอบหมายการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ในระหว่างปี เจา้ หน้าท่ีบัญชีลาออก และสหกรณ์รับเจ้าหน้าท่ีคนใหม่ อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ยังมปี ระสบการณ์เกี่ยวกับการดาเนินงานของ สหกรณ์ไม่เพียงพอ จึงควรส่งเสริมให้เจ้าที่ได้เข้ารับการอบรม จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มความรู้ ความสามารถและ ทกั ษะในการปฏิบตั ิงานให้มีประสิทธภิ าพย่ิงขึ้น 2. ด้านการบรหิ ารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น จานวน 50,2311,010.24 บาท ปีก่อน จานวน 53,510,373.06 บาท ลดลง จากปีก่อน 3,299,362.82 บาท ทุนดาเนินงานของสหกรณ์ส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทนภายนอกจากการกู้ยืม จานวน 24,000,000.00 บาท รองลงมาเป็นแหล่งเงินทุนภายใน จากทุนของสหกรณ์ จานวน 22,552,531.79 บาท หากพิจารณาถึง ความเข้มแข็งและเพียงพอของเงินทุนต่อความเส่ียงแล้ว เจ้าหนี้ยังคงมีความเส่ียง เน่ืองจากสหกรณ์มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 1.23 เท่า มีทุนสารองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ร้อยละ 0.05 และมีผลตอบแทนต่อส่วนทุน ร้อยละ 0.85 ทุนสหกรณ์จึงไม่สามารถ คุ้มครองหนส้ี นิ ได้ทง้ั หมด 3. ด้านวตั ถุดบิ * (Material) เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชกิ /สนิ ค้าของสหกรณ์ - 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และ การดาเนนิ ธุรกจิ (Method) - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 2 ด้าน คือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ในระหว่างปี สหกรณ์จัดหาสินค้ามาจาหน่าย จานวน 18,652,438.40 บาท รวบรวมข้าวเปลือก-โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก รวม ท้ังสน้ิ จานวน 57,108,509.50 บาท และรวบรวมสบั ปะรด 19,700.00 บาท - สหกรณ์มีสินทรัพย์ลดลงร้อยละ 6.17 สินทรัพย์ของสหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสินทรัพย์หมุนเวียน คิดเป็นร้อยละ 99.33 โดยเป็นเงินสดและเงินฝากธนาคาร ร้อยละ 60.55 และเป็นลูกหนี้ระยะสั้นสุทธิ ร้อยละ 37.86 สินทรัพย์ ที่มีอยไู่ ด้ถูกนาไปใชใ้ นการดาเนินงานเพอ่ื กอ่ ให้เกิดรายได้ 3.08 รอบ สร่างผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 0.72 ปี ก่อน ร้อยละ 0.93 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ลดลง ดังนั้น สหกรณ์ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์ จากสินทรพั ยท์ ม่ี ีอยู่ให้มากขน้ึ และเกิดผลตอบแทนสงู สุด -ณวนั ส้ินปี สหกรณ์มสี มาชิก จานวน 9,049 คน ดาเนินธุรกิจ 2 ด้าน คือธุรกิจจัดสินค้ามาจาหน่าย และ ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ในระหว่างปีสหกรณ์จัดสินค้ามาจาหน่าย จานวน 18,652,438.40 บาท รวบรวมข้าวเปลือก-โครงการ สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก รวมทั้งสิ้น จานวน 7,933,555.300 กิโลกรัม เป็นเงิน 57,108,509.50 บาท โดยรวบรวมจาก สมาชิก จานวน 2,255,5580.00 กิโลกรัม จานวน 15,919,959.50 บาท และบุคคลภายนอ ก จานวน 5,678,005.00 กิโลกรัม จานวน 41,188ม5580.00 บาท และรวบรวมสับปะรดจากบุคคลภายนอ ก จานวน 3,9401.00 กโิ ลกรัม เปน็ เงนิ 19,700.00 บาท - สหกรณ์มีรายได้รวมทั้งส้ิน 77,576,767.34 บาท และมีค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน 77,395,696.22 บาท จึงมีกาไร สุทธิ 181,071.12 บาท กาไรเฉล่ียต่อสมาชิก 20.01 บาท แม้ว่าสหกรณ์จะมีความสามารถในการทากาไร แต่หากพิจารณา เปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณเงินออมเฉล่ียต่อสมาชิกซ่ึงเท่ากับ 1,183.88 บาท กับหนี้สินเฉล่ียต่อสมาชิก2,291.06 บาท ดังนั้น ความสามารถในการชาระหน้ีของสมาชิกในอนาคต มคี วามสาคญั ต่อการบริหารงานของสหกรณ์ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 36

จากการวิเคราะหส์ หกรณ์ - สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 2.00 เท่า ปีก่อน 1.71 เท่า แสดงถึงสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์เพ่ิมขึ้น จากปีก่อน เม่ือพิจารณาสินทรัพย์หมุนเวียน ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากธนาคาร ร้อยละ 60.55 ลูกหน้ีระยะส้ัน-สุทธิ ร้อยละ 37.86 และสินค้าคงเหลือ ร้อยละ 1.48 ของสินทรัพย์หมุนเวียน ในหนี้สินหมุนเวียนเป็นเจ้าหน้ีเจ้าหนี้เงินกู้ระยะส้ัน ธกส. ร้อยละ 96.42 ดังนั้นสภาพคล่องของสหกรณ์จะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้ให้ชาระหนี้เป็นไปตามกาหนด และ ประสิทธภิ าพในการใช้ประโยชนจ์ ากสนิ ทรัพย์ท่ีมีอยู่ให้มากขึ้น และเกิดผลตอบแทนสูงสุด รวมท้ังควรพิจารณาด้วยว่าสหกรณ์ ถอื เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคารไว้มากเกินความจาเปน็ หรือไม่ ซง่ึ อาจเปน็ ผลใหส้ หกรณ์สูญเสียโอกาสท่ีจะนาไปก่อให้เกิดรายได้ - ผลกระทบของธุรกิจ เงินทุนส่วนหนึ่งของสหกรณ์มาจากการกู้ยืม หากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวเพิ่มข้ึนก็จะมี ผลกระทบต่อการจัดหาเงินทุนของสหกรณ์ในอนาคต นอกจากน้ี ในด้านการรวบรวมข้าวเปลือกซึ่งมีความผันผวนอยู่เสมอท้ัง ทางด้านนโยบายของรัฐบาลในการซื้อข้าวเปลือก และด้านราคาข้าวเปลือกอาจมีผลกระทบให้ค่าใช้จ่ายท่ีเป็นต้นทุนนของ สหกรณ์สูงข้ึนตามไปด้วย ดังนั้นสหกรณ์ต้องเตรียมการรับรองผลกระทบทั้งในด้านการจัดหาเงินทุนและด้านธุรกิจรวบรวม ผลผลติ และบรหิ ารจดั การธุรกจิ ให้ดาเนินต่อไปได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพใตส้ ภาพแวดล้อมดังกล่าว แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแล สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้นั สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ชน้ั 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณช์ ้ัน 2 และชั้น 3 สชู่ นั้ ทด่ี ีขนึ้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดีข้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยูใ่ นระดับท่ีดขี ้ึน 3) อ่ืน ๆ  แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้ดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 1.1กจิ กรรมการรกั ษาระดบั ช้ันสหกรณ์ ระดบั 1 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กจิ กรรมการรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลิศ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนนิ ธุรกิจ 2.1กิจกรรมการรกั ษาการให้บริการสมาชกิ ของสหกรณ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 70 1 แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจดั ทาแผนธุรกิจใหบ้ ริการตามความตอ้ งการของสมาชิก 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63–ก.ย.64 กลุ่มเกษตรกร 3.1กิจกรรมการเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 37

แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสริมประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ ธุรกจิ ของ 1 แผน สหกรณ์ 1 แห่ง ต.ค.63 – ก.ย.64 1.1สร้างการมสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาหนสี้ นิ ของสมาชิกสหกรณ์ เพือ่ 1 แหง่ กาหนดแนวทางรว่ มกัน ต.ค.63 – ก.ย.64 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ส่งเสรมิ การจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1กจิ กรรมให้สหกรณม์ ีการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลักส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสริมสหกรณใ์ หน้ าหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ.........อ...ม....ร..ร...ตั...น....์..ไ..ช...ย....ณ....ร...ง...ค...์....(แเจท้านหรนา้ายทมี่ผอื ชู้ร่ือับ)ผิดชอบ (นางสาวอมรรัตน์ ไชยณรงค)์ วนั ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 38

7. สหกรณ์ : การเกษตรเมอื งปทุม จากดั ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะห์ขอ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมูล ปีบัญชีสน้ิ สุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 1.1 จานวนสมาชิก408 ราย 1.2 จานวนสมาชิกทร่ี ว่ มทาธรุ กิจ 258 ราย 1.3 ธุรกิจหลกั ธรุ กิจสนิ เชอื่ 1.4 ผลผลิตหลัก……-…… 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเกรด F 1.6 ระดับชัน้ สหกรณ์ระดบั 2 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต…..-…… 1.8 การแปรรปู …..-…… 1.9 ผลิตภณั ฑ์เดน่ ฯลฯ 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณเ์ ช่น ฉางโกดังโรงสี ฯลฯ - 3) ข้อมลู การดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสนิ เช่ือ 1,834,000.00 955,000.00 2,145,000.00 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 958,274.12 2,245,274.01 899,315.72 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต - 590,033.50 1,383,598.00 5. ธรุ กจิ จัดหาสินคา้ มาจาหน่าย - 3,790,307.51 4,427,913.72 6. ธุรกจิ บริการ 186,824.00 - รวม 2,979,098.12 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สนิ ทรัพย์รวม บาท 13,303,029.92 15,229,692.29 16,501,151.76 สินทรัพย์หมุนเวียน หนสี้ ินรวม บาท 4,280,525.68 6,328,673.35 7,165,275.20 หน้ีสินหมุนเวียน ทนุ ของสหกรณ์ บาท 4,662,411.76 4,488,639.10 5,787,987.40 ทุนสารอง กาไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 3,288,353.37 3,018,384.52 3,482,840.82 อัตราส่วนทางการเงนิ ที่สาคัญ บาท 8,640,618.16 10,741,053.19 10,713,164.36 บาท 1,810,935.14 1,263,506.29 1,365,781.14 บาท (457,665.29) (1,086,658.85) 11,656.99 Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 39

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 - อตั ราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 0.54 0.42 0.54 -อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ -5.30 -10.12 0.11 -อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) ร้อยละ -3.44 -7.14 0.07 -อัตราสว่ นทุนหมนุ เวียน เท่า 1.30 2.10 2.06 -อตั ราสว่ นทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.14 0.08 0.08 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) - สหกรณ์กาหนดโครงสร้างการบริหารของสหกรณ์ มีการแบ่งส่วนงานและกาหนดหน้าท่ี ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ในแต่ละตาแหน่งไว้ชัดเจน เว้นแต่ ผู้จัดการสหกรณ์ทาหน้าที่เจ้าหน้าท่ีการเงินและเจ้าหน้าท่ี สินเช่ือ ซ่ึงไม่เป็นไปตามหลักการควบคุมภายในท่ีดี มีความเส่ียงในเรื่องความเสียหายทางการเงิน อาจเกิดข้ึนได้ง่าย สหกรณ์ ควรพิจารณาเพ่ิมระบบการควบคุมเก่ียวกับการรับจ่ายเงินให้เหมาะสมกว่าท่ีปฏิบัติ อยู่ในปัจจุบัน เพื่อลดความเส่ียงที่อาจ เกดิ ขนึ้ - สหกรณ์ได้กาหนดแผนการดาเนินงานและประมาณการรายรับรายจ่ายไว้ โดยได้รับอนุมัติจาก ท่ี ประชุมใหญ่ ผลการดาเนินงานปรากฏว่าธุรกจิ สินเชอ่ื ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ร้อยละ 28.50 และธุรกิจ จัดหาสินค้ามา จาหน่ายสูงกว่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 66.70 ส่วนด้านการรับฝากเงินสหกรณ์ไม่ได้กาหนดแผนการดาเนินงานไว้ การ กาหนดงบประมาณยังไมค่ รอบคลุมค่าใช้จ่ายทุกด้าน ดังนั้นสหกรณ์ควรกาหนดงบประมาณให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะ เกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสภาพข้อเท็จจริงที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ตลอดจนนาปัจจัยอื่นๆ ตาม สถานการณ์มาประกอบการพิจารณา เพ่ือให้สามารถใช้แผนงานเป็นทิศทางในการบริหารงานและดาเนินงาน และเพ่ือใช้งบประ มารเป็นเคร่ืองมือในการบริหารเงนิ รวมทั้งควบคุมค่าใช้จา่ ยแต่ละประเภทให้อยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทก่ี าหนด - สหกรณ์จัดให้มีผู้ตรวจสอบกิจการให้เป็นไปตามพระราบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 53 แต่ไม่ ปรากฏรายงานการตรวจสอบกิจการ สหกรณ์ควรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการจัดทารายงานการตรวจสอบ เป็นลายลักษณ์อักษร เสนอต่อคระกรรมการดาเนินการ เพื่อสหกรณ์จะได้นาข้อสังเกตข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบกิจการมาใช้ประโยชน์ในการ บรหิ ารงานหรือแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน - ตามระเบียบสหกรณ์ว่าด้วยการรับ-จ่ายและเก็บเงิน พ.ศ. 2559 กาหนดให้เก็บรักษาเงินสดคงเหลือในมือ ได้ไม่เกินวันละ 20,000.00 บาท สหกรณ์เก็บรักษาเงินสดในมือเกินกว่าระเบียบที่กาหนดไว้ ในระหว่างปี จานวน 155 วัน ดงั นัน้ เพ่อื ปอ้ งกนั ความเสียหายท่ีอาจเกิดข้นึ สหกรณ์ควรปฏิบตั ิให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่ได้กาหนดไว้ - ตามสัญญาเงินกู้ยืมกิองทุนสงเคราะห์เจ้าหน้าที่ กาหนดให้ลูกหน้ีชาระหน้ีเงินกู้โดยหักเงินเดือน ณ ที่ จ่ายทันท่ีทุกเดือน จากการตรวจสอบพบว่า สหกรณ์ไม่ได้หักเงินเดือนของลูกหน้ีเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เจ้าหน้าท่ีทุกราย สหกรณ์ควรถือปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นไปตามสัญญาเงินกู้ - สหกรณ์ไม่ได้จัดทาใบโอนบัญชี กรณี บันทึกบัญชีรายการท่ีไม่เก่ียวกับเงินสด อีกท้ังเอกสารใบสาคัญ รับ-จ่าย ไม่มีลายมือชื่อผู้บันทึก ผู้ตรวจสอบ และผู้อนุมัติ ทุกฉบับ ซึ่งไม่เป็นไปตามรูปแบบการบันทึกบัญชีตามท่ีกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์กาหนด สหกรณ์ควรจัดทาเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีให้ครบถ้วน และควรลงลายมือชื่อในเอกสารให้ ครบถ้วน - ตามระเบียบของสหกรณ์ว่าด้วยการขายสินค้าเชื่อ พ.ศ.2544 ข้อ 8 ให้พนักงานตลาด เป็นผู้มีหน้าท่ีขาย สินค้าเป็นเงินเชื่อให้กับสมาชิก ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติจากท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ไม่เกิน 3,000.00 บาท โดย ให้สมาชกิ สหกรณ์ทาใบสัง่ ซ้อื สินคา้ ไว้เป็นหลักฐาน กรณีที่สมาชิกต้องการซ้ือสินค้า เป็นเงินเช่ือกว่า 3,000.00 บาท ให้สมาชิก ทาสญั ญาซือ้ สนิ คา้ เป็นเงินเชื่อ แล้วให้พนักงานตลาดนาเสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการเพื่อพิจารณาอนุมัติเป็นรายๆ ไป จากการตรวจสอบพบว่า มีสมาชิกซ้ือสินค้าเชื่อสหกรณ์เกินกว่าวงเกินกว่าวงเงินที่ระเบียบกาหนด และไม่ผ่านการอนุมัติ จากคณะกรรมการดาเนินการ จานวน 20 ราย เปน็ เงนิ 202,449.00 บาท สหกรณ์ควรปฏิบตั ใิ ห้เปน็ ไปตามระเบียบทกี่ าหนด Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 40

- สหกรณ์มีมติที่ประชุมคระกรรมการครั้งท่ี 13/2561 วันท่ี 21 พฤษภาคม 2562 ให้สหกรณ์ คิดดอกเบ้ีย เงินฝากให้กับสมาชิกท่ีมีเงินฝากจานวนไม่น้อยกว่า 100.00 บาท ขึ้นไป แต่สหกรณ์ยังไม่ได้แก้ไขระเบียบว่าด้วยการรับฝาก ออมทรัพย์และเงินฝากประจา พ.ศ. 2544 ใหเ้ ป็นตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการ 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -  ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพน้ื ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจดั การและเจา้ หน้าท่ี - สหกรณ์จัดแบ่งส่วนงานและแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบไว้เหมาะสม สหกรณ์จัดจ้างเจ้าหน้าที่ 3 คน โดยคณะกรรมการดาเนินการมีการมอบหมายการปฏิบัติงาน ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการดาเนิน ซ่ึงแต่ละคนมี ความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านตามหน้าท่ที ่ีไดร้ ับมอบหมาย 2. ดา้ นการบริหารเงนิ ทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานท้ังสิ้น 16,501,151.76 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,271,459.47 บาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.35 ทุนดาเนินงานดังกล่าว ส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายในร้อยละ 77.79 ประกอบด้วย เงินรับฝากจากสมาชิก ร้อยละ12.06ทนุ ของสหกรณเ์ องรอ้ ยละ 64.92 และหน้ีสินอ่ืนในส่วนของสมาชิกร้อยละ 0.81 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 22.21 มา จากแหล่งเงินทุนภายนอกซ่ึงได้มาจากเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่นและบุคคลภายนอกร้อยละ 4.48 และหน้ีสินอ่ืนร้อยละ 17.73 หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและความเพียงพอ ของเงินทุนต่อความเสี่ยงแล้ว นับว่าสหกรณ์ มีเงินทุนมากพอท่ีไม่เกิดความเม ส่ยี งอกี ทัง้ สหกรณม์ อี ัตราส่วนหน้สี ินท้ังสิ้นต่อทุน 0.54 เท่า และอตั ราสว่ นทุนสารองต่อสินทรัพย์ 0.08 เทา่ - สหกรณ์มีสินทรัพย์เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 8.35 สินทรัพย์ของสหกรณ์ลงทุนอยู่ในลูกหนี้เงินให้กู้ยืม สุทธิ 2,590,280.40 บาท หรือร้อยละ 15.70 ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ 8,255,593.03 บาท หรือร้อยละ 50.03 เงินสดและ เงินฝากธนาคาร 4,769,357.53 บาท หรือร้อยละ 28.90 ลูกหน้ีสุทธิ 536,916.00 บาท หรือร้อยละ3.25 เงินลงทุนระยะยาว 145,400.00 บาท หรือร้อยละ 0.88 และสินทรัพย์อ่ืน 203,604.80 หรือร้อยละ 1.24 สินทรัพย์ของสหกรณ์ที่ อยู่ได้นาไปใช้ใน การดาเนินงานเพ่ือก่อให้เกิดรายได้ 0.13 รอบ สร้างผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 0.73 แสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพในการใชส้ ินทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนมีประสิทธิ ภาพพอควร อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ควรหาแนวทางในการ ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้มากขึน้ และเกิดผลตอบแทนสูงสดุ 3. ดา้ นวตั ถดุ บิ * (Material) เครื่องจกั รและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สนิ ค้าของสหกรณ์ - 4. ดา้ นการบริหารการจัดการ (Management) และ การดาเนนิ ธรุ กิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 3 ด้าน มีปริมาณธุรกิจรวมท้ังสิ้น 4,427,913.72 บาท เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน 2,586,313.07 บาท หรือเพ่ิมขึ้น 1.40 เท่า แยกเป็น ธุรกิจสินเชื่อร้อยละ 48.44 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย ร้อยละ 31.25 และการรับฝากเงินร้อยละ 20.31 - ธุรกิจสินเช่ือ ระหว่างปีสหกรณ์จ่ายเงินกู้แก่สมาชิก 2,145,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 71.50 ของจานวนเงนิ เป้าหมาย เพิ่มข้ึนจากปีก่อน 1,038,000.00 บาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 93.77 ทั้งน้ี ลูกหนี้ชาระหน้ีได้ตามกาหนด รอ้ ยละ26.45ของหนถี้ งึ กาหนดชาระ ณ วันสิ้นปีมีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ 207 ราย เป็นเงิน 7,679,205.50 บาท มีดอกเบ้ียเงิน ให้กู้ค้างรับ 8,287,532.13 บาท และค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ 1,831,676.81 บาท สหกรณ์มีลูกหน้ีเงินให้กู้ที่ผิดสัญญาชาระหน้ี 165รายเปน็ เงนิ 5,749,400.04 บาทหรอื ร้อยละ74.87 ของจานวนเงินลูกหน้ีให้กู้คงเหลือ ณ วันสิ้นปี สหกรณ์ได้ต้ังค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญลูกหน้ีเงินให้กู้ 5,088,925.10 บาท ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 8,115,532.32 บาท และค่า เผื่อหนี้สงสัยจะสูญค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ 1,831,676.81 บาท ผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะธุรกิจ 893,695.77 บาท เพ่ิมข้ึน ปีก่อน 772,728.00 บาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 6.39 เน่ืองจากสหกรณ์เร่งรัดให้ลูกหนี้ผิดนัดชาระหนี้จากปีก่อนๆ Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 41

มาชาระหน้ีได้ ทาให้สหกรณ์มีค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญจะสูญหนี้เงินให้กู้เกินความต้องการ จึงบันทึกค่าใช้จ่ายหน้ีสงสัยจะสูญ ลกู หน้ีเงินใหก้ ้ภู ายในวงเล็บในงบกาไรขาดทุน (รายละเอียดกาไร (ขาดทุน) เฉพาะธุรกจิ สินเชื่อ) ซึง่ เปน็ การลดยอดค่าใชจ้ า่ ย - สหกรณ์มีลูกหนี้ตามคาพิพากษา 39 ราย จานวน 55 คดี เกิดจากลูกหน้ีเงินให้กู้ผิดนัดชาระหน้ีเป็นเงิน 2,241,494.44 บาท และมีดอกเบ้ียตามคาพิพากษาค้างรับจานวน 2,115,223.46 บาท ซ่ึงสหกรณ์ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหน้ีตามคาพิพากษาและดอกเบ้ียตามคาพิพากษาค้างรับไว้เต็มจานวนแล้ว อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ควรติดตามให้ลูกหน้ี ปฏิบัติให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาล หรือปฏิบัติตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วย การตัดจาหน่ายหน้ีสูญจาก บญั ชลี กู หนขี้ องสหกรณ์และกลุ่มกล่มุ เกษตรกร พ.ศ.2546 -ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย ระหว่างปีสหกรณ์จาหน่ายสินค้าประเภทการเกษตร 792,079.00 บาท และ สินค้าประเภททว่ั ไป591,519.00บาท รวมทั้งสิ้น 1,383,598.00 บาท คิดเป็น 1.67 เท่า ของจานวน เงินเป้าหมาย เพ่ิมขึ้นจากปี ก่อน 793,564.50 บาท หรือเพ่ิมข้ึน 1.34 เท่า ผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะกิจจานวน 202,799.87 บาท เนื่องจากสหกรณ์ เร่งรดั ให้ลูกหน้ีผดิ ชาระหน้ีจากปีก่อนๆ มาชาระหน้ีได้ ทาให้สหกรณ์ มีค่าเผื่อหน้ีสงสัยการค้าเกินความต้องการ จึงบันทึก ค่าใช้จ่ายหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้การค้าภายในวงเล็บในงบกาไรขาดทุน (รายละเอียดกาไร (ขาดทุน) เฉพาะธุรกิจจัดสินค้ามา จาหน่าย) ซึ่งเป็นการลดยอดค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตาม สหกรณ์มีกาไรขั้นต้นไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายคงท่ี ท่ีเป็นเงินเดือน เจ้าหน้าที่ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย ดังนั้น สหกรณ์ควรพิจารณาหาแนวทางในการบริหารธุรกิจด้านนี้ให้มีประสิทธิภาพ มากย่ิงข้ึน ณ วันส้ินปี สหกรณ์มีลูกหน้ีการค้าในส่วนของสมาชิก75 ราย เป็นเงิน 1,044,688.00 บาท และลูกหนี้การค้า บุคคลภายนอก 150 ราย เป็นเงิน 473,529.00 บาท รวมทั้งสิ้น 225 ราย เป็นเงิน 1,518,217.00 บาท เป็นลูกหน้ีการค้าผิดนัด ชาระหน้ีเกิน 2 ปี ท้ังจานวน และสหกรณ์ไม่สามารถค้าหาเอกสารหลักฐานเพื่อใช้อ้างอิงประกอบการเร่งรัดให้ลูกหน้ีการค้ามา ชาระหนี้ได้ สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญลูกหนี้การค้าไว้เต็มจานวนแล้ว อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ควรพิจารณาเร่ืองการ ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้กับสมาชิกให้กับสมาชิกให้รัดกุมยิ่งข้ึน เพราะสหกรณ์ซ้ือสินค้าเป็นเงินสด แต่สหกรณ์ขายสินค้า ใหก้ บั สมาชกิ เป็นเงินเชื่อ สหกรณ์อาจจะขาดเงินทุนหมุนเวียนและเกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ ถ้าสมาชิกไม่สามารถชาระหนี้ ได้ตามกาหนด และปฏิบัติตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วย การตัดการตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของ สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร พ.ศ.2546 - การรับฝากเงิน ระหว่างปีสหกรณ์รับเงินฝาก 899,315.72 บาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อน 754,748.57 บาท หรือ เพิ่มขึ้น 5.22 เท่า โดยมีประเภทเงินรับฝาก 3 ประเภท คือ ออมทรัพย์ ออมทรัพย์พิเศษ และสัจจะออมทรัพย์ ณ วันส้ินปี สหกรณ์มีเงินรับฝากคงเหลือ 444 บัญชี เป็นเงิน 2,729,046.48 บาท แยกเป็น เงินรับฝากจากสมาชิก 308 บัญชี เป็นเงิน 1,989,092.82บาทเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น 1 บัญชี เป็นเงิน 13,479.75 บาท และเงินรับฝากจากบุคลภายนอก คงเหลือ 135 บัญชี เป็นเงนิ 726,473.91 บาท -สหกรณม์ ีเงนิ รับฝากจากสมาชิกที่พ้นสภาพการเป็นสมาชิกแล้ว แต่ไม่ได้ถอนเงินฝากท่ีฝากไว้กับสหกรณ์ ทาให้สหกรณ์มีเงินรับฝากจากบุคคลภายนอกท่ีมิใช่สมาชิก ดังน้ัน สหกรณ์ควรดาเนินการให้สมาชิกที่พ้นสภาพ การเป็น สมาชิกมาถอนเงินฝากคืน - สหกรณ์มีรายได้รวมทั้งสิ้น 2,597,932.09 บาท และมีค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน 2,586,275.10 บาท จึงมีกาไรสุทธิ 11,656.99 บาทคดิ เปน็ รอ้ ยละ056ของยอดขาย/บริการ สหกรณ์มีกาไรเฉล่ียต่อสมาชิก 28.57 บาท มีเงินออมเฉล่ียต่อสมาชิก 56,862.31 บาท - ในระหว่างปีสหกรณ์ได้รับเงินบริจาคนายศิริ ระลึก จานวน 400,000.00 บาท เพ่ือเป็นค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงานของสหกรณ์ สหกรณ์ได้นาไปลดค่าใช้จ่ายเงินเดือนทั้งจานวน ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของเงินบริจาคที่ ได้รับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ดาเนินงานมีผลกาไรสุทธิ จานวน 11,656.99 บาท ซึ่งหากสหกรณ์ไม่ได้รับเงินบริจาค ดงั กลา่ ว ผลการดาเนินงานของสหกรณ์จะมผี ลขาดทุนสทุ ธิ จานวน 388,343.01 บาท Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 42

จากการวิเคราะห์สหกรณ์ - สหกรณ์มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 2.06 เท่า ปีก่อน 2.10 เท่า จะเห็นได้ว่าสหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงินลดลง จากปกี อ่ นแต่อยา่ งไรก็ตามสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ยังอยู่ยังในเกณฑ์ท่ีดี หากพิจารณาส่วนประกอบของสินทรัพย์ หมุนเวียนแล้วพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเงินสดและเงินฝากธนาคาร 4,769,357.53 บาท หรือร้อยละ 66.56 ของยอดรวมสินทรัพย์ หมุนเวียน รองลงมาเป็น เงินให้กู้ยืมสุทธิ 2,089,132.87 บาท หรือร้อยละ 29.16 ของยอดรวมสินทรัพย์หมุนเวียน ซ่ึงลูกหน้ี สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนดร้อยละ 26.45 ดังนั้น สภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการ บริหารลูกหน้ีเป็นสาคัญ นอกจากนี้หากพิจารณาส่วนประกอบของหนี้สินหมุนเวียนแล้วจะเห็นว่า หนี้สินหมุนเวียนส่วนใหญ่ เปน็ เงินรับฝาก2,729,046.48 บาทหรอื ร้อยละ78.36 ของยอดรวมหนี้สินหมุนเวียน หากผู้ฝากเงินถอนเงินฝากในคราวเดียวกัน เปน็ จานวนมาก อาจสง่ ผลกระทบต่อสภาพคล่องสหกรณ์ได้ แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ :  รักษาระดับสหกรณ์ชัน้ 1 และชั้น 2  ยกระดับสหกรณช์ ั้น 2 และชั้น 3 ส่ชู ้นั ท่ีดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ที่ดขี ้ึน 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผูด้ าเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดาเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 1.1กจิ กรรมการรกั ษาระดับช้ันสหกรณ์ ระดบั 2 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ า่ นระดบั มาตรฐาน 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 2. ด้านการพัฒนาการดาเนินธุรกิจ 2.1กิจกรรมการรักษาระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์ไมน่ อ้ ยกว่าร้อย 1 แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 ละ 60 1 แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กจิ กรรมการจดั ทาแผนธรุ กจิ เพ่ือให้บริการตามความต้องการของสมาชิก 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63–ก.ย.64 กล่มุ เกษตรกร 3.1กิจกรรมเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการ Template แผนการแนะนาส่งเสริม พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 43

แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดาเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การแกไ้ ขปัญหาหนี้สนิ สมาชกิ 1 แผน ต.ค.63 – ก.ย.64 1 แผน 1.1กจิ กรรมสรา้ งการมสี ว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาหนส้ี นิ ของสมาชิกสหกรณ์ 1 แผน ต.ค.63 – ก.ย.64 เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกัน 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั สง่ เสรมิ การจดั ทาแผนกลยุทธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1กจิ กรรมใหส้ หกรณม์ ีการจดั ทาแผนกลยุทธ์ในการดาเนินงานเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 3.1 กิจกรรม ส่งเสริมสหกรณ์ให้นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ.........อ...ม....ร..ร...ัต...น....์..ไ..ช...ย....ณ....ร...ง...ค...์....(แเจทา้ นหรนาา้ยทม่ีผอื ช้รู อ่ืับ)ผิดชอบ (นางสาวอมรรัตน์ ไชยณรงค)์ วนั ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 44

8. สหกรณ์ : การเกษตรลาดหลมุ แก้วพฒั นา จากัด ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร  ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูล ปีบัญชีส้นิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 2562 1.1 จานวนสมาชิก515 ราย 1.2 จานวนสมาชกิ ท่รี ว่ มทาธุรกิจ 470 ราย 1.3 ธุรกิจหลกั ธรุ กิจสินเชือ่ 1.4 ผลผลติ หลัก…..-…… 1.5 มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกรด A 1.6 ระดับชน้ั สหกรณ์ระดบั 2 1.7 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต…..-…… 1.8 การแปรรปู ......-....... 1.9 ผลิตภัณฑเ์ ดน่ ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพื้นฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อุปกรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณ์เช่น ฉางโกดงั โรงสี ฯลฯ - มฉี างลานตาก 3) ข้อมูลการดาเนินธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1. ธุรกิจสินเชื่อ 17,989,900.00 19,146,511.00 22,685,510.00 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน 10,058,113.60 16,011,875.48 14,494,117.73 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - 16,635,416.92 15,643,866.64 5. ธรุ กิจจัดหาสินคา้ มาจาหนา่ ย - - 52,823,494.37 6. ธรุ กิจบริการ 13,082,125.90 - 51,793,803.40 รวม 41,130,139.50 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 สินทรัพย์รวม บาท 28,260,527.69 34,508,736.68 35,852,934.80 สินทรัพย์หมนุ เวียน หนี้สินรวม บาท 22,233,222.76 28,614,914.97 30,426,549.02 หนสี้ นิ หมนุ เวียน ทุนของสหกรณ์ บาท 19,865,390.63 24,339,657.18 25,674,468.89 ทนุ สารอง กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 14,924,030.85 19,031,632.40 19,990,441.11 อัตราส่วนทางการเงนิ ท่สี าคัญ บาท 8,395,390.06 10,169,079.50 10,178,465.91 บาท 743,425.39 883,478.83 1,283,640.77 บาท 209,405.50 846,384.94 205,431.08 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 45

งบแสดงฐานะการเงิน/งบกาไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 -อัตราสว่ นหนส้ี ินต่อทุน (DE Ratio) เท่า 2.37 2.49 2.39 2.52 -อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 0.74 8.32 2.02 -อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) รอ้ ยละ 1.49 2.45 0.57 -อัตราส่วนทุนหมนุ เวยี น เท่า 0.03 1.50 1.52 -อตั ราส่วนทุนสารองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 0.03 0.04 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสุด) - สหกรณ์กาหนดระเบียบ ว่าด้วยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงินขึ้นถือใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงาน ซ่ึง กาหนดให้เกบ็ รักษาเงินสดในมือได้ไม่เกินวันละ 50,000.00 บาท สหกรณ์ปฏิบตั เิ ปน็ ไป ตามระเบียบที่กาหนด - สหกรณ์มีการกาหนดแผนการดาเนินงานและรายจ่ายประจาปีไว้โดยได้รับอนุมัติ จากที่ประชุมใหญ่ สามัญประจาปีเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ แต่มีค่าใช้จ่ายบางรายการไม่ได้กาหนดงบประมาณไว้ สหกรณ์ควรกาหนด งบประมาณใหค้ รอบคลุมกับค่าใช้จ่ายที่คาดวา่ จะเกิดขนึ้ โดยคานึงภาวะเศรษฐกจิ ปัจจุบนั และความเปน็ ไปได้ -สหกรณ์ได้เลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการจากท่ีประชุมใหญ่ ในรอบปีบัญชีผู้ตรวจสอบกิจการ ได้เข้าปฏิบัติ งาตรวจสอบกิจการสหกรณ์ แต่ไม่ปรากฏรายงานผลการตรวจสอบ สหกรณ์ควรแจ้งผู้ตรวจสอบกิจการจัดทารายงานผลการ ตรวจสอบกจิ การเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการ และท่ีประชุมใหญ่สามัญประจาปี เพ่ือสหกรณ์ จะไดน้ าขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจสอบกจิ การ มาใชป้ ระโยชน์ ในการบรหิ ารหรือแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) -  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มลู พ้นื ฐานและสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ ดงั นี้ 1. ด้านบคุ ลากร (Man) สมาชกิ / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่ - สหกรณ์จัดแบ่งแยกหน้าท่ีด้านการเงินและการบัญชีออกจากกัน การมอบหมายงานและกาหนดหน้าท่ี ความรับผิดชอบของแต่ละตาแหน่งไว้เหมาะสมกับการดาเนินงาน เจ้าหน้าที่ได้รับมอบหมาย มีความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์เพยี งพอ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) - สหกรณ์มีทุนดาเนินงานท้ังส้ิน 35,852,934.80 บาท ทุนดาเนินงานส่วนใหญ่มาจากแหล่ง เงินทุนภายในรอ้ ยละ76.94ประกอบด้วยเงินรบั ฝากจากสมาชิกร้อยละ 46.02 รองลงมาเป็นทุนของสหกรณ์ร้อยละ 28.39 และ อ่ืนๆ ร้อยละ 2.53 ส่วนที่เหลืออีกรร้อยละ 23.06 มาจากแหล่งเงินทุนภายนอก ประกอบด้วย เจ้าหน้ีเงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์ ร้อยละ 8.37 สารองบาเหน็จเจ้าหน้าท่ี ร้อยละ 11.61 และอื่นๆ ร้อยละ 3.08 หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและ เพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงแล้วแสดงว่าทุนของสหกรณ์ ไม่สามารถคุ้มครองหนี้ได้หมด เนื่องจาก สหกรณ์ไม่มีเงินทุน เพียงพอท่ีจะจ่ายคืนเจ้า หนี้ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็นเงินรับฝากจากสมาชิก - สหกรณ์มีสินทรัพย์ท้ังสิ้น 35,852,934.80 บาท สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นเงินให้กู้ยืม-สุทธิ จานวน 18,086,009.20 บาท หรือร้อยละ 50.45 เงินสดและเงินฝากธนาคาร จานวน 10,101,262.08 บาท หรือ ร้อยละ 28.17 ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ จานวน 2,919,885.78 บาท หรือร้อยละ 8.14 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ-สุทธิ จานวน 3,350,019.15 บาท หรือร้อยละ 9.34 สินค้าคงเหลือ จานวน 4002,495.42 หรือร้อยละ 1.12 ลูกหนี้ระยะสั้น-สุทธิ จานวน 416,094.45 บาท หรือร้อยละ 1.16 เงินลงทุนระยะยาว จานวน 294,000.00 บาท หรือร้อยละ 0.82 ท่ีดินแทนการชาระหน้ีรอจาหน่าย จานวน 252,200.00 บาท หรือร้อยละ 0.70 และอื่นๆ จานวน 30,968.72 บาท หรือร้อยละ 0.10 สินทรัพย์ท่ีมีอยู่ได้ถูกนาไปใช้ในการ Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พัฒนา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 46

ดาเนนิ งานเพอ่ื ก่อให้เกดิ รายได้ 0.51รอบสรา้ งผลตอบแทนให้กับสหกรณ์ได้ในอัตราร้อยละ 0.58 ปีก่อนร้อยละ 2.70 ซึ่งน้อย กว่าปกี ่อน สหกรณค์ วรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากสนิ ทรัพย์ท่ีมีอยู่ใหม้ ากขึ้นและเกิดผลตอบแทนสงู สุด 3. ดา้ นวตั ถดุ บิ * (Material) เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สนิ คา้ ของสหกรณ์ - สหกรณ์จัดทาบัญชีตามระเบียบท่ีนายทะเบียนกาหนดโดยมีระบบบัญชีที่เหมาะสมกับธุรกิจ ของสหกรณ์ การจัดทาบัญชีเรียบร้อยและเป็นปัจจุบันเอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชีครบถ้วนพอถือใช้เป็นหลักฐาน ทางบัญชไี ด้ สหกรณใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พฒั นาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณใ์ ช้ในการประมวลผลข้อมลู 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และ การดาเนินธรุ กิจ(Method) - สหกรณ์ดาเนินธุรกิจ 3 ด้าน โดยดาเนินธุรกิจสินเชื่อมากท่ีสุด ร้อยละ 42.95 รองลงมาเป็นธุรกิจจัดหา สนิ คา้ มาจาหน่าย ร้อยละ 29.61 และธรุ กจิ รบั ฝาก ร้อยละ27.44 -ระหวา่ งปีสหกรณ์ให้เงินกู้แก่สมาชิก จานวน 22,685,510.00 บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 2,172,023.00 หรือร้อยละ 8.74 สูงกว่าเป้าหมายที่กาหนด จานวน 9,464,490.00 บาท ลูกหนี้ชาระหนี้ ได้ตามกาหนดร้อยละ 65.62 ของหนี้ ท่ีถึงกาหนดชาระ โดยชาระได้ก่อนกาหนด จานวน 1,301,516.00 บาท ในจานวนดังกล่าวเป็นลูกหนี้ที่ผิดนัดชาระหน้ี จานวน 11,672,462.00 บาท ดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 9,574,633.37 บาท และค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 1,289,913.00 บาท สหกรณ์ได้ตั้งค่าเผื่อหน้ีสงสัย จะสูญสาหรับลูกหนี้เงินให้กู้ จานวน 4,627,572.80 บาท ดอกเบ้ียเงินให้กู้ค้างรับ จานวน 6,224,614.22 บาทและค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับสหกรณ์ได้ตั้งค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญไว้เต็มจานวนแล้ว ผลการดาเนินงานมีกาไร เฉพาะธุรกิจ จานวน 1,550,521.37 บาท อย่างไรก็ตามผลกาไรดังกล่าวได้รวมรายได้จากดอกเบี้ย เงินให้กู้ค้างรับ จานวน 1,245,168.00 บาท ด้วยแล้วซ่ึงหากไม่นารายได้จานวนดังกล่าวเข้าเป็นรายได้ ของสหกรณ์แล้วจะทาให้สหกรณ์มีผลกาไร เฉพาะธุรกิจเพียง จานนวน30,353.37 บาท - ระหว่างปีสหกรณ์จัดสินค้ามาจาหน่าย จานวน 15,643,866.64 บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 991,550.28 บาท หรือลดลงร้อยละ 5.96 สูงกว่าเป้าหมาย จานวน 5,043,866.64 บาท ระหว่างปี ได้รับชาระหนี้จากลูกหน้ี การค้า จานวน 1,300,565.80 บาท หรือร้อยละ 89.311 ของลูกหน้ีการค้าคงเหลือ ณ วันส้ินปี และมีน้ามันเช้ือเพลิงสูญระเหย จานวน479.09ลติ รคิดเป็นเงินตามราคาขาย จานวน 12,599.52 บาท โดยสหกรณ์ใช้เกณฑ์ลดหย่อนน้ามันเช้ือเพลิงตามอัตรา สูญระเหยที่กรมสรรพากรกาหนดให้ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของปริมาณยอดขายผ่านมิเตอร์หัวจ่าย ทาให้ได้รับการลดหย่อนสินค้า ขาดบญั ชโี ดยมิตอ้ งหาผูร้ บั ผิดชอบทัง้ จานวนตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ ณ วัน สิ้นปีมีลูกหนี้การค้าคงเหลือ จานวน 1,459,536.00 บาท ดอกเบี้ยค้างรับ จานวน 1,449,927.00 บาท ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะ สูญสาหรับลกู หนี้การค้า จานวน 1,043,441.55 บาท และดอกเบี้ยค้างรับทั้งจานวน สหกรณ์ควรติดตามเร่งรัดให้ลูกหน้ีการค้า ชาระหน้ีโดยเร็วโดยเฉพาะลูกหนี้การค้าที่ค้างนาน ซึ่งระหว่างปีไม่ได้รับชาระหนี้คืนแต่อย่างใดผลการดาเนินงานมีกาไรเฉพาะ ธุรกิจ จานวน 560,456.13 บาท -ระหวา่ งปสี หกรณ์รบั เงนิ ฝากจากสมาชิก รวมท้ังส้ิน จานวน 14,494,117.73 บาท ลดลงจากปีก่อน จานวน 1,517,757.75 บาท หรือลดลงร้อยละ 9.48 สูงกว่าเป้าหมาย จานวน 4,494,117.73 บาท ณ วันสิ้นปีมีเงินฝากจากสมาชิก จานวน 16,500,536.49 บาท - สหกรณ์มีรายได้รวมท้ังส้ิน จานวน 18,608,772.17 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมท้ังสิ้น จานวน 18,403,341.09 บาท เป็นผลให้มีกาไรสุทธิ จานวน 205,431.08 บาท หากพิจารณาเปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณเงินออมเฉลี่ย ต่อสมาชิก 43,213.95 บาท กับหนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก 68,034.30 บาท แล้วสะท้อน ให้เห็นถึงกาลังความสามารถในการชาระ หนี้ของสมาชิกในอนาคตท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการบริหารงาน ของสหกรณ์ท่ีจะต้องวางแผนในการติดตามเร่งรัดหน้ีสินให้ เป็นไปตามกาหนดสญั ญา Template แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 47

จากการวเิ คราะหส์ หกรณ์ - สหกรณ์มีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหน้ีสินหมุนเวียน 1.52 เท่า หากพิจารณาส่วนประกอบของสินทรัพย์ หมุนเวียนแล้ว พบว่าส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้เงินให้กู้ ดังน้ัน สภาพคล่องของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับการบริหารลูกหนี้เงินให้กู้ให้ที ประสิทธิภาพโดยการให้ลูกหน้ีชาระหนี้ให้เป็นไปตามกาหนดสัญญาและติดตามเร่งรัดลูกหนี้เงินให้กู้ที่ค้างนานให้ชาระหน้ีให้ เสร็จสิ้นโดยเร็ว แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และกากบั ดูแล สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกาหนดเป้าหมายในการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และ กากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณ์ช้นั 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณช์ น้ั 2 และชั้น 3 สชู่ ั้นทีด่ ีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดับดขี ้ึนไป  ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับท่ีดีข้ึน 3) อืน่ ๆ  แผนการแนะนาส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผูด้ าเนินการ แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดาเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ ร 1.1กจิ กรรมการรกั ษาระดับชั้น1 1 กิจกรรม ต.ค.63–ก.ย.64 1.2กจิ กรรมการรักษามาตรฐานของสหกรณ์ ดเี ลศิ 1 กล่มุ เกษตรกร แห่ง ต.ค.63–ก.ย.64 2.ด้านการพัฒนาการดาเนินธรุ กิจ 2.1กจิ กรรมการรักษาระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของสหกรณ์ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ย 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 ละ 60 1 แผน ต.ค.63–ก.ย.64 2.2กิจกรรมการจัดทาแผนธรุ กิจเพอ่ื ให้บริการตามความตอ้ งการของสมาชกิ 3.ด้านการกากบั ดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ 4 คร้ัง ต.ค.63–ก.ย.64 กลมุ่ เกษตรกร 3.1กิจกรรมเข้าร่วมประชมุ คณะกรรมการ 3.2กิจกรรมการควบคมุ ภายในสหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค.63–ก.ย.64 Template แผนการแนะนาสง่ เสรมิ พฒั นา และกากบั ดแู ลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 48

แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดาเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดาเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแก้ไขปัญหาหนส้ี ินสมาชกิ 1 แผน 1 ต.ค.63 – ก.ย.64 1.1กจิ กรรมสร้างการมสี ว่ นร่วมในการแก้ไขปญั หาหน้สี ินของสมาชิกสหกรณ์ 1 แผน เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกัน คร้ัง ต.ค.63 – ก.ย.64 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักสง่ เสรมิ การจดั ทาแผนกลยุทธ์ ต.ค.63 – ก.ย.64 2.1กจิ กรรมให้สหกรณม์ ีการจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งานเพื่อเป็น แนวทางในการปฏิบตั งิ าน 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ธรรมาภบิ าลในสหกรณ์ 3.1กิจกรรมสง่ เสริมสหกรณใ์ ห้นาหลักธรรมาภบิ าลมาใช้ในสหกรณ์ ลงชื่อ..........ก...ร...ร..ณ.....กิ...า...ร...์....ก...ล...้า...ก...ร...ก...ิจ.. เจ(้าแหทนน้ารทายี่ผมู้รอื ับชผื่อิด)ชอบ (นางสาวกรรณิการ์ กล้ากรกิจ) วนั ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 Template แผนการแนะนาส่งเสรมิ พัฒนา และกากับดแู ลสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 49

9. สหกรณ์ : การเกษตรศริ ิรวมทรัพย์ จากดั ประเภทสหกรณ์ : การเกษตร การวเิ คราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร  ข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป : จานวนสมาชิก/จานวนสมาชิกที่ร่วมทาธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลิตหลัก/มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/ ระดับชั้นสหกรณ/์ ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/ผลิตภัณฑ์เด่น ฯลฯ 1.1 จานวนสมาชกิ . 471 . ปบี ญั ชี 30 มถิ นุ ายน 2562 . 1.2 จานวนสมาชิกที่ร่วมทาธุรกิจหลัก 405 ราย . 1.3 ธรุ กจิ หลัก . ธรุ กจิ สินเช่ือ . 1.4 ผลผลิตหลกั ลูกหนี้เงนิ กู้ . 1.5 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร . c . 1.6 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 . 2 . 1.7 ศกั ยภาพในการรวบรวมผลผลิต . - . 1.8 การแปรรปู . - . 1.9 ผลติ ภัณฑเ์ ด่น . - . 2. โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์ :อุปกรณ์การผลิต/การตลาดของสหกรณ์เชน่ ฉาง โกดังโรงสี . –1. ฉางคอนกรีต 500ตัน 2. ลานตาก 3200 ตารางเมตร 3. เครื่องชง่ั 40ตัน 3. ข้อมูลการดาเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2561 ปี 2561 ปี 2560 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 26,797,492.00 34,350,792.00 58,339,725.30 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน 11,341,292.72 22,144,872.74 30,532,989.60 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 4,114,495.00 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - 62,192.50 39,574.46 5. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจาหน่าย 12,299,364.00 - - 6. ธรุ กจิ บริการ 15,504,198.00 12,330,434.00 7. ธรุ กิจอื่น ๆ (ระบุ) 349,397.45 - - - - รวม 54,902,041.17 72,062,055.24 101,242,723.36 Template แผนการแนะนาสง่ เสริม พฒั นา และกากับดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 50