Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ-พ.ศ.-2564-กศน.ตำบลนาหูกวาง

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ-พ.ศ.-2564-กศน.ตำบลนาหูกวาง

Published by nahukwang.krunang, 2021-04-08 07:06:23

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ-พ.ศ.-2564-กศน.ตำบลนาหูกวาง

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตาบลนาหูกวาง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอทบั สะแก สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ก แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลนาหกู วาง **************************** เพ่ือให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแกจึงได้จัดทา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบลนาหูกวาง ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน.ตาบล ข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน ทิศทางการดาเนินงาน และรายละเอียดแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ กศน.ตาบลนาหูกวาง ซึ่งทางคณะกรรมการ กศน.ตาบลนาหูกวาง ได้พิจารณา เห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบล นาหกู วาง และให้นาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าว ใช้เป็นกรอบในการดาเนินงาน ของ กศน.ตาบลนาหูกวาง ตอ่ ไป ทั้งนี้ ตัง้ แต่ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2563 ลงชือ่ ..........................................ผ้เู สนอ (นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์) ครู กศน.ตาบล ลงชื่อ...........................................ผ้เู ห็นชอบ (นายสายชล ชนะภัย) ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาบล ลงชือ่ ...........................................ผู้อนุมัติ (นางมณรี ตั น์ อัจฉรยิ พันธกลุ ) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอทับสะแก

ข คานา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบล จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยยึดแนวทางตาม ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ตลอดจนบริบท ความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกาหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดาเนินงาน กศน.ตาบลนาหูกวาง ให้ เปน็ ไปตามเปา้ หมายที่ตงั้ ไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพ การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลนาหูกวาง ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน.ตาบล 2) ข้อมูลพื้นฐานเพ่ือการ วางแผน 3) ทศิ ทางการดาเนินงาน และ 4) รายละเอยี ดแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตาบลนาหูกวาง ขอขอบคณุ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอทบั สะแก ขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ครูอาสาสมัคร กศน. เครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง ทาให้ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เล่มนี้ สาเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า กศน.ตาบล นาหูกวาง จะนาสภาพปัญหาและผลการดาเนินงานมาปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพอ่ื สนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นทอี่ ยา่ งแท้จริง กศน.ตาบลนาหกู วาง ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ผจู้ ัดทา

ค สารบญั หน้า แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563.……………………………………………………………….. ก คานา …………………………………………………………………………………………………………………………… ข สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………………… ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของ กศน.ตาบล ………………………………………………………………………. 1 ความเปน็ มา ................................................................................................................ 1 ทต่ี ้งั ……………………………………………………………………………………………………………… 2 บทบาทหนา้ ที่ภารกจิ กศน.ตาบล ……………………………………………………………………. 2 คณะกรรมการ กศน.ตาบล ……………………………………………………………………………… 3 อาสาสมคั ร กศน.ตาบล ………………………………………………………………………………….. 6 บคุ ลากรใน กศน.ตาบล ………………………………………………………………………………….. 7 องค์กรนักศึกษา กศน.ตาบล ...................................................................................... 7 ทาเนยี บครูกศน.ตาบล ............................................................................................... 9 รางวลั เกียรตบิ ตั ร ผลงานของ กศน.ตาบล................................................................ 10 แหล่งเรยี นร.ู้ .............................................................................................................. 11 ภาคเี ครอื ข่าย............................................................................................................. 11 สว่ นที่ 2 ข้อมูลพน้ื ฐานเพ่ือการวางแผน …………………………………………………………………….. 12 สภาพท่วั ไปของตาบล ……………………………………………………………………………………. 12 ขอ้ มลู ด้านประชากร ………………………………………………………………………………………. 14 ขอ้ มูลดา้ นสังคม ……………………………………………………………………………………………. 15 ข้อมลู ด้านเศรษฐกิจ ………………………………………………………………………………………. 16 ข้อมูลด้านการศกึ ษา ………………………………………………………………………………………. 17 สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการดาเนินงาน …………………………………………………………………………………. 26 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ………......... 26 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์………………………. 28 ทิศทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอ….………………………………………………………… 37 แนวทางการพฒั นา กศน.อาเภอ ………………………………………………………………………. 41 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของ กศน.ตาบล ….………………………………………………………… 46 แนวทางการพัฒนา กศน.ตาบล ………………………………………………………………………. 49

ง สารบญั (ตอ่ ) หนา้ สว่ นท่ี 4 รายละเอียดแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563..…………………………. 54 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม …………………………………………………………………… 55 ตารางวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564. 58 แผนการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564....... 60 โครงการ ………………………………………………………………………………………………………. 62 บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………………………………. ภาคผนวก …………………………………………………………………………………………………………………… คณะผ้จู ดั ทา …………………………………………………………………………………………………………………

1 สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.ตาบลนาหกู วาง ความเป็นมา โดยท่ัวไปลักษณะภูมิประเทศของตาบลนาหูกวาง จะเป็นพื้นที่ลาดเอียงจากทางด้านทิศตะวันตก บริเวณเทอื กเขาตะนาวศรี ในทางทศิ ตะวนั ออกส่ฝู ัง่ อ่าวไทย โดยมพี ้นื ทบ่ี รเิ วณเชิงเขาท่ีมีราษฎรอาศัยอยู่ พ้ืนท่ี ส่วนใหญ่มีลักษณะ คือ ดินปนทราย และดินเหนียวปนทราย มีประมาณน้าฝนเฉล่ีย 1,100 มิลลิเมตร / ปี มลี าคลองทส่ี าคัญ 2 สาย ไดแ้ ก่ 1. คลองทบั สะแก อยู่ในเขตตาบลนาหกู วาง เป็นเสน้ แบง่ เขตการปกครองตามธรรมชาติ ของ ตาบลนาหูกวาง ตาบลเขาล้าน เทศบาลตาบลทบั สะแก สามารถใชป้ ระโยชน์ ในการเกษตรกรรม ปจั จบุ ัน ปรมิ าณนา้ มีน้อย 2. คลองจักกระ อยใู่ นเขตตาบลนาหูกวาง เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองตามธรรมชาติของตาบล นาหกู วาง และตาบลอ่างทอง กศน.ตาบลนาหกู วาง เดมิ ต้ังอยู่ ศาลาอเนกประสงค์บ้านเหมืองแร่ หมู่ที่ 4 บ้านเหมืองแร่ สถานท่ี ไม่เป็นจุดกลางของพ้ืนท่ีตาบลนาหูกวาง จึงขอย้ายสถานท่ีพบกลุ่มมาอยู่ ศาลาหมู่บ้านโปร่งแดง หมู่ที่ 3 ตาบลนาหูกวาง อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพ่ือเป็นสถานที่พบกลุ่มและปัจจุบัน ย้ายมาอยู่ที่ อาคารในวัดบ้านทุ่งเคล็ด หมู่ที่ 3 บ้านโปร่งแดง ตาบลนาหูกวาง อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาเหตุที่ย้าย เพราะว่ากระทรวง ICT สนับสนุน เครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 16 เคร่ืองสถานท่ีเดิมไม่สามารถ จดั เก็บเครื่องคอมพิวเตอรไ์ ด้ เพราะจนกวา่ จะได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อก่อสร้าง กศน.ตาบล ต่อไป กศน.ตาบลนาหูกวาง มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ในหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 จัดการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ เพื่อให้อ่านออกเขียนได้ การศึกษาใน ระดับประถมศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาต่อเน่ือง การศึกษา เพ่ือการมีงานทา การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยจัดให้มีบ้านหนังสืออัจฉริยะในชุมชน การจัดตั้ง กศน.ตาบลมีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดการเรียนรู้ที่ หลากหลายตามความต้องการของผู้เรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันสาหรับ ผูส้ นใจและประชาชนในชุมชน

2 ที่ตั้ง ตาบลนาหกู วางมีเน้ือที่ประมาณ 138.9 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 86,831 ไร่ เป็นตาบล หน่ึง ใน 6 ตาบลของเขตอาเภอทบั สะแก จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ อย่หู า่ งจากท่ีว่าการอาเภอทบั สะแก ประมาณ 6 กโิ ลเมตร โดยมอี าณาเขตติดต่อ ดังน้ี ทิศเหนอื ตดิ ต่อกบั ตาบลเขาลา้ น และเทศบาลตาบลทบั สะแก ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตาบลอา่ งทอง ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับ ทะเล ( อา่ วไทย ) ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั สหภาพเมียนม่าร์ โดยมเี ทือกเขาตะนาวศรเี ป็นพรมแดนกนั้ หมายเลขโทรศัพท์ 081-9162692 หมายเลขโทรสาร 032-671669 E-Mail [email protected] บทบาทหน้าทภ่ี ารกจิ กศน.ตาบล บทบาทหน้าท่ีภารกจิ กศน.ตาบล กศน.ตาบล มบี ทบาทสาคัญในการจัดและส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน และสร้างสงั คม แห่งการเรียนรูใ้ นชุมชน โดยมีหวั หนา้ กศน.ตาบล เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมีหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ทาหน้าทส่ี ่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนนิ งาน กศน.ตาบล ดงั น้ี 1. บทบาทหน้าท่ีของหัวหน้า กศน. ตาบล 1) การวางแผนจัดทาฐานข้อมูลชุมชน จัดทาแผนพัฒนากศน. ตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปี 2) การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดและส่งเสริมการศึกษานอก ระบบ ได้แก่ การส่งเสริมการรู้หนังสือการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ การศึกษา ต่อเน่ือง จัดและส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ ส่งเสริมการอ่าน จัดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ บริการ ข่าวสารข้อมูล และสื่อที่หลากหลาย จัดและส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุดประชาชนตาบล ห้องสมุดชุมชน มุม หนังสือบ้าน 3) บริการการเรยี นร้ใู นชมุ ชนร่วมกับภาคเี ครือข่าย – ศนู ยเ์ รียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ – ศูนยส์ ่งเสรมิ พฒั นาระบอบบประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) – ศนู ย์ดิจิทัลชุมชน – ศนู ย์การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต – ศนู ยซ์ ่อมสรา้ งเพ่ือชมุ ชน (Fix it Center) รว่ มกับ (สอศ.) – ชมรมคุ้มครองผบู้ ริโภค ร่วมกบั (สคบ.)

3 – ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ICT ชุมชน รว่ มกบั (กระทรวงไอซที ี) – มมุ วิทยาศาสตร์เพือ่ ชวี ติ ร่วมกบั (สสวท.) – หนว่ ยแพทย์เคล่ือนท่ี รว่ มกับโรงพยาบาล สถานีอนามัย –อาเภอเคลือ่ นที่รว่ มกบั อาเภอ 4) สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคี เครอื ข่าย องคก์ รชุมชนผู้รู้ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน.อาสาสมัคร สง่ เสริมการอ่านเป็นตน้ 5) ประชาสัมพนั ธ์และเผยแพรแ่ ผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดาเนนิ งานของ กศน. ตาบล ใน รูปแบบต่างๆ 6) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน รายงานขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วขอ้ งตามแบบรายงานและระยะเวลาท่ีกาหนด และ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจาปขี อง กศน. ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล ช่ือ – สกุล บทบาท รูปถ่าย นายสายชล ชนะภัย ประธาน นายธีรศกั ด์ิ องั อานวยโชค รองประธาน

4 รูปถ่าย ชือ่ – สกุล บทบาท นางสาวทีร่ กั อ่างแก้ว กรรมการ นางนันทนา วงศ์ศริ ประภา กรรมการ นางสมจิตร สิงห์เลก็ กรรมการ นางสาวนวลจนั ทร์ นรคมิ กรรมการ นางสาวสพุ รรณี ศรีขวญั กรรมการ

5 รูปถ่าย ชอ่ื – สกุล บทบาท นายประเสรฐิ วงศ์ชา้ ง กรรมการ นายสุชาติ นราเก กรรมการ นางกัญญาภัค อินทรจ์ นั ทร์ กรรมการ นางสาวนฤชล พึง่ พินจิ กรรมการ

6 รปู ถ่าย ชอื่ – สกลุ บทบาท นางวันเพญ็ อยู่เวยี งชยั กรรมการ นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ กรรมการและเลขานุการ อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน ช่ือ – สกุล บทบาท รปู ถ่าย นายสมชาย รักซอื่ อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน นางสาวนฤชล พึง่ พนิ ิจ อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน

7 บุคลากรใน กศน.ตาบล ชือ่ – สกุล บทบาท รปู ถ่าย นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบลนาหกู วาง องค์กรนักศกึ ษา ชื่อ – สกุล บทบาท รูปถา่ ย นางสาวนฤชล พ่ึงพินิจ ประธาน นายสุรชัย มะวี รองประธาน

8 รูปถ่าย ชอ่ื – สกลุ บทบาท นางสาวปวรตั น์ แยม้ เมือง เลขานุการ นางสาวศริ ิวรรณ อนิ ทรกูล ผู้ช่วยเลขานกุ าร นายภาณมุ าศ เผือกผอ่ ง กจิ กรรมนักศึกษา นางสาวศภุ สุตา อัดแสง การเงนิ และบญั ชี

9 รปู ถา่ ย ชื่อ – สกลุ บทบาท นางสาววงศจ์ นั ทร์ ทองลบ ประชาสัมพนั ธ์ นายฐนศิ ร์ อยู่เตม็ สขุ ปฏิคม ทาเนยี บครู กศน.ตาบลนาหกู วาง ชอ่ื -สกุล ตาแหนง่ ระยะเวลา นางสาวภณั ฑริ า ง้วิ งาม ทีด่ ารงตาแหนง่ ลาดับ ท่ี ครู กศน.ตาบล พ.ศ. 2543 – 1 พ.ศ.2561 2 นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล พ.ศ. 2561 – ปจั จบุ ัน

10 รางวลั เกยี รติบัตร และผลงานของ กศน.ตาบล ด้านเครอื ขา่ ย / แหลง่ การเรยี นรู้ ปี พ.ศ. 2546 1. ได้รับเกียรติบัตรจากสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ร่วม รณรงคใ์ ห้องค์การบริหารสว่ นตาบลนาหูกวาง นาหูกวาง อ่างทอง มีบัตรเสียน้อยท่สี ดุ อันดับ 1 - 3 2. เป็นศูนย์การศึกษาตลอดชวี ติ ชมุ ชน เพือ่ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพท่ีสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึด ชุมชนเปน็ ฐานในการดาเนินงาน โดย กศน.ตาบล มีบทบาทเป็นผปู้ ระสานงาน ด้านเครอื ข่าย / แหลง่ การเรยี นรู้ ปี พ.ศ. 2562 1. ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลิศอันดบั ที่ 2 คลิปวดี ีโอผู้ประสบความสาเร็จในโครงการสรา้ งเครอื ข่ายดจิ ิทัล ชุมชนระดบั ตาบล ประจาปงี บประมาณ 2562 2. นางสาวจรยิ า ปจั ฉมิ เพ็ชร เปน็ ผ้ปู ระสบความสาเร็จ โครงการสร้างเครอื ขา่ ยดจิ ทิ ัลชมุ ชนระดับ ตาบล ประจาปีงบประมาณ 2562 3. นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ เปน็ วทิ ยากร ครู ค. เปน็ ผู้ประสบความสาเร็จ โครงการสร้างเครอื ข่าย ดิจิทัลชุมชนระดับตาบล ประจาปงี บประมาณ 2562 4. ชมุ ชนบา้ นโป่งแดง ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนยิ ม ย่งั ยืน ระดับ ตาบล ของสานักงาน กศน. ด้านเครอื ขา่ ย / แหล่งการเรยี นรู้ ปี พ.ศ. 2563 1. ผลติ ภณั ฑจ์ ากกะลามะพร้าวไดร้ บั ให้ใชต้ ราสัญลกั ษณ์ แบรนด์ กศน. สาหรบั ผลติ ภัณฑ์/สินค้า ดเี ดน่ ของสานักงาน กศน. 2. ผลิตภณั ฑ์จากกะลามะพรา้ ว ของ กศน.ตาบลนาหูกวาง ได้รับคดั เลือกผลิตภัณฑ/์ สินค้า กศน.พรี เมีย่ ม อนั ดับ 3 ของ สนง.กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์

11 แหลง่ เรยี นรู้/ภาคเี ครือข่าย 1. แหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทบคุ คล ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิน่ ความร้คู วามสามารถ ทอี่ ยู่ ตาบลนาหูกวาง นางชนะภัย ชจู ิตต์ นวดแผนโบราณ ตาบลนาหกู วาง นางสวุ รรณา ลูกอินทร์ ตาบลนาหูกวาง นางทองดี ศรีอิททรส์ ุทธ์ิ งานหัตถกรรม งานจกั สาน ตาบลนาหกู วาง ตาบลนาหกู วาง นางวนั ดี รอดพ้น นางสาวจริยา ปจั ฉิมเพช็ ร งานผลิตภณั ฑจ์ ากกะลามะพร้าว นางสมจิตร สงิ หเ์ ล็ก แปรรปู ผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพร นายสุชาติ หมายดี เศรษฐกิจพอเพียง นายไพรัช ยังมาก 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกจิ /สงั คม ไดแ้ ก่ ช่อื แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ที่ต้งั โบสถ์เหรียญบาท ศึกษาพระราชประวตั ิ รชั กาลท่ี 9 วัดบา้ นทงุ่ เคล็ด หมทู่ ี่ 3 บา้ นโปรง่ แดง ตาบลนาหกู วาง ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ กฟผ. ทับสะแก แหล่งเรียนร้ดู า้ นพลังงานไฟฟ้า ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ทบั สะแก โดยเฉพาะพลงั งานหมุนเวียน ต.นาหกู วาง อ.ทับสะแก รวมท้งั วิถีชวี ติ ชมุ ชนทับสะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 77130 ศูนย์เรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งบ้าน การทาเกษตรแบบผสมผสาน 83/2 ม.10 บา้ นท่งุ ตาแก้ว ต.นาหู ทุง่ ตาแกว้ กวาง อ.ทับสะแก จ. ประจวบคีรีขนั ธ์ 77130 3. แหลง่ สนับสนนุ ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ไดแ้ ก่ ภาคีเครือข่าย การสนบั สนุน ท่อี ย/ู่ ท่ีต้ัง สานักงาน กฟผ. บา้ นซงั เขาขวาง การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย โตะ๊ เกา้ อี้ หมทู่ ่ี 7 ตาบลนาหกู วาง หม่ทู ี่ 4 บ้านพุตะแบก โปรเจคเตอร์ ตาบลเขาลา้ น องค์การบรหิ ารส่วนตาบลนาหู สหกรณ์เครดิตยเู นย่ี นพฒั นาชุมชน เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชดุ กวาง ตาบลนาหูกวาง บ้านพตุ ะแบก จากัด องค์การบริหารส่วนตาบลนาหูกวาง อาหารว่าง อาหารกลางวนั กิจกรรม

12 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พื้นฐานเพื่อการวางแผน สภาพทว่ั ไปตาบลนาหูกวาง ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ โดยท่ัวไปลักษณะภูมิประเทศของตาบลนาหูกวาง จะเป็นพื้นท่ีลาดเอียงจากทางด้าน ทิศ ตะวันตกบริเวณเทือกเขาตะนาวศรี ในทางทิศตะวันออกสู่ฝ่ังอ่าวไทย โดยมีพื้นที่บริเวณเชิงเขาท่ีมีราษฎร อาศัยอยู่ พ้ืนที่ส่วนใหญ่มีลักษณะ คือ ดินปนทราย และดินเหนียวปนทราย มีประมาณน้าฝนเฉล่ีย 1,100 มลิ ลเิ มตร / ปี มลี าคลองทส่ี าคญั 2 สาย ไดแ้ ก่ 1. คลองทับสะแก อยู่ในเขตตาบลนาหูกวาง เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองตามธรรมชาติของ ตาบลนาหูกวาง ตาบลเขาล้าน เทศบาลตาบลทับสะแก สามารถใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรม ปัจจุบัน ปริมาณน้ามนี อ้ ย 2. คลองจะกระ อยู่ในเขตตาบลนาหูกวาง เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองตามธรรมชาติของ ตาบลนาหูกวาง และตาบลอา่ งทอง เนอ้ื ที่ :ตาบลนาหกู วางมีเนอื้ ท่ีประมาณ 138.9 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 86,831 ไร่ แผนท่ตี าบลนาหกู วาง อาเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ -

13

14 ขอ้ มูลดา้ นประชากร จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพื้นท่ีตาบลนาหูกวาง หมู่ ช่ือหม่บู า้ น จานวน จานวนประชากร(คน) จานวนครัวเรอื นในพืน้ ท่ี ที่ ครัวเรอื น ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 บา้ นเขาดิน 190 279 258 537 537 - 522 - 2 บา้ นดอนทราย 178 247 275 522 1048 - 454 - 3 บา้ นโป่งแดง 291 542 506 1048 692 - 787 - 4 บ้านเหมอื งแร่ 204 236 218 454 162 - 1028 - 5 บา้ นสบิ เอ็ดจ้าว 246 335 357 692 424 - 1275 - 6 บ้านหนองยาว 273 377 410 787 650 - 404 - 7 บ้านซงั เขาขวาง 69 80 82 162 469 - 8 บ้านประดลู่ าย 297 518 510 1028 6 8458 - 9 บ้านหนองกลางดง 116 199 225 424 10 บ้านทุ่งตาแกว้ 406 645 630 1275 11 บ้านประชาราษฎร์ 191 315 335 650 12 บา้ นหนองบัว 106 200 204 404 13 บา้ นไทรสามขา 122 228 241 469 14 ทะเบยี นบ้านกลาง 1 3 36 รวม 2690 4204 4254 8458 ตาบลนาหูกวางมีครัวเรือนอาศัยอยู่ จานวน 2,690 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นท่ีการปกครองตาบล ท้ังหมดมีประชากรท้ังส้ิน 8,458 คนแยกเป็นประชากรชาย 4,204 จานวน คนคิดเป็นร้อยละ 49.70 และ ประชากรหญิง จานวน 4,254 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.30

15 จานวนประชากรจาแนกตามชว่ งอายุ ช่วงอายุ (ปี) จานวน (คน) ร้อยละของประชากรท้งั หมด 0 - 5 654 (คน) 7.73 6 - 14 1,123 13.28 15 - 39 2,891 34.18 40 - 59 2,422 28.62 60 - 69 769 9.09 70 - 79 363 4.29 80 - 89 204 2.41 90 ปีข้ึนไป 34 0.40 รวม 8,458 100 จากตารางจานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุพบว่า ประชากรส่วนใหญ่เป็นประชากรวัยแรงงาน อายุ 15 – 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 62.80 ประกอบด้วย ประชากรในช่วงอายุระหว่าง 15-39 ปี ร้อยละ 34.18 ซึ่งเป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้ความสาคัญในการจัดบริการเรียนรู้เป็นกลุ่มแรก และ ช่วงอายุ 40-59 ปี ร้อยละ 28.62 เปน็ กลุ่มวัยแรงงานทีใ่ หค้ วามสาคญั ในการจัดบริการการเรียนรู้รองลงมา สาหรับกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้น ไป ร้อยละ 15.79เป็นกลุ่มท่ีให้ความสาคัญในการจัดการบริการการเรียนรู้ตามช่วงอายุจากมากไปหาน้อย ตามลาดบั ขอ้ มลู ดา้ นสังคม สาหรบั รปู แบบการตง้ั ถ่นิ ฐานประชากรส่วนใหญ่จะต้ังบ้านเรือนอาศัยอยู่กระจายทั่วไปส่วนประชากร ผู้ใช้แรงของครอบครัวจะอายุเฉลี่ยระหว่าง 18-55 ปีจะทางานหาเล้ียงครอบครัวทั้งในและนอกพ้ืนที่ตาบล ใน พนื้ ที่จะเป็นภาคเกษตรนอกพน้ื ทจ่ี ะเป็นงานโรงงานก่อสรา้ ง ช่าง และอน่ื ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณี พธิ ีกรรม อิทธพิ ลทางความคิด ประชากรในชุมชนมีวิถีการดาเนินชีวิตแบบเรียบง่ายไม่ฟุ้งเฟ้อแต่มีความกระตือรือร้นใช้ชีวิต ตาม ครรลองประชาธปิ ไตยรักเพื่อนบ้านเพอ่ื นฝงู มีการรว่ มกจิ กรรมตามหลักพุทธศาสนาและประเพณีนิยม สถาบนั และองค์กรทางศาสนา วดั มจี านวน 9 แห่ง วัดเขาบ้านกลาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 วดั บา้ นทงุ่ เคลด็ ตั้งอยู่ หมทู่ ่ี 3 วัดนาหกู วาง ต้งั อยู่ หมู่ท่ี 3 วดั นาหนอง ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 3 วัดห้วยลึก ตงั้ อยู่ หมู่ที่ 5 วัดนัมทาวราราม ต้งั อยู่ หมู่ที่ 7

16 วดั ทุ่งตาแกว้ ตง้ั อยู่ หมูท่ ี่ 10 วดั ประชาราษฎ์ ต้งั อยู่ หมู่ที่ 11 วัดดอนทราย ตงั้ อยู่ หมทู่ ่ี 13 การสาธารณสุข โรงพยาบาล จานวน 1 แหง่ - โรงพยาบาลทบั สะแก โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล 2 แหง่ - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลนาหูกวาง หมทู่ ่ี 5 - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาหูกวาง บา้ นเหมืองแร่ หมทู่ ่ี 4 การโทรคมนาคม 13 หมบู่ า้ น - มีโทรศัพทใ์ ช้ตดิ ต่อไดจ้ านวน - สถานโี ทรคมนาคมอื่นๆ การไฟฟา้ -มีหมู่บ้านทใี่ ชไ้ ฟฟ้าเข้าถงึ ครบทกุ หมูบ่ า้ น ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นการประมง อาชพี ของประชาชนในตาบล ด้านการอุตสาหกรรมด้านการพาณิชย์ สถานการณ์แรงงาน แรงงานไทยส่วนใหญ่มีอาชีพรบั จา้ ง ดา้ นการอุตสาหกรรม จานวน สถานที่ หมายเหตุ ประเภทอตุ สาหกรรม - 3 หมทู่ ่ี 4 , 5 , 8 - โรงงานอุตสาหกรรม (แปรรปู มะพรา้ ว) 2 หม่ทู ี่ 1 - 2 หมทู่ ่ี 4 , 5 - โรงงานไฟเบอรก์ ลาส 1 หมูท่ ี่ 7 หมายเหตุ โรงเล่อื ย - - โรงงานต่อเรือ - ดา้ นการพาณชิ ย์ ประเภท จานวน สถานท่ี มลู ค่าการตลาด/ปี หม่ทู ่ี 3,5 - อ่ซู อ่ มรถยนต์ 5 หมูท่ ่ี 1 - หม่ทู ่ี 3,9 - ปมั๊ นา้ มนั 1 โรงสขี นาดเลก็ 3

ประเภท จานวน สถานท่ี มลู ค่าการตลาด/ปี 17 ร้านคา้ ชุมชน ร้านค้าปลีก 1 หมทู่ ี่ 13 - หมายเหตุ ร้านคา้ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง - โกดังเกบ็ มะพร้าว 50 ทุกหมู่บา้ น - - ร้านคาราโอเกะ - 5 หม่ทู ี่ 5 - - - 8 หม่ทู ี่ 5,3,8 - 2 หมทู่ ี่ 1,3 - ดา้ นการประมง เรือจบั ปลา บ่อเลย้ี งปลา บอ่ เล้ียงกุ้ง อ่ืนๆ หมายเหตุ 20 ลา (ม.2) นา้ จืด - 3 ครัวเรือน อ่ืน ๆ ชนิด - - - - (เพาะเลยี้ ง ประมงชายฝ่ัง นา้ กรอ่ ย) 2 ครวั เรือน ประมงนา้ จืด (ม.4) - แนวปะการัง เทียม อยใู่ นเขตพ้นื ทีห่ มู่ท่ี 7,2 กลุ่มอาชีพเศรษฐกจิ ชุมชน 1. การเกษตรการปลูกมะพร้าว ทาไรส่ ับปะรด 2. การเกษตรการทาสวนผลไม้ สวนมะมว่ ง 3. การทานา 4. การเลีย้ งสตั ว์ เล้ยี งหมู ววั ไก่ เป็ด 5. การประมงนา้ จดื และประมงน้าเค็ม 6. การอุตสาหกรรม 7. การค้าขาย 8. รบั จ้างท่วั ไป ขอ้ มูลด้านการศึกษา ตาบลนาหูกวาง มสี ถานศึกษารวมทง้ั หมด......7.....แห่ง มีครูจานวน......-..........คน และมนี ักเรยี น จานวน.......-........คน เปน็ อตั ราสว่ นครู/อาจารย์ ต่อนักเรียน ประมาณ............-.............ในแต่ละสถานศึกษา ทอ่ี ย่ใู นเขตตาบล..........-..........มจี านวนนกั เรียน นักศกึ ษา ดังน้ี

18 1) โรงเรยี นทับสะแกวทิ ยา 185 คน จานวนนักเรยี น 657 คน จานวนนักเรยี น 151 คน 2) โรงเรยี นสมาคมเลขานุการสตรี 2 จานวนนกั เรยี น 121 คน จานวนนกั เรยี น 52 คน 3) โรงเรียนบ้านดอนทราย จานวนนักเรยี น 78 คน จานวนนกั เรียน 147 คน 4) โรงเรียนบ้านเหมอื งแร่ จานวนนักเรียน 68 คน จานวนนักเรียน 102 คน 5) โรงเรยี นอา่ งทองพัฒนา จานวนนกั เรียน 43 คน 6) โรงเรียนบา้ นท่งุ ตาแก้ว 7) โรงเรียนประชาราษฏรบ์ ารุง 8) ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก .....4......แห่ง 9) กศน.ตาบล .....1......แหง่ สถานศกึ ษา โรงเรยี น สงั กัด จานวนชั้น ท่ตี ัง้ หมายเหตุ ทับสะแกวิทยา สพฐ. ม.1 - ม.6 ม. 1 - ม. 3 - สมาคมเลขานุการสตรี 2 สพฐ. อนบุ าล - ม.3 ม. 13 - บ้านดอนทราย สพฐ. อนบุ าล - ป.6 บา้ นเหมอื งแร่ สพฐ. อนุบาล - ป.6 ม. 4 - อา่ งทองพฒั นา สพฐ. อนบุ าล - ป.6 ม. 5 - บ้านทุง่ ตาแกว้ - บา้ นประชาราษฎร์ สพฐ. อนบุ าล - ป.6 ม. 10 - ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ 4 แห่ง - สพฐ. อนบุ าล - ป.6 ม. 11 กศน.ตาบลนาหกู วาง อบต. อายุ 2 – 5 ปี ม.3 , ม.4, ม.5, ม.10 รวม กศน.อาเภอ เรยี นรู้ตลอดชวี ิต ม.3 ทบั สะแก โรงเรยี น 7 แห่ง , ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ 4 แหง่ กศน. 1 แหง่

ข้อมูลระบบกากับและติดตามประชากรวัยเรยี นนอกระบบการศกึ ษา ท่ี ช่อื บ้าน หมู่ที่ เปา้ หมาย เ ีรยนภายในประเทศ/ ท้งั หมด 1 บา้ นเขาดนิ 1 10 2 2 บา้ นดอนทราย 2 16 2 3 บา้ นโปง่ แดง 3 25 3 4 บ้านเหมืองแร่ 4 14 2 5 บา้ นสบิ เอ็ดจา้ ว 5 17 5 6 บา้ นหนองยาว 6 24 4 7 บ้านซงั เขาขวาง 7 20 8 บ้านประด่ลู าย 8 23 9 9 บ้านหนองกลางดง 9 60 10 บา้ นทุง่ ตาแกว้ 10 39 4

ขอ้ มลู ระบบกากบั และตดิ ตามประชากรวยั เรยี นนอกระบบการศกึ ษา เขา้ เรยี นหรือจาหนา่ ยออกจากฐาน ดาเนินการติดตาม ภายนอกประเทศ รวมทั้งสิ้น จบ ม.6 หรือเ ีทยบเท่า ไม่ ีม ัตวตน/ตาย จบ ม.3 รวม เ ็ดก ิพการ เ ็ดกปกติ ีท่ไ ่มได้เรียน เ ็ดกออกกลางคัน รวม 2 250901 0 1 10 2 3 1 6 12 1 3 0 4 16 3 7 6 2 18 0 7 0 7 25 2 130608 0 8 14 5 2 3 3 13 3 1 0 4 17 4 1 12 0 17 0 7 0 7 24 0 100101 0 1 2 9 8 0 0 17 1 5 0 6 23 0 220411 0 2 6 4 8 10 1 23 2 14 0 16 39 19

ท่ี ชอ่ื บ้าน หมู่ท่ี เป้าหมาย เ ีรยนภายในประเทศ/ ท้ังหมด 11 บ้านประชาราษฎร์ 11 26 4 12 บ้านหนองบัว 12 10 1 13 บา้ นไทรสามขา 13 10 1 222 3 รวมท้ังส้นิ (คน)

ขอ้ มูลระบบกากบั และตดิ ตามประชากรวัยเรยี นนอกระบบการศกึ ษา เข้าเรียนหรอื จาหนา่ ยออกจากฐาน ดาเนนิ การตดิ ตาม ภายนอกประเทศ รวมท้ังสน้ิ จบ ม.6 หรือเ ีทยบเท่า ไม่ ีม ัตวตน/ตาย จบ ม.3 รวม เ ็ดก ิพการ เ ็ดกปกติ ีท่ไ ่มได้เรียน เ ็ดกออกกลางคัน รวม 4 9 3 0 16 3 7 0 10 26 1 121514 0 5 10 1 141703 0 3 10 37 46 51 14 148 12 62 0 74 222 20

21 กศน.ตาบลนาหกู วาง ในรอบปีทผ่ี ่านมามีจานวนนกั ศกึ ษาทัง้ หมด 110 คน แยกตามระดับ ดงั นี้ ภาคเรียนที่ 2/2561 จานวน 1 คน -ระดับประถมศึกษา -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 19 คน -ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 42 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ภาคเรียนที่ 2/2560 มี นักศึกษาจานวนท่ีลงทะเบียนเรียนท้ังหมด 62 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จานวน 57 คน และมีผู้จบหลักสูตร ท้งั หมด 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.06 แยกตามระดบั ดังนี้ -ระดบั ประถมศึกษา จานวน 1 คน จบหลักสูตรจานวน - คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 19 คน จบหลักสูตรจานวน 2 คน -ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 42 คน จบหลักสูตรจานวน 3 คน ภาคเรยี นท่ี 1/2563 จานวน 1 คน -ระดับประถมศึกษา -ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 19 คน -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 28 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ภาคเรียนท่ี 1/2561 มีนักศึกษาจานวนท่ีลงทะเบียนเรียนท้ังหมด 48 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จานวน 47 คน และมีผู้จบ หลักสูตรทัง้ หมด 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.08 แยกตามระดบั ดงั นี้ -ระดับประถมศึกษา จานวน 1 คน จบหลกั สูตรจานวน 1 คน -ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 19 คน จบหลักสตู รจานวน - คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 28 คน จบหลักสตู รจานวน - คน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีจานวนผู้จบหลกั สตู รคอ่ นข้างน้อยเน่ืองจากนักศึกษามีภาระงาน ทาอาชีพ เป็นหลกั บ้างครั้งจึงทาให้เวลาเรียนและกจิ กรรมไม่ครบ จึงไมจ่ บตามหลักสตู ร ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จาแนกตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย ด้านการรู้หนงั สอื ดา้ นการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดา้ นอาชีพ ดา้ นการพัฒนาทักษะชีวิต ด้านดารพัฒนา สังคมและชุมชน ด้านปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ปัญหาและความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชนที่จาแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ด้านการรหู้ นงั สือ ดา้ นการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ด้านอาชพี ด้านการพฒั นาทกั ษะชีวิต ด้านดารพฒั นา สงั คมและชมุ ชน ดา้ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษาตามอธั ยาศัย

22 กลุ่มเปา้ หมาย ปัญหาและความต้องการ แนวทางการแกไ้ ข ประชาชนตาบลนาหกู วาง 1.ประชาชนยังขาดความรู้และความเข้าใจใน สง่ เสรมิ การศึกษาด้านการรู้ การปอ้ งกนั โรคระบาดต่างๆทาให้ยากแก่การ หนังสอื ดา้ นการศึกษาข้ัน ปอ้ งกนั พืน้ ฐาน ดา้ นอาชพี ดา้ นการ 2.ประชาชนชนยังขาดความสนใจในการรกั ษา พัฒนาทักษะชวี ติ ด้านดาร สขุ ภาพและปัญหาด้านสุขอนามยั พฒั นาสังคมและชุมชน ด้าน 3.ผสู้ ูงอายผุ พู้ กิ ารผ้ปู ่วยเอดส์ถูกทอดทิง้ ไม่ไดร้ ับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การดูแลทาให้ต้องดารงชวี ติ อยดู่ ้วยความ ดา้ นการศึกษาตามอธั ยาศยั ยากลาบาก ให้ท่วั ถงึ และครอบคลุมในพืน้ ท่ี 4.การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ยงั คงมีอยูใ่ น ตาบลนาหูกวาง โดยการ สังคมเน่ืองจากขาดความต่อเน่อื งในการ ประชาสมั พนั ธ์ และรณรงค์ให้ ปราบปรามและป้องกนั ปัญหา ได้รับการศึกษาทกุ ชว่ งวยั มกี าร 5.การทะเลาะววิ าทของวัยร่นุ มีความรุนแรง เรยี นรตู้ ลอดชีวิต มากข้ึนทกุ วนั เนื่องจากค่านยิ มการเลยี นแบบที่ ผิดๆการส่งเสริมให้สถาบนั ครอบครัวมคี วาม เขม้ แข็งจะบรรเทาปัญหาน้ีได้ 6.ปญั หาทีเ่ กดิ จากภยั ธรรมชาตเิ ปน็ ปญั หาที่ สรา้ งความเสยี หายทางเศรษฐกิจชีวติ และ ทรพั ยส์ นิ นับวันจะยงิ่ รนุ แรงข้ึนการเตรียมความ พรอ้ มเสมอจะช่วยลดความสญู เสียลงไดใ้ น ระดับหนง่ึ 7. เกดิ อุบัตเิ หตุจานวนมากในช่วงเทศกาล วนั หยุดทาใหเ้ กิดความสูญเสยี ทง้ั ชีวิตและทรพั ย์สนิ ตารางวิเคราะหข์ อ้ มลู สภาพปัญหาสาเหตุและแนวทางแกไ้ ข สภาพปัญหา/ความต้องการ สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแก้ไข 1.ด้านเศรษฐกิจ 1.ประชาชนมคี วามยากจนมีภาระหน้ีสิน สง่ เสริมด้านอาชพี เพ่ือ จานวนมากเนอ่ื งจากยังขาดการวางแผนการ สรา้ งรายได้และลด

23 สภาพปญั หา/ความต้องการ สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแก้ไข 2.ดา้ นสงั คม ประกอบอาชีพท่ีดี รายจ่ายใหก้ ับ 2.ขาดอาชีพเสรมิ นอกฤดูการทาการเกษตร ครอบครัว ไมม่ ีอาชพี ทแ่ี นน่ อนทาให้ขาดโอกาสท่จี ะ พัฒนาและสรา้ งรายไดใ้ ห้กับครวั เรอื นหรอื ชุมชน 3.การขาดการรวมกลุ่มเพ่อื ประกอบอาชีพ ซึ่งกลุ่มนบั วา่ เป็นพลงั สาคญั ในระบบ เศรษฐกจิ ของชมุ ชน 4. การขาดเงินทุนประกอบอาชีพประชาชน ส่วนใหญ่ยังอยใู่ นฐานะทีย่ ากจนการลงทนุ ประกอบอาชีพยงั ขาดแคลนทุนทรพั ย์ 5. การขาดความสนใจจรงิ ใจจริงจังของ ประชาชนในพืน้ ท่ีเองในการเอาใจใสห่ รือ สนใจกับโครงการช่วยเหลอื ของภาครัฐทาให้ โครงการที่รัฐส่งเสรมิ ไม่ประสบความสาเร็จ 1.ประชาชนยังขาดความรู้และความเข้าใจ สง่ เสรมิ และรณรงค์ให้ ในการปอ้ งกนั โรคระบาดตา่ งๆทาใหย้ ากแก่ ประชาชนในตาบลนา การป้องกัน หกู วางได่รบั ช้อมูล 2.ประชาชนชนยังขาดความสนใจในการ ขา่ วสารที่เป็นปัจจุบนั รักษาสขุ ภาพและปัญหาด้านสขุ อนามัย และเปน็ ประโยชน์ 3.ผู้สงู อายผุ ้พู ิการผูป้ ว่ ยเอดส์ถกู ทอดท้ิง ไมไ่ ด้รับการดูแลทาใหต้ ้องดารงชวี ิตอย่ดู ้วย ความยากลาบาก 4.การแพรร่ ะบาดของยาเสพติดยงั คงมีอยู่ใน สงั คมเน่อื งจากขาดความตอ่ เนื่องในการ ปราบปรามและป้องกนั ปญั หา 5.การทะเลาะววิ าทของวัยรนุ่ มคี วามรุนแรง

24 สภาพปัญหา/ความต้องการ สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแก้ไข 3.ดา้ นการศกึ ษา มากขนึ้ ทกุ วันเนื่องจากค่านิยมการ เลยี นแบบทผ่ี ิดๆการสง่ เสริมใหส้ ถาบัน ครอบครัวมีความเข้มแข็งจะบรรเทาปัญหา น้ีได้ 6.ปัญหาทีเ่ กิดจากภัยธรรมชาติเปน็ ปญั หาที่ สร้างความเสยี หายทางเศรษฐกิจชวี ิตและ ทรพั ยส์ นิ นบั วันจะยงิ่ รนุ แรงขึ้นการเตรียม ความพร้อมเสมอจะชว่ ยลดความสูญเสียลง ได้ในระดบั หนง่ึ 1. การศึกษาในระดบั ก่อนวยั เรยี น ยงั ขาด ส่งเสรมิ ให้รบั ไดร้ ับ ส่อื และอปุ กรณ์การเรยี นท่ีทันสมยั และ การศกึ ษาทุกช่วงวยั เหมาะสมกับการพัฒนาการในวัยน้ี 2.ประชาชนยังขาดแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี ปน็ การศึกษาตามอัธยาศยั หรือการศึกษานอก ระบบ ทาให้ยังมคี วามรู้ทลี่ า้ หลัง ไม่ทัน เหตกุ ารณบ์ ้านเมอื ง 3.การเส่ือมศลี ธรรมทางศาสนาของคนทาให้ ไมม่ ีท่ยี ึดเหนียวจติ ใจ สง่ ผลใหเ้ กดิ ปัญหา สังคมหลายเรื่องตามมา 4. วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ อนั ดีงาม ภมู ปิ ญั ญา ชาวบ้านเริม่ สูญหายเน่ืองจากไม่ได้รับความ สนใจ จากเยาวชนร่นุ หลัง 5. ประชาชนในพ้ืนที่ขาดการต่ืนตัว ในการ เล่นกีฬาเพอ่ื สขุ ภาพ ตารางวิเคราะห์การประเมินผลและปัญหาอุปสรรคการดาเนนิ งานในรอบปีท่ีผา่ นมา ผลการประเมินปญั หาและอุปสรรค แนวทางการพฒั นา มีการพัฒนาให้ไดร้ บั ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาเพื่อความ 1.พัฒนาดา้ นการให้ความรู้ การถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นอยู่ท่ีดีขนึ้ การแก้ไขปญั หาโรคระบาดผลผลติ ทางการเกษตรและ การกสิกรรม

ผลการประเมนิ ปญั หาและอปุ สรรค 25 แนวทางการพัฒนา 2. สง่ เสรมิ สนับสนุนการประกอบอาชีพท่ีมนั่ คงมี รายไดเ้ พ่ิมข้นึ ตามกระบวนการเรยี นรูห้ ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. พฒั นาและสง่ เสริมสนับสนุนการเกษตรแบบยง่ั ยืน โดยการใชป้ ุ๋ยอนิ ทรีย์แบบชีวภาพ และการเกษตรท่ี ปลอดภัยจากสารพิษ 4.ส่งเสริมและสนับสนนุ การพัฒนาฟน้ื ฟูแหล่ง ท่องเที่ยวใหย้ ั่งยืน 5. พัฒนาและปรับปรุงแหล่งทอ่ งเทีย่ วและบรกิ าร เพ่ืออานวยความสะดวกแกผ่ ู้มาท่องเท่ียว 6. สนับสนุนและสง่ เสริมกจิ กรรมด้านการสง่ เสริม การท่องเท่ียวตามเทศกาล งานประเพณรี วมถงึ การ ทอ่ งเทีย่ วเชงิ นเิ วศนแ์ ละสขุ ภาพ 7. พัฒนาดา้ นการประชาสัมพันธ์ระบบข้อมลู ข่าวสาร เก่ียวกบั การท่องเทีย่ ว

26 สว่ นที่ 3 ทิศทางการดาเนินงาน เรือ่ ง นโยบายและจดุ เน้น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้การดาเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย บรรลุเป้าหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วนราชการในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทาแผนและงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมท้ังขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการศึกษาให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใชจ้ า่ ยงบประมาณอย่างคมุ้ ค่า เพ่อื เปา้ หมาย คือ ผูเ้ รียนทกุ ช่วงวยั ดังนี้ หลักการตามนโยบาย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคล่ือนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผน ย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบาล รัฐบาลในส่วนด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบาย เร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 นอกจากนี้ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าตปิ ระเด็นอ่นื ๆ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2562-2565) นโยบาย และแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยความมัน่ คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562-2565) รวมท้ังนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวงั วา่ ผเู้ รียนทกุ ช่วงวัยจะได้รบั การพฒั นาในทกุ มิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วม ขบั เคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน ดังน้ัน ในการเร่งรัดการทางานภาพรวมกระทรวง ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพในทกุ มิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพ่ือหลอมรวมภารกิจและ บุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่สามารถลด การใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสทิ ธภิ าพและความเปน็ เอกภาพ รวมทงั้ การนาเทคโนโลยดี ิจิทัลเข้ามาช่วยท้ัง การบริหารงานและการจดั การศกึ ษารองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั 2. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/ โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมท้ัง

27 กระบวนการจัดทางบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่อื ม่นั และร่วมสนับสนุนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษามากยิง่ ขนึ้ 3.ปรับรือ้ และเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการและพฒั นากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ โดย มุ่งบรหิ ารจดั การอัตรากาลงั ใหส้ อดคลอ้ งกับการปฏิรปู องค์การ รวมทง้ั พัฒนาสมรรถนะและความรู้ ความสามารถของบคุ ลากรภาครฐั ให้มีความพร้อมในการปฏิบตั ิงานรองรบั ความเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั 4.ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด การศึกษาเพอื่ คณุ วฒุ ิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตทีส่ ามารถตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ประกาศเพิม่ เติม 5. ดาเนินการปลดล็อก ปรับเปล่ียน เปิดกว้าง ที่เป็นเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบาย “การศึกษายกกาลังสอง (Thailand Education Eco - System : ) การศึกษาที่เข้าใจ Supply และ ตอบสนองโจทย์ Demand” โดย -ปลดล็อก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนสงั คมใหส้ ามารถดาเนนิ การทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงการ บริหารการศึกษาของประเทศให้ครอบคลุมทกุ พ้ืนท่ี -ปรับเปล่ียน หลักสูตรการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของโลก ปรบั เปล่ยี นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคล เพื่อความเป็นเลศิ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพ่ือให้ครู Up Skill และ Re – Skill ของ ตนเองได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ เพอื่ สง่ ตอ่ ความรไู้ ปยังผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี คนเก่ง และคนทมี่ ีคุณภาพ -เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาร่วม ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ใหค้ รอบคลมุ ผู้เรียนทว่ั ประเทศ ทั้งนี้ เพื่อนาไปสูน่ กั เรยี นยกกาลงั สอง ท่ีเน้นเรยี นเพื่อรู้ พฒั นาทักษะเพ่ือทา ครูยกกาลังสองที่เน้นเพิ่ม คนเกง่ มาเป็นครู พฒั นาครทู ั้งระบบ ห้องเรียนยกกาลังสองท่ีเน้นเรียนที่บ้าน ถามที่โรงเรียน หลักสูตรยกกาลัง สองท่ีเน้นลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ส่ือการเรียนรู้ยกกาลังสองที่เน้นเรียนผ่านส่ือผสมผสานผ่านช่องทางท่ี หลากหลาย ไดแ้ ก่ On – Site เรียนที่โรงเรียน Online เรียนออนไลนผ์ ่านแพลตฟอรม์ ดา้ นการศึกษาเพ่ือความ เป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ที่มีเน้ือหามาตรฐานจากผู้ผลิตท่ีเป็น ภาคเอกชน On-Air เรยี นผ่านโทรทศั น์ DLTV มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยเน้ือหามาตรฐานจาก ผู้ผลิตท่ีเป็นภาคเอกชน และ On-Demand ซึ่งสามารถเรียนได้ทุกท่ี ทุกเวลา ที่มีอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์ เชื่อมต่อ โรงเรียนยกกาลังสองท่ีมุ่งเน้นคุณภาพในโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อความเป็นเลิศทาง วชิ าการ เพือ่ ความเปน็ เลศิ ทางภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ และวิสาหกจิ ชุมชนท่ีเนน้ คุณภาพของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเพื่อ ความเป็นเลิศและความเชย่ี วชาญท่ีสามารถตอบโจทยท์ ักษะและความรู้ท่ีเพม่ิ ความเชยี่ วชาญในการปฏิบัติงาน

28 จดุ เน้นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1.1 การจัดการศกึ ษาเพื่อคณุ วุฒิ -จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการ เรยี นรเู้ ชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพ่อื พฒั นาผู้เรียน ที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ -สง่ เสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับท้องถ่ินและหลักสูตรสถานศกึ ษา ตามความตอ้ งการ จาเปน็ ของกลุ่มเปา้ หมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี -พัฒนาผเู้ รียนให้มที ักษะการคิดวเิ คราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) จากประสบการณจ์ รงิ หรอื จากสถานการณ์จาลอง ผา่ นการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปิดโลกทัศนม์ มุ มองรว่ มกัน ของผูเ้ รียนและครูให้มากขน้ึ -พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพ่ือเป็นเครื่องมือในการดารงชีวิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล สขุ ภาวะและทัศนคติท่ีดีตอ่ การดูแลสุขภาพ 1.2 การเรียนรตู้ ลอดชีวติ -จดั การเรียนร้ตู ลอดชีวิตสาหรับประชาชนทกุ ช่วงวัย เนน้ สง่ เสรมิ และยกระดบั ทักษะ ภาษาองั กฤษ (English for All) -สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผ้ทู ีเ่ ขา้ ส่สู ังคมสูงวยั อาทิ อาชีพทเี่ หมาะสมรองรบั สงั คมสูงวัย หลักสูตรการพฒั นาคุณภาพชวี ิต และหลักสตู รการดแู ลผู้สูงวัย หลักสตู ร BUDDY โดยเนน้ การมี ส่วนร่วมในการพัฒนาชมุ ชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรูอ้ อนไลน์ เพ่อื สง่ เสรมิ ประชาสมั พนั ธ์ สนิ ค้าออนไลนร์ ะดบั ตาบล -สง่ เสริมโอกาสการเขา้ ถงึ การศกึ ษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทา ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้นื ท่ีพเิ ศษ (พนื้ ท่สี ูง พืน้ ทต่ี ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพ้ืนท่เี กาะแก่ง ชายฝ่งั ทะเล ทั้งกลุ่มชนตา่ งเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุม่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) -พฒั นาครูใหม้ ีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั ปัญญาประดิษฐ์ และ ภาษาองั กฤษ รวมทัง้ การจดั การเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะการคดิ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตผุ ลเปน็ ขน้ั ตอน -พฒั นาครูอาชีวศึกษาท่ีมีความรแู้ ละความสามารถในทางปฏิบตั ิ (Hands – on Experience) เพอื่ ให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกบั สถาบันอดุ มศกึ ษาชน้ั นาของ ประเทศจัดหลักสตู รการพัฒนาแบบเขม้ ข้นระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 1 ปี -พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบคุ ลากรกระทรวงศึกษาธิการ ใหม้ ีความพร้อมใน การปฏิบัตงิ านรองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มศี ูนย์พัฒนาสมรรถนะบคุ ลากร ระดับจงั หวัดทว่ั ประเทศ

29 2. การพฒั นาการศึกษาเพอื่ ความมนั่ คง -พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” เปน็ หลกั ในการดาเนนิ การ -เฝา้ ระวงั ภัยทกุ รูปแบบท่ีเกิดขึ้นกบั ผูเ้ รยี น ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การคา้ มนุษย์ -สง่ เสรมิ ใหใ้ ชภ้ าษาท้องถิน่ ร่วมกับภาษาไทย เปน็ สื่อจดั การเรยี นการสอนในพน้ื ที่ทใ่ี ชภ้ าษาอย่าง หลากหลาย เพอ่ื วางรากฐานให้ผเู้ รียนมีพฒั นาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะการสื่อสารและใชภ้ าษา ทสี่ ามในการต่อยอดการเรยี นรู้ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ -ปลกู ฝังผเู้ รยี นใหม้ หี ลักคิดท่ีถูกต้องดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเป็นผู้มคี วามพอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด 3. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั -สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาผลติ กาลังแรงงานที่มคี ุณภาพ ตามความเปน็ เลศิ ของแต่ละ สถานศกึ ษาและตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี รวมท้ังสอดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศท้งั ในปัจจุบันและอนาคต -สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาอาชีวศึกษาบริหารจดั การอยา่ งมีคุณภาพ และจดั การเรยี นการสอนดว้ ย เครอื่ งมอื ปฏบิ ัตทิ ่ีทันสมัยและสอดคล้องกบั เทคโนโลยี โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมที ักษะการวเิ คราะห์ข้อมลู (Data Analysis) และทักษะการสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ 4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา -พัฒนาแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพ่ือการเรยี นรู้ และใชด้ จิ ทิ ลั เป็นเครอ่ื งมือการเรียนรู้ -ศึกษาและปรบั ปรงุ อตั ราเงินอุดหนนุ ค่าใช้จ่ายต่อหวั ในการจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ให้สอดคล้องกับ สภาพเศรษฐกจิ และบทบัญญัติของรฐั ธรรมนญู -ระดมสรรพกาลังเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนารอ่ งพ้นื ท่ีนวัตกรรมการศึกษา เพ่ือลดความเหลอื่ ม ลา้ ทางการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งพระราชบัญญัติพ้นื ทน่ี วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 5. การจัดการศกึ ษาเพอื่ สร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม -เสรมิ สร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และสง่ เสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ ดา้ นสง่ิ แวดล้อม -สง่ เสรมิ การพัฒนาสงิ่ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมท่เี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ให้สามารถเป็นอาชีพ และ สรา้ งรายได้ 6. การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ -ปฏิรปู องคก์ ารเพื่อลดความทับซอ้ น เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและความเปน็ เอกภาพของหน่วยงานทีม่ ี ภารกจิ ใกล้เคยี งกนั เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ดา้ นต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เปน็ ต้น -ปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบท่ีเป็นอปุ สรรคและข้อจากดั ในการดาเนนิ งาน โดยคานึงถึงประโยชน์ ของผ้เู รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยรวม -สนับสนุนกจิ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ

30 -พฒั นาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data) -พฒั นาระบบการบริหารจดั การและพัฒนากาลงั คนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ใหส้ อดคล้องกบั การ ปฏริ ปู องคก์ าร -สนบั สนุนให้สถานศึกษาเป็นนติ บิ ุคคล เพ่ือให้สามารถบรหิ ารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อยา่ งอิสระ และมีประสทิ ธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ -จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจงั หวดั เพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ิต บุคลากรของกระทรวงศึกษาธกิ าร -ส่งเสริมโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ โดยเนน้ ปรับสภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอก บรเิ วณโรงเรียนให้เออ้ื ต่อการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ จดุ เน้นประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพ่ิมเติม) -พฒั นาครูทุกระดบั ให้มีทักษะ ความรทู้ จ่ี าเปน็ เพ่ือทาหน้าที่วทิ ยากรมืออาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพื่อความเปน็ เลศิ (Human Capital Excellence Center : HCEC) -จัดการเรียนร้ตู ลอดชวี ิตผา่ นเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดลอ็ กและเปดิ กว้างให้ภาคเอกชน สามารถเข้ามาพัฒนาเน้อื หา เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี น ครู และผูบ้ รหิ ารทางการศกึ ษามที างเลือกในการเรียนรทู้ ่ี หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศกึ ษาเพอ่ื ความเป็นเลศิ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) -ให้ผ้เู รยี น ครู ผบู้ รหิ ารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบคุ คลผา่ นแผนพฒั นารายบุคคลสู้ความเปน็ เลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) -จัดทา “คู่มือมาตรฐานโรงเรียน” เพื่อกาหนดให้ทกุ โรงเรยี นตอ้ งมีพืน้ ฐานที่จาเป็น การขบั เคลื่อนนโยบายและจุดเนน้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ 1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น เป็นกรอบแนวทางมา ใชใ้ นการวางแผนและจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคานึงถึงมาตรการ 4 ข้อ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้ ดังน้ี (1) งดดูงาน ต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณีท่ีมีความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อกระทรวงศึกษาธิการ (2) ลดการจัดอบรม สัมมนาท่ีมีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน Event และ (4) ทบทวนงบประมาณท่ีมี ความซา้ ซ้อน 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติ ระดบั พนื้ ที่ โดยใหผ้ ตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สานักงานศึกษาธิการภาคและสานักตรวจ ราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามลาดับ โดยมีบทบาทภารกิจ ในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดับ

31 3. กรณมี ปี ญั หาในเชงิ พื้นท่หี รือขอ้ ขัดขอ้ งในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและดาเนินการแก้ไข ปัญหาในระดับพ้ืนท่ีก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการ ตดิ ตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการตามลาดับ อน่ึง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหน้าท่ี (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นท่ี (Area) ซึ่งได้ดาเนินการอยู่ก่อนเม่ือรัฐบาลหรือ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจากที่กาหนด หากมี ความสอดคล้องกบั หลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าท่ีของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพอย่างเป็น รูปธรรมด้วยเชน่ กนั 12 ภารกจิ “เรง่ ดว่ น” ทีจ่ ะต้อง “จับตอ้ งได้” ภายใน 6 เดอื น ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเร็จ” ในการประชุมมอบนโยบาย และภารกิจเร่งด่วน ของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด อาเภอ และสถานศึกษาขึ้นตรงทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล เลขาธิการ กศน. มอบ 12 ภารกิจเร่งด่วน ขับเคล่ือนงาน กศน. โดยทุกภารกิจทุกคนต้องดาเนินงานให้เกิดผลงานที่สามารถจับต้องได้ ตามค่านิยมหลัก (Core value) “คนสาราญ งานสาเรจ็ ” สาหรับภารกจิ ที่สาคัญประกอบดว้ ย 1. น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ “หน่ึงชุมชน หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถิ่นไทยงาม” เพื่อความกินดีอยู่ดี มีงานทา เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้าใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย์) ,จิต อาสาพัฒนาชุมชน 2. ขับเคล่ือนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย)์ ให้เกดิ ผลเป็นรปู ธรรม 3. เรง่ ผลกั ดันรา่ งพระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้างการบริหาร และอัตรากาลังใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทการเปลยี่ นแปลง เรง่ “การสรรหา บรรจุ แตง่ ตั้งทีม่ ีประสิทธภิ าพ” 4. ปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตรทุกระดับ ทุกประเภท ให้ทันสมัย สอดคล้องกับบริบทสภาวะปัจจุบันและ ความต้องการของผู้เรียน Credit Bank System / E-exam รวมท้ังส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนด้วย กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด เพ่ือสรา้ งคนดี มรี ะเบยี บวินัย และมีทศั นคติทีด่ ตี ่อบ้านเมอื ง 5. พัฒนา Bigdata ของ กศน. ที่ทันสมัย รวดเร็ว และทันที “ข้อมูลและสารสนเทศ กศน. ท่ีทันสมัย จะปรากฏบนหน้าจอมอื ถือทนั ที เม่ือคุณต้องการ” รวมทั้งการส่ือสารและประชาสัมพันธ์งานของ กศน. ต้องมี ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล “ตีฆ้องรอ้ งป่าว ขา่ วชาว กศน.”

32 6. พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform รองรับ DEEP และ Digital Science Museum ,ศนู ย์เรียนรูท้ กุ ช่วงวัย รวมทง้ั ส่ือการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ในทุกกลุ่มเป้าหมาย “เรียนรู้ได้ทุก ที่ ทุกเวลา” 7. ส่งเสริมการพฒั นาความสามารถดา้ นดิจิทลั Digital Literacy ให้กับบุคลากร กศน. ทุกระดบั และ กลุ่มเป้าหมายทกุ กลมุ่ 8. ส่งเสริม สนับสนุนการฝึกอาชีพเพ่ือการมีงานทา “Re-Skill Up-Skill และออกใบรับรองความรู้ ความสามารถ” 9. สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมกบั ทุกภาคเี ครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชีพและสง่ เสริมการตลาด เพือ่ ยกระดับผลิตภณั ฑ/์ สนิ ค้า กศน. ขยายชอ่ งทางการจาหนา่ ย 10. ซอ่ มแซม ฟื้นฟูอาคาร สถานท่ี สิ่งแวดลอ้ มของสานักงานทุกแหง่ และแหลง่ เรยี นรู้ทุกแหง่ ให้ สะอาด ปลอดภัย พร้อมใหบ้ ริการดว้ ย มติ รไมตรี “กศน.งามตา ประชาช่นื ใจ” กศน.งานเรามีคอื ความผาสขุ ของประชาชน เราใกล้ชดิ ชมุ ชนทุกหมบู่ ้าน ทุกตาบล ทุกอาเภอ ทุกจังหวดั ในท่ามกลางที่งบประมาณประเทศ มีจากดั เราต้อง “ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชนส์ ูงสุด” ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งสร้างอาคารใหญ่โต เลขาธิการ กศน. จึงใหน้ โยบาย “กศน. งามตา ประชาชนื่ ใจ” โดยเชิญชวนพี่นอ้ งชาวกศน. ซ่อมแซม ฟ้ืนฟู อาคาร สถานที่ทุก แหง่ เชน่ ทาสี ปดั เช็ดกวาด ทาความสะอาด ถางหญ้า ตกแตง่ ให้สวยงาม สะอาดตา ปลอดภัย (โดยเฉพาะ ศรช.หลายแหง่ เสือ่ มโทรมมาก) รว่ มมอื กันทา หากไม่ไหวชวนเครอื ข่ายชุมชน มาลงแรมช่วยกนั 11. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ความสัมพันธ์ของชาว กศน. “กศน.เกมส์” และกจิ กรรมเชื่อมความสมั พันธ์ ของพนี่ ้องชาว กศน. 12. บูรณการร่วมกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ท้ังในส่วนกลางและภูมิภาค “ทีม กศน.” “ทมี กระทรวงศึกษาธิการ” เพม่ิ เติม 1) ในปีงบประมาณ 2564 ขอให้ สานักงาน กศน.จังหวัด เตรียมการกับ “โครงการ 1 ตาบล 1 อาชีพ” ท่ีเป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง โดยสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคส่วน อื่น ๆ และเพ่ิมช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ให้มากข้ึน ตลอดจนประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ อย่างเข้มข้น เปา้ หมาย คือ การสรา้ งความย่ังยนื ให้กับชุมชนในการกนิ ดอี ยู่ดี ธารงไว้ซ่งึ อตั ลักษณ์ และภูมิปัญญาของชุมชน 2) การจดั การแขง่ ขันกีฬา \"กศน.เกมส์ ครั้งที่ 6\" เบื้องตน้ งาน \"กศน.เกมส์ คร้งั ท่ี 6\" จะจัดขนึ้ ระหวา่ ง วันที่ 24 - 26 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ สนามกีฬาจังหวดั กาญจนบรุ ี (กลบี บวั ) ในระดับประเทศ สว่ นในระดับภาค กลางจะจัดข้ึนระหวา่ งวันที่ 24 - 26 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ สนามกฬี าจังหวดั กาญจนบรุ ี

33 3) สารวจ (สแกน) ในหมบู่ า้ น เดก็ ผูใ้ หญ่ คนพกิ าร เด็กออทิสติก ท่พี ลาดโอกาสการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ชกั ชวนมาเรียนกับ กศน. 4) โครงการ หน่ึงชุมชน หนึ่งนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถ่ินไทยงาม” เพื่อการมีงานทา ไม่ท้ิงถิ่นฐาน เช่น ฝึกอาชีพตามบริบทของชุมชน ,สอนการทา solarcell พลังงานแสงอาทิตย์ (คนตกงานจากในเมือง ชาวบ้านอยากมีอาชีพ ,คนพกิ าร เดก็ เร่ร่อน ฯลฯ สรา้ งรายได้ ขายผลิตภัณฑ)์ ทาเป็น shot course) 5) ส่งเสรมิ สนับสนุน “โคก หนอง นา” พัฒนาชีวิต (รวบรวมองค์ความรู้ เผยแพร่ให้ความรู้ท่ีถูกต้อง หา best practices แลว้ ยกย่องบอกต่อคนทปี่ ระสบความสาเรจ็ จัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือหน่วยงาน กศน. เรามคี วามพรอ้ มสามารถทาเป็นตวั อย่างไดย้ ง่ิ ดี เช่น กศน.จังหวัดหนองบวั ลาภู ,ศฝช. เป็นต้น 6) จัดงานกิจกรรม “รวมพลศิษย์เก่าชาว กศน. ท่ีประสบความสาเร็จ” ปลุกกระแส เรียน กศน. เก่ง ดี มงี านทา 7) พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (Big data) One ONIE แผนและงบประมาณ บุคคล ติดตาม รายงานผล. สารสนเทศและสถิติทางการศึกษา ผลการเรียน portfolio ทุกกลุ่มเป้าหมาย. สามารถดูใด้ผ่าน Application บนมือถือ รวมท้ังการรับสมัครเรียน รับสมัครฝึกอบรม. ผ่านระบบออนไลน์ การรายงานผลการ เรยี น การนดั หมายการพบกลุ่ม ผา่ นระบบ Aplication (ส่วนกลางรับผดิ ชอบ จังหวัด entry data) 8) สาหรับการจัดกลุ่มภารกิจของสานักงาน กศน. ซึ่งได้จัดไว้ 5 กลุ่มภารกิจ เพ่ือใช้พัฒนางานและ เช่อื มโยงงานใหเ้ ป็นระบบในภาพรวม ทัง้ ตน้ นา้ กลางน้า และปลายนา้ ดงั นี้ กลุ่ม G1 : ดิจทิ ลั เทคโนโลยี -Online learning /Distances learning -Media -Information / Big data -Social media -Digital content กลุม่ G2 : คณุ ภาพการศกึ ษา -Curriculum -Testing -Measurement -Assessment -Compare education level

34 กลมุ่ G3: กจิ การพเิ ศษ -Special Affairs -Disadvantaged -Disabled -Street children -Special area กลุ่ม G4 : บริการความรแู้ ละประสบการณ์ -Learning resources -Library -Professional training กลุ่ม G5 : กลมุ่ บริหารจดั การ -Administration (4M) โดยมีกรอบแนวทางการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมในปี 2564 และ 2565 (คิดใหม่ ทาใหม)่ -สว่ นกลาง (ไม่ควรทาเองท้ังหมด /กระจายงานและความรับผดิ ชอบ) โดยมีบทบาท ดังนี้ -Policy. กาหนดนโยบาย แนวทาง มาตรฐาน -Regulator. กากับดแู ล คมู่ ือ ติดตามประเมนิ ผล -Facilitator. สนับสนนุ ทรัพยากร. อานวยความสะดวก -ภาค/สถาบนั /ศูนย์/จงั หวัด/อาเภอ มบี ทบาท ดงั นี้ -Operation. ปฏิบัตกิ ารในพ้ืนท่ีและภารกจิ ท่รี ับผิดชอบ. และรายงานผลการปฏิบตั ิงานไปยังส่วนกลาง 9) ในปีงบประมาณ 2564 ขอให้ สานักงาน กศน.จังหวัด เตรียมการกับ “โครงการ 1 ตาบล 1 อาชีพ” ที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง โดยสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคส่วน อ่ืน ๆ และเพมิ่ ช่องทางการจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ให้มากขน้ึ ตลอดจนประชาสมั พันธ์ผา่ นส่ือตา่ ง ๆ อย่างเข้มข้น เป้าหมายคือ การสร้างความย่ังยืนให้กับชมุ ชนในการกินดีอยดู่ ี ธารงไว้ซ่งึ อัตลักษณ์ และภูมปิ ญั ญาของชุมชน โดยแจง้ เปน็ หลักการไวก้ อ่ น จะมหี นังสอื รายการและแนวทางการดาเนนิ งานแจง้ ไปอีกครัง้ ปรับบทบาท กศน. ลดเหลื่อมลา้ ทางานใกลช้ ิดชุมชน กศน. นาศาสตร์พระราชาสู่การปฏบิ ัติ เก็บเด็กตก หลน่ สง่ เสริมอาชพี “การศึกษาคือประตูสู่โอกาส” ซ่ึงสาหรับประเทศไทย นอกจากภาครัฐโดย กระทรวงศึกษาธิการ จะ รับผิดชอบ “การศึกษาในระบบ” ทั้งสายสามัญ (ปฐมวัย-ม.6) และสายอาชีพ (ปวช.-ปวส.) แล้ว ยัง

35 มี “การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)” หรือช่ือเดิมคือการศึกษานอกโรงเรียนด้วย ซ่ึงมี บทบาท “เก็บตก” คนทกุ ช่วงวยั ที่หลดุ ออกจากการศกึ ษาในระบบไป ไดแ้ ก่ 1) ว่าดว้ ยการขบั เคลือ่ นงาน กศน. : แนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินการหลักๆ อยู่ 12 เร่ืองแต่สรุป สั้นๆ เรื่องแรกคือการขับเคล่ือนนโยบายของท่านรัฐมนตรีว่าการ (ณัฏฐพลทีปสุวรรณ) ท่านให้แนวทางว่า กศน. น่าจะเปน็ สว่ นสาคัญในการไปลดความเหล่อื มลา้ เพื่อทจ่ี ะให้คนท่ีขาดโอกาสด้อยโอกาส ที่มีอยู่ในขณะนี้ เขา้ มาส่รู ะบบการศึกษามากขน้ึ โดย กศน. เปน็ ผ้จู ัดให้ 2) รัฐมนตรีช่วยว่าการ ท่านกนกวรรณ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) ให้แนวทางของการฝึกอาชีพต่าง ๆ ให้กับประชาชนในชุมชนหมู่บ้านให้นโยบายหลายเรื่องเลย เรื่อง 1 อาเภอ1 อาชีพ แล้วก็การยกระดับสินค้าท่ี เกดิ จากการฝึกอาชีพเปน็ พรีเมียม (Premium) ขึน้ มา 3) การทางานเชิงรุก เขา้ ไปสแกน (Scan-ค้นหา) ดวู า่ ในหมู่บ้านจะมีใครท่ีตกหล่นบ้าง มีคนพิการที่รอ ความชว่ ยเหลือท่ีออกไปไหน เขา้ สรู่ ะบบไม่ได้ เดก็ เรร่ ่อนตา่ ง ๆ ไปสแกนแล้วก็ดึงเข้ามาเข้าสู่การให้บริการของ กศน. รวมถึงการน้อมนาศาสตร์พระราชาที่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 และรัชกาลท่ี 10 ท่ีทรงให้แนวทางไว้สู่การ ปฏบิ ัติ กไ็ ด้มอบหมายเร่ืองโคกหนองนาโมเดล ใหไ้ ปศกึ ษาความรู้เรื่องนีอ้ ย่างถอ่ งแท้ ไปให้ความรู้กับประชาชน รวมถึงอาจจะมตี วั อยา่ งทีด่ ี ๆ ก็ไปเผยแพร่ในสิ่งเหล่าน้ี 4) มอบหมายให้จังหวัดไปหา Best Practice (แนวปฏิบัติท่ีโดดเด่น) ต่าง ๆ ท่ีดี ๆ มาสู่ขยายผล อีก ประเดน็ หนึง่ คอื การปรับปรงุ หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐานของ กศน. เองให้มีความยืดหยุ่นมากยิ่งข้ึน เพราะ ไดร้ บั เสียงมาจากขา้ งนอกเยอะแยะเลย เร่ืองของหลักสูตร กศน. อาจต้องมีการทบทวนเพราะเยอะมาก แล้วก็ มีการเรียนที่ค่อนข้างเยอะพอสมควร แต่ว่าคงไม่ปรับท้ังหมด คงจะดูว่าตรงไหนที่มันเยอะไปก็จะปรับ เพื่อให้ คนได้เข้ามาในระบบมากยงิ่ ขึ้น แต่คงคุณภาพมาตรฐานไว้ ไม่ไดล้ ดมาตรฐานคณุ ภาพ 5) เร่ืองการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ซ่ึงเน้นมากเรื่องน้ีเพราะ กศน. เราดูแลคนหลายล้านคนท่ีเป็น ลูกค้าแล้วก็มีอัตรากาลังคนหลายหม่ืนคน มีข้อมูลเยอะมาก ขณะนี้กระจายกันอยู่ คงจะมีหน่วยงานข้ึนมา จัดการเร่ือง เมื่ออยากรู้ข้อมูล กศน. ยกมือถือขึ้นมามันจะมาปรากฏท่ีหน้ามือถือ รวมถึงการพัฒนา Content (เน้ือหา) ต่าง ๆ ของ กศน. ให้เป็นระบบที่มันเชื่อมโยงกัน แล้วไป Plug-in (เช่ือมต่อ) กับทาง DEEP ของท่าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่ทาอยู่ พัฒนาแพลตฟอร์มต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา ซ่ึง กศน. มีหลายหน่วยงานที่จัดการศึกษา เช่น สถาบันทางไกลต่าง ๆ จะต้องมาร่วมกันให้หมด เพราะแยกๆ กัน อยู่ขณะน้ี แล้วก็เรื่องของการให้กาลังใจพี่น้อง กศน. เรามีสโลแกน (Slogan-คาขวัญ) ว่า “คนสาราญงาน สาเร็จ” และจะมกี ารจัดกฬี า “กศน. เกมส์” เหมอื นเดิม ปีนี้เราจดั ทีภ่ าคกลาง

36 6) กศน. ในการทางานกับผู้ด้อยโอกาส : มีครูดูแลเด็กเร่ร่อน 28 คน ครูดูแลเด็กพิการ 500 คน แต่ เป็นอัตราจ้างหมด ก็จะช่วยเขาให้ได้เป็นพนักงานราชการ ก็คงจะผลักดันเรื่องนี้ อาจจะต้องเสนอเรื่องไปยัง ครม. (คณะรัฐมนตรี) เพ่ือที่จะมีค่าใช้จ่ายรายหัวของคนพิการ ตอนน้ีเรายังไม่มี อันน้ีกาลังผลักดันเรื่องนี้อยู่ ส่วนการช่วยให้ได้เป็นพนักงานราชการ อัตราท่ีมีอยู่แล้ว แต่เราจัดสรรให้กลุ่มนี้ ท่ีผ่านมา กศน. ขอมาเพียบ เลย ตงั้ แตค่ รบู รรณารกั ษ์ ครตู าบล ครอู าสา อันนจี้ ะเอาไปใหต้ รงนก้ี ่อน เพราะมีอัตรารองรับอยู่แล้ว ไม่ได้เพ่ิม ใหม่ เรามพี นักงานราชการประมาณ 14,000 อัตรา ว่างอย่สู ่วนหนึง่ ก็จะเกลย่ี ไว้ใหต้ รงนี้ 7) ข้อรอ้ งเรยี นหรือเสยี งสะทอ้ นเกี่ยวกบั หลกั สูตร กศน.ในช่วงเดือนเศษ ๆ ท่ีผ่านมาและแนวทางการ ปรบั ปรุง : เรอ่ื งของคุณภาพหลกั สตู รมนั มีวิธกี ารอย่แู ลว้ เพียงแต่ว่าหลายเร่ืองที่รับ Feedback (ความคิดเห็น- ข้อแนะนา) มา เช่น วิชาเลือกต่าง ๆ เยอะมาก แล้วมีเวลาเรียน มีการพบกลุ่มต่าง ๆ บางคนเขาไม่มีเวลา สะดวกมา ก็คงต้องมีการมาดูท้ังหมด จะต้องตั้งคณะทางานข้ึนมาชุดหนึ่งเพ่ือมาดูเรื่องน้ีทั้งระบบ และข้อ รอ้ งเรียน เช่น จานวนชั่วโมงจาก 200 เหลือ 100 ได้ไหม แล้วบางคนท่ีเขาไม่สะดวกจะมาเรียนกับ กศน. เขา บอกว่าเขามาเรยี นพบกลุม่ ไมส่ ะดวก เปน็ ต้น 8) ระยะหลังๆ พบเยาวชนหลายคนไม่ขอเรียนในระบบ แต่ตัดสินใจย้ายมาใช้บริการ กศน. แทนมาก ขึ้น ด้วยเห็นว่าอยากเรียนจบไวๆ จะได้ไปต่อในระดับมหาวิทยาลัยและสาเร็จการศึกษาออกไปทางานได้เร็วๆ กศน. จะปรับหลักสูตรรับตรงนี้อย่างไรเพ่ือให้ทันสมัยขึ้น : ตอนน้ีหลักสูตรที่ผมจะปรับปรุงคือไม่ใช่จะเลิก ท้งั หมด แต่เยอะไปก็ปรับให้มันน้อยลง อันไหนกระชับได้ก็กระชับ แต่ยังคงคุณภาพอยู่ วิชาไหนท่ีมันล้าสมัยก็ จะต้องปรับใหม้ ันทันสมัยมากข้นึ แต่หลักการคอื จบเร็วอยแู่ ล้วไม่ตอ้ งห่วง 9) การเช่ือมโยงระหว่าง กศน. กับมหาวิทยาลัย : เร่ืองนี้อยู่ในแผน ตอนนี้ที่คุยกันคือคุยกับทาง มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ตอนน้ีกาลังจะเช่ือมโยงกันเรื่อง “เครดิตแบงก์ (Credit Bank)” กาลังคุยกันอยู่ ยงั ไม่ตกผลึกเท่าไร มีสภาการศึกษา มี กศน. แล้วก็มีมหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี 3 ส่วนน้ีจะคุยกัน กาลังให้ ทีมงานคยุ อยู่ ทรี่ าชมงคลธญั บรุ ีเขามี Project (โครงการ) อยู่แลว้ เพยี งแต่เราไปช่วย หมายเหตุ : เครดติ แบงก์ (Credit Bank) หรือธนาคารหน่วยกิต หมายถึงการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยท่ี ผู้เรยี นไมจ่ าเปน็ ต้องเรยี นใหจ้ บครงั้ เดยี ว 4-5 ปีเหมือนหลักสูตรปกติ แตเ่ ปน็ การเรียนเป็นรายวิชาหรอื กล่มุ วิชา (Module) โดยเมือ่ สาเรจ็ วิชาเหลา่ นท้ี างมหาวทิ ยาลัยจะเก็บหน่วยกติ ไวใ้ ห้ และเมื่อผเู้ รยี นสะสมรายวิชาหรือ กลุม่ วชิ าได้ครบถว้ นตามหลกั สูตรกจ็ ะไดร้ ับวฒุ ิปริญญาตรี ซ่งึ ปจั จบุ นั การเรียนลักษณะน้ีกาลงั ไดร้ บั ความนิยม มากข้นึ โดยเฉพาะกลุม่ คนวยั ทางานทีต่ ้องการเพ่ิมพูนทักษะหรอื ปรบั ทักษะใหม่ (Upskill, Reskill) ใหเ้ ข้ากบั รูปแบบการทางานทีเ่ ปลี่ยนไปรวมถงึ ผทู้ ่ีเพิ่งมาค้นพบวา่ ตนเองชอบอะไรแล้วต้องการเปลี่ยนอาชพี ไปทางาน สายนั้น ๆ ขณะท่ี DEEP (Digital Education Excellence Platform) เป็นแพลตฟอรม์ ที่ดาเนินการโดย

37 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นฐานขอ้ มลู วชิ าความรตู้ ่าง ๆ สาหรับให้คนทุกชว่ งวยั เขา้ มาเรียนผา่ นระบบออนไลน์ เพ่อื เพิม่ พูนทักษะของตนเองได้ ทศิ ทางการดาเนินงานสานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ประชุม บุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและ อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานซึ่งเป็นจุดยืนหรือจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์อันเป็นปัจจัยต่อ การส่งเสริมสนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัด เพ่ือนาผลไปใช้ ในการกาหนด ทศิ ทางการดาเนินงานของหน่วยงาน ซ่งึ ได้ผลการประเมินสถานการณ์ของหนว่ ยงาน ดังน้ี จดุ แขง็ (Strengths) 1. บุคลากรได้รับการส่งเสรมิ สนบั สนุนใหพ้ ฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง 2. บคุ ลากรมีความรู้ ความสามารถ ตามโครงสร้างของสานักงาน กศน.จังหวัด 3. บุคลากรมมี นุษยสมั พนั ธท์ ่ีดกี บั สถานศึกษาในสังกัด 4. บุคลากรมคี วามมงุ่ มั่นในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ 5. การบริหารงบประมาณเป็นไปตามเปา้ หมายและมาตรการแนวทางที่กาหนด 6. การจดั สรรงบประมาณให้สถานศึกษาในสงั กัดอย่างเพียงพอและท่วั ถึง 7. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้สถานศึกษาในสังกัดจัดทาและพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง 8. อาคาร สถานท่ี พรอ้ มให้บรกิ ารแก่ผู้รบั บริการและผมู้ าติดต่อ 9. มสี ง่ิ อานวยความสะดวกอย่างเพยี งพอไว้ใหบ้ ริการในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา เช่น ยานพาหนะ บุคลากร 10. มกี ารกากับตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานอย่างต่อเน่ือง จดุ ออ่ น (Weaknesses) 1. สานักงาน กศน.จงั หวดั ขาดข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติหน้าที่ทาให้การ บรหิ ารงานของหน่วยงานไมต่ ่อเน่ือง 2. ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาสังกดั สานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ขาด ประสทิ ธิภาพ เน่ืองจากสถานศกึ ษาส่วนหนึง่ ยงั ไมน่ าผลการประกนั คณุ ภาพมาเปน็ แนวทางการพฒั นา 3. โครงสร้างของสถานศึกษายงั ขาดขา้ ราชการในการปฏิบัตงิ านในพ้นื ที่ เช่น ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา 4. อาคารสถานทข่ี องสถานศึกษาในสงั กัดมีสภาพชารดุ ทรุดโทรม เชน่ ห้องสมดุ ประชาชน กศน. อาเภอ เปน็ ต้น

38 5. ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณไมเ่ พียงพอในการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสถานทข่ี องสถานศึกษาใน สงั กัดและหน่วยงาน โอกาส (Opportunities) 1. มยี ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี เป็นแผนแม่บทที่ เป็นต้นแบบในการดาเนินงาน 2. นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน. มีความชัดเจนสามารถนาไปส่กู ารปฏิบัตไิ ด้ 3. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และนโยบายของรฐั บาลใหค้ วามสาคัญกับการศึกษา ซึ่งเออ้ื ต่อการพฒั นาการบริหารจดั การศึกษามากขน้ึ 4. จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธม์ พี ้ืนท่ีติดชายแดนทั้ง 8 อาเภอ และเปน็ จงั หวดั เดียวใน 27 จังหวัดท่ีมีพื้นที่ ตดิ ชายแดน 5. มีแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถ่ิน/แหล่งประวัติศาสตร์จานวนมาก ท่ีสามารถใช้ประโยชน์เพื่อการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น บนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) 7. การกระจายอานาจใหก้ บั สถานศกึ ษาบริหารจัดการได้ เช่น การจดั ซ้ือจดั จ้าง 8. ความก้าวหน้าของสอื่ เทคโนโลยี ชว่ ยให้ครู/อาจารย์ ผ้เู รยี นและประชาชนสามารถใช้เป็นเคร่อื งมือ ในการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง 9. มีการบรหิ ารจดั การด้านสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ ป็นรปู ธรรม เชน่ กศน.ไรถ้ ัง อปุ สรรค (Threats) 1. สถานศกึ ษาบางแห่งมรี ะยะทางไกล ทาใหก้ ารติดต่อประสานงานในภารกิจเรง่ ดว่ นเกิดความล่าชา้ 2. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีหนังสือจาแนกประเภทวัสดุสานักงาน และยกเลิกการ จัดซ้อื ครุภัณฑ์ต่ากว่าเกณฑ์ ทาให้ไม่เอือ้ ตอ่ การดาเนนิ งาน 3. การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานตามนโยบายมีความลา่ ช้า ทาใหไ้ มส่ ามารถปฏิบัติงานไดต้ าม กาหนดเวลา 4. สถานศึกษาบางแห่งเกิดอุทกภัย ทาให้อาคารสถานทไ่ี ด้รับความเสียหายและสง่ ผลเสียต่อทาง ราชการ จากผลการประเมนิ สถานการณข์ องสานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของ หน่วยงานดังกล่าวข้างต้น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์สามารถนามากาหนดทิศทางการดาเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ ตัวช้วี ัดความสาเร็จ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี

39 ปรัชญา “ปรัชญาคิดเป็น และ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” วิสัยทศั น์ “มุ่งสร้างโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ เท่าเทียมทุกช่วงวัย ภายใตห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21” พันธกจิ 1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครู บุคลากรทุกตาแหน่งให้มีความรู้ มีทักษะในการจัดกระบวนการ จัดการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นการสอน และการปฏบิ ัติหน้าท่ใี ห้มปี ระสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพและการ เรยี นร้ตู ลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที กั ษะทีจ่ าเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การ วิจยั การวดั ผลและประเมินผล ใหส้ อดคล้องกับบริบทในพืน้ ที่ 4. สง่ เสรมิ สนบั สนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ เพื่อสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีประสิทธภิ าพ ตามหลกั ธรรมาภิบาล เป้าประสงค์และตัวช้วี ัดความสาเรจ็ ตัวชีว้ ดั ความสาเร็จ เป้าประสงค์ 1. ครู และบคุ ลากรมคี วามรู้ มีทกั ษะในการจัด 1. รอ้ ยละของครู และบุคลากรมีความรู้ มีทักษะใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนการสอน การจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ การจดั การเรยี น และการปฏิบตั หิ นา้ ทีไ่ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การสอน และการปฏิบัตหิ น้าทไี่ ด้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 2. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม 2. ร้อยละของประชาชนจัดการศกึ ษานอกระบบและ อธั ยาศัยทมี่ ีคุณภาพและการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ภายใต้ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพและการเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะที่ ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 และมที ักษะทจ่ี าเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21

40 เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ 3. หนว่ ยงานและสถานศึกษาจัดทาหลกั สตู ร 3. ร้อยละของสถานศกึ ษามีหลกั สตู ร รปู แบบการ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรม การ จัดการเรียนรู้ สือ่ และนวัตกรรม การวิจัย การวัดผล วิจยั การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกบั และประเมินผล ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทในแต่ละพื้นที่ บริบทในแตล่ ะพ้นื ท่ี เพ่ือสรา้ งความมั่นคง มง่ั คงั่ ของ ประชาชน 4. สง่ เสริมสนับสนุนสถานศึกษานาเทคโนโลยี 4. ร้อยละของสถานศึกษาและประชาชนนา ทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ นการจัด เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใช้ อัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 5. ประสานความรว่ มมือกับภาคเี ครือขา่ ยจดั ส่งเสรมิ 5. รอ้ ยละของภาคีเครอื ข่ายมีสว่ นร่วมในการจัด และสนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและ สง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศึกษาตามอัธยาศยั 6. มรี ะบบการบรหิ ารจัดการ เพ่ือส่งเสรมิ การจัด 6. ร้อยละของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ี บริหารจัดการ เพ่ือสง่ เสริมการจัดการศึกษานอก ประสทิ ธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ตามหลกั ธรรมาภิบาล กลยทุ ธ์ 1. พัฒนากระบวนการเรยี นการสอนที่มีคุณภาพและจัดกจิ กรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบ ที่หลากหลายเสรมิ สรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลกั และมีความสามารถในการแข่งขนั 2. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าท่ีได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. พฒั นาและนาระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื การศึกษาและการบรหิ ารจัดการท่ที ันสมัย 4. สรา้ งโอกาสทางการศึกษาให้กบั ประชาชนเกิดการเรยี นรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง

41 5. ประสานความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่ายจดั ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล 3. เป้าหมายหลกั ของการบริหารและจดั การศกึ ษาของหนว่ ยงาน 1. กล่มุ เป้าหมายมีความรู้พืน้ ฐาน เพ่ือการศึกษาต่อ พัฒนาอาชพี พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 2. กลุม่ เปา้ หมายมีทกั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง และสามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้ในการดารงชีวติ 3. กลุ่มเป้าหมายมีสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 4. กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือ เพิ่มมลู ค่าของสินคา้ หรอื บริการ 5. กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และสามารถ นาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการ ดารงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้ 6. ภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างต่อเนื่อง 7. ระบบบริหารจัดการมปี ระสิทธภิ าพเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ทิศทางการดาเนนิ งานของ กศน.อาเภอทบั สะแก การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม กศน.อาเภอทับสะแก (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน 1.1 จดุ แข็งของ กศน.อาเภอ (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อาเภอ คณะกรรมการ กศน.อาเภอ) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ สอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ และด้านโครงสรา้ งองค์กร/การบริหารจดั การ คา่ นิยมองค์กร 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา มีความรคู้ วามสามารถ 2. บุคลากรของสถานศึกษา มีประสบการณ์การทางานในพน้ื ทอี่ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3. บุคลากรของสถานศกึ ษา มีกระบวนการทางานเป็นทีม 4. บุคลากรของสถานศึกษา สว่ นใหญเ่ ปน็ คนในพน้ื ท่ี 5. กศน.ตาบลทกุ ตาบลมสี ่อื การเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย 6. สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารงานทชี่ ดั เจน 7. สถานศึกษาผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ในระดบั ดี

42 8. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศน.อาเภอทับสะแก ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ใหพ้ ัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 9. กศน.อาเภอทับสะแก ได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาในการบริหาร จัดการและการกากบั ตดิ ตาม 1.2 จุดอ่อนของ กศน.อาเภอ (Weaknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อาเภอ คณะกรรมการ กศน.อาเภอ) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ สือ่ วสั ดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจัดการ ค่านยิ มองค์กร 1. ผู้เรียนของ กศน.อาเภอทับสะแก มีผลสัมฤทธิ์ต่ากว่ามาตรฐาน มีผลคะแนนเฉลี่ยในการ สอบ N-net ตา่ รายวิชาคณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง 2. ผเู้ รยี นของ กศน.อาเภอทบั สะแก มรี ะดับความรพู้ นื้ ฐานแตกตา่ งกัน 3. ผู้เรียนของ กศน.อาเภอทบั สะแก มีภาระในครอบครัวหรือภาระงานรบั ผิดชอบมาก 4. สถานท่ีจดั การเรยี นการสอนบางแหง่ ยงั ไม่เปน็ เอกเทศ 5. มีข้อจากัดในการเบิกจ่ายงบประมาณในการจัดกิจกรรมบางกิจกรรมท่ีแตกต่างจาก หน่วยงานอื่น 6. ครู กศน. ตอ้ งรับผดิ ชอบภาระงานหลายดา้ นหลายกจิ กรรม 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ดา้ นนโยบาย กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง ดา้ นความปลอดภัยในพนื้ ที่ ดา้ นสงั คม-วฒั นธรรม ดา้ น เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ตอ่ สือ่ สาร และด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 1. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อหนังสือเรียนและการจัดกิจกรรม พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น 2. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการจัด การศึกษาครอบคลุมทกุ ตาบล 3. สถานศึกษาไดร้ บั การยอมรับจากชมุ ชนและหนว่ ยงาน 4. สถานศกึ ษามแี หล่งเรยี นรูแ้ ละมีภมู ิปัญญาท่ีหลากหลาย 5. สถานศึกษามภี าคเี ครอื ข่ายที่เขม้ แข็งใหค้ วามร่วมมือและสนบั สนุนในการจดั การศึกษา 6. สถานศึกษามีชุมชนที่เป็นต้นแบบท่ีได้รับรางวัลและการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงาน ภายนอก 7. ชุมชนบ้านหนิ เทนิ ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับสะแก เป็นมรดกภูมิปัญญาประเภทช่างฝีมือ ด้ังเดิม งานหัตถกรรมจากกะลามะพร้าวบ้านหินเทียน เป็นช่างฝีมือท่ีสร้างสรรค์ งานหัตถกรรมจาก