149 ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเร่ือง การเขียนยอ่ ความ แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. ครูให้นักเรียนรวบรวมชื่อเรื่องส้ันที่เคยไดร้ ับรางวลั ซีไรต์ เป็ นการบา้ นเพื่อเตรียม จดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนฝึกเขียนยอ่ ความจากการอา่ น การฟัง และการดูเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิต ประจาวนั ที่ เป็นความรู้หรือขอ้ คิดคติสอนใจ 2. นักเรียนรวบรวมบทความท่ีเป็ นความรู้และคติสอนใจต่าง ๆ เพ่ือเป็ นตน้ แบบในการฝึ ก เขียนยอ่ ความ และสามารถนาความรู้และคติสอนใจไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั หลกั การมีภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บทความ 2. อินเทอร์เน็ต 3. ใบงาน เรื่อง การเขียนยอ่ ความ 4. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 6. คูม่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 7. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
150 บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน / /
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 28 151 การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ส่งสารดว้ ยการเขียน เวลา 1 ช่ัวโมง เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 1. สาระสาคัญ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็ นการเขียนที่ผูเ้ ขียนถ่ายทอดความรู้และความคิดสร้างสรรค์ ออกมาดว้ ยสานวนภาษาท่ีสละสลวย ทาให้ผูอ้ ่านเกิดความเพลิดเพลิน มีจินตนาการและความรู้สึก ร่วมในขณะท่ีอา่ น 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถูกตอ้ งมี ขอ้ มูลและสาระสาคญั ชดั เจน ท 2.1 (ม.4–6/1) 2. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ท 2.1 (ม.4–6/4) 3. ประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น แลว้ นามาพฒั นางานเขียนของตนเอง ท 2.1 (ม.4–6/5) 4. มีมารยาทในการเขียน ท 2.1 (ม.4–6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกชนิดของเร่ืองส้นั ได้ (K) 2. อธิบายและวิเคราะห์องคป์ ระกอบของเรื่องส้นั ได้ (K) 3. เขียนเร่ืองส้นั ไดค้ รบตามองคป์ ระกอบของเร่ืองส้นั (P) 4. ใชท้ กั ษะทางภาษาในการเรียน การแสวงหาความรู้ และการดาเนินชีวติ ร่วมกนั ในสงั คม (P) 5. มีมารยาทในการเขียน (A)
152 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ และค่านิยม (A) และกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทกั ษะการเขียน แล ะก ารแส ด งค วาม เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ 2. ประเมินทกั ษะการแสวง คิดเห็น และต้งั ใจเรียน ความรับผดิ ชอบใน หาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม การทากิจกรรม ความมีระเบียบ 3. ประเมินทักษะกระบวน วินยั ในการทางาน ฯลฯ การคิด 2. ประเมินมารยาทในการเขียนและ 4. ประเมินทักษะกระบวน นิสยั รักการเขียน การกลุม่ 5. สาระการเรียนรู้ การเขียนเรื่องส้นั 6. แนวทางบูรณาการ คณิตศาสตร์ เขียนแผนภาพความคิดสรุปเร่ือง การเขียนเร่ืองส้นั ศิลปะ แสดงบทบาทสมมุติ การงานอาชีพฯ จดั ป้ายแสดงผลงาน 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนช่วยกนั บอกวา่ นกั เรียนเคยอ่านเรื่องส้นั เร่ืองใดบา้ ง 2. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกบั ลกั ษณะของเรื่องส้นั ที่เคยอา่ น ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่มละ ๖ คน ให้แต่ละกลุ่มจบั สลากเลือกหัวขอ้ ในการศึกษา ดงั น้ี 1) โครงเร่ือง 3) ตวั ละคร 5) ฉาก 2) แก่นเรื่อง 4) บทสนทนา 6) กลวิธีการแต่ง 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตามหัวขอ้ ท่ีจบั สลากไดใ้ นหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 หรือแหล่งการเรียนรู้อ่ืน แลว้ นาเสนอให้เพื่อนฟัง หนา้ ช้นั เรียน โดยใหค้ รูสรุปประกอบการซกั ถามเพมิ่ เติมเมื่อจบการรายงาน
153 3. ครูแจกตวั อย่างเร่ืองส้ัน 1 เร่ือง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านแลว้ ช่วยกันวิเคราะห์ องคป์ ระกอบของเรื่องส้นั ตามท่ีไดศ้ ึกษา แลว้ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 4. ครูสมมุติสถานการณ์ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนบรรยายฉาก ลกั ษณะของ ตวั ละคร และแต่งบทสนทนา แลว้ นาเสนอใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ช้นั เรียน ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกบั การเขียนเรื่องส้นั แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มฝึ กคิดแก่นเร่ือง และเขียนโครงเร่ือง แลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ครูซกั ถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจและเสนอแนะแนวทาง ในการเขียนของนกั เรียนแต่ละกลุม่ 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มเขียนเรื่องส้นั จากแก่นเร่ืองและโครงเร่ืองท่ีนาเสนอในขอ้ 2 แลว้ นาเสนอผลงานโดยการเลา่ เรื่องและแสดงบทบาทสมมุติหนา้ ช้นั เรียน 4. นักเรียนร่วมกนั วิเคราะห์องค์ประกอบของเร่ืองส้ันจากเรื่องส้ันที่เพื่อนนาเสนอ ประเมินผลงานของเพ่อื นพร้อมท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะในการพฒั นางานเขียน 5. นกั เรียนนางานเขียนของแต่ละกลุม่ สลบั กนั จดั ป้ายแสดงผลงานของช้นั เรียน ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ นักเรียนนาความรู้เร่ือง การเขียนเรื่องส้ัน ไปใชอ้ ่านวิเคราะห์เรื่องส้ัน และใชเ้ ป็ น แนวทางในการพฒั นางานเขียน ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเร่ือง การเขียนเร่ืองส้นั โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด 2. ครูให้นักเรียนดูโฆษณาจากแหล่งสืบคน้ ความรู้ต่าง ๆ เช่น หนงั สือพิมพ์ นิตยสาร โทรทศั น์อินเทอร์เน็ต เป็นการบา้ นเพอ่ื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนหาตวั อยา่ งเรื่องส้ันจากวารสารต่าง ๆ แลว้ นามาวิเคราะห์องคป์ ระกอบของเร่ือง ส้นั เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการเขียน 2. จดั ประกวดการเขียนเร่ืองส้นั ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. สลาก 2. ตวั อยา่ งเรื่องส้นั
154 3. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 4. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 5. คูม่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 6. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. ส่ิงท่ีไม่ได้ปฏบิ ัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 29 155 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 รหัสวชิ า ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ส่งสารดว้ ยการเขียน เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 1. สาระสาคัญ การเขียนเป็ นทกั ษะทางภาษาที่ตอ้ งฝึ กฝนเพ่ือให้เกิดความชานาญ การเขียนมีหลายประเภท ซ่ึงแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกนั ไปท้งั ดา้ นรูปแบบ ลกั ษณะ กลวธิ ี และจุดมุ่งหมายในการเขียน การศึกษาการเขียนแต่ละประเภทจะทาใหเ้ ขียนไดถ้ ูกตอ้ งตามรูปแบบ และส่ือสารไดส้ มั ฤทธิผล 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถูกตอ้ งมี ขอ้ มูลและสาระสาคญั ชดั เจน ท 2.1 (ม.4–6/1) 2. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ท 2.1 (ม.4–6/4) 3. ประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น แลว้ นามาพฒั นางานเขียนของตนเอง ท 2.1 (ม.4–6/5) 4. มีมารยาทในการเขียน ท 2.1 (ม.4–6/8) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกจุดมุ่งหมายของการเขียนโฆษณาและการเขียนประชาสมั พนั ธ์ได้ (K) 2. บอกลกั ษณะของงานเขียนโฆษณาและงานเขียนประชาสมั พนั ธ์ได้ (K) 3. เขียนโฆษณาและเขียนประชาสมั พนั ธไ์ ดถ้ ูกตอ้ งตามรูปแบบ (P) 4. ใชท้ กั ษะทางภาษาในการเรียน การแสวงหาความรู้ และการดาเนินชีวิตร่วมกนั ในสงั คม (P) 5. มีมารยาทในการเขียน (A)
156 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ และค่านิยม (A) และกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทกั ษะการเขียน และการแสดงความ เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ 2. ประเมินทักษะการแสวง คดิ เห็น และต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบใน หาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม การทากิจกรรม ความมีระเบียบ 3. ประเมินทักษะกระบวน วนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ การคดิ 2. ประเมินมารยาทในการเขียนและ 4. ประเมินทักษะกระบวน นิสยั รักการเขียน การกลุ่ม 5. สาระการเรียนรู้ 1. การเขียนโฆษณา 2. การเขียนประชาสมั พนั ธ์ 6. แนวทางบูรณาการ เล่นเกมแยกประเภทของงานเขียน สุขศึกษาฯ ประดิษฐช์ ิ้นงานจากวสั ดุในทอ้ งถิ่น การงานอาชีพฯ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดแถบขอ้ ความใหน้ กั เรียนอ่านบนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั บอกวา่ ขอ้ ความท่ีครูติดบนกระดานมีความแตกต่างกนั อยา่ งไร 1. ท่องเท่ียวเชิงนิเวศกบั รีสอร์ตบรรยากาศดี 2. ททท. จดั งานไทยเที่ยวไทย ท่ามกลางหุบเขา พร้อมกิจกรรมมากมาย ณ ศูนยก์ ารประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ิ เช่น ผจญภยั เดินป่ า ล่องแก่ง ฯลฯ ในราคา ต้งั แต่วนั ท่ี 1 – 4 พฤศจิกายน 2559 สุดประหยดั
157 2. ครูสรุปให้นักเรียนฟังว่า ขอ้ ความท่ี 1 เป็ นการโฆษณา ส่วนขอ้ ความที่ 2 เป็ น การประชาสมั พนั ธ์ ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองบอกจุดมุ่งหมายของการ เขียนโฆษณา และการเขียนประชาสัมพนั ธ์ แลว้ นาเสนอให้เพื่อนฟังหน้าช้ัน เรียน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง การเขียนโฆษณา และการเขียนประชาสัมพนั ธ์ ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 แลว้ ตรวจสอบ จุดมุ่งหมายในการเขียนแต่ละประเภทกบั การทากิจกรรมในขอ้ 1 3. ครูอธิบายเกี่ยวกบั การเขียนโฆษณาและการเขียนประชาสัมพนั ธ์ใหน้ กั เรียนฟัง ประกอบการซกั ถามเพม่ิ เติม 4. นกั เรียนช่วยกนั ยกตวั อยา่ งขอ้ ความท่ีเป็ นการโฆษณาและการประชาสัมพนั ธ์ ส้นั ๆ เพื่อแสดงความเขา้ ใจ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มเขา้ ห้องสมุดหาตัวอย่างงานเขียนโฆษณา และงานเขียน ประชาสัมพนั ธ์ จากหนังสือพิมพห์ รือวารสารต่าง ๆ อย่างละ 3 ตวั อย่าง แลว้ นามาเล่นเกมแยกประเภทของงานเขียนโดยให้ครูเลือกอ่านงานเขียน แลว้ ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มแข่งกนั ตอบว่างานเขียนท่ีครูอ่านเป็ นงานเขียนประเภทใด กลุ่มใดตอบก่อนและถูกต้องจะได้คะแนนเล่นจนตัวอย่างหมด แล้วสรุป คะแนน กลุ่มใดมีคะแนนมากที่สุดเป็นผชู้ นะ ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั การเขียนโฆษณาและการเขียนประชาสัมพนั ธ์ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองนาเสนอโครงการที่เป็ นกิจกรรมเก่ียวกบั การ เขียน แลว้ ช่วยกนั เขียนประชาสัมพนั ธ์โครงการที่คิด นาเสนอใหเ้ พื่อนฟังหนา้ ช้นั เรียน 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มประดิษฐ์ชิ้นงานจากวสั ดุในทอ้ งถิ่น 1 ชิ้น แลว้ เขียนโฆษณา ผลงาน และส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 4. นักเรียนทาใบงาน เร่ือง การเขียนโฆษณา และการเขียนประชาสัมพนั ธ์ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
158 ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นักเรี ยน อธิ บ ายความแตกต่ างของงาน เขียน โฆ ษ ณ าและงาน เขียน ประชาสมั พนั ธ์ ใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจได้ 2. นักเรียนเขียนโฆษณาและเขียนประชาสัมพนั ธ์ ได้ถูกต้องตามรูปแบบและ หลกั การเขียน ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเร่ือง การเขียนโฆษณา และการเขียนประชา สมั พนั ธ์ แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. ครูให้นักเรียนสารวจประเภทของบทร้อยกรอง เป็ นการบา้ นเพ่ือเตรียมจดั การ เรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนรวบรวมตวั อยา่ งงานเขียนโฆษณา และงานเขียนประชาสัมพนั ธ์ จากสื่อต่าง ๆที่ พบเห็นในชีวิตประจาวนั แลว้ ทาเป็ นสมุดตวั อยา่ งงานเขียนเพ่ือใชเ้ ป็ นแนวทางในการ เขียน 2. นกั เรียนเขียนโฆษณาหรือประชาสัมพนั ธ์ให้ชาวต่างชาติในประเทศสมาชิกอาเซียนเขา้ มาท่องเที่ยวในประเทศไทย 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แถบขอ้ ความ 2. หนงั สือพิมพห์ รือวารสาร 3. ใบงาน เรื่อง การเขียนโฆษณา และการเขียนประชาสมั พนั ธ์ 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 6. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 7. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
159 บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน / /
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30 160 การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ส่งสารดว้ ยการเขียน เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 1. สาระสาคญั การเขียนเชิงสร้างสรรคป์ ระเภทร้อยกรองมีหลายประเภท ไดแ้ ก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย ซ่ึงแต่ละประเภทจะมีฉันทลกั ษณ์ท่ีแตกต่างกนั ออกไป การแต่งบทร้อยกรองจึงจาเป็ นจะตอ้ งมีความรู้ เก่ียวกบั ฉนั ทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองท่ีจะแต่งดว้ ย 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ท 2.1 (ม.4–6/4) 2. ประเมินงานเขียนของผอู้ ่ืน แลว้ นามาพฒั นางานเขียนของตนเอง ท 2.1 (ม.4–6/5) 3. แต่งบทร้อยกรอง ท 4.1 (ม.4–6/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายฉนั ทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ได้ (K) 2. แต่งบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์ (P) 3. เลือกใชค้ าท่ีมีความหมายเหมาะสมกบั เน้ือความที่แต่ง (P) 4. เห็นคุณค่าและความไพเราะของบทร้อยกรอง (A)
161 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ และค่านิยม (A) และกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทักษะการอ่าน แ ล ะ ก าร แ ส ด งค ว าม รายบุคคลในด้านความสนใจและ ร้อยกรอง คิดเห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการ 2. ประเมินทกั ษะการแต่งคา 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ทากิจกรรม ความมีระเบียบวินัยใน ประพนั ธ์ 3. ตรวจแบบทดสอบหลัง การทางาน ฯลฯ 3. ประเมินทักษะการแสวง เรียน 2. ประเมินมารยาทในการเขียนและ หาความรู้ นิสยั รักการเขียน 4. ประเมินทักษะกระบวน การคิด 5. ประเมินทักษะกระบวน การกลุม่ 5. สาระการเรียนรู้ การแต่งบทร้อยกรอง 6. แนวทางบูรณาการ อธิบายและเขียนแผนผงั บทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ คณิตศาสตร์ เลน่ เกมบอกประเภทของบทร้อยกรอง/เล่นเกมต่อคาสมั ผสั สุขศึกษาฯ ทาสมุดสะสมคาศพั ท์ การงานอาชีพฯ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนช่วยกนั บอกวา่ เมื่อพดู ถึงบทร้อยกรองแลว้ นกั เรียนนึกถึงอะไรบา้ ง 2. ครูเลือกตวั อยา่ งบทร้อยกรองประเภทใดก็ได้ 1 – 2 บท ให้นกั เรียนอาสาสมคั รอ่าน ให้ฟัง แล้วให้ช่วยกันบอกว่า บทร้อยกรองที่เพ่ือนอ่านให้ฟังเป็ นบทร้อยกรอง ประเภทใด ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้
162 1. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง ลกั ษณะทว่ั ไปของบทร้อยกรอง ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 แลว้ บนั ทึกความรู้ ที่ไดจ้ ากการศึกษา 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มสนทนาตอบคาถามตามแนวคาถามท่ีกาหนดให้ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 1) ลักษณะทั่วไปของบทร้อยกรองอะไรบ้างท่ีใช้กับบทร้อยกรองทุก ประเภท 2) คาเอก – คาโท ใชไ้ ดเ้ ฉพาะบทร้อยกรองประเภทใด 3) บทร้อยกรองประเภทฉันท์จาเป็ นตอ้ งรู้จกั ลกั ษณะทัว่ ไปของบทร้อย กรองประเภทใดเป็นพเิ ศษ 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนผงั ของโคลงส่ีสุภาพ และกลอนสุภาพ แลว้ ตรวจสอบ ความถูกตอ้ งกบั แผนผงั ที่ครูติดบนกระดาน 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มยกตวั อยา่ งโคลงส่ีสุภาพและกลอนสุภาพที่เคยท่องจากลุ่มละ ๑– 2 บท เขียนลงในกระดาษ แลว้ โยงสัมผสั บังคบั ให้ถูกตอ้ ง และส่งตวั แทนออกมา อา่ น และอธิบายลกั ษณะบงั คบั ของบทร้อยกรองใหเ้ พ่อื นฟัง 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาโคลงสองสุภาพ และโคลงสามสุภาพในหนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 6. ครูติดบทร้อยกรองตวั อยา่ งโคลงสองสุภาพ และโคลงสามสุภาพ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั บอกว่าตวั อย่างใดเป็ นโคลงสองสุภาพ และตวั อย่างใดเป็ นโคลงสามสุภาพ พร้อม ใหเ้ หตุผล ประกอบ ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกบั การแต่งบทร้อยกรอง แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูก ตอ้ ง 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเข้าห้องสมุดหาตัวอย่างบทร้อยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และกลอนสุภาพ ประเภท ละ 1 – 2 บท อยา่ งละ 2 ตวั อยา่ ง นามาเลน่ เกมบอกประเภทของบทร้อยกรอง โดยครู จะเลือกอ่านตวั อยา่ งบทร้อยกรองที่นกั เรียนแต่ละกลุ่มหามา แลว้ ให้แต่ละกลุ่มแข่ง กนั ตอบวา่ เป็นบทร้อยกรองประเภทใด กลุ่มใดตอบไดเ้ ร็วและถูกตอ้ งจะไดค้ ะแนน 1 คะแนน เล่นจนหมดตวั อยา่ ง แลว้ สรุปคะแนน
163 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงส่ีสุภาพ และกลอนสุภาพ โดย เลือกใช้คาให้ไพเราะ และเหมาะสมกบั เน้ือเรื่องท่ีแต่ง นาเสนอผลงานทีละกลุ่ม แลว้ นาผลงานไปติดท่ีป้ายแสดงผลงานหนา้ ช้นั เรียน 4. นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง การแต่งบทร้อยกรอง แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนอธิบายฉนั ทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองแต่ละประเภทใหผ้ อู้ ื่นฟัง และนาไปใช้ สร้างสรรคง์ านเขยี นได้ 2. นกั เรียนแต่งบทร้อยกรองถูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์ ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่อง การแต่งบทร้อยกรอง แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 3. ครูใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นในประเดน็ ที่วา่ ➢ ถา้ นักเรียนเขียนเร่ืองส้ัน ๑ เร่ือง นักเรียนคิดว่าผลงานของนักเรียนจดั เป็ นภูมิ ปัญญาทางภาษาหรือไม่ อยา่ งไร ➢ ถ้านักเรียนเป็ นคนหน่ึงท่ีชอบพูดภาษาถ่ินกับเพื่อนท่ีเป็ นคนภาคเดียวกัน นกั เรียนมีส่วนช่วยในการอนุรักษภ์ าษาหรือไม่ แลว้ มอบหมายให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง นิทานเวตาล เร่ืองท่ี 10 เป็นการบา้ นเพ่อื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนเล่นเกมต่อคาสมั ผสั โดยบอกคาทีละคนใหส้ มั ผสั กนั 2. นักเรียนรวบรวมคาศพั ท์ต่าง ๆ ทาเป็ นสมุดสะสมคาศพั ท์ สาหรับเลือกใชแ้ ต่งบทร้อย กรอง 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. ตวั อยา่ งบทร้อยกรอง 3. แผนผงั บทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ 4. หอ้ งสมุด 5. ใบงาน เรื่อง การแต่งบทร้อยกรอง
164 6. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 8. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 9. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ บนั ทึกผลการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งทไี่ ม่ได้ปฏบิ ัตติ ามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน / /
165 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นิทานเวตาลเร่ืองที่ 10 เวลา 3 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 31 การอา่ นนิทานเวตาลเร่ืองที่ 10 เวลา 2 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 32 การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม และการเขยี นเชิงสร้างสรรค์ เวลา 1 ชวั่ โมง
166 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 31 ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 การอ่านนิทานเวตาลเรื่องที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง รหัสวชิ า ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 เรื่อง การอ่านนิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 1. สาระสาคัญ นิทานเวตาล เป็ นนิทานท่ีมุ่งใหผ้ ูอ้ ่านรู้จกั ใชส้ ติปัญญาในการขบคิดและแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึน กล่าวคือ เป็ นนิทานท่ีเวตาลเล่าให้พระวิกรมาทิตยฟ์ ังในระหว่างเดินทางนาซากศพท่ีเวตาลสิงอยู่ไป ให้แก่โยคี แต่เนื่องจากพระวิกรมาทิตยเ์ ป็ นผูท้ ี่ชอบคิดชอบตอบปัญหาโดยใช้สติปัญญา จึงกล่าว โตต้ อบปริศนาของเวตาล แต่ไดห้ ลงลืมขอ้ ตกลงว่า ถา้ พระวิกรมาทิตยพ์ ูดคุยโตต้ อบกบั เวตาลเม่ือใด เวตาลจะลอยกลบั ไปอยทู่ ี่กิ่งอโศกตามเดิม จึงทาใหพ้ ระวิกรมาทิตยต์ อ้ งกลบั ไปนาตวั เวตาลซ้าไปมาถึง 9 คร้ัง ภาษาที่ใช้ในนิทานเวตาลเรื่องที่ 10 ส่วนใหญ่เป็ นภาษาโบราณที่ไม่นิยมใชแ้ ลว้ ในปัจจุบนั การศึกษาความหมายของคาศพั ท์ในเรื่องที่อ่านจะทาให้เขา้ ใจและเขา้ ถึงเน้ือหาที่อ่านไดอ้ ย่างลึกซ้ึง ชดั เจน พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) เป็ นนกั คิดนกั เขียนในวงการวรรณกรรม ไทย ลกั ษณะเด่นของพระนิพนธ์ คือ อารมณ์ขนั เชิงเสียดสี โวหารคมคาย ลีลาเฉพาะตวั และความ ชดั เจนของเน้ือหา นิทานเวตาล มีลกั ษณะเป็ นนิทานซ้อนนิทาน คือ เป็ นเร่ืองเล่าซ้อนเร่ือง ซ่ึงนับเป็ นยอดของ นิทานเร่ืองหน่ึงที่นาเสนอในรูปแบบของนิทานชุด 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไพเราะ และเหมาะสมกบั เร่ือง ท่ีอา่ น ท 1.1 (ม.4–6/1) 2. ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองท่ีอา่ น ท 1.1 (ม.4–6/2) 3. วเิ คราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่อ่านในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตุผล ท 1.1 (ม.4–6/3) 4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่านและประเมินค่าเพ่ือนาความรู้ความคิดไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิต ท 1.1 (ม.4–6/4) 5. ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด ท 1.1 (ม.4–6/6)
167 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อา่ นจบั ใจความ สรุปความ และแสดงความคิดเห็นประเดน็ ต่าง ๆ เกี่ยวกบั เน้ือเรื่องได้ (K) 2. อธิบายลกั ษณะเด่นของตวั ละครในเรื่องและวิจารณ์พฤติกรรมของตวั ละครได้ (K , P) 3. อธิบายคุณค่าหรือขอ้ คดิ จากเร่ืองท่ีอ่านได้ (K , P) 4. นาสารประโยชน์ที่ไดร้ ับจากเรื่องที่อา่ นไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (K , P) 5. มีความสุขในการเรียนภาษาไทย (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ และค่านิยม (A) และกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทักษะการอ่าน และแสดงความคิดเห็น เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ออกเสียงร้อยแกว้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม และต้งั ใจเรียนความรับผิดชอบใน 2. ประเมินทักษะการอ่าน 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน การทากิจกรรม ความมีระเบียบ สรุปความ เรียน วินยั ในการทางาน ฯลฯ 3. ประเมินทกั ษะการเขียน 2. ประเมินมารยาทในการอ่านและ แผนภาพความคดิ นิสยั รักการอ่าน 4. ประเมินทกั ษะการพดู 3. ประเมินมารยาทในการเขียนและ 5. ประเมินทกั ษะกระบวน นิสยั รักการเขียน การคดิ 4. ประเมินมารยาทในการพดู 6. ประเมินทกั ษะกระบวน การกลุม่ 5. สาระการเรียนรู้ 1. นาเร่ือง 2. เรื่องยอ่ 3. นิทานเวตาลเร่ืองที่ 10 4. ศพั ทน์ ่ารู้ 5. ประวตั ิผแู้ ต่ง 6. สาระน่ารู้ 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษาการเทียบระยะทาง “โกรศ”/เขียนแผนภาพความคิดสรุปเร่ือง คณิตศาสตร์ นิทานเวตาลเร่ืองที่ 10/เขียนแผนภูมิตน้ ไมล้ าดบั เครือญาติ สงั คมศึกษาฯ ศึกษาพระประวตั ิของพระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ/
168 ศิลปะ นาแนวคิด คติสอนใจจากเร่ืองไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั สุขศึกษาฯ วาดภาพเวตาล/ออกแบบตกแต่งและจดั ป้ายนิเทศ เล่นเกมบอกชื่อนิทานของไทย 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงท่ี 1 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. นกั เรียนเล่นเกมบอกช่ือนิทานของไทยที่นกั เรียนรู้จกั คนละ 1 เร่ือง ภายในเวลา 10 วนิ าที (หา้ มตอบชื่อนิทานซ้ากนั ) ครูสุ่มเรียกใหต้ อบทีละคนจนครบ 3. ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้โดยการนาภาพเวตาลมาให้นักเรียนดู แลว้ นาสนทนา โยงเขา้ เร่ือง นิทานเวตาล ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนอา่ นนาเร่ืองนิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 แลว้ สนทนาเกี่ยวกบั ที่มาของเรื่อง 2. นกั เรียนอ่านเรื่องยอ่ นิทานเวตาลเรื่องที่ 1 แลว้ ช่วยกนั สรุปเป็นแผนภาพโครงเรื่อง 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านนิทานเวตาลเร่ืองที่ 10 ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 แลว้ ร่วมสนทนาแสดงความคิดเห็น ตามแนวคาถามต่อไปน้ี 1) นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 เป็ นเรื่องเกี่ยวกบั อะไร ตวั ละครในเรื่องมีใครบา้ ง ตวั ละครในเรื่องมีลกั ษณะนิสยั อยา่ งไร 2) เพราะเหตุใดทา้ วมหาพลจึงเสด็จหนีออกจากพระราชวงั พร้อมกบั พระ มเหสีและพระราชธิดาตามลาพงั โดยไม่มีราชองครักษต์ ามมาอารักขาถวาย ความปลอดภยั 3) “ใชท้ ้งั ทองคาแลเหลก็ เป็ นอาวธุ ” และ “ซ้ือน้าใจนายทหารแลไพร่พล” มี ความหมาย อยา่ งไร 4) นักเรียนคิดว่าถ้าท้าวมหาพลเสด็จไปถึงเมืองเดิมของพระมเหสีได้ เร่ืองราวจะเป็นอยา่ งไร 5) นักเรียนคิดว่าการกระทาของท้าวจันทรเสนและพระราชบุตรท่ีเลือก ผหู้ ญิงกนั โดยดูจากรอยเทา้ น้ี เป็นพฤติกรรมที่เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร 6) นกั เรียนไดข้ อ้ คิดอะไรบา้ งจากการอ่านเร่ืองน้ี 4. นกั เรียนสรุปผลการอภิปราย โดยส่งตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน นาผลมาอภิปรายกลุ่ม ใหญ่หน้าช้ันเรียน เสร็จแลว้ ทาใบงาน เร่ือง วิเคราะห์ตัวละคร และช่วยกนั ตรวจ ความถูกตอ้ ง
169 ชั่วโมงท่ี 2 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนา ซกั ถาม และทบทวนเก่ียวกบั นิทานเวตาล เร่ืองท่ี 10 2. นักเรียนทบทวนเรื่อง นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 อีกคร้ัง 3. นักเรียนบอกคาศัพท์ยากหรือคาศัพท์ท่ีไม่เข้าใจความหมาย ครูหรือนักเรียน อาสาสมัครเขียนบนกระดาน แล้วช่วยกันเปิ ดหาความหมายจากศัพท์น่ารู้หรือ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน 4. ครูเลา่ ประวตั ิผแู้ ต่งและสาระน่ารู้ ใหน้ กั เรียนฟังประกอบการซกั ถามเพิม่ เติม 5. นกั เรียนฝึ กอ่านออกเสียงนิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 และอ่านกบั ครูทีละคน เพื่อประเมิน การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับเน้ือเรื่อง นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 แล้วช่วยกันเฉลย คาตอบ 2. นักเรียนคน้ ควา้ รวบรวมนิทานท่ีมีลกั ษณะเดียวกันกับเร่ือง นิทานเวตาล และทา รายงานกลุม่ ส่งครู 3. นกั เรียนร่วมกนั ทบทวนเกี่ยวกบั ลกั ษณะของเวตาลในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 แลว้ วาดภาพเวตาลตามคาบรรยายจากเน้ือเรื่อง 4. นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ คาวา่ “โกรศ” แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นักเรียนนาแนวคิด คติสอนใจจากเรื่อง นิทานเวตาลเรื่องที่ 10 ไปปรับใช้ใน ชีวติ ประจาวนั 2. นกั เรียนอธิบายความหมายของสานวนโบราณในเน้ือเรื่องใหเ้ พ่ือนฟัง 3. นกั เรียนเล่าประวตั ิผแู้ ต่งและลกั ษณะของเวตาลใหผ้ ทู้ ่ีสนใจหรือสมาชิกในครอบครัว ฟัง ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นักเรียนร่วมกนั สรุปบทเรียนโดยการเขียนเป็ นแผนภาพความคิด และเล่าเร่ืองตาม แผนภาพความคิดเร่ือง นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 พร้อมบอกขอ้ คิด คติสอนใจจากเร่ืองท่ี อ่าน จดบนั ทึกลงสมุด 2. นกั เรียนร่วมกนั สรุปลกั ษณะของเวตาลเป็นขอ้ ๆ บนั ทึกลงสมุด 3. ครูให้นกั เรียนศึกษาแนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมจากเรื่อง นิทาน เวตาลเร่ืองที่ 10 เป็นการบา้ นเพ่อื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป
170 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. จดั แสดงนิทรรศการพระประวตั ิและผลงานของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลง กรณ์ 2. นักเรียนจดั ทาแผนภูมิตน้ ไมเ้ กี่ยวกบั การลาดบั เครือญาติของทา้ วจนั ทรเสนกบั พระราช ธิดาและพระราชบุตรกับพระมเหสี (ของท้าวมหาพล) และการใช้คาราชาศพั ท์ลาดับ ราชวงศข์ องทา้ วจนั ทรเสนกบั พระราชบุตร 3. นกั เรียนอ่านเรื่อง นิทานเวตาล ที่เหลืออีก 9 เรื่อง แลว้ นามาจดั ทาป้ายนิเทศเกี่ยวกบั เน้ือ เรื่อง ข้อคิดเตือนใจของนิทานที่เวตาลเล่าให้พระวิกรมาทิตยฟ์ ัง ออกแบบตกแต่งให้ สวยงาม แลว้ นาไปจดั แสดงที่ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. ภาพเวตาล 3. ใบงานที่ ๑๑ เรื่อง วิเคราะห์ตวั ละคร 4. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน 5. แบบประเมินการอ่านออกเสียงร้อยแกว้ 6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 8. คูม่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 9. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
171 บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน / /
172 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 32 การวจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมและการเขยี นเชิงสร้างสรรค์ รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสาคญั นิทานเวตาล มีลกั ษณะเป็ นนิทานซ้อนนิทาน ซ่ึงนบั เป็ นยอดของนิทานเร่ืองหน่ึง นอกจากจะ อ่านสนุกสนานไปกบั เน้ือเร่ืองแลว้ ยงั ได้คติขอ้ คิด ซ่ึงแฝงอยู่มากมาย ในด้านสานวนโวหารจะใช้ สานวนท่ีคมคาย ขบขนั และประชดประชนั การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็ นงานเขียนท่ีมุ่งถ่ายทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของ ผเู้ ขียนผา่ นทางตวั อกั ษร เพื่อใหผ้ ูอ้ ่านเกิดความคิด ความเขา้ ใจ มองเห็นภาพ มีมุมมอง ความรู้สึก และ อารมณ์ร่วมไปกบั ผูเ้ ขียนด้วย ผูเ้ ขียนจึงตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กระบวนการคิด การเขียน รูปแบบการนาเสนอ กลวิธี รวมไปถึงการเลือกใช้ถอ้ ยคาสานวน เพื่อสร้างงานเขียนท่ีมีความแปลก ใหม่แตกต่างจากงานเขียนอ่ืน ๆ 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. วเิ คราะห์และวจิ ารณ์เร่ืองท่ีอ่านในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตุผล ท 1.1 (ม.4–6/3) 2. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่ อยา่ งมีเหตุผล ท 1.1 (ม.4–6/5) 3. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์เบ้ืองตน้ ท 5.1 (ม.4– 6/1) 4. สังเคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท 5.1 (ม.4–6/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สรุปใจความสาคญั และวิเคราะห์เร่ืองที่อ่าน ฟัง หรือดูไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล (K , P) 2. แสดงความคิดเห็นประเดน็ ต่าง ๆ เก่ียวกบั เน้ือเร่ืองได้ (K) 3. อธิบายคุณคา่ หรือขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอา่ นได้ (K , P) 4. นาสารประโยชนจ์ ากเน้ือเร่ืองไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (K , P) 5. จาแนกงานเขียนที่มีลกั ษณะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (K , P) 6. เขียนงานเขียนประเภทต่าง ๆ ในเชิงสร้างสรรคไ์ ด้ (K , P) 7. มีมารยาทในการเขียน (A)
173 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ และค่านิยม (A) และกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ป ระเมิ น ทัก ษ ะก ารอ่ าน จับ และการอภิปรายแสดง เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ใจความ ความคดิ เห็น และต้งั ใจเรียนความรับผิดชอบใน 2. ประเมินทกั ษะการเขียน 2. ตรวจผลการทากิจกรรม การทากิจกรรม ความมีระเบียบ 3. ประเมินทักษะการเขียนแผน 3. ตรวจแบบทดสอบ วนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ ภาพความคดิ หลงั เรียน 2. ประเมินมารยาทในการอ่านและ 4. ประเมินทักษะการแสวงหา นิสยั รักการอ่าน ความรู้ 3. ประเมินมารยาทในการเขียนและ 5. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ นิสยั รักการเขียน 6. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุม่ 5. สาระการเรียนรู้ 1. แนวทางในการวจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม 2. การเขียนเชิงสร้างสรรค์ 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภาพความคิดสรุปแนวทางในการแกป้ ัญหา/เขียนแผนภาพ คณิตศาสตร์ ความคดิ สรุปการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สงั คมศึกษาฯ นาความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ศิลปะ แสดงละคร 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสุ่มเรียกนกั เรียนออกมาพูดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ลกั ษณะท่ีดีเด่นและคุณค่าท่ี ไดร้ ับจากเร่ือง นิตาลเวตาลเร่ืองท่ี 10 2. ครูนาสนทนาโยงเขา้ แนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเร่ือง นิตาล เวตาลเร่ืองที่ 10 ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนศึกษาแนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4
174 2. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอความคิดใหม่เก่ียวกบั การดาเนินเร่ือง ตวั ละคร การใชภ้ าษา ขอ้ คิดคติสอนใจ และการนาขอ้ คิดไปปรับใช้ ในชีวติ ประจาวนั และอ่ืน ๆ พร้อมเหตุผลประกอบ 3. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ว่า ลกั ษณะนิสัยใดของพระวิกรมา ทิตยท์ ่ีน่ายกย่องช่ืนชม และนกั เรียนจะนาลกั ษณะนิสัยขอ้ น้ีของพระวิกรมาทิตยไ์ ป ใช้เป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตประจาวนั ได้อย่างไรบ้าง ครูเสนอแนะความ คดิ เห็นของนกั เรียนอีกคร้ัง 4. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั การเขียนเชิงสร้างสรรคต์ ามความคิดของแต่ละกลุ่ม พร้อมท้งั ยกตวั อยา่ งงานเขียนที่ เป็ นการเขียนเชิงสร้างสรรค์ 5. ครูอธิบายความหมาย สิ่งท่ีผเู้ ขียนพึงปฏิบตั ิ และประเภทของการเขียนเชิงสร้างสรรค์ พร้อมตวั อยา่ งการเขียนเชิงสร้างสรรคม์ าให้นกั เรียนศึกษา จากน้นั ใหน้ กั เรียนร่วมกนั พจิ ารณาวา่ นิทานเวตาลมีลกั ษณะเป็นงานเขียนเชิงสร้างสรรคห์ รือไม่ เพราะเหตุใด 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกเขียนงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้รูปแบบที่กาหนดให้ หรือรูปแบบที่ถนดั และสนใจกลุม่ ละ 1 เร่ือง ส่งครู 1) เขียนเรียงความ 2) เขียนแสดงทรรศนะ 3) เขียนบทความ 4) เขยี นโตแ้ ยง้ 5) เขียนเรื่องส้นั ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม แล้วช่วยกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มระดมสมอง โดยสมมุติว่าหากนกั เรียนเป็ น พระราชา แลว้ นายทหารและไพร่พลของนกั เรียนเป็ นเหมือนในเน้ือเร่ืองน้ี นกั เรียน จะมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างไร เขียนสรุปเป็ นแผนภาพความคิด แล้ว นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน พร้อมท้งั อธิบายเหตุผลประกอบ 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสมมุติสถานการณ์เชื่อมโยงกบั ขอ้ คิดที่ไดจ้ ากเรื่อง นิทานเวตาล เร่ืองท่ี 10 นาเสนอใหเ้ พอื่ นฟัง แลว้ ร่วมกนั สนทนาหาแนวทางแกไ้ ขปัญหา 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองแต่งนิทานซ้อนนิทาน โดยวางขอ้ คิดและเขียนโครง เร่ืองนิทานหลกั และนิทานซอ้ นให้ครูตรวจสอบ และซกั ถามความเป็ นมา แลว้ นาไป เรียบเรียงเป็ นนิทาน และนาเสนอผลงานโดยการเล่าให้เพ่ือนฟังหน้าช้นั เรียน แลว้ ร่วมกนั ติชม
175 5. นกั เรียนทากิจกรรมที่เก่ียวกบั การเขียนเชิงสร้างสรรค์ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูก ตอ้ ง 6. นกั เรียนเลือกเขียนงานตามความถนดั และความสนใจคนละ 1 เรื่อง แลว้ ช่วยคดั เลือก งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ที่ดีที่สุดจานวน 3 เรื่อง สัมภาษณ์เจา้ ของผลงานท้งั 3 คน เก่ียวกบั การวางแผนการเขียน วธิ ีการคิดเรื่องท่ีจะเขียน การจดั เรียงลาดบั เหตุผล การ เลือกใชค้ า และอ่ืน ๆ ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้และขอ้ คิดคติสอนใจจากเรื่อง นิทานเวตาลเรื่องที่ 10 ไปปรับใชใ้ น ชีวิตประจาวนั 2. นกั เรียนนาความรู้จากเร่ือง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปคุณค่าและขอ้ คิดจากเร่ือง นิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 บนั ทึกลงสมุด 2. นักเรียนร่วมกนั สรุปการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เขียนเป็ นแผนภาพความคิด บนั ทึกลง สมุด 3. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ร่วมกนั เฉลยคาตอบ 4. ครูให้นักเรียนตอบคาถามในประเด็นท่ีว่า “นิทานเวตาลเรื่องที่ 10 มีเน้ือหาสะทอ้ น สภาพสังคมอินเดียโบราณในดา้ นสถานภาพผูห้ ญิงที่ไม่มีสิทธ์ิในการแสดงความ คิดเห็น ผูช้ ายมีบทบาทเป็ นผูก้ าหนดชีวิตของผูห้ ญิง” นกั เรียนคิดว่ามีวรรณคดีเรื่อง ใดบา้ งที่สะทอ้ นสภาพสงั คมไทยไดเ้ ป็นอยา่ งดี 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนเลือกอ่านเรื่อง นิทานเวตาล ท่ีเหลืออีก ๙ เรื่อง แลว้ นามาวิเคราะห์วิจารณ์ เกี่ยวกบั เน้ือเรื่อง ศิลปะการประพนั ธ์ ขอ้ คิด คติคาสอน และความจรรโลงใจ และการ เชื่อมโยงกบั ชีวิตจริง 2. นกั เรียนเขียนบทละครเวทีหรือบทละครวิทยุเรื่อง นิทานเวตาล แลว้ นามาแสดงให้ เพื่อนดูหนา้ ช้นั เรียน 3. นักเรียนรวบรวมงานเขียนเชิงสร้างสรรคจ์ ากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ แลว้ จดั ทาเป็ น รายงาน ส่งครู 4. จดั ประกวดการเขียนเชิงสร้างสรรคต์ ามหวั ขอ้ ท่ีกาหนด 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบหลงั เรียน 2. ตวั อยา่ งงานเขียนเชิงสร้างสรรค์
176 3. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 4. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 5. คูม่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 6. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งท่ไี ม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /
ภาคผนวก
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั ช่วงช้ัน และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการ ดาเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอา่ น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไพเราะ และเหมาะสม กบั เร่ืองที่อา่ น – บทร้อยแกว้ ประเภทต่าง ๆ เช่น บทความ นวนิยาย และความเรียง – บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย และลิลิต 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอ่าน การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เช่น 3. วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองท่ีอ่านในทุก ๆ ดา้ น – ขา่ วสารจากส่ือส่ิงพิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ และแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ใน อยา่ งมีเหตุผล ชุมชน 4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ื องที่อ่าน และ – บทความ ประเมินค่าเพ่ือนาความรู้ ความคิดไปใช้ – นิทาน ตดั สินใจแก้ ปัญหาในการดาเนินชีวติ – เรื่องส้นั 5. วิเค ราะห์ วิจารณ์ แ ส ด งค วาม คิ ด เห็ น – นวนิยาย โตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองที่อ่าน และเสนอความคิด – วรรณกรรมพ้นื บา้ น ใหม่อยา่ งมีเหตุผล – วรรณคดีในบทเรียน 6. ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภท – บทโฆษณา ต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด – สารคดี 7. อ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผงั – บนั เทิงคดี ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน – ปาฐกถา 8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพส์ ื่อ – พระบรมราโชวาท อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มา – เทศนา พฒั นาตน พฒั นาการเรียน และพฒั นาความรู้ – คาบรรยาย ทางอาชีพ – คาสอน – บทร้อยกรองร่วมสมยั – บทเพลง – บทอาเศียรวาท – คาขวญั 9. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน
สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รงตาม การเขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น วตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถกู ตอ้ ง – อธิบาย มีขอ้ มูลและสาระสาคญั ชดั เจน – บรรยาย – พรรณนา – แสดงทรรศนะ – โตแ้ ยง้ – โนม้ นา้ ว – เชิญชวน – ประกาศ – จดหมายกิจธุระ – โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ – รายงานการประชุม – การกรอกแบบรายการต่าง ๆ 2. เขียนเรียงความ การเขียนเรียงความ 3. เขียนยอ่ ความจากส่ือท่ีมีรูปแบบและเน้ือหา การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่าง ๆ เช่น หลากหลาย – กวนี ิพนธ์ และวรรณคดี – เร่ืองส้นั สารคดี นวนิยาย บทความทางวชิ าการ และวรรณกรรมพ้นื บา้ น 4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น – สารคดี – บนั เทิงคดี 5. ประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น แลว้ นามาพฒั นา การประเมินคุณค่างานเขียนในดา้ นต่าง ๆ เช่น งานเขียนของตนเอง – แนวคิดของผเู้ ขียน – การใชถ้ อ้ ยคา – การเรียบเรียง – สานวนโวหาร – กลวธิ ีในการเขียน 6. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องที่สนใจ การเขียนรายงานเชิงวชิ าการ ตามหลกั การเขียนเชิงวิชาการ และใชข้ อ้ มลู การเขียนอา้ งอิงขอ้ มูลสารสนเทศ สารสนเทศอา้ งอิงอยา่ งถูกตอ้ ง
7. บนั ทึกการศึกษาคน้ ควา้ เพอื่ นาไปพฒั นา การเขียนบนั ทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ตนเองอยา่ งสม่าเสมอ ที่หลากหลาย 8. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟังและดู การพดู สรุปแนวคิดและการแสดง ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู 2. วิเคราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเช่ือถือจาก การวเิ คราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อจากเร่ืองที่ เร่ืองท่ีฟังและดูอยา่ งมีเหตุผล ฟังและดู 3. ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไป การเลือกเร่ืองที่ฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ การประเมินเร่ืองท่ีฟังและดูเพือ่ กาหนด 4. มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู แนวทางนาไปประยกุ ตใ์ ช้ 5. พดู ในโอกาสต่าง ๆ พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ นา้ ว การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เช่น ใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม – การพดู ต่อท่ีประชุมชน – การพดู อภิปราย – การพดู แสดงทรรศนะ – การพดู โนม้ นา้ วใจ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง การดู และการพดู สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และ ธรรมชาติของภาษา ลกั ษณะของภาษา พลงั ของภาษา ลกั ษณะของภาษา – เสียงในภาษา – ส่วนประกอบของภาษา – องคป์ ระกอบของพยางคแ์ ละคา
2. ใชค้ าและกลุม่ คาสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ การใชค้ าและกลุม่ คาสร้างประโยค – คาและสานวน – การร้อยเรียงประโยค – การเพิ่มคา – การใชค้ า – การเขียนสะกดคา 3. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล ระดบั ของภาษา รวมท้งั คาราชาศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม คาราชาศพั ท์ 4. แต่งบทร้อยกรอง กาพย์ โคลง ร่าย และฉนั ท์ 5. วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น 6. อธิบายและวเิ คราะห์หลกั การสร้างคาในภาษาไทย หลกั การสร้างคาในภาษาไทย 7. วิเคราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อส่ิงพิมพแ์ ละ การประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อส่ิงพิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตาม หลกั การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี หลกั การวิจารณ์เบ้ืองตน้ และวรรณกรรมเบ้ืองตน้ – จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดี และวรรณกรรม – การพจิ ารณารูปแบบของวรรณคดี และวรรณกรรม – การพจิ ารณาเน้ือหาและกลวิธีในวรรณคดี และวรรณกรรม – การวเิ คราะห์และการวจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรม 2. วเิ คราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกบั การ การวิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีและ เรียนรู้ทางประวตั ิศาสตร์และวถิ ีชีวติ ของสงั คมในอดีต วรรณกรรมเก่ียวกบั เหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ และวถิ ีชีวติ ของสงั คมในอดีต
3. วเิ คราะห์และประเมินคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ของ การวเิ คราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็ นมรดกทาง วฒั นธรรมของชาติ – ดา้ นวรรณศิลป์ – ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม 4. สงั เคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง การสงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม 5. รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บา้ นและอธิบายภมู ิปัญญาทาง วรรณกรรมพ้นื บา้ นที่แสดงถึง ภาษา – ภาษากบั วฒั นธรรม – ภาษาถ่ิน 6. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกาหนด และ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ และนาไปใช้ อา้ งอิง – บทอาขยานตามท่ีกาหนด – บทร้อยกรองตามความสนใจ
ใบความรู้ ใบงาน แบบบันทกึ และแบบประเมนิ
ใบงานท่ี ๑ เรื่อง ลกั ษณะของภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เร่ือง ลกั ษณะของภาษาไทย คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. แยกองคป์ ระกอบของคำในตำรำงที่กำหนดให้ พยางค์ เสียงพยญั ชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยกุ ต์ ๑. หำญ พยญั ชนะต้น ตัวสะกด อำ จัตวำ ๒. กอปร ออ เอก ๓. บำตร หน อำ เอก ๔. สุทธ์ิ อุ เอก ๕. ศลั ย์ กบ อะ จัตวำ ๖. เพชร เอะ ตรี ๗. โปรย บด โอ สำมญั ๘. ภกั ด์ิ อะ ตรี ๙. มิตร สด อิ ตรี ๑๐. เฉี่ยว เอีย เอก ศน พด ปร ย ภก มด ฉว ๒. เรียงคำต่อไปน้ีใหเ้ ป็นประโยคที่ส่ือควำมหมำยใหไ้ ดม้ ำกท่ีสุด เรามีความรู้อย่กู บั ตวั กลวั อะไร ๑) มคี วำมรู้อย่กู ับตัว เรำกลวั อะไร ๒) กลวั อะไรเรำมคี วำมรู้อย่กู ับตัว ๓) ควำมรู้มอี ย่กู บั ตวั เรำกลวั อะไร ๔) เรำกลวั อะไร มคี วำมรู้อย่กู บั ตัว ๕) กลวั อะไร ควำมรู้มอี ย่กู ับตวั เรำ
ใบงานท่ี ๒ เรื่อง ใช้คาตามสถานการณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ เร่ือง การใช้คา กล่มุ คาให้ถูกต้องเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ คาชี้แจง เลือกใช้คำและกล่มุ คำตำมสถำนกำรณ์ที่กำหนดให้เหมำะสม สถานการณ์ ผพู้ ดู แสดงควำมดีใจต่อผฟู้ ัง ๑) ลุง–หลำน แนวคำตอบ ลงุ ดใี จที่ต้อมเป็นเดก็ ดมี นี ำ้ ใจ หลำน–ลุง แนวคำตอบ ต้อมดีใจท่ีลงุ หำยจำกอำกำรป่ วยนะครับ ๒) พอ่ –ลูก แนวคำตอบ ดีมำกเลยลกู รู้จักแบ่งเบำภำระพ่อแม่อย่ำงนี้ ลูก–พอ่ แนวคำตอบ จะได้ไปเที่ยวทะเลด้วยกัน ดใี จมำกเลยครับพ่อ ๓) ครู–นกั เรียน แนวคำตอบ ครูรู้สึกยินดที ่ีเธอสร้ำงช่ือเสียงให้แก่โรงเรียน นกั เรียน–ครู แนวคำตอบ ผมโชคดีท่ีมีครูคอยแนะนำ ทำให้ผมสอบเข้ำมหำวิทยำลยั ท่ีหวงั ได้ ขอบคุณมำก ๆ ครับ ๔) พระภิกษุ–ฆรำวำส แนวคำตอบ อำตมำดีใจท่ีโยมกลบั ตวั กลบั ใจได้ ฆรำวำส–พระภิกษุ แนวคำตอบ แม่ดีใจที่ท่ำนบวชทดแทนพระคุณ
๕) หวั หนำ้ –ลูกนอ้ ง แนวคำตอบ เธอทำงำนนีไ้ ด้ดีมำก ๆ โชคดีจริง ๆ ที่ได้ร่วมงำนกับเธอ ลูกนอ้ ง–หวั หนำ้ แนวคำตอบ พวกเรำยินดีกับตำแหน่งใหม่ของหัวหน้ำด้วยครับ ๖) เพอ่ื น (คนท่ี ๑)–เพ่ือน (คนท่ี ๒) แนวคำตอบ ของขวญั วันเกิดที่เธอให้เม่ือวำนกำลงั อยำกได้พอดีเลย ขอบคณุ มำก ๆ นะ เพ่ือน (คนท่ี ๒)–เพอื่ น (คนที่ ๑) แนวคำตอบ เรำยินดที ่ีเธอชอบของขวัญท่ีเรำให้นะ
ใบงานท่ี ๓ เรื่อง การเลือกใช้คา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง การใช้คาที่มีความหมายคล้ายกนั และการใช้คาทีท่ าให้เห็นภาพ หรือให้ความรู้สึกชัดเจนขึน้ เป็ นพเิ ศษ คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. เลือกคำในวงเลบ็ มำเติมในช่องวำ่ งใหไ้ ดใ้ จควำมเหมำะสม ๑) เม่ือฝนตก ตน้ ไมต้ ่ำง ผลิ ดอกออกผลสวยงำมไปหมด (แตก, ผลิ) ๒) นกั โทษถูก กกั ขัง อยใู่ นเรือนจำ (กกั ขงั , กกั ตวั ) ๓) ตำรวจ คำดค้ัน ใหเ้ ขำพดู ควำมจริง เพรำะเขำเป็นคนเดียวที่เห็นเหตุกำรณ์ (คำดค้นั , บีบค้นั ) ๔) โครงกำรท่ีเรำเสนอไปเจำ้ นำยเซ็น อนมุ ตั ิ มำเรียบร้อยแลว้ (อนุญำต, อนุมตั ิ) ๕) รถยนตค์ ำ่ ยน้ีมี สมรรถนะ ดีกวำ่ คำ่ ยน้นั (สมรรถนะ, สมรรถภำพ) ๖) เรำตอ้ ง รวบรวม ขอ้ มูลเกี่ยวกบั กำรเลือกใชค้ ำเพ่อื นำไปใชเ้ รียบเรียงเขียนรำยงำน (รวบรวม, เรียบเรียง) ๗) คลื่นในทะเลทำใหเ้ รือ โคลงเคลง (โคลงเคลง, โอนเอน) ๘) สวรรคเ์ ป็น สัญลกั ษณ์ ของควำมดี (สญั ลกั ษณ์, เอกลกั ษณ์) ๙) ฝนตกหนกั ตน้ ไมห้ กั ขวำง ถนน (ก้นั , ขวำง) ๑๐) อินเทอร์เน็ตมีเครือขำ่ ย โยงใย ทวั่ โลก (กวำ้ งไกล, โยงใย) ๒. เรียบเรียงขอ้ ควำมส้นั ๆ โดยใชค้ ำท่ีทำใหเ้ ห็นภำพไดช้ ดั เจนตำมหวั ขอ้ ๑) ควำมสวยงำมของบำ้ นเมือง แนวคำตอบ __ __ ถนนท่ีทอดยำวแต่ตัดเลยี้ วอย่ำงมรี ะบบกับต้นไม้ท่ีปลกู เรียงแถวอย่ำงมรี ะเบียบ ซึ่งถกู ประดบั ประดำ ด้วยแสดงไฟระยิบระยบั ต้อนรับเทศกำลปี ใหม่ ช่วยส่งให้ตึกรำมบ้ำนช่องดมู เี สน่ห์ขึน้ มำทันที ๒) ควำมสนุกสนำนในวนั ปี ใหม่ แนวคำตอบ __ __ เดก็ ๆ ร้องเพลงและเต้นไปรอบ ๆ กองของขวัญท่ีพร้อมสำหรับกำรจับสลำกแลกควำมสุขแก่กัน_ ในโอกำสวันปี ใหม่ ____ ๓) ควำมทนั สมยั ของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ แนวคำตอบ __ __ ผ้คู นสำมำรถพดู คุยและเห็นหน้ำครอบครับ เพ่ือน หรือคนรักได้ แม้จะอย่ตู ่ำงพืน้ ท่ีกัน ด้วยเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันต่ำง ๆ ที่ตอบโจทย์ทุกไลฟ์ สไตล์ของชีวิต _______ ๔) ควำมสลดใจที่ป่ ำไมถ้ ูกทำลำย แนวคำตอบ __ __ พืน้ ดินโล่งเตียนสีนำ้ ตำล ไร้วี่แววของสิ่งมชี ีวิตสีเขียวที่มคี ุณมหำศำลแก่มนษุ ย์ แต่กลบั เป็นมนุษย์_ เองท่ีทำให้สีเขยี วสดช่ืนเหล่ำนีเ้ หลือเพียงสีนำ้ ตำลของผืนดิน _____
ใบงานที่ ๔ เรื่อง การเขยี นแสดงทรรศนะ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เร่ือง ประวตั วิ รรณคดแี ละวรรณกรรมสมยั สุโขทัย คาชี้แจง อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วเขยี นแสดงทรรศนะสั้น ๆ โดยใช้เหตผุ ลประกอบ ศิลาจารึกพ่อขุนฯ จดทะเบียนระดบั โลก ยูเนสโกจดทะเบียนระดับโลกศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหง พร้อมกับอีก ๒๒ รายการ ๒๐ ประเทศ ภายใตโ้ ครงการมรดกความทรงจาของโลก ซ่ึงเป็นโครงการเพื่ออนุรักษแ์ ละ เผยแพร่มรดกความทรงจาท่ีเป็นเอกสาร วสั ดุ หรือขอ้ มูลข่าวสารอื่น ๆ เช่น กระดาษ สื่อทศั นูปกรณ์ และสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ย แต่จะตอ้ งมีความสาคญั ในระดบั นานาชาติ และจะตอ้ งมีการเกบ็ รักษาใน ความทรงจาระดับประเทศและระดบั ภูมิภาคอยู่แลว้ ซ่ึงเม่ือยูเนสโกไดป้ ระกาศจดทะเบียนแลว้ ประเทศเจา้ ของมรดกจะมีพนั ธกรณีทางปัญญาและทางศีลธรรมที่จะตอ้ งอนุรักษใ์ ห้อยใู่ นสภาพดี และเผยแพร่ความรู้แก่มหาชน อนุชนรุ่นหลงั ทว่ั โลกใหก้ วา้ งขวางเพ่ือใหม้ รดกดงั กล่าวอยใู่ นความ ทรงจาของโลกตลอดไป ศิลาจารึ ก หลักท่ี ๑ น้ีถือเป็ นหลักฐานท่ีมีความสาคัญทางด้าน ประวตั ิศาสตร์ การปกครอง การค้า และวฒั นธรรมของอาณาจักรสุโขทัยที่มีความสาคัญกับ นานาชาติดว้ ย ขณะน้ีจดั เกบ็ รักษาไวท้ ่ีพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร (จาก อ.ส.ท. ฉบับเดือนเมษายน ๔๖) พิจารณาจากการเขยี นของนกั เรียน
ใบงานท่ี ๕ เรื่อง การเขยี นแสดงความคดิ เห็น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เร่ือง การเขียนแสดงความคดิ เห็น คาชี้แจง เขียนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับคุณค่าจากบทละครเรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง แนวคำตอบ บทละครเร่ือง อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้รับการ ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรในรัชกาลท่ี ๖ ว่าเป็นยอดแห่งกลอนบทละคร มคี วามสมบรู ณ์ดีเด่นทั้งใจความ กระบวนกลอน และกระบวนสาหรับเล่นละคร มคี วามไพเราะสะเทือนอารมณ์ และก่อให้เกิดจินตนาการ อันลึกซึ้ง ตอนท่ีเป็นบทเรียนนอกจากประกอบด้วยคุณสมบัติดังกล่าวครบถ้วนแล้ว ยงั แทรกคติทางโลก และทางธรรม แสดงถึงความรักทางโลกียวิสัยทาให้ เกิดทุกข์ ความหายนะ และประพฤติ ผิดทานอง คลองธรรม การรักษาสัตย์ การให้อภัย การรักษาเกียรติของวงศ์ตระกูล ความรักระหว่างพ่ีน้อง การอบรม ส่ังสอนบตุ รธิดาในทางท่ีถกู และทางที่ไม่สมควร นอกจากนีย้ ังสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมบางประการสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น การแต่งกาย ของชนชั้นเจ้านาย การสื่อสารระหว่างเมือง การป้องกันเมือง การจัดทัพ การตั้งค่ายอาวุธยุทโธปกรณ์ การรบ การต่อสู้ระหว่างแม่ทัพนายกองตัวต่อตัว ด้านวรรณศิลป์ ประกอบด้วยรสวรรณคดีครบถ้วน ใช้ถ้อยคาสัมผสั ไพเราะกินใจ มบี ทสะเทือนอารมณ์หลายตอน เช่น การเจรจาโต้ตอบและต่อว่ากันระหว่าง พี่น้อง พ่อลูก เครือญาติ ชู้รัก การท้ารบ การพรรณนาธรรมชาติเกี่ยวพันกับความรัก การสู้รบ ให้ข้อคิด เกี่ยวกับความทุกข์อันเกิดจากความรัก การให้ อภัย ด้านศิลปะการละคร วรรณคดีเรื่องนีม้ ีกระบวนรา ท่ีงดงาม และมีกระบวนร้องท่ีไพเราะจับใจ กระชับ เหมาะสาหรับการเล่นละคร
ใบงานท่ี ๖ เร่ือง การฟังให้สัมฤทธ์ิผล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๖ การฟังให้สัมฤทธ์ิผล คาชี้แจง ฟังบทร้อยกรอง แล้วตอบคำถำมต่อไปนี้ กลบั บำ้ นเกิดดีไหม...ไปเยย่ี มแม่ กลบั ไปดูควำมแก่ของแมไ่ หม วำ่ นำนเน่ินเหินห่ำงอยอู่ ยำ่ งไร หง่อมเหงำเพียงใดกบั วยั ชรำ กลบั ไปกรำบแม่ไหมไปดว้ ยกนั กรำบแม่เธอ, แม่ฉนั แลว้ ซบหนำ้ เกลือกกลำงอกเหี่ยวยำนอกมำรดำ แลว้ ปลดปล่อยน้ำตำสกั นำที ไปเยย่ี มแม่ดีไหม...ไปดูรัก กลบั ไปดูใหป้ ระจกั ษเ์ ป็นสกั ขี ไปดูรักแทแ้ ทซ้ ่ึงแม่มี ดูแววตำอำรีอนั จีรัง เคยแอบฉกเศษเหรียญในเช่ียนหมำก ซ้ือโน่นน่ียำมอยำกเคยฝำกหวงั เคยแมเ่ ฆี่ยนหลำยหนแทบกน้ พงั ก่อนน่ิงฟังเทศนำน้ำตำพรู ไปไหม...ไปอบอุน่ ไปหนุนตกั ฟังคำรักแม่พร่ำใหฉ้ ่ำหู ไปสบตำใหเ้ ห็นแววเอน็ ดู เถอะ กลบั ไปรับรู้ตำคู่น้นั ไปนงั่ มือเทำ้ คำงอยกู่ ลำงชำน อำ้ ปำกหวอฟังนิทำนตำนำนสวรรค์ ฟังเร่ืองยำย เรื่องตำ...เรื่องสำรพนั เรื่องกระต่ำยบนดวงจนั ทร์แม่สรรมำ ไปไหม...ไปดว้ ยกนั สกั วนั ไหม ไปใหแ้ มด่ ีใจลูกไปหำ แม่ยงั รักยงั ห่วงดงั ดวงตำ ขอคำ่ รถแมต่ อนลำ...ยงั น่ำรัก (ไปไหม: สุขมุ พจน์ คำสุขมุ ) ๑. ใจควำมสำคญั ของเร่ืองคืออะไร ควำมรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลกู ๒. เม่ือฟังบทร้อยกรองน้ีมีควำมรู้สึกอยำ่ งไร แนวคำตอบ ซำบซึง้ ในรสรักท่ีกวีแสดงให้เห็นถึงควำมรักที่แม่มตี ่อลกู ๓. นกั เรียนไดข้ อ้ คิดอะไรบำ้ งจำกเร่ืองน้ี แนวคำตอบ ๑) ควำมรักของแม่ท่ีมอบให้กับลกู เป็นควำมรักท่ีแท้จริงและมใี ห้ตลอดกำล ๒) บ้ำนเป็นท่ีท่ีเติมกำลงั ใจให้ยำมท่ีเหนื่อยล้ำหรือท้อแท้ ๓) ควรให้ควำมรักควำมเอำใจใส่แม่
ใบงานที่ ๗ เร่ือง การใช้ภาษาทีเ่ หมาะสมตามหลกั การพดู แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๘ เร่ือง หลกั ทว่ั ไปของการพูด คาชี้แจง ยกตวั อย่ำงคำสแลงหรือคำท่ีใช้พูดตำมยคุ สมยั พร้อมท้ังอธิบำยวิธีกำรใช้และยกตวั อย่ำงประโยค ประกอบ ที่ คาศัพท์ ความหมาย ตัวอย่างประโยค แนวคำตอบ ชวนให้หมน่ั ไส้ พ่ชี ำยของฉันชอบเอำปัญหำกวนโอ๊ย ๑ กวนโอ๊ย มำถำม ๒ ขึน้ คำน เป็นหญิงโสดท่ีมอี ำยเุ กินวยั พสี่ ำวฉันอำยมุ ำกแล้วแต่ยงั ไม่มแี ฟน ๓ จบเห่ ๔ ชิ่ง แต่งงำน เลย เด๋ยี วได้ขึ้นคำนแน่ ๆ ๕ ซีเครียด ๖ ซื่อบือ้ หมดท่ ำ, ยุติ , ล้ มเหลวหรื อยุติลงำนแข่งกีฬำสีกำลงั ดำเนินไปด้วยดี ๗ แต๋ว ๘ ไทยมงุ กลำงคัน ฝนตกลงมำเลยจบเห่กนั ๙ ป๊ อด หลบฉำก, หลบไปอีกทำงหน่ึง เพื่อนคนท่ีชอบยืมเงินเดินมำทำงนีแ้ ล้ว ๑๐ ฟันธง เรำรีบช่ิงกันก่อนเถอะ เอำจริงเอำจังมำกจนเกิดอำกำร แม่ของฉันเป็นคนซีเครียดกบั ทุกเรื่อง เครียด โง่แบบซื่อ ๆ, ไม่ทันคน, โง่แบบ เขำเป็นคนซ่ือบือ้ มำก ใครบอกให้ทำ ทำสิ่งที่ไม่น่ำจะทำ อะไร กท็ ำตำมทุกอย่ำง ชำยท่ีมจี ิตใจ รูปร่ำง และกิริยำ ดำรำคนนีท้ ่ำทำงจะเป็นแต๋ว ท่ำทำงค่อนไปทำงผ้หู ญิง คนจำนวนมำกท่ีชอบล้อมดู พ่อบอกว่ำมีรถบรรทุกชนกันท่ี เหตกุ ำรณ์ต่ำง ๆ ใกล้ ๆ ด้วยควำม ทำงแยกข้ำงหน้ำ ไทยมงุ เพียบ คงมี อยำกรู้อยำกเห็น คนตำยแน่ ๆ ไม่กล้ำ, ไม่สู้ ถ้ำเธอจะจีบดำวโรงเรียนกอ็ ย่ำมวั แต่ ป๊ อด เพรำะคนอ่ืนจะแย่งไปก่อนแน่ ๆ พูดให้ชัดเจน, ตัดสินด้วยควำม หมอดูรำยกำรดวงดดี วงเด่นเมื่อคืน เช่ือมนั่ ฟันธงว่ำปี นีช้ ำวรำศกี มุ ภ์จะโชคดี
ใบงานท่ี ๘ เรื่อง มารยาทในการพดู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒๐ เรื่อง การพูดในโอกาสต่าง ๆ คาชี้แจง สมมตุ ิโอกำสในกำรพดู คนละ ๑ โอกำส ร่ำงบทพูด แล้วสรุปเกี่ยวกบั ผ้พู ูดจำกบทพูดที่ร่ำง ลงในตำรำงท่ีกำหนดให้ โอกาส วนั คล้ำยวนั เกดิ บทพูด แนวคำตอบ สวสั ดีค่ะท่ำนผมู้ ีเกียรติทุกท่ำน ดิฉนั ตอ้ งขอขอบคุณทุกท่ำนที่ใหเ้ กียรติมำร่วมงำนวนั คลำ้ ยวนั เกิด ของเพ่อื นดิฉนั ในวนั น้ี เรำท้งั คู่สนิทกนั มำต้งั แต่สมยั ยงั เป็นเดก็ ๆ แลว้ ค่ะ เธอเป็นคนท่ีอธั ยำศยั ดีและมี มนุษยสมั พนั ธ์ที่ดีมำกคนหน่ึง เธอมีน้ำใจช่วยเหลือผอู้ ่ืนเสมอ เป็นท่ีพ่ึงและที่ปรึกษำใหเ้ พ่ือน ๆ จนเป็น ที่ยอมรับของเพอื่ น ๆ และคนรู้จกั มกั คุน้ โดยทวั่ ไป ในโอกำสน้ี ดิฉนั ขออวยพรใหเ้ พ่ือนรักของดิฉนั คนน้ี จงมีอำยมุ นั่ ขวญั ยนื มีควำมสุขควำมเจริญ อีกท้งั เจริญกำ้ วหนำ้ ในหนำ้ ที่รำชกำรและงำนส่วนตวั ยง่ิ ๆ ข้ึนไป หัวข้อ มารยาทท่ีเหมาะสม มารยาทท่ีไม่เหมาะสม ๑. กิริยำท่ำทำง แนวคำตอบ แนวคำตอบ ๒. กำรแต่งกำย ๓. กำรใชค้ ำพดู ยืน, เดินอย่ำงสง่ำ อกผำยไหล่ผ่ึง ไม่มน่ั ใจ ๔. กำลเทศะ สุภำพเรี ยบร้ อย ไม่สุภาพเรี ยบร้ อย ๕. กำรยอมรับฟังควำมคิดเห็น พูดมีหำงเสียง ไม่พูดคำหยำบ พดู คาหยาบคาย ใช้คาสแลง ของผอู้ ่ืน หรื อพูดกำกวม พูดกากวม สองแง่สองง่าม รักษำเวลำ, ควำมสมควร ไม่รักษาเวลา, ผกู ขาดการพูด คนเดียว รับฟังควำมคิดเห็นของผ้อู ื่น ไม่รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และปรับตวั ให้ดขี ึน้ และมีการโต้แย้ง
ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนใหม่ให้ชัดเจน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑ เร่ือง กระบวนการเขยี นและกระบวนการคิด คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. ลำดบั คำในประโยคหรือขอ้ ควำมใหม่ เพื่อใหไ้ ดค้ วำมหมำยชดั เจนข้ึน ๑) โรงเรียนตำ้ นยำเสพติด คือ โรงเรียนบำ้ นโนนสูง โรงเรียนบ้ำนโนนสูง คือ โรงเรียนต้ำนยำเสพติด ๒) เรำจะไปเลือกต้งั ลงคะแนนเสียงพรุ่งน้ี พรุ่งนีเ้ รำจะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ๓) เมื่ออำทิตยท์ ี่แลว้ ฉนั กลบั จำกพิษณุโลก ฉันกลบั จำกพิษณุโลกเมื่ออำทิตย์ที่แล้ว ๔) อยำกใหค้ ิดก่อนท่ีจะทำอะไรบำ้ ง อยำกให้ คิดบ้ ำงก่ อนที่จะทำอะไร ๒. เปล่ียนคำหรือขอ้ ควำมต่อไปน้ีใหก้ ระชบั และไดใ้ จควำมชดั เจนข้ึน ๑) ฉนั ผดิ เองที่มองขำ้ มหรือไม่รู้คุณคำ่ ของดีท่ีมีอยใู่ กลต้ วั ซ่ึงจะเป็นประโยชน์แก่ตน กลบั ไปแสวงหำ ส่ิงอ่ืนท่ีดอ้ ยกวำ่ ทำใหต้ อ้ งเสียใจจนวนั น้ี ฉันผิดเองท่ีใกล้เกลือกินด่ำง ทำให้ต้องเสียใจจนวันนี้ ๒) ถึงเวลำที่ยำยสีดำแกตอ้ งยอมสละแมแ้ ต่ของจำเป็นที่ตนมีอยู่ เพ่ือรักษำชื่อเสียงเอำไวล้ ะ่ ทีน้ี ถึงเวลำท่ียำยสีดำแกต้องขำยผ้ำเอำหน้ำรอดล่ะทีนี้ ๓) อยำ่ ทำใหเ้ ร่ืองมนั ตอ้ งขยำยออกไปมำกกวำ่ ที่ต้งั ใจไวเ้ ลย เด๋ียวเรำจะแกไ้ ม่ทนั อย่ำทำให้เรื่องมนั บำนปลำยเลย เดีย๋ วเรำจะแก้ไม่ทัน ๔) ครำวน้ีเรำคงจะไม่พดู หรือทำส่ิงใดสิ่งหน่ึง แลว้ บงั เอิญไปโดนเอำเจำ้ ตวั หรือผทู้ ี่เป็นเจำ้ ของเรื่องน้นั เขำ้ โดยเรำไม่รู้ตวั เหมือนครำวท่ีแลว้ นะ ครำวนีเ้ รำคงจะไม่จุดไต้ตำตอเหมือนครำวท่ีแล้วนะ ๕) เตือนแลว้ ไม่ฟัง อีกหน่อยกต็ อ้ งเสียใจเพรำะช้ำใจหรือตอ้ งผดิ หวงั อยำ่ งหนกั เตือนแล้วไม่ฟัง อีกหน่อยกต็ ้องนำ้ ตำเชด็ หัวเข่ำ
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การเขยี นแสดงทรรศนะและโต้แย้ง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒๕ เร่ือง การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. เขียนแสดงทรรศนะเรื่อง กำรแต่งกำยของนกั เรียนเมื่ออยใู่ นโรงเรียน แนวคำตอบ นักเรียนทุกคนควรให้ควำมสำคัญกับกำรแต่งกำยให้ถกู ต้องเรียบร้อยเมื่ออย่ใู นโรงเรียน โดยแต่งตวั ให้ถกู กฎระเบียบของโรงเรียน เพ่ือควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย มองดแู ล้วน่ำรักเหมำะสมกับวัย นักเรียน มกั จะนิยมสวมใส่นำฬิกำข้อมือไปโรงเรียน ควรเลือกที่มสี ีสุภำพ ไม่หวือหวำ หรือกำรใช้หนังยำงรัดผม โบว์ผกู ผม ก๊ิบติดผม ของนักเรียนหญิง กค็ วรเลือกสีดำ สีขำว สีนำ้ เงิน หรือใช้สีอื่น ๆ ตำมที่โรงเรียนกำหนด และเมื่อถึงเวลำเลิกเรียน ในกรณีท่ียงั อย่บู ริเวณรอบ ๆ โรงเรียน กไ็ ม่ควรละทิง้ ควำมมรี ะเบียบน้ัน นักเรียน ทุกคนยงั ควรแต่งตวั ให้เรียบร้อย อำจไม่ต้องเป็นระเบยี บมำกนัก แต่กไ็ ม่ควรให้ดูแย่มำกจนเกินไป เช่น นำชำยเสื้อออกนอกกำงเกง ใส่รองเท้ำแตะที่ไม่สุภำพ แต่งหน้ำประแป้งจนเกินวยั นกั เรียนหลำยคนอำจสงสัย ว่ำทำไมเลิกเรียนแล้วจึงยงั ต้องแต่งตัวเรียบร้อย น่ันกเ็ พรำะว่ำนอกโรงเรียนมผี ้คู นมำกมำยท่ีมองดูอยู่ จึงต้อง รักษำควำมเป็นระเบยี บไว้เพื่อไม่ให้เส่ือมเสียช่ือเสียงของโรงเรียน และตนเองยงั ได้รับคำชมอีกด้วย ๒. เขียนโตแ้ ยง้ ขอ้ ควำมต่อไปน้ี กำรละเล่นของเดก็ ไทยในปัจจุบนั ไดเ้ ปล่ียนแปลงไปตำมสงั คมไทยที่เปลี่ยนแปลงไปดว้ ย ทำ ใหเ้ ด็กไทยในยคุ หลงั ตกเป็นทำสของกำรเล่นเกมคอมพิวเตอร์มำกท่ีสุดต่อจำกยุคของกำรเล่น วิดีโอเกมและเกมกดท่ีครองใจเด็กอยู่ช่วงหน่ึง ทำให้เด็กไทยปัจจุบนั ไม่รู้จกั กำรละเล่นแบบ ไทย ๆ เช่น หมำกเก็บ มอญซ่อนผำ้ โพงพำง เสือขำ้ มห้วย ตงั เต ฯลฯ ซ่ึงนำนวนั ก็จะเลือน หำยไปจำกสงั คมไทย แมว้ ำ่ จะมีกลุ่มต่ำง ๆ ออกมำรณรงคเ์ พ่ือใหอ้ นุรักษว์ ฒั นธรรมไทยก็ตำม แต่ควำมกำ้ วหนำ้ ของเทคโนโลยที ่ีผลิตเครื่องเล่นท่ีทนั สมยั ออกมำทำ้ ทำยควำมสำมำรถของเด็ก อยเู่ รื่อย ๆ นบั วนั จะทำใหก้ ำรละเล่นแบบไทย ๆ เลือนรำงหรือจำงหำยไปจำกจิตใจเด็กไทยได้ เหมือนกนั แนวคำตอบ ในปัจจุบัน เกมคอมพิวเตอร์หรือเกมท่ีต้องใช้อินเทอร์เนต็ ในกำรเล่นเข้ำมำมีบทบำทในชีวิตของทั้งเดก็ และผ้ใู หญ่ เหตเุ พรำะกำรดำเนินชีวิตท่ีเปลยี่ นแปลงไปตำมช่วงเวลำ จึงทำให้เรำปฏิเสธเทคโนโลยเี หล่ำนี้ ได้ยำก แต่ปัญหำทุกปัญหำย่อมมที ำงแก้ไข หำกพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครู อำจำรย์และทุก ๆ คนช่วยกนั อย่ำงเตม็ ที่ ไม่ละเลย ร่วมปลกู ฝังควำมรู้ หรือเข้ำมำมบี ทบำทในกำรเล่นกับเดก็ ๆ โดยนำเสนอกำรเล่นแบบไทย ๆ ให้รู้จัก ร่วมศึกษำ ร่วมคิด ร่วมเล่นไปกับพวกเขำ กำรละเล่นแบบไทย ๆ กจ็ ะไม่เลือนหำยไปจำกคนไทยได้โดยง่ำย
ใบงานท่ี ๑๑ เร่ือง การเขยี นเชิญชวน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒๕ เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ใหน้ กั เรียนเขียนเชิญชวนใหใ้ ชถ้ ุงผำ้ แทนถุงพลำสติกเพ่อื ลดภำวะโลกร้อน แนวคำตอบ ปัจจุบันอำกำศบนโลกร้อนมำกขึน้ กำรช่วยกนั ลดโลกร้อนเป็นหน้ำท่ีของเรำทุกคน อีกหนึ่งวิธีง่ำย ๆ ท่ีช่วยลดโลกร้อน คือ กำรใช้ถงุ ผ้ำแทนถงุ พลำสติก เนื่องจำกสำมำรถซักล้ำงและนำกลบั มำใช้ได้บ่อย ๆ ช่วยลดปริมำณขยะมลู ฝอย ย่อยสลำยได้ง่ำยกว่ำถงุ พลำสติก และไม่ตกค้ำงจนเป็นปัญหำสิ่งแวดล้อม นอกจำกนี้ ยงั ใช้สะดวกและสำมำรถออกแบบตกแต่งให้สวยงำมเพื่อเป็นของที่ระลึกแต่ใช้งำนได้จริง ซ่ึงเป็ นกำรส่ งเสริ มกำรท่ องเท่ียวได้อีกด้วย
ใบงานท่ี ๑๒ เร่ือง การเขยี นย่อความ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๗ เรื่อง การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ คาชี้แจง เขยี นย่อควำมจำกเร่ืองต่อไปนี้ ฉลามเสือดาว ฉลำมไดช้ ่ือว่ำเป็ นปลำท่ีมีรูปร่ำงสง่ำงำมสมกบั ควำมเป็ นเจำ้ แห่งทอ้ งทะเล และในบรรดำ ฉลำมท่ีสวยงำมน้นั ฉลำมเสือดำว หรือ Leopard shark นบั เป็นฉลำมที่นกั ดำน้ำหลำย ๆ คนชื่นชอบ ฉลำมเสือดำวมีช่ือเรียกอีกหลำยช่ือ เช่น บำงคนเรียกฉลามกบ อำจเป็ นเพรำะสีสันและ ลวดลำยอำจคลำ้ ยกบ หรือบำงคนเรียกฉลามม้าลาย (Zebra shark) เพรำะในตอนเลก็ ๆ ขณะเป็นฉลำม วยั ออ่ นจะมีสีน้ำตำลดำคำดขำวคลำ้ ยมำ้ ลำย ฝร่ังจึงเรียกฉลำมมำ้ ลำยอีกชื่อหน่ึง ลกั ษณะนิสัยของฉลำมเสือดำวน้นั แสนจะสุภำพเรียบร้อย เป็ นฉลำมที่มีนิสัยรักสงบ ชอบ นอนกบดำนน่ิง ๆ อยบู่ นพ้ืนทรำย ใชเ้ วลำส่วนใหญ่ในตอนกลำงวนั ไปกบั กำรนอนพรำงตวั อยบู่ นพ้นื ทรำย และออกว่ำยหำกินในเวลำกลำงคืน ที่ว่ำมนั ไม่ดุร้ำยและไม่เป็ นอนั ตรำยต่อมนุษยก์ ็เพรำะเจำ้ ฉลำมชนิดน้ีไม่มีฟันที่มีลกั ษณะแหลมคม หรือเข้ียวแหลม ๆ เหมือนฉลำมนกั ล่ำทว่ั ๆ ไป แต่มนั จะมี ฟันละเอียดเลก็ ๆ เป็ นผืนอยใู่ นปำก ฟันเหล่ำน้ีมีไวใ้ ชบ้ ดและขบอำหำรมำกกวำ่ กำรกดั และฉีกเหยือ่ อำหำรของเจำ้ ฉลำมเสือดำวจึงเป็ นสัตวท์ ะเลจำพวกกุง้ มงั กร หอย ปลำหมึก ท่ีอยู่ตำมพ้ืนทรำยและ แนวปะกำรังเป็ นส่วนใหญ่ (ดัดแปลงจำก อนุสำร อสท ฉบับเดือน กันยำยน ๒๕๔๓ หน้ำ ๑๒๖) _แนวคำตอบ __ ย่อบทควำมเร่ือง ฉลำมเสือดำว จำก อนสุ ำร อสท ฉบับเดือน กันยำยน ๒๕๕๓ ควำมว่ำ __ ปลำฉลำม เป็นปลำที่มรี ูปร่ำงสง่ำงำม ซึ่งปลำฉลำมที่เป็นท่ีช่ืนชอบของนักดำนำ้ หลำย ๆ คน คือ ปลำฉลำม_เสือดำว (Leopard shark) แต่เน่ืองจำกมีสีและลวดลำยคล้ำยกบ และตัวที่วัยอ่อนจะมสี ีนำ้ ตำลดำ คำดขำว จึงเรียกชื่ออื่น ๆ ได้อีกว่ำ ฉลำมกบ หรือ ฉลำมม้ำลำย ฉลำมชนิดนีม้ นี ิสัยรักสงบ ไม่ดรุ ้ำย ชอบนอน พรำงตัวอย่บู นพืน้ ทรำย หำกินในเวลำกลำงคืน โดยฟันของมนั จะมลี กั ษณะละเอียดเลก็ ๆ เป็นผืนอย่ใู นปำก ซึ่งเหมำะสำหรับใช้บดอำหำรมำกกว่ำใช้กดั หรือฉีก อำหำรของฉลำมเสือดำวจึงเป็นสัตว์ทะเลจำพวก ก้งุ มงั กร หอย ปลำหมึกที่อย่บู นพืน้ ทรำยและแนวปะกำรัง
ใบงานท่ี ๑๓ เรื่อง การเขียนโฆษณา และการเขยี นประชาสัมพนั ธ์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒๙ เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. เขียนประชำสมั พนั ธก์ ิจกรรมท่ีเป็นประเพณีเพ่ือกำรท่องเที่ยวในทอ้ งถิ่น เช่น ประเพณีแห่เทียนพรรษำ จ.อุบลรำชธำนี แนวคำตอบ __ แห่เทียนประจำปี ชำวอบุ ลรำชธำนีชวนร่วมบุญ ด้วยองค์กำรบริหำรส่วนตำบลบ่งุ หวำย อำเภอวำรินชำรำบ จังหวดั อุบลรำชธำนี จะเป็นเจ้ำภำพจัดงำน แห่เทียนพรรษำประจำปี ๒๕๕๙ เพื่อทำบญุ สร้ำงกศุ ลร่วมกันในวนั พธุ ท่ี ๒๐ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยจะมกี ิจกรรมประกวดขบวนแห่เทียนสวยงำม และทำบญุ ตกั บำตร ซึ่งชุมชนท่ีสนใจสำมำรถรวมกล่มุ มำลงชื่อ หรือส่งตวั แทนมำลงช่ือได้ท่ี อบต. บ่งุ หวำย เวลำ ๐๘.๐๐ น. เป็นต้นไป ระยะเวลำรับลงชื่อเข้ำร่วมกำรประกวด ๑ มิถนุ ำยน–๑๐ มิถนุ ำยน ๒๕๕๙ โดยผ้ทู ่ีสนใจทุกท่ำนสำมำรถเดินทำงมำร่วมทำบญุ วนั อำสำฬหบชู ำในวนั ท่ี ๑๙ กรกฎำคม และชมควำม สวยงำมของขบวนแห่เทียนพรรษำกันต่อได้ในวนั ท่ี ๒๐ กรกฎำคม ๒๕๕๙ ๒. เลือกผลิตภณั ฑใ์ นทอ้ งถิ่นของตนเอง ๑ ชนิด มำเขียนโฆษณำ __ เคร่ืองป้ันดนิ เผำ โดยเรำชำวเกำะเกร็ด แหล่งเคร่ืองปั้นดินเผำสวยงำม ต้องยกให้ เกำะเกร็ด หำกคุณไม่เชื่อ ลองมำพิสูจน์ควำมสวยงำม ด้วยตวั ของคณุ เองได้ท่ีเกำะเกร็ด จ. นนทบุรี ใครที่นึกถึงเกำะเกร็ด กจ็ ะต้องนึกถึงเครื่องปั้นดินเผำท่ีมลี วดลำยสวยงำม ฝี มือกำรป้ันท่ีประณีต เป็นเอกลกั ษณ์ เหมำะสำหรับซือ้ หำไว้ตกแต่งบ้ำนของท่ำน หรือเป็นของฝำกสร้ำงควำมประทับใจแก่ผ้รู ับ แล้วคณุ จะไม่ผิดหวังกบั “เครื่องป้ันดินเผำ ของชุมชนเกำะเกร็ด” ของเรำค่ะ
ใบงานท่ี ๑๔ เรื่อง การแต่งบทร้อยกรอง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓๐ เร่ือง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ คาชี้แจง ทำกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. เขียนคำเอกโทษและโทโทษของคำที่กำหนดให้ พร้อมท้งั เขียนเพิ่มเติมใหไ้ ดม้ ำกท่ีสุด หนำ้ น่ำ หุม้ ฮุ่ม ขำ้ ค่ำ, ฆ่ำ ซุ่ม สุ้ม วำ่ หว้ำ คู่ ขู้ พอ่ ผ้อ ช่วย ฉ้ วย หญำ้ ย่ำ ใช่ ใฉ้ ท่ำ ถ้ำ ฝ้ำ ฟ่ ำ ให้ ไฮ่ ข้อย ค่อย ค่ำย ขำ้ ย พำ่ ย ผ้ำย ท่วม ถว้ ม พ่ี ผี้ ซู่ สู้ ห้ ำ ฮ่ำ เถ้ำ เท่ำ, เฒ่ำ โค่น โข้น ไส้ ไซ่ ช่อ ฉ้ อ ๒. เติมคำเอกคำโทลงในโคลงสองสุภำพต่อไปน้ีใหไ้ ดส้ มั ผสั ถูกตอ้ ง วนั เวลำ ล่วงแล้ว ยงั บ่ ลือคลำด แคล้ว เพื่อนข้ำ ผองเรำ เลยนำฯ จำกลำเนำ ถิ่นด้ำว นำ เก่ำ เคยปลูก ข้ำว เล่นขี้ โคลนตม สุขใจฯ ๓. เติมคำสมั ผสั ลงในโคลงสำมสุภำพใหถ้ ูกตอ้ งไดใ้ จควำม ยงั เยำวจ์ งพำก เพยี ร ขอ้ เขียน แลอำ่ นได้ ยดึ กฎเกณฑค์ ง ไว้ มุ่งเนินวิชำ เติบโต หำ สินทรัพย์ รอง รับ ชีวิตเจำ้ อยำ่ อยเู่ ฉยใน เหย้ำ รีบเร่งเร็วไว้ เลยนำ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236