Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปาทวลัญชังเจติยานุสรณ์

ปาทวลัญชังเจติยานุสรณ์

Published by Waraporn Pojjahnawaraporn, 2021-06-21 01:55:19

Description: ว่าด้วยพัฒนาการด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะและโบราณคดี ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ “พระเจดีย์หนองหานเชียงชุม” ศูนย์กลางเมืองโบราณสกลนคร จากเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับพระธาตุเชิงชุม เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ อันจะนำไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดีและศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นสืบไป

Keywords: ประวัติศาสตร์ ศิลปะและโบราณคดี

Search

Read the Text Version

เปจาตทิยวาลนญั ุสรชณัง  พจนวราภรณ เขจรเนตร วา ดว ยพฒั นาการดานประวตั ศิ าสตร ศิลปะและโบราณคดี “พระเจดียห นองหานเชียงชมุ ” ศนู ยกลางเมืองโบราณสกลนคร จากอดีตถึงปจจุบนั



ปาทวลัญชังเจติยานุสรณ •พจนวราภรณ เขจรเนตร•

ปาทวลัญชงั เจตยิ านุสรณ ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๔๔๕-๖๕๘-๘ ปท ่ีพมิ พ : พ.ศ. ๒๕๖๓ จาํ นวนทพี่ ิมพ : ๕๐๐ เลม จัดพมิ พโดย : มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ทปี่ รกึ ษา : พระเทพสิทธโิ สภณ (สุรสีห) พระสริ พิ ัฒนาภรณ (วินัย) พระครกู ติ ตธิ รรมนิวิฐ (ณรงคศักดิ)์ พระครปู ลดั ศรธี รรมวัฒน (เจนยทุ ธนา) พระครสู กลวรานุกจิ (สรุ ิยา) พระครูกติ ตเิ จตยิ าภบิ าล (สมศกั ดิ์) พระครูศรเี จติยาภรณ (ธนวชิ ช) พระครสู ังฆรกั ษภ ทั รพงษ ธมมฺ ทโี ป ผชู วยศาสตราจารย ปรีชา ธรรมวนิ ทร ผชู วยศาสตราจารย ดร.สพสันติ์ เพชรคํา ดร.ธีระวัฒน แสนคาํ ผูช ว ยศาสตราจารย พทิ ักษชยั จัตุชัย ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.อธริ าชย นันขนั ตี นายปกรณ ปกุ หตุ นางสาวกัณฐกิ า กลอมสุวรรณ นางประภากร พรหมโสภา ผเู รยี บเรียง : พจนวราภรณ เขจรเนตร บรรณาธิการ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.สถติ ย ภาคมฤค กองบรรณาธกิ าร : นางสาวชุติมา ภูลวรรณ นางสาวสรารี สุราชวงศ นายกฤษดากร บนั ลอื นางสาววลิ าวรรณ ผิวออน นางสาวสิริยากร ลือชยั สา นางสาวเอกสุดา ไชยวงศคต อาํ นวยการผลิต : นายสุรสิทธ์ิ อุย ปด ฌาวงศ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.พฑุ ฒจกั ร สทิ ธิ นางสาววชิ ญานกาญต ขอนยาง นางนงเยาว จารณะ นางสาวจินตนา ลนิ โพธิ์ศาล พสิ จู นอกั ษร : นายวิระชยั อัศวาวฒุ ิ นายเพช็ ร ทองนาค ภาพ/ออกแบบปก : นายหัตธไชย ศริ สิ ถติ ย พิมพท่ี : หจก. วนิดาการพิมพ 14/2 หมู 5 ตาํ บลสันผเี ส้อื อาํ เภอเมือง จังหวดั เชียงใหม 50300 โทรศพั ท/ โทรสาร 0 5311 0503-4 สงวนลขิ สิทธิต์ ามกฎหมาย

คาํ นํา “การทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม อนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม” เปน พันธกิจอยา งหนึ่งของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ท่มี สี ถาบันภาษา ศิลปะ และวฒั นธรรม ทาํ หนา ทรี่ บั ผดิ ชอบในการขบั เคลอ่ื นตามพนั ธกจิ โดยสถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม มวี สิ ยั ทศั นใ นการดาํ เนนิ งานคอื “เปน สถาบนั แหง การพฒั นา องคค วามรู เชิดชูภมู ิปญญา พัฒนาทองถ่นิ อนรุ กั ษศิลปวัฒนธรรม” การดาํ เนิน งานจงึ อยูในลกั ษณะทเี่ นน การศึกษา คน ควา และรวบรวมองคความรทู ่มี อี ยตู าม ทอ งถน่ิ ตา ง ๆ ทงั้ ในเขตจงั หวดั สกลนคร ตลอดจนพน้ื ทว่ี ฒั นธรรมในอาณาบรเิ วณ แองสกลนคร เพ่ือสรางฐานขอมูลองคความรูที่สามารถเผยแพรและรองรับ การใหบรกิ ารสืบคน และตอ ยอดขอ มูลทางวิชาการสําหรับผูสนใจ ในปงบประมาณประจําป ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดย สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม ไดกําหนดจัดโครงการ “ประเพณีราชภัฏ ยาตราสมมาพระธาตุ” ขึ้น เพ่ือใหบุคลากรและนักศึกษาท่ีเปนพุทธศาสนิกชน ไดแสดงอามิสบูชาและปฏิบัติบูชาตอองคพระธาตุเชิงชุม โดยเฉพาะการเกิด ความรแู ละเขาใจในความเปนมาและขนบธรรมเนียมปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับองคพระธาตุ เชิงชุม ซ่ึงเปนปูชนียสถานสําคัญและเปนศูนยรวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ชาวจังหวัดสกลนครดวย นอกจากน้ียังใหมีการจัดพิมพหนังสือ “ปาทวลัญชัง เจติยานุสรณ” วาดวย ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของรูปแบบศิลปะ สถาปตยกรรม รวมถึงเหตุการณสําคัญเก่ียวกับองคพระธาตุเชิงชุม ซึ่งเปน ประโยชนต อการศกึ ษาคน ควา เกย่ี วกับองคพระธาตุเชิงชุมไดเ ปน อยางดี ก

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดยสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม ขอขอบพระคุณ พระเดชพระคุณพระเทพสิทธิโสภณ เจาอาวาสวัดพระธาตุ เชิงชมุ วรวหิ าร และคณะสงฆ ทกี่ รณุ าใหก ารสนบั สนุนการดําเนินโครงการดว ยดี เสมอมา ขอขอบคุณ นายพจนวราภรณ เขจรเนตร ท่ีทําการศึกษาคนควาและ รวบรวมเรียบเรยี งเนื้อหาตนฉบบั หนงั สือเลม นี้ หวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเลมนี้จะอํานวยประโยชนแกการศึกษา ประวัติความเปนมาและพัฒนาการศิลปะสถาปตยกรรม และเหตุการณสําคัญ ท่ีเก่ียวของกับองคพระธาตุเชิงชุม อีกท้ังยังมีสวนชวยเสริมสรางสิ่งท่ีทําใหเกิด สํานึกรกั ทอ งถิ่นและประเทศชาตอิ ยางม่ันคงสบื ไป ผูชว ยศาสตราจารย ปรชี า ธรรมวินทร อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ข

คํานาํ ผูŒเรยี บเรียง พระธาตุเชิงชุม หรอื พระธาตุเชยี งชมุ เปนพระธาตุสาํ คัญของภาคอสี าน และเปนศูนยรวมใจของชาวสกลนคร การศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร ศิลปะสถาปตยกรรมพบวา องคพระธาตุเชิงชุมถูกสรางทับซอนกัน ๒ ระยะ กลาวคือ ระยะแรก องคพระธาตุมีลักษณะเปนปราสาทหินในวัฒนธรรมเขมร สรางข้ึนเพ่ือเปนศาสนสถานประจําเมือง ตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ ลัทธิไศวะนิกาย กําหนดอายุอยูในระหวางปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ตอตน พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ระยะตอมาไดรับการดัดแปลงใหเปนเจดียในวัฒนธรรม ลา นชา งโดยวธิ กี ารกอ ครอบ พรอ มกบั การเชอื่ มโยงใหเ ขา กบั อรุ งั คนทิ าน กลา วถงึ การเสด็จโปรดเวไนยสัตวและการประทับรอยพระพุทธบาทขององคสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจา อันเปนการเผยแพรและประดิษฐานพระพุทธศาสนา เหนือดินแดนแถบนี้ ในชวงระหวางพุทธศตวรรษที่ ๒๓–๒๔ รองรอยหลักฐาน ทั้งหมดที่พบแสดงใหเห็นวา พระธาตุเชิงชุมถูกสรางใหเปนศาสนสถานหลัก ประจําเมืองท่ีมีความสําคัญและมีลักษณะความสําคัญเฉพาะ โดยอาจแบงได ในแงข องรอ งรอยทางประวตั ศิ าสตรโ บราณคดที ป่ี ระกอบดว ยการคน พบหลกั ฐาน ทเี่ กยี่ วเนอ่ื งกบั การอยอู าศยั คตชิ นความเชอ่ื รปู ลกั ษณะทางสถาปต ยกรรมอกี ดว ย ท้ังนี้ ขอมูลทางดานประวัติศาสตรและโบราณคดีของวัดพระธาตุเชิงชุม ไดรับการเผยแพรอยูบางหากแตยังไมละเอียดครอบคลุมและเปนท่ีรูจักมากนัก ผูเขียนจึงไดพยายามท่ีจะศึกษาคนควาขอมูลท่ีเก่ียวของกับวัดพระธาตุเชิงชุม จากเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตรตาง ๆ ที่มีอยูคอนขางจํากัด และ นําขอมูลเหลาน้ันมาเรียบเรียงเปนหนังสือเพื่อเปนการเผยแพรองคความรู เก่ยี วกบั พระธาตเุ ชิงชมุ เออื้ ประโยชนต อ การเรียนรู อันจะนาํ ไปสคู วามกาวหนา ทางวิชาการดานประวัติศาสตร โบราณคดีและศิลปวัฒนธรรมของทองถ่ินสืบไป ค

ในการจดั ทําหนังสือ “ปาทวลญั ชังเจติยานสุ รณ” ในคร้ังนี้ ยงั ไดใ ชวิธีการศกึ ษา คนควาทางประวตั ิศาสตร (Historical Approach) โดยมีข้นั ตอนดังตอ ไปน้ี ๑. ขั้นตอนเก็บรวบรวมขอมูล ใชเอกสารปฐมภูมิหรือเอกสารชั้นตน สาํ คญั ไดแ ก ตาํ นานพงศาวดารเมืองสกลนคร เอกสารจดหมายเหตใุ บบอกสมยั รัชกาลท่ี ๓–๕ จารกึ ท่เี กยี่ วของและแผนทโี่ บราณ เพื่อเก็บรวบรวมขอ มูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับเมืองโบราณสกลนครและวัดพระธาตุเชิงชุม รวมไปถึงเอกสาร ทม่ี ขี อ มลู เกย่ี วขอ งกบั สถาปต ยกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในศลิ ปกรรมลา นชา งอนื่ ๆ เพ่ือเทียบขอมูล นอกจากน้ียังไดทําการเก็บขอมูลภาคสนาม ไดแก การสํารวจ พ้ืนที่เพ่ือปฏิบัติการศึกษาสภาพปจจุบันในเชิงภูมิศาสตรและเก็บรวบรวมขอมูล จากโบราณวตั ถุในเขตเมอื งโบราณสกลนครและวดั พระธาตุเชงิ ชุม รวมถงึ ทําการ สัมภาษณขอมลู จากผรู ูในทอ งถนิ่ และถายภาพประกอบการศึกษา ๒. การวเิ คราะหข อ มลู นาํ เสนอขอ มลู ทรี่ วบรวมไดม าวเิ คราะหเ พอ่ื จดั เรยี ง ลาํ ดบั ประเดน็ และหวั ขอ การศกึ ษา นาํ ขอ มลู ตา ง ๆ โดยเฉพาะขอ มลู จากหลกั ฐาน ทางประวัติศาสตรและขอมูลทางดานโบราณคดีและศิลปะสถาปตยกรรม มาวิเคราะหร ว ม ๓. การนําเสนอขอมูล ผูเขียนใชการพรรณนาวิเคราะห (Analytical Description) เพื่อใหเห็นภาพพัฒนาการทางประวัติศาสตรของเมืองโบราณ สกลนคร วัดพระธาตุเชิงชุมและลักษณะทางสถาปตยกรรมและศิลปกรรม ภายในวัด โดยแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธเชื่อมโยงเปนเหตุเปนผลกับเน้ือหา ท่นี าํ เสนอ พรอ มเสนอความเหน็ เพ่ิมเติมของผเู ขยี นในการเรียบเรียง แตอยางไรก็ดี เน่ืองจากเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตรและขอมูล ทางดา นโบราณคดยี งั กระจดั กระจายอยโู ดยมาก ขอ เขยี นในหนงั สอื เลม นจ้ี งึ ไมใ ช ขอยุติทางวิชาการและจําเปนที่จะตองศึกษาคนควาตามระเบียบวิธีวิจัยทาง ประวัติศาสตรตอไป หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะอํานวยประโยชนใหเกิด ความรักความเขาใจและตระหนักในการศึกษาประวัติความเปนมาของสถานที่ สาํ คญั ในทอ งถนิ่ นาํ ไปสคู วามกา วหนา ทางวชิ าการดา นสงั คมวทิ ยา มานษุ ยวทิ ยา ง

ประวัติศาสตร โบราณคดีและวัฒนธรรมทองถ่ินสกลนครแลว ผูเขียนจักถือวา เปน ความสําเร็จยิ่งของหนังสือเลม น้ี ขอขอบคุณสาํ นกั ศลิ ปากรที่ ๘ ขอนแกน สาํ นกั หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร และสํานักงานวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ที่ใหความอนุเคราะห ชุดขอมูลสําหรับนํามาศึกษาคนควาและรวบรวมเรียบเรียงเปนหนังสือเลมน้ี ขอขอบพระคณุ คณะทป่ี รกึ ษาทกุ ทา น โดยเฉพาะ ดร.ธรี วฒั น แสนคาํ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย และผูชวยศาสตราจารย ดร.สถิตย ภาคมฤค มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร ท่ีไดแนะนําวิธีการเขียนถายทอดขอมูลท่ีไดจากการศึกษา จนงานเรียบเรียงหนังสือ “ปาทวลัญชังเจติยานุสรณ” เลมน้ี สําเร็จลงไดดวยดี ขอขอบคุณสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ในฐานะผูอํานวยการผลิต ที่กรุณาใหพื้นที่ในการแสดงออกทางวิชาการและ รวมสมทบทนุ ในการจดั พิมพหนงั สอื เพ่อื เผยแพรใ นครงั้ น้ี นายพจนวราภรณ เขจรเนตร งานวชิ าการและวิจยั สถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร จ

สารบัญ คาํ นํา ก คาํ นาํ ผเู รียบเรยี ง ค พฒั นาการทางประวตั ิศาสตรเ มืองสกลนครโดยสังเขป ๑ M “สกลนคร” ทม่ี าและความหมาย ๓ M พัฒนาการทางประวัติศาสตร ๔ ๑. วัดพระธาตุเชงิ ชุม : ทต่ี ้งั ภมู ินามและความเปน มา ๑๑ ๑๓ k ที่ตัง้ ภมู ินาม ๑๔ k ความเปนมา ๑๔ k วดั พระธาตเุ ชิงชุม สมยั พระยาสมพะมติ ๑๕ ๑๖ (ประมาณปพ ทุ ธศักราช ๒๓๒๐–๒๓๓๖) ๑๖ k วัดพระธาตเุ ชิงชมุ สมัยพระยาบานเวอ ๑๗ ๒๐ (ประมาณปพุทธศกั ราช ๒๓๔๙–๒๓๗๐) k วัดพระธาตุเชงิ ชุม สมัยพระยาประเทศธานี (คาํ ) (พุทธศักราช ๒๓๘๑–๒๔๑๙) k วัดพระธาตุเชิงชมุ สมยั พระยาประจันตประเทศธานี (ปด ) (พุทธศักราช ๒๔๑๒–๒๔๒๗) k วัดพระธาตุเชงิ ชุม สมยั พระยาประจันตประเทศธานี (โงน คาํ ) (พุทธศักราช ๒๔๓๐–๒๔๖๖) k ลาํ ดับเจาอาวาสวดั พระธาตเุ ชิงชมุ ฉ

๒. พระธาตเุ ชงิ ชุม : ศาสนสถานในวฒั นธรรมเขมร ๒๓ ประจาํ เมอื งโบราณสกลนคร ๒๕ k เมอื งโบราณสกลนคร ๒๘ k ปราสาทเขมรประจาํ เมอื งโบราณสกลนคร ๓๑ k หลกั ฐานและการกําหนดอายุ ๓. พระธาตุเชิงชมุ : อุเทสกิ เจดียในวฒั นธรรมลา นชาง ๓๕ k จากเทวสถานสูพทุ ธสถาน ๓๗ k อุเทสิกเจดียในวฒั นธรรมลานชา ง ๓๗ k รปู แบบและองคป ระกอบทางสถาปต ยกรรมขององคพ ระธาตเุ ชงิ ชมุ ๓๘ k หลักฐานและการกําหนดอายุ ๔๘ ๔. พระธาตเุ ชงิ ชุมในวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๕๓ k ปฐมเหตแุ หง การมาประดษิ ฐานรอยพระพทุ ธบาท ณ ภนู าํ้ ลอดเชงิ ชมุ ๕๕ k การมาประดิษฐานรอยพระพทุ ธบาทของพระสมณโคดม ๕๘ ๕. การบูรณปฏสิ งั ขรณพ ระธาตุเชงิ ชมุ ๖๑ บทสรุป ๘๙ บรรณานุกรม ๙๓ ภาคผนวก ๙๗ ช



ราษฎรเมอื งสกลนคร รับเสดจ็ กรมหลวงดํารงราชานภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ณ บรเิ วณวัดพระธาตเุ ชงิ ชุม ดานทิศเหนอื ถา ยเมือ่ ปพทุ ธศักราช ๒๔๔๙ (ที่มา : สํานกั หอจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศลิ ปากร)



พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร เมืองสกลนครโดยสงั เขป

P »Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÂÔ Ò¹ÊØ Ã³ เมืองสกลนคร มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติของเทือกเขาภูพาน และหนองหาน๑ เหมาะสาํ หรบั การตงั้ ถนิ่ ฐานของมนษุ ย และเกดิ การอพยพเขา มา ของผูคนและมีความหลากหลายทางชาติพันธุ กลายเปน “เขตสะสมทาง วฒั นธรรม” ดงั พบหลกั ฐานทางโบราณคดที ม่ี คี วามเกา แกน บั ตง้ั แตก ารเปน ชมุ ชน สังคมเกษตรกรรมในยุคกอนประวัติศาสตร เมื่อประมาณ ๓,๐๐๐–๑,๕๐๐ ป มาแลว และพัฒนาการมาสูการเปนชุมชนเมืองนับต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ เปน ตนมา เร่ิมตน ตัง้ แตสมัยทวารวดี เขมร ลา นชา ง และรตั นโกสินทร โดยลําดบั โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๒–๒๔ ชุมชนโบราณสกลนคร มีความสัมพันธกับอาณาจักรลานชางตอเนื่องเขาสูสมัยรัตนโกสินทร ปรากฏ หลักฐานวา ศาสนสถานเดิมในวัฒนธรรมเขมรที่ถูกท้ิงรางมีการพัฒนาข้ึนเปน พทุ ธสถาน ตลอดถึงการสรางวัดข้ึนเพ่ิมเติมของเหลากรมการเมืองดวย ท้ังนี้ วัดตาง ๆ ในเขตเมืองเกาสกลนครลวนแลวแตมีความสําคัญและ มีประวัติความเปนมาแตกตางกัน โดยเฉพาะอยางย่ิงวัดพระธาตุเชิงชุม ซึ่งท่ีต้ัง ของ “พระธาตุเชิงชุม” หนึ่งในพุทธเจดียสําคัญท่ีปรากฏในตํานานอุรังคนิทาน โดยผูเขียนมุงที่จะศึกษาขอมูลทางดานประวัติศาสตรและศิลปะสถาปตยกรรม ที่เก่ียวของกับองคพระธาตุเชิงชุมเปนหลัก เพื่อความเขาใจของผูอาน ผูเขียน จึงใครขอนําเสนอขอมูลท่ีเกี่ยวของกับพัฒนาการทางประวัติศาสตรของเมือง สกลนครแตล ะยุคสมัยโดยสงั เขปกอนนําเขา สูเนือ้ หาตอ ไป ๒

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P “สกลนคร” ท่มี าและความหมาย สกลนคร ปรากฏชอ่ื เดมิ ในเอกสารของทางราชการและของทอ งถนิ่ เรยี กวา “บา นเชยี งชมุ ” (ภาพที่ ๑) ตอ มาไดร บั พระกรณุ าโปรดเกลา ฯ จากพระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจา อยูหัว รัชกาลท่ี ๓ ยกขน้ึ เปน “เมืองสกลนคร” เมื่อวนั ศกุ รท ี่ ๑๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๓๘๑ คาํ วา “เชียงชมุ ” ประกอบดวยคาํ สองคํา คอื คําวา “เชยี ง” ท่หี มายถงึ “เมอื ง” และคาํ วา “ชุม” หมายถงึ “ทัง้ หมด” โดยราชสํานกั กรุงเทพฯ เปลี่ยนเปน คาํ วา “เชียง” ทีม่ คี วามหมายวา “เมืองหรอื ทีอ่ ย”ู เปน คําวา “นคร” และเปลยี่ นคาํ วา “ชมุ ” ทมี่ คี วามหมายวา “ทงั้ หมดหรอื ทง้ั มวล” เปน คาํ วา “สกล” จงึ ไดคาํ วา “สกลนคร” มคี วามหมายวา “เมืองท่บี รบิ รู ณพ รอ มทกุ อยา ง” ÀÒ¾·èÕ ñ 㺺͡àÁÍ× §Ê¡Å¹¤Ã àÃÍè× § ¢Í¾ÃÐÃÒª·Ò¹à¤ÃÍè× §ÂÈãËÃŒ ÒªºμØ ÃàÁÍ× §Ê¡Å¹¤Ã »ÃÒ¡¯ ¢ÍŒ ¤ÇÒÁ¡ÒáÅÒ‹ Ƕ§Ö ¡Òá “ºÒŒ ¹àªÂÕ §ªÁØ ” ໹š “àÁÍ× §Ê¡Å¹¤Ã” àÁÍè× ¾.È. òóøñ (·ÕÁè Ò : ÊíÒ¹¡Ñ Ëͨ´ËÁÒÂàËμáØ Ë‹§ªÒμÔ ¡ÃÁÈÅÔ »Ò¡Ã) ๓

P »Ò·ÇÅÑÞª§Ñ à¨μÂÔ Ò¹ØÊó พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร การต้งั ถน่ิ ฐานของมนุษยในพนื้ ทีอ่ าํ เภอเมอื งสกลนคร พบหลักฐานเกาแก ถึงสมัยวัฒนธรรมยุคกอนประวัติศาสตรในกลุมวัฒนธรรมบานเชียงสมัยปลาย มีอายุราว ๓,๐๐๐–๑,๕๐๐ ป ดังมีการคนพบเศษภาชนะเครื่องปนดินเผา ตะกรนั จากการถลงุ เหลก็ รอ งรอยอตุ สาหกรรมการผลติ เกลอื ในบรเิ วณสาํ นกั สงฆ พระศรอี ารยิ อ ยรู มิ หนองหาน บา นดอนเหลา ทพั ตาํ บลงว้ิ ดอ น หา งจากตวั เมอื งเกา สกลนคร ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร แสดงใหเห็นถึงการกระจายตัวของกลุม วัฒนธรรมบานเชียงและการตั้งถ่ินฐานของมนุษยในบริเวณลุมน้ําหนองหาน อําเภอเมืองสกลนคร เมอื่ ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ เปน ตน มา ชมุ ชนสงั คมเกษตรกรรมเรมิ่ พฒั นา เขาสูชุมชนเมืองในวัฒนธรรมสมัยทวารวดี เกิดการติดตอกับชุมชนภายนอก โดยเฉพาะการนับถือพระพุทธศาสนา หลักฐานสําคัญประกอบดวย ใบเสมา หินทราย ที่มีลวดลายเฉพาะในแบบวัฒนธรรมทวารวดีบริเวณภาคอีสาน คือ ลายในสันสถูปและหมอนํ้าปูรณฆฏะ๒ ในบริเวณบานทาวัด ตําบลเหลาปอแดง และนอกจากนี้ยังพบประติมากรรมประเภทพระพุทธรูปหินทรายในอิริยาบถ ตาง ๆ อาทิ พระพุทธรูปปางสีหไสยาสน ในบริเวณเชิงเขาภูพาน บานมวง ตาํ บลหว ยยาง และชิ้นสว นพระพุทธรูปปางสมาธิ ในท่ีเอกชนบานนาออ ย ตาํ บล ธาตุเชงิ ชุม ครั้นตอมาในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๖–๑๗ อิทธิพลของวัฒนธรรมเขมร แผอ ทิ ธพิ ลขน้ึ มาครอบคลมุ ถงึ บรเิ วณทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน ปรากฏ หลักฐาน เชน รปู แบบการวางผงั เมอื งรูปสเี่ หล่ียมของเมอื งโบราณสกลนคร และ สถาปต ยกรรมทางศาสนาตามความเชอื่ ในศาสนาพราหมณแ ละศาสนาพทุ ธ อาทิ ปราสาทนารายณเ จงเวง ปราสาทดมุ เปน ตน โดยมากพบวา อยใู นวฒั นธรรมเขมร สมัยบาปวน (ราวพุทธศักราช ๑๕๕๓–๑๖๒๓) ตอเน่ืองมาจนถึงสมัยนครวัด (ราวพุทธศกั ราช ๑๖๕๐–๑๗๑๘) และบายน (ราวพทุ ธศกั ราช ๑๗๒๐–๑๗๘๐) ครัน้ ถงึ ราวปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ วฒั นธรรมเขมรจึงเริ่มเสือ่ มอาํ นาจลง ๔

»Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ØÊó P เมื่อพุทธศตวรรษท่ี ๒๒–๒๓ เปนตนมา เมืองสกลนครเร่ิมเขาสูสมัย วฒั นธรรมลา นชา ง การเขา มาตง้ั ถน่ิ ฐานของผคู นในกลมุ วฒั นธรรมไทลาว ปรากฏ หลักฐานการสรางศาสนสถานทางพระพุทธศาสนาขึ้นหลายแหง และโดยเฉพาะ การดดั แปลงศาสนสถานในวฒั นธรรมเขมรใหเ ปน พทุ ธสถานทเ่ี รยี กวา “พระธาต”ุ คร้ังถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ อาณาจักรลานชางเริ่มออนแอลงดวยเหตุผล หลายประการ บา นเมอื งตา ง ๆ รวมไปถงึ บรเิ วณบา นเมอื งในทรี่ าบลมุ รมิ หนองหาน จากเดิมอาณาจักรลานชางปกครองอยูก็ไดตกอยูภายใตอิทธิพลของสยาม ปรากฏหลกั ฐานเปน ลายลกั ษณอ กั ษรทท่ี าํ ใหเ หน็ ถงึ พฒั นาการเมอื งของสกลนคร อยา งเดน ชดั วา ในชว งสมยั ธนบรุ ี อปุ ฮาดเมอื งกาฬสนิ ธพุ รอ มดว ยครอบครวั ไพรพ ล ตัวเลกมาตง้ั บา นเรือน ณ “บานเชียงชุม”๓ ครั้นตอมาพุทธศักราช ๒๓๗๘ อุปฮาด (คําสาย) ราชวงศ (คํา) ทาวอิน เมืองมะหาไซกองแกว ไดพาบาวไพรขามโขงมาสวามิภักดิ์ตอราชสํานักสยาม ตั้งบานเรือนรวมอยูที่บานเชียงชุม ครั้นเมื่อพุทธศักราช ๒๓๘๑ มีใบบอกยก “บานเชียงชุม” ขึ้นเปน “เมืองสกลนคร” ต้ังใหราชวงศ (คํา) เปน “พระยา ประเทศธานี” เจา เมือง ใหร าชวงศเ มืองกาฬสนิ ธุ (ลาว) เปน อปุ ฮาด ใหท าวอิน เปน ราชวงศ และใหร าชบตุ ร (ดา ง) เมอื งกาฬสนิ ธเุ ปน ราชบตุ ร ตอ มาอปุ ฮาด (ลาว) รับราชการได ๑๓ ป ก็ถึงแกกรรม ราชบุตร (ดาง) พาครอบครัวกลับไปอยู เมืองกาฬสินธุ๔ ระยะนี้ไดมีการอพยพผูคนหลากหลายกลุมชาติพันธุจากฝงซาย แมนํ้าโขงมาอยูฝงขวาเปนจํานวนมาก รวมถึงการสรางวัดตาง ๆ ในตัวเมือง สกลนคร กอ ใหเ กิดความสมั พันธร ปู แบบคมุ วดั ขนึ้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ หลังจากพระยาประเทศธานี (คํา) ถึงแกอนิจกรรม มีการต้ังใหราชวงศ (ปด) เปน พระยาประเทศธานี ดํารงตําแหนงเจา เมอื งท่วี า งลง ระยะน้มี กี ารเขามาของ นักสํารวจและการเผยแผศาสนาคริสตภายในเมืองสกลนครของคณะบาทหลวง ชาวฝร่ังเศส พรอมกับการเขามาของกลุมชาวญวนหรือเวียดนาม จนมาถึง สมยั พระยาประจนั ตประเทศธานี (โงน คาํ ) เมอื งสกลนครจดั อยใู นมณฑลลาวพวน หรือหัวเมืองลาวฝายเหนือ เรียกวา “แขวงเมืองสกลนคร” ตอมาเปล่ียนจาก ๕

P »Ò·ÇÅÑުѧà¨μÂÔ Ò¹ÊØ Ã³ มณฑลลาวพวนเปน มณฑลอดุ ร โดยแบงเปน ๕ บรเิ วณ เรียกแขวงเมืองสกลนคร วา “บรเิ วณสกลนคร”๕ นบั ตงั้ แตป พ ทุ ธศกั ราช ๒๔๓๔ เปน ตน มา เมอื งสกลนครและหวั เมอื งตา ง ๆ เร่ิมมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดานการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมอยางมาก อาทิ การสงขาหลวงไปกํากับรักษาราชการตามหัวเมืองทุกเมือง สําหรับเมือง สกลนครมีพระยาสุริยเดชวิเศษฤทธ์ิทศพิธวิไชย (กาจ) มาเปนขาหลวงทานแรก และมกี ลุม ชาวจนี เขามาทําการคาขายในเมืองสกลนครมากข้นึ พุทธศักราช ๒๔๔๐ มณฑลจัดการเปลี่ยนระเบียบตําแหนงกรมการ ๔ ตาํ แหนง ประกอบดว ย กรมเมือง กรมวงั กรมคลงั กรมนา เหมือนกันทุกเมือง ตามระเบียบกรมการหัวเมอื งช้ันใน๖ พุทธศกั ราช ๒๔๔๕ จัดใหเปล่ยี นนามเมือง เปนจังหวัดสกลนคร ใหพระยาประจันตประเทศธานี (โงนคํา) จากตําแหนง เจาเมืองเปนผูสําเร็จราชการเมืองและที่ปรึกษาราชการเมือง ใหพระบุรีบริรักษ (สุภี) เปนนายอําเภอเมืองสกลนครคนแรก นอกจากนี้มีการตัดถนนขึ้น ๕ สาย ในเมืองสกลนคร ประกอบดวย ถนนเจริญเมือง ถนนไรนฤทุกข ถนนสุขเกษม ถนนเรอื งสวสั ด์ิ และถนนกาํ จดั ภยั และเพมิ่ เตมิ อกี ๓ สายในภายหลงั ประกอบดว ย ถนนเปรมปรดี า ถนนมรรคาลัย และถนนใสสวาง พรอ มกบั การพาดสายโทรเลข จากมณฑลอดุ รถงึ บรเิ วณสกลนคร ในรัชสมัยแผนดินพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ เมืองสกลนครไดร ับการพัฒนามาโดยลาํ ดบั มกี ารเรยี กบริเวณสกลนครเปนเมอื ง สกลนครตามเดมิ พรอ มกบั การพฒั นาดา นสาธารณปู การตา ง ๆ ตงั้ แตป พ ทุ ธศกั ราช ๒๔๕๕ เปนตนมา อาทิ การตัดทางเกวียนขามภูพานจากสกลนครไปกาฬสินธุ จัดสรางสถานที่ราชการภายในเมืองสกลนครและโรงเรียนขึ้น พรอมกันน้ี พทุ ธศักราช ๒๔๕๙ มีการเรียกทั้งแขวงสกลนครวา “จังหวัดสกลนคร” สว นนาม อําเภอเมืองเรียกวา “อําเภอธาตุเชิงชุม” ประกอบดวย ๒ ตําบล คือ ตําบล ธาตุเชิงชุมกับตําบลสะพานหิน และตอมาในปพุทธศักราช ๒๔๖๓ มีการ จดั สรา งสนามบนิ ขน้ึ ณ บรเิ วณดงบาก และการสาํ รวจทาํ ทางรถไฟมายงั สกลนคร เมอ่ื ปพ ทุ ธศกั ราช ๒๔๖๕ อีกดว ย ๖

»Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P จากการปฏริ ปู การปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยส กู ารปกครอง ภายใตระบอบประชาธิปไตยเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕ น้ัน สกลนครมีการจัดการ เลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเปน ครง้ั แรกเมอ่ื ปพ ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๖ โดยจงั หวดั สกลนครมสี มาชกิ สภาผแู ทนราษฎรคนแรก คอื หลวงวรนติ ปิ รชี า (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร) ตอมาในปพุทธศักราช ๒๔๗๙ มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาล เมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนครขนึ้ โดยมรี องอาํ มาตยต รี ขนุ ถริ มยั สทิ ธกิ าร (กแู กว พรหมสาขา ณ สกลนคร) เขาดํารงตําแหนงเปนนายกเทศมนตรีคนแรก และ จดั ตง้ั กองกํากบั การโรงเรยี นพลตํารวจภธู รเขต ๔ ขนึ้ ครัง้ ถึงปพุทธศกั ราช ๒๔๘๔ เมื่อเขา สสู งครามมหาเอเชยี บรู พากอใหเกิด องคการตอตานญ่ีปุนข้ึนท้ังสวนกลางและในสวนภูมิภาค หรือตอมาเรียกวา “ขบวนการเสรไี ทย”๗ จงั หวดั สกลนครนาํ โดยนายเตยี ง ศริ ขิ นั ธ สมาชกิ สภาผแู ทน ราษฎร เปนผูนําสําคัญ โดยมีการสรางฐานบัญชาการและฐานบินขึ้นในท่ีตาง ๆ โดยไดรับการสนับสนุนอาวุธจากฝายสัมพันธมิตร การเขามาและการพายแพ ของญ่ีปุนสงผลใหเกิดกรณีพิพาทอินโดจีนระหวางไทยกับฝร่ังเศส พุทธศักราช ๒๔๘๗ เคร่ืองบินรบฝรง่ั เศสเขา มาท้ิงระเบิดในตวั เมอื งสกลนคร ทาํ ใหบานเมอื ง มคี วามซบเซาในชว งเวลาหนง่ึ พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๐ เปน ตน มา ระบบสาธารณปู โภค และสาธารณูปการ อาทิ การจัดตั้งโรงพยาบาล การน้ําประปา ไฟฟา ถนน และการคมนาคมขนสงเขาสูสกลนคร รวมไปถึงการจัดต้ังโรงเรียนสายสามัญ และสายอาชีพข้นึ หลายแหง ครั้งถึงปพุทธศักราช ๒๔๙๙ มีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองท่ี ใหเ ปลย่ี นนามอาํ เภอธาตเุ ชงิ ชมุ เปน “อาํ เภอเมอื งสกลนคร” โดยนบั แตป พ ทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ เปนตนมา ภายหลังการประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๔–๒๕๐๙) และแผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. ๒๕๐๕–๒๕๐๙) สงผลใหสกลนครกาวเขาสูความเจริญในยุคปจจุบัน การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและระบบสาธารณูปการไดรับการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง มีการจัดตั้งกองพันท่ี ๑ กรมทหารราบท่ี ๓ จังหวัดสกลนครข้ึน และ การเขามาตั้งฐานปฏิบัติการพิเศษของอเมริกาในชวงสงครามเวียดนาม ครั้นถึง ๗

P »Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÂÔ Ò¹ÊØ Ã³ ปพุทธศักราช ๒๕๐๖ นโยบายพัฒนาจังหวัดสกลนครของรัฐบาลทําใหเกิด การยา ยทท่ี าํ การศนู ยร าชการออกมายงั บา นธาตนุ าเวง ภายหลงั ยา ยไปตง้ั ยงั พนื้ ที่ สนามบินดงบาก ซึ่งสงผลใหเกิดการขยายท่ีอยูอาศัยของประชากรออกไปยัง ภายนอกตัวเมืองสกลนคร รวมถึงการจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครูสกลนครข้ึน ณ บริเวณท่ีดินของกระทรวงมหาดไทย ความเจริญทางดานเศรษฐกิจสังคม สงผลใหสกลนครไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง เปนชุมชนเมืองขนาดใหญโดยมี พ้ืนที่ครอบคลุมตําบลธาตุเชิงชุมท้ังตําบล ภายในเขตเทศบาลเปนท่ีต้ังของ หนวยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจน เปนศูนยกลางการคมนาคมของจังหวัดสกลนคร และมีพื้นที่เศรษฐกิจหรือ ยานการคาสําคัญตั้งอยูตามแนวถนนเจริญเมือง ถนนใจผาสุก ถนนสุขเกษม และถนนเปรมปรีดา และขยายออกไปสูถนนรัฐพัฒนาและพ้ืนที่ลุมนอกเมือง ดา นทศิ ตะวนั ตกและดา นทศิ ใต เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณอ คั คภี ยั ตดิ ตอ กนั อยา งตอ เนอ่ื ง นับต้ังแตปพุทธศักราช ๒๕๐๖ เปนตนมา เกิดยานการคาแหงใหมในบริเวณ ตลาดเทศบาล ตลาด ต.การคา และสถานีขนสงเทศบาลสกลนคร พุทธศักราช ๒๕๕๕ กระทรวงมหาดไทยประกาศใหเ ทศบาลเมอื งสกลนครเปน “เทศบาลนคร สกลนคร” นับเปนเทศบาลนครที่ใหญเปนอันดับที่ ๒๗ ของประเทศ และใหญ เปนอนั ดับท่ี ๕ ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ โดยมีแนวโนม ในการเจรญิ เติบโต อยางตอ เนอ่ื งตอไปในอนาคตอยางไมห ยุดย้งั ๘

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P เชงิ อรรถ ๑ มขี อ ถกเถยี งเก่ยี วกับการเขียนคาํ วา “หนองหาร” หรอื “หนองหาน” วาทถี่ ูกตอง ควรสะกดดว ย “ร” หรือ “น” ในพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ พมิ พครงั้ ท่ี ๒ ใหค วามหมายของคาํ วา “หาร” หมายถงึ แบงสวนเทา ๆ กนั และ หมายถึง ส่ิงท่เี อาไปได, การนําไป, การถอื เอา มกั ใชเปน สวนทายสมาส เชน บริหาร, อวหาร เปน ตน สว นคาํ วา “หาน” พบในคาํ วา “ละหาน” (เทยี บเขมร) หมายถงึ หว งนา้ํ สว นคาํ วา “ละหาร” (เทยี บมลายวู า Lahar) หมายถงึ หว งนา้ํ เชน กนั ในหนงั สอื เลม น้ี ใชค าํ วา “หนองหาน” เนอื่ งจากตรงกบั ศลิ าจารึกพระมหาพรหมเทโวโพธสิ ัตว พบที่ บานทาวัด อําเภอเมืองสกลนคร โดยเรียกช่ือเมืองสกลนครวา “เมืองเชียงใหม หนองหาน”. ๒ สาํ นกั ศลิ ปากรท่ี ๑๐ รอ ยเอด็ , กรมศลิ ปากร, โบราณคดลี มุ นา้ํ สงคราม กา่ํ ชตี อนลา ง มูลตอนกลาง (ขอนแกน : บริษทั เพ็ญพร้ินต้ิง จํากัด, ๒๕๕๗), หนา ๓๗–๓๘. ๓ “บา นเชยี งชมุ ”ปจ จบุ นั เรยี กวา “บา นธาตเุ ชงิ ชมุ ”ในพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ พมิ พค รง้ั ท่ี ๒ ใหค วามหมายของคาํ วา “เชยี ง” หมายถงึ เมอื งทม่ี กี าํ แพง ลอ มรอบ และในพจนานกุ รมแปล ไทย–ไทย อ. เปล้ือง ณ นคร ใหความหมายของ คําวา “เชียง” หมายถงึ ทพี่ ัก, เมือง เชน เชยี งใหม เชยี งราย เปนตน ซงึ่ ตรงกบั ลักษณะของตวั เมืองทมี่ ปี ราการคนู ้าํ คนั ดินลอ มรอบ. ๔ พจนวราภรณ เขจรเนตร, พงศาวดารเมอื งสกลนคร ฉบบั ลายมอื อาํ มาตยโ ท พระยา ประจันตประเทศธานี (โงนคาํ พรหมสาขา ณ สกลนคร) (สกลนคร : หจก.สมศักด์ิ การพิมพ กรุป , ๒๕๖๑), หนา ๗. ๕ สรุ ตั น วรางคร ตั น, ตาํ นานพงศาวดารเมอื งสกลนคร ฉบบั พระยาประจนั ตประเทศธานี (โงน คํา พรหมสาขา ณ สกลนคร) (สกลนคร : สกลนครการพิมพ, ๒๕๒๓), หนา ๓๑. ๖ ขนุ ศรนี ครานรุ กั ษ, ตํานานเมอื งสกลนคร (พระนคร : โรงพมิ พโ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๗), หนา ๖๔. ๗ ร.ต. เสรี นวลมณ,ี ศ. วสิ ทุ ธิ์ บษุ ยกลุ , เสรไี ทยสกลนคร (สกลนคร : สกลนครการพมิ พ, ๒๕๔๓), หนา ๑๖–๒๓. ๙



๑ วดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ : ท่ตี ัง้ ภมู นิ ามและความเปนมา

P »Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร หรือท่ีชาวสกลนครเรียกวา วัดธาตุ หรือ วัดพระธาตุ เปนวัดเกาแกสังกัดคณะสงฆฝายมหานิกาย ต้ังข้ึนเปนวัดเมื่อใด ไมทราบแนชดั จากหลักฐานทางประวัติศาสตรพ บหลกั ฐานวา วดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ ตั้งทับซอนบนพื้นที่ศักด์ิสิทธิ์ของวัฒนธรรมเขมรท่ีเจริญรุงเรืองในพุทธศตวรรษ ที่ ๑๗–๑๘ ดงั พบหลกั ฐานคอื ปราสาทหนิ และจารกึ ทก่ี รอบประตภู ายในองคพ ระธาตุ เชงิ ชมุ ตอ มาในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒–๒๓ อิทธิพลทางพระพุทธศาสนาในสมยั วัฒนธรรมลานชางไดแผอิทธิพลเขามาแทนที่ ทําใหผูคนในแถบน้ียอมรับนับถือ พระพทุ ธศาสนา สง ผลใหพ ระธาตเุ ชงิ ชมุ เปน ศนู ยก ลางทางความเชอื่ ความศรทั ธา ของผูคนที่อาศัยอยูในบริเวณแถบน้ี และคงเปนวัดในพระพุทธศาสนามาต้ังแต พทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ เปนตนมา ๑๒

»Ò·ÇÅÑÞª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P ÀÒ¾·èÕ ò ºÃàÔ Ç³Ç´Ñ ¾ÃиÒμàØ ª§Ô ªÁØ μ§éÑ Í´‹Ù ÒŒ ¹·ÈÔ μÐÇ¹Ñ ÍÍ¡ ÀÒÂã¹à¢μ¤¹Ù Òíé ¤¹Ñ ´¹Ô ¢Í§àÁÍ× §âºÃÒ³ ʡŹ¤Ã ¶‹ÒÂàÁ×Íè »¾‚ Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òôùø ท่ีตง้ั ภมู นิ าม วดั พระธาตุเชงิ ชุม เปนพระอารามหลวงช้นั โท ชนดิ วรวิหาร ต้ังอยใู นเขต เทศบาลนครสกลนคร ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร อาณาเขตของวดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ มดี งั น้ี ทศิ ตะวนั ออกจรดเขตหนองหาน ทศิ ตะวนั ตก จรดถนนเรืองสวัสดิ์ ทิศเหนือจรดสวนสมเด็จพระศรีนครินทร สระพังทอง และ ที่เอกชน ทิศใตจรดถนนเจริญเมือง รวมเน้ือที่ของวัดท้ังหมด ๑๘ ไร ๑ งาน ๒๖ ตารางวา โดยมนี ามและสรอยนามของวดั พระธาตเุ ชิงชมุ ดงั นี้ ยุคแผน ดนิ รชั กาลท่ี ๑–๔  วดั ธาตุ, วดั ธาตเุ ชียงชมุ ยุคแผนดนิ รัชกาลท่ี ๕–๘  วัดธาตศุ าสดาราม (พ.ศ. ๒๔๓๐–๒๔๙๖) ๑๓

P »Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ ยคุ แผน ดินรชั กาลท่ี ๙–ปจจุบนั  วัดพระธาตุเชงิ ชุม (พ.ศ. ๒๔๙๖–๒๕๐๖)  วดั พระธาตุเชงิ ชุมวรวหิ าร (พ.ศ. ๒๕๐๖–ปจจุบัน) ความเปน มา เมืองสกลนครเปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งของภาคอีสาน ภายในเขต เมอื งโบราณสกลนครประกอบดว ยวดั สาํ คญั โดยเฉพาะอยา งยงิ่ วดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ ซึ่งเปนที่ประดิษฐานขององคพระธาตุเชิงชุมและพระองคแสน รวมไปถึง เสนาสนะสําคัญตาง ๆ ความเปน มา และเหตุการณส าํ คญั ของวดั พระธาตเุ ชิงชุม มกั เก่ียวของกบั ประวัตศิ าสตรบานเมืองสกลนคร สามารถแบง ไดเ ปน ๕ ชวงเวลา สาํ คญั ดังนี้ วัดพระธาตุเชงิ ชุม สมัยพระยาสมพะมติ (ประมาณปพ ทุ ธศกั ราช ๒๓๒๐–๒๓๓๖) นับตัง้ แตพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ เปนตน มา มีการตั้งถ่ินฐานชมุ ชน ณ บริเวณ พื้นท่ีริมหนองหานอยางตอเน่ือง ดังปรากฏความตอนหนึ่งในพงศาวดารเมือง กาฬสินธุ ฉบับพระราษฎรบรหิ าร ที่เปนเอกสารทอ งถน่ิ ระบุวา “เดิมปูยาตายาย ไดสืบตระกูลตอ ๆ มาน้ัน ตั้งบานเรือนอยูหนองหานพระเจดียเชียงชุมท่ีเปน เมอื งเกา ครน้ั อยมู าจะเปน ปใ ดไมไ ดก าํ หนด ครงั้ นนั้ พระครโู พนสะเมก็ เจา อธกิ ารวดั ที่เรียกวา พระอรหันตาภายสรอย ไดตอยอดพระธาตุพนม และเมืองเกิดเหตุ ตา ง ๆ ไดพ าครอบครวั พวกเจา นายทา วเพยี ราษฎรยกไป ตง้ั ทาํ นบุ าํ รงุ อยู ณ เมอื ง จําปามหานคร ทเ่ี ปนเมอื งเกา รา งอยู ซ่งึ โปรดเกลา ฯ ตั้งเปนเมอื งนครจําปาศักดิ์ เดียวนี้น้ัน ตั้งเจาสรอยสมุทร ซ่ึงเปนเชื้อราชวงศเจาเมืองเวียงจันทน ขึ้นเปน ๑๔

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ØÊó P เจาเมืองนครจําปาศักด์ิ ครั้นอยูมาชานานหลายช่ัวก็เกิดเหตุวุนวายขึ้นตาง ๆ เจา นายทา วเพยี จงึ พรอ มกนั พาครวั บตุ รภรรยาบา วไพรก ลบั คนื หนมี าตง้ั บา นเรอื น ทํามาหากินอยูที่หนองหานพระเจดียเชียงชุม ตําบลผาขาวพรรณนาตามเดิม”๑ คร้นั ในสมยั ธนบรุ ี พระยาสมพะมติ ๒ เกดิ บาดหมางกับพระเจา สริ บิ ญุ สาร ผคู รองนครเวยี งจนั ทน จงึ พาบา วไพรค รอบครวั อพยพยา ยออกจากนครเวยี งจนั ทน มาต้ังบานเรือนขึ้น ณ บานผาขาวพรรณนาและหนองหานพระเจดียเชียงชุม หากแตย งั ไมพ น อทิ ธพิ ลของพระเจา สริ บิ ญุ สาร ครนั้ ตอ มาจงึ พาครอบครวั บา วไพร ยา ยไปตง้ั บา นเรอื น ณ บา นแกง สาํ โรง ภายหลงั ไดร บั การยกขน้ึ เปน เมอื งกาฬสนิ ธุ ในสวนองคพระเจดยี เชียงชมุ หรอื พระธาตุเชิงชุม รวมไปถงึ เสนาสนะตา ง ๆ น้นั อนมุ านวา ในชว งเวลาดงั กลา วคงขาดการทาํ นบุ าํ รงุ รกั ษา และไมป รากฏวา พระภกิ ษุ รูปใดเปน เจาอาวาส วดั พระธาตุเชงิ ชุม สมัยพระยาบานเวอ (ประมาณปพทุ ธศกั ราช ๒๓๔๙–๒๓๗๐) คร้ังตนกรุงรัตนโกสินทร พระยาบานเวอ พรอมดวยทาวหมาปอง ทาวหมาฟอง เมืองกาฬสินธุ อพยพครอบครัวขามภูพานมาต้ังบานเรือนอยูที่ พระเจดียหนองหานเชียงชุม๓ ทําราชการข้ึนกับเวียงจันทน ครั้งน้ัน “พระครู หลักคํา” ไดรับการอาราธนาจากเมืองกาฬสินธุใหมาเปนเจาอาวาส พรอมทั้ง มกี ารสรางเสนาสนะขนึ้ ในบรเิ วณวดั ครั้นตอมาผลกระทบจากสงครามระหวางกรุงเทพฯ กับเวียงจันทนสงผล ใหม ีการกวาดตอ นราษฎรทีต่ ัง้ บานเรือนอยบู า นธาตเุ ชยี งชมุ จํานวน ๒,๕๐๐ คน ไปยังแขวงเมืองปราจีนบุรี เอกสารทองถ่ินกลาววา ยังคงใหมีราษฎรจํานวน ๗ หมูบาน ประกอบดวย บานธาตุเชียงชุม บานหนองเหียน บานจารเพ็ญ บา นออ มแกว บา นนาเวง บา นพาน และบา นวงั ยาง๔ โดยมเี พย้ี ศรคี รชมุ ๕ ทาํ หนา ที่ ผปู ฏิบตั ๖ิ องคพ ระธาตุเชยี งชุม ๑๕

P »Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ØÊó วดั พระธาตเุ ชงิ ชุม สมัยพระยาประเทศธานี (คํา) (พทุ ธศักราช ๒๓๘๑–๒๔๑๙)๗ ในปพ ทุ ธศกั ราช ๒๓๗๘ อุปฮาด (คาํ สาย) ราชวงศ (คํา) ทาวอนิ เมอื ง มะหาไซกองแกว พาบาวไพรขามแมนํ้าโขงเขามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภาร จึงโปรดเกลาฯ ใหราชวงศ (คํา) ทาวอิน ต้ังบานเรือนอยูที่บานธาตุเชียงชุม คร้ันเม่ือ พ.ศ. ๒๓๘๑ ราชสาํ นักกรุงเทพฯ มใี บบอกยกบา นธาตุเชียงชุมขึน้ เปน เมอื งสกลนคร ตงั้ ใหร าชวงศ (คาํ ) เปน พระยาประเทศธานี เจา เมอื ง แลว ใหร าชวงศ เมอื งกาฬสนิ ธุ (ลาว) เปนอปุ ฮาด ทาวอนิ เปนราชวงศ และราชบตุ ร (ดา ง) เมือง กาฬสนิ ธเุ ปนราชบุตร ปกครองเมืองสกลนคร พระครูหลกั คํายังคงดํารงตําแหนง เจาอาวาสและปกครองสงฆในเมืองสกลนคร ตอมามีการสรางวัดขึ้นในเขตเมือง สกลนครอกี หลายวัดดวยกนั ดังนี้  วดั โพธ์ิชัย ไมปรากฏศักราชและผูสราง  วัดศรีบุญเรืองหรือวัดแปน๘ สรางโดยพระยาประเทศธานี (คํา) เมื่อ พุทธศักราช ๒๓๘๓  วัดศรีคูณเมืองหรือวัดกลาง๙ สรางโดยพระยาประเทศธานี (คํา) เม่ือ พุทธศักราช ๒๓๘๘  วัดศรีมุงคุณหรือวัดเหนือ สรางโดยราชวงศ (อิน) เม่ือพุทธศักราช ๒๓๙๐  วดั ศรสี ะเกษ สรางโดยพระศรีวรราช (ลี) เมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๓ วดั พระธาตเุ ชิงชุม สมัยพระยาประจนั ตประเทศธานี (ปด ) (พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๒–๒๔๒๗)๑๐ สมัยนี้ไมปรากฏหลักฐานเปนลายลักษณอักษรเกี่ยวกับวัดพระธาตุเชิงชุม อนมุ านวาคงมีการบูรณปฏิสงั ขรณเ สนาสนะภายในวดั และพบหลักฐานวามกี าร สรางวัดขน้ึ ดงั น้ี ๑๖

»Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P  วัดสะพานหินหรือวัดสะพานคํา สรางโดยพระยาประเทศธานี (ปด) เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๔๒๑  วัดแจงแสงอรุณ สรางโดยอุปฮาด (โงนคํา) เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๒  วัดศรีธรรมหายโศกหรือวัดศรีชมพู สรางโดยอุปฮาด (โงนคํา) เม่ือ พุทธศักราช ๒๔๒๓ วดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ สมยั พระยาประจนั ตประเทศธานี (โงน คาํ ) (พุทธศักราช ๒๔๓๐–๒๔๖๖)๑๑ วดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ สมยั นเ้ี รมิ่ มคี วามชดั เจนเนอ่ื งจากปรากฏหลกั ฐานทเ่ี ปน ลายลกั ษณอ กั ษรวา วดั ธาตเุ ชียงชมุ ใชเ ปน สถานที่ในการจดั พิธีกรรมสําคญั ตาง ๆ มาเมื่อครั้งโบราณ อาทิ พิธีถือนํ้าพิพัฒนสัตยา เปนตน และมีการทํานุบํารุง เสนาสนะตา ง ๆ ภายในวดั อาทิ สรา งวหิ ารใหม (ภาพท่ี ๓) แทนหลงั เดมิ ทที่ รดุ โทรม ในสมัยนี้มีการเปล่ียนชื่อจาก “วัดธาตุเชียงชุม” เปนวัด “ธาตุศาสดาราม” นอกจากนีย้ งั มกี ารสรางวัดข้ึนในเขตเมืองสกลนคร ดงั นี้  วัดกัลยาณมิตรศรีโพนเมืองหรือวัดศรีโพนเมือง สรางโดยพระยา ประจนั ตประเทศธานี (โงน คํา) เมื่อพทุ ธศกั ราช ๒๔๓๑  วัดดงมะไฟ สรางโดยพระยาประจันตประเทศธานี (โงนคํา) เมื่อ พุทธศกั ราช ๒๔๓๑  วดั สระแกว๑๒ สรา งโดยพระพินจิ บํารุงราษฎร (คาย) เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๓  วัดยอดแกว๑๓ สรางโดยพระยาประจันตประเทศธานี (โงนคํา) เมื่อ พุทธศกั ราช ๒๔๕๙ ๑๗

P »Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ØÊó ÀÒ¾·èÕ ó ¾ÃÐÇÔËÒà (ËÅѧà´ÁÔ ) Ê¶Ò»μ˜ Â¡ÃÃÁÅÒÇ áÅÐͧ¤¾ ÃиÒμØàª§Ô ªØÁ ¾ÃÐÇÔËÒÃËÅѧ¹Õé ÊÌҧã¹ÊÁѾÃФÃËÙ ÅÑ¡¤Òí (¾¹) ¶‹ÒÂàÁ×Íè »‚¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òô÷ô (·èÕÁÒ : ÊÁØ´ÀÒ¾μÃǨÃÒª¡ÒÃËÑÇàÁ×ͧª‹Ç§¡èÖ§·ÈÇÃÃÉ¡‹Í¹¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ¡Òû¡¤Ãͧ ¾.È. òô÷õ Êíҹѡ§Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧÁËÒ´ä·Â) การบรู ณะวดั พระธาตเุ ชงิ ชมุ มกี ารกระทาํ อยา งตอ เนอื่ ง โดยรบั พระราชทาน โปรดเกลา ฯ ยกใหเ ปน พระอารามหลวงชนั้ โท ชนดิ วรวหิ าร เมอื่ วนั ที่ ๒๐ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๖ และรับพระราชทานวสิ ุงคามสีมา เมอื่ วันที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ นอกจากนก้ี รมศลิ ปากรยังไดป ระกาศเขตทีด่ ินโบราณสถาน บริเวณองคพระธาตุเชงิ ชุม จํานวน ๓ ไร ๓ งาน ๔๗ ตารางวา๑๔ เมอ่ื วันท่ี ๒๖ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๒๕ อกี ดว ย ๑๘

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ØÊó P ÀÒ¾·èÕ ô ¾ÃФÃÊÙ ¡ÅÊÁ³¡¨Ô 椄 ¦ÇÒË (¸ÃÃÁ) Í´μÕ à¨ÒŒ ÍÒÇÒÊÇ´Ñ ¸ÒμÈØ ÒÊ´ÒÃÒÁ (¸ÒμàØ ª§Ô ªÁØ ) ¶‹ÒÂàÁ×Íè »‚¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òô÷ô (·ÕèÁÒ : ÊÁØ´ÀÒ¾μÃǨÃÒª¡ÒÃËÑÇàÁ×ͧª‹Ç§¡Ö觷ÈÇÃÃÉ¡‹Í¹¡ÒÃà»ÅèÕ¹á»Å§ ¡Òû¡¤Ãͧ ¾.È. òô÷õ ÊíÒ¹¡Ñ §Ò¹»Å´Ñ ¡ÃзÃǧÁËÒ´ä·Â) ๑๙

P »Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ØÊó ลาํ ดบั เจาอาวาสวัดพระธาตเุ ชิงชุม๑๕ ๑. พระครูหลกั คํา ๒. พระครชู ิน ๓. พระครูเห็ม ๔. พระครเู สือ ๕. พระครูสอน ๖. พระครพู รหมมา ๗. พระครแู พง ๘. พระครหู ลักคํา (พน) (พ.ศ. ๒๔๓๐–๒๔๕๓) ๙. พระครสู กลสมณกจิ สงั ฆปาโมกข (บุดดี ปฺญาวุฑฺโฒ) (พ.ศ. ๒๔๕๓– ๒๔๖๖) ๑๐. พระครสู กลสมณกจิ สงั ฆวาห (ธรรม ธมมฺ โชโต) (พ.ศ. ๒๔๖๖–๒๔๗๙) (ภาพท่ี ๔) ๑๑. พระเทพวิมลเมธี (วนั ดี สริ วิ ณฺโณ) (พ.ศ. ๒๔๗๙–๒๕๒๙) ๑๒. พระราชวิมลมุนี (ศรีคาํ อภิสทโฺ ธ) (พ.ศ. ๒๕๓๐–๒๕๓๖) ๑๓. พระเทพวสิ ทุ ธาจารย (กง โฆสโก) (พ.ศ. ๒๕๓๖–๒๕๕๒) ๑๔. พระเทพสทิ ธโิ สภณ (สุรสหี  กิตตฺ ิโสภโณ) (พ.ศ. ๒๕๕๒–ปจ จุบนั ) ๒๐

»Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÂÔ Ò¹ØÊó P เชิงอรรถ ๑ พระราษฎรบรหิ าร, พงศาวดารเมอื งกาฬสินธุ (เอกสารอัดสาํ เนา), พบั ท่ี ๕–๗. ๒ ตอมาในป พ.ศ. ๒๓๓๖ ไดรับพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปน “พระยาชัยสุนทร” เจา เมอื งกาฬสนิ ธุ. ๓ พระราษฎรบริหาร, พงศาวดารเมอื งกาฬสนิ ธ,ุ พับที่ ๑๔–๑๕. ๔ ขุนศรีนครานรุ ักษ, ตาํ นานเมอื งสกลนคร (พระนคร : โรงพมิ พโสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๗), หนา ๒๑. ๕ เพีย้ ศรคี รชมุ เปนขา ราชการเกามากอน, คาํ วา “เพยี้ ” เพ้ียนมาจากคาํ วา “เพีย” เปน ตาํ แหนง ขา ราชการระดบั สงู ในระบบธรรมเนยี มการปกครองแบบลาว (อา งจาก : เกรียงไกร ปรญิ ญาพล, พงศาวดารเมืองสกลนคร ฉบับรองอาํ มาตยโท พระบริบาล ศุภกจิ (คําสาย), ๒๕๕๘, หนา ๓๑). ๖ หวั หนา ผปู ฏบิ ตั ิ เปน ผนู าํ ในการดแู ลศาสนสถาน จดั แจงดแู ลศาสนพธิ ตี า ง ๆ ใหถ กู ตอ ง เรียบรอ ยดีงาม และอาจจะหมายถงึ “มรรคนายก” หรอื “ศลี วตั ร” ดว ย. ๗ สรุ ัตน วรางคร ัตน, “พระธาตเุ ชงิ ชุมและการคลค่ี ลายประวัติศาสตรเมืองสกลนคร”, ใน ประวตั ิศาสตรส กลนคร (สกลนคร : สกลนครการพมิ พ, ๒๕๔๕), หนา ๘๘. ๘ บรเิ วณรา นลานโพธ์ิ และรา นเคร่อื งเขยี นสะเลเตในปจ จบุ ัน. ๙ บรเิ วณตลาดศรคี ณู เมืองในปจ จบุ ัน. ๑๐ สรุ ตั น วรางคร ตั น, “พระธาตเุ ชงิ ชมุ และการคลค่ี ลายประวตั ศิ าสตรเ มอื งสกลนคร”, ใน ประวตั ิศาสตรส กลนคร, หนา ๘๙. ๑๑ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา ๙๐–๙๒. ๑๒ บริเวณโรงพยาบาลศูนยส กลนครในปจ จบุ ัน. ๑๓ บรเิ วณโรงเรียนเทศบาล ๑ “เชิงชมุ ประชานุกุล” ในปจ จุบนั . ๑๔ พระราชบัญญตั ิโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔, (๒๕๒๕, ๒๑ ตุลาคม), ราชกจิ จานุเบกษา, เลม ๙๙ ตอนที่ ๑๕๕. ฉบบั พิเศษ, หนา ๓๐. ๑๕ พระเทพสทิ ธโิ สภณ, (๒๕๕๘, ๒๑ ตลุ าคม), สมั ภาษณโ ดย พจนวราภรณ เขจรเนตร ท่ีวัดพระธาตเุ ชิงชมุ วรวิหาร อําเภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร. ๒๑



๒ พระธาตุเชงิ ชมุ : ศาสนสถานในวัฒนธรรมเขมร ประจาํ เมอื งโบราณสกลนคร

P »Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ อาณาจักรเขมรโบราณถือไดวาเปนอาณาจักรท่ีย่ิงใหญท่ีสุดแหงหนึ่ง ของภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต มีความเจรญิ รุงเรืองในชว งราวพทุ ธศตวรรษ ท่ี ๑๒–๑๘ อาณาจักรเขมรโบราณมีรากฐานมาจากวัฒนธรรมทางศาสนา ท้ังพราหมณ–ฮินดู และพระพุทธศาสนา ท่ีเผยแผเขามาจากประเทศอินเดีย กษัตริยแหงอาณาจักรเขมรหลายพระองคยังแผขยายอํานาจออกไปสูดินแดน ใกลเคียง หลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรเขมร โบราณ ปรากฏใหเห็นเดนชัดจากสถาปตยกรรมที่เรียกวา “ปราสาท” สรางข้ึน เพอื่ ใชเ ปน ศาสนสถานประจาํ เมอื งหรอื ประจาํ ชมุ ชน ตามคตคิ วามเชอ่ื ทางศาสนา เปนจํานวนมาก โดยเฉพาะในฝงราชอาณาจักรกัมพูชาและในบริเวณลุมนํ้ามูล ตอนลาง หรือในบริเวณแองโคราช (Khorat Basin) ของราชอาณาจักรไทย แถบจงั หวดั อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร บรุ รี ัมย และนครราชสมี า นอกจากน้ี ยังพบวาอารยธรรมเขมรโบราณยังแพรกระจายมาสูพื้นที่แองสกลนคร (Sakon Nakhon Basin) แถบจังหวดั สกลนครและอดุ รธานีดวย ๒๔

»Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P ÀÒ¾·èÕ õ ÀÒ¾¶Ò‹ ·ҧÍÒ¡ÒÈàÁÍ× §âºÃҳʡŹ¤Ã àÁ×Íè ¾.È. òôùõ (·ÕèÁÒ : ¡ÃÁá¼¹·Õ·è ËÒà ¡ÃзÃǧ¡ÅÒâËÁ) เมืองโบราณสกลนคร นับตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ กระแส วัฒนธรรมเขมรโบราณขยายอิทธิพลไปอยางกวางขวางจากลุมนํ้ามูลในบริเวณ แองโคราชเขาสูแองสกลนคร โดยเฉพาะในบริเวณพื้นท่ีเมืองสกลนครหรือ เมอื งหนองหานหลวง ซงึ่ ในระยะเวลาดังกลาวมแี บบแผนท่เี ปนไปตามแบบอยาง วัฒนธรรมเขมรท้ังส้ิน ดังปรากฏหลักฐานท่ีเปนโบราณสถานและโบราณวัตถุ ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม เห็นไดจากการวางผังเมือง บนท่ีดอน ไดร ับการออกแบบใหป ระกอบไปดว ยระบบสาธารณูปโภค ดังปรากฏ ๒๕

P »Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ØÊó รอ งรอยของคนู า้ํ คนั ดนิ รอบตวั เมอื งเปน รปู สเี่ หลย่ี ม ขนาด ๑,๓๕๐ x ๑,๕๐๐ เมตร ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ ๓.๑๗ ตารางกิโลเมตร (๑,๙๘๐ ไร)๑ ลอมรอบดวย คนั ดนิ และคนั่ กลางดว ยคนู า้ํ ขดุ ลกึ ถงึ ระดบั กกั เกบ็ นาํ้ ขนาดความกวา งไมน อ ยกวา ๔๐ เมตร โดยการวางผังเมืองในลักษณะน้ีเปนหน่ึงในสองแหงท่ีพบในบริเวณ แองสกลนคร คอื เมืองโบราณหนองหาน๒ และเมอื งโบราณสกลนคร (ภาพที่ ๕) อีกท้ังภายในและภายนอกตัวเมืองประกอบดวย คันกั้นน้ํา ถนน สะพาน และ บาราย เปนตน (ภาพท่ี ๖) ÀÒ¾·Õè ö ¼§Ñ Ê¹Ñ ¹ÉÔ °Ò¹àÁ×ͧâºÃҳʡŹ¤Ã àÁÍè× ÃÒǾ·Ø ¸ÈμÇÃÃÉ·èÕ ñ÷ áÊ´§á¹Ç¤Ñ¹¤Ù ¶¹¹ Êоҹ áÅкÒÃÒ (·èÁÕ Ò : »ÃѺ»Ãا¨Ò¡ ¸Ò´Ò ÊØ·¸¸Ô ÃÃÁ. (òõôõ). “àÁ×ͧ˹ͧËÒ¹ËÅǧ (àÁ×ͧ ʡŹ¤Ã) ÍíÒàÀÍàÁÍ× § ¨§Ñ ËÇ´Ñ Ê¡Å¹¤Ã”, ã¹ ¼Ñ§àÁ×ͧ㹻ÃÐà·Èä·Â : ¼§Ñ ªØÁª¹ áÅСÒÃ㪌·Õè´Ô¹ ÊÒÂÍÒøÃÃÁà¢ÁÃã¹ÀÒ¤μÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í, ˹ŒÒ ñôð.) ๒๖

»Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ P นอกจากรองรอยของการวางผังเมืองโบราณสกลนครแลว ยังมีการคน พบ ศลิ ปวตั ถอุ นั ทรงคณุ คา โดยเฉพาะงานทเ่ี ปน “พาณชิ ยศลิ ป” ภายในอาณาบรเิ วณ เมืองโบราณสกลนครและพ้ืนท่ีใกลเคียงโดยรอบ ประกอบดวย เคร่ืองถวยเขมร ในรูปแบบตาง ๆ อาทิ เครื่องถวยเคลือบสีเขียวออนทรงขวด มีแหลงผลิตจาก เตากุเลน ประเทศกัมพูชา (ภาพท่ี ๗) กระปุกรูปสัตว คนโท และไหทรงสูง มีแหลง ผลิตจากเตาบานกรวด จงั หวัดบุรรี ัมย (ภาพท่ี ๘) รวมไปถงึ เครือ่ งถวยจนี อาทิ ตลับรูปแตงหอม ตลับทรงแปดเหล่ียม และทรงกลมแบน ที่มีแหลงผลิต จากเตาหนานอันและเตาเตอฮั้ว ประเทศจีน (ภาพท่ี ๙) แสดงใหเห็นถึง การตดิ ตอ คา ขายและการไปมาหาสรู ะหวา งเมอื งโบราณสกลนครทนี่ บั วา เปน เมอื ง ในอาณาบริเวณชายขอบตั้งอยูหางไกลกับเมืองศูนยกลางของวัฒนธรรมเขมร เมอื่ ชว งประมาณตน พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ ถงึ ประมาณปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ ดว ย ÀÒ¾·èÕ ÷ à¤ÃèÍ× §¶ÇŒ Âà¤Å×ͺÊÕà¢ÕÂÇ͋͹·Ã§¢Ç´ ÁáÕ ËÅ‹§¼ÅÔμ¨Ò¡àμÒ¡ØàŹ »ÃÐà·È¡ÁÑ ¾ªÙ Ò (º¹«ŒÒÂ) ÀÒ¾·èÕ ø à¤Ã×èͧ¶ŒÇÂà¤Å×ͺÊÕ¹éÒí μÒÅ ÁÕáËÅ‹§¼ÅÔμ ¨Ò¡àμÒºÒŒ ¹¡ÃÇ´ ¨Ñ§ËÇ´Ñ ºØÃÃÕ ÑÁ (º¹¢ÇÒ) ÀÒ¾·Õè ù à¤ÃèÍ× §¶ŒÇÂà¤ÅÍ× ºÊ¢Õ ÒÇáÅÐÊÕà¢ÕÂÇ͋͹ ÁÕáËÅ‹§¼ÅμÔ ¨Ò¡àμÒË¹Ò¹Í¹Ñ áÅÐàμÒàμÍŽ ÎÇÑé »ÃÐà·È¨Õ¹ (Å‹Ò§¢ÇÒ) ๒๗

P »Ò·ÇÅÑÞª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ ปราสาทเขมรประจาํ เมืองโบราณสกลนคร ผังเมืองโบราณสกลนครไดรับการออกแบบใหมีลักษณะสมมาตร โดยมี องคประกอบสําคัญอยางหนึ่งที่ขาดไปเสียไมไดคือ “ศาสนสถาน” การสถาปนา “เทวาลยั ” หรอื องคพ ระธาตเุ ชงิ ชมุ เพอ่ื เปน ทป่ี ระดษิ ฐานของรปู เคารพทางศาสนา ตามคติมณฑลศักด์ิสิทธ์ิหรือท่ีเรียกวา “มณฑลจักรวาล” โดยการจําลอง “เขาพระสุเมรุ” ลอมรอบดวยมหานทีสีทันดรหรือคูนํ้าลอมรอบ เปนศูนยกลาง ตามความเช่ือ อันเปนธรรมเนียมท่ีสืบทอดกันมาในวัฒนธรรมเขมร และ การประดิษฐานรูปเคารพทําใหเกิดมณฑลอันศักด์ิสิทธ์ิ นอกจากเพื่อคุมครอง ประชาชนท่ีอยูในพ้ืนที่และเปนการคุมครองเมืองแลว ยังเปนไปเพ่ือความเจริญ รงุ เรืองของเมอื งดว ย๓ ปราสาทเขมรท่ีถูกกอครอบดังท่ีปรากฏในปจจุบันน้ีต้ังอยูบนพื้นท่ีเนิน เกอื บกลางใจเมอื งโบราณสกลนคร ตงั้ หนั หนา ไปทางดา นทศิ ตะวนั ออก มลี กั ษณะ ทางสถาปตยกรรมจัดอยูในกลุมปราสาทขนาดเล็กประจําชุมชน หรือที่เรียกวา “สรุค” มีแผนผงั เปน รปู สเี่ หลยี่ มจัตรุ ัส (ภาพท่ี ๑๐) มีขนาดความกวา งประมาณ ๔ x ๔ เมตร และพอจะอนุมานไดวา อยูในลักษณะของปราสาทท่ีมีปรางค องคเ ดยี วเปน ประธาน โดยใชว สั ดหุ ลกั ทสี่ ามารถหาไดใ นทอ งถนิ่ โดยในการกอ สรา ง ประกอบดวย “ศลิ าแลง” (Laterite) ซึ่งพบไดทวั่ ไปในบรเิ วณพืน้ ท่ีดา นทศิ เหนือ และทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของหนองหาน นอกจากนพี้ บวา มกี ารใช “หนิ ทราย” (Sandstone) (ภาพที่ ๑๑–๑๒) เพื่อเปนสวนประกอบในการทํากรอบประตู เพอ่ื รบั นาํ้ หนกั การทงิ้ ตวั ของโครงสรา งจากสว นเรอื นยอดเหนอื ประตู โดยปรากฏ แหลง ตดั หินทรายในบรเิ วณพื้นทแ่ี ถบเชงิ เขาภพู าน ๒๘

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÂÔ Ò¹ØÊó P ÀÒ¾·Õè ñð ¼§Ñ »ÃÒÊÒ·ÀÒÂã¹μÑÇ Í§¤¾ ÃиÒμàØ ª§Ô ªÁØ (·èÁÕ Ò : »ÃѺ»Ãا¨Ò¡ ÊíҹѡÈÔŻҡà ·èÕ ñð ÃŒÍÂàÍ´ç ) ÀÒ¾·èÕ ññ ¡ÒÃãªËŒ Ô¹ÈÅÔ Òáŧ (Laterite) ໚¹ÇÑÊ´ËØ Å¡Ñ ã¹â¤Ã§ÊÃÒŒ §¢Í§Í§¤¾ ÃиÒμàØ ª§Ô ªØÁ ๒๙

P »Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ØÊó ÀÒ¾·èÕ ñò ¡Ãͺ»ÃÐμÙË¹Ô ·ÃÒ (Sandstone) Áͧ¨Ò¡ÀÒÂã¹ËŒÍ§¤ÃÃÀ¤ÄËÐ ËÃ×ͤÙËÒ ÀÒÂã¹Í§¤¾ ÃиÒμØàªÔ§ªØÁ ÀÒ¾·èÕ ñó ¨ÒÃÖ¡ÍÑ¡ÉâÍÁ ÀÒÉÒà¢Áà »ÃÒ¡¯ã¹ºÃÔàdz¼¹Ñ§¡Ãͺ»ÃÐμÙàÃ×͹¸ÒμØ ËÃ×Í ËŒÍ§¤ÃÃÀ¤ÄËÐ ´ŒÒ¹·ÔÈμÐÇѹÍÍ¡ ๓๐

»Ò·ÇÅÑުѧà¨μÔÂÒ¹ØÊó P หลักฐานและการกาํ หนดอายุ การพบจารึกอักษรขอม–ภาษาเขมร จํานวน ๑๒ บรรทัด ในบริเวณ กรอบประตูทางเขาหองวิมานหรือหอง “ครรภคฤหะ” ดานทิศตะวันออกของ องคพระธาตุ (ภาพที่ ๑๓) เน้ือความไดก ลาวถงึ บคุ คลจํานวนหนง่ึ พากันไปชี้แจง ตอโขลญพล ซึ่งเปนหัวหนาหมูบานพะนุรพิเนา ตามคําแนะนําของกําเสตงวา ทดี่ นิ ซง่ึ ราษฎรหมบู า นพะนรุ พเิ นามอบใหโ ขลญพลนน้ั มี ๒ สว น สว นหนงึ่ เปน ทดี่ นิ ในหลักเขตขึ้นกับหัวหนาหมูบานชระเลง ที่ดินอีกสวนหน่ึงอยูนอกหลักเขต ใหข ึ้นกบั หมบู า นพะนรุ พเิ นา๔ นอกจากเรือ่ งการมอบที่ดินแลว ขอความตอนทา ย ของจารกึ ไดกลา วถึงโขลญพลไดก ลั ปนาอทุ ิศ ทาส ๔ คน ววั ๖ ตัว ขาวเปลือก และทน่ี า แดเ ทวสถาน๕ จากขอ ความในจารกึ นแี้ สดงใหเ หน็ วา ชาวบา นไดก ลั ปนา ท่ีดินเพื่อเปนสถานที่สรางศาสนสถานข้ึนและบริเวณที่ต้ังของพระธาตุเชิงชุม ซึ่งอาจรวมถึงบริเวณพื้นท่ีเมืองภายในเขตคูน้ําคันดินทั้งหมดคือพื้นที่ของ “หมูบานชระเลง” สว นพน้ื ที่รอบนอก เปนพ้ืนท่ีของอีกชุมชนท่ีปรากฏใน จารึกวา “หมูบ า นพะนรุ พิเนา” มีการ อนมุ านวา เปน บรเิ วณทต่ี ง้ั ของปราสาท นารายณเจงเวงในปจจุบัน เน่ืองจาก ตั้งอยูบนพื้นที่สูงกวาตามความหมาย ของคําวา “พะนุรพิเนา” ท่ีหมายถึง “เนินมะตูม” และต้ังอยูไมไกลจาก ตวั เมืองสกลนคร ÀÒ¾·Õè ñô ¾ÃÐÍÈÔ Çà »ÃШÒí à·Çʶҹ»ÃШÒí àÁÍ× §âºÃҳʡŹ¤Ã (¾ÃиÒμØ àª§Ô ªÁØ ) ÊÁºÃÙ ³· ÊÕè ´Ø à·Ò‹ ·ÁèÕ ¡Õ Òà ¤¹Œ ¾ºã¹ºÃàÔ Ç³¾¹é× ·ÍÕè ÊÕ Ò¹μ͹º¹ ๓๑

P »Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ นอกจากน้ีหลักฐานสําคัญอยางหน่ึงท่ีคนพบ คือ เทวรูปพระอิศวรหรือ พระศิวะ (ภาพที่ ๑๔) ในลักษณะรูปประติมากรรมแบบลอยตัว ประทับยืน เกลามวยผมเปน “ชฎามุกุฎ” แบบทรงสูง มีพระจันทรเส้ียวประดับ มีการทํา พระทาฒิกะ (เครา) และไรพระศก รวมไปถึงรูปแบบผานุง ซึ่งการกําหนดอายุ และสรางขึ้นในความเช่ือทางศาสนาลัทธิใดน้ัน เม่ือนํามาประกอบกับลักษณะ ของตวั อกั ษรทปี่ รากฏในจารกึ และลกั ษณะทางศลิ ปะทปี่ รากฏจากเครอื่ งแตง กาย ขององคเทวรูป แสดงใหเห็นวา ศาสนสถานเขมรประจําเมืองโบราณสกลนคร หรือองคพระธาตุเชิงชุมแหงน้ี อยูในกลุมศิลปะเขมรแบบสมัยนครวัด มีอายุ ในราวชว งปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ตอตน พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ตามคติความเชื่อ เน่ืองในศาสนาพราหมณ ลัทธิไศวะนิกาย อยางไรก็ตามพบวาการกอสราง ปราสาทหลงั นมี้ ลี กั ษณะเปน งานทค่ี อ นขา งหยาบ ซง่ึ อาจอนมุ านวา มอี ายกุ ารสรา ง อยใู นชัน้ หลัง และมอี ายุนอ ยกวา ปราสาทดมุ ๖ และปราสาทนารายณเ จงเวง๗ ๓๒

»Ò·ÇÅÞÑ ªÑ§à¨μÂÔ Ò¹ØÊó P เชงิ อรรถ ๑ ธาดา สทุ ธธิ รรม, “เมอื งหนองหานหลวง (เมอื งสกลนคร) อาํ เภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร”, ใน ผงั เมอื งในประเทศไทย : ผงั ชมุ ชนและการใชท ดี่ นิ สายอารยธรรมเขมร ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ขอนแกน : บรษิ ทั ขอนแกน พมิ พพ ฒั นา จาํ กดั , ๒๕๔๔), หนา ๑๓๘. ๒ ทต่ี ั้งของอาํ เภอหนองหาน จงั หวัดอดุ รธาน.ี ๓ ธาดา สทุ ธธิ รรม, “เมอื งหนองหานหลวง (เมอื งสกลนคร) อาํ เภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร”, ใน ผงั เมอื งในประเทศไทย : ผงั ชมุ ชนและการใชท ดี่ นิ สายอารยธรรมเขมร ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื , หนา ๑๐๓. ๔ สุรตั น วรางคร ตั น, “พระธาตเุ ชิงชมุ และการคลคี่ ลายประวัติศาสตรเมืองสกลนคร”, ใน ประวัติศาสตรส กลนคร (สกลนคร : สกลนครการพมิ พ, ๒๕๔๕), หนา ๘๑. ๕ ฐานขอมูลจารึกในประเทศไทย ศูนยม านษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร (องคการมหาชน). “จารกึ พระธาตุเชิงชมุ ”, สืบคนจาก http://www.sac.or.th (ออนไลน). ๖ ปราสาทดมุ หรือพระธาตุดมุ ตง้ั อยู ณ วดั พระธาตดุ มุ ตําบลธาตุเชงิ ชุม อาํ เภอเมอื ง สกลนคร จงั หวดั สกลนคร มลี กั ษณะเปน ปราสาท ๓ หลงั หนั หนา ไปทางทศิ ตะวนั ออก เรือนธาตุกอดวยอิฐบนฐานศิลาแลง พังทลายลงเหลือเฉพาะหลังกลาง อยูในกลุม ศิลปะเขมรแบบบาปวน สรางข้ึนในศาสนาพราหมณ ลัทธิไศวะนิกาย กําหนดอายุ อยใู นราวครง่ึ หลงั พทุ ธศตวรรษที่ ๑๖. ๗ ปราสาทนารายณเ จงเวงหรอื พระธาตุนารายณเจงเวง ตัง้ อยู ณ วดั พระธาตนุ ารายณ เจงเวง ตาํ บลธาตเุ ชงิ ชมุ อาํ เภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร มลี กั ษณะเปน ปราสาท หลังเดียว หันหนาไปทางทิศตะวันออก เรือนธาตุกอดวยหินทรายบนฐานศิลาแลง อยูในกลุมศิลปะเขมรแบบบาปวน สรางข้ึนในศาสนาพราหมณ ลัทธิไศวะนิกาย กาํ หนดอายุอยูใ นราวปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ ถงึ ตนพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗. ๓๓



๓ พระธาตเุ ชิงชุม : อุเทสกิ เจดียใ นวฒั นธรรมลานชา ง

P »Ò·ÇÅÞÑ ª§Ñ à¨μÔÂÒ¹ÊØ Ã³ วัฒนธรรมลานชางเรียกอยางหนึ่งวา “วัฒนธรรมลาว” เจริญรุงเรือง ครอบคลุมพ้ืนที่บริเวณลุมน้ําโขงตอนกลางในชวงราวประมาณพุทธศตวรรษ ที่ ๒๑–๒๔ โดยกษัตริยแหงอาณาจักรลานชางหลายพระองคแผขยายอํานาจ เขามายังพ้ืนท่ีภาคอีสาน หลักฐานท่ีแสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของ วัฒนธรรมลานชาง ปรากฏใหเห็นเดนชัดจากสถาปตยกรรมท่ีเรียกวา “ธาตุทรง บัวเหลยี่ ม” ทนี่ ิยมสรางข้นึ เพื่อเปน “อุเทสกิ เจดยี ” หรอื “สง่ิ ระลึกถึงองคสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา” ภายหลังจากศาสนสถานในวัฒนธรรมเขมรถูกทิ้งรางไป การเขามาของผูคนและรูปแบบศาสนาความเช่ือในวัฒนธรรมลานชางไดเจริญ เขา มาแทนท่ี การฟน ฟศู าสนสถานเดมิ ไดเ กดิ ขน้ึ ตลอดชว งระยะเวลาดงั กลา ว ๓๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook