Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพุทธมามกะฉบับความรู้พื้นฐานก่อนไปวัด

คู่มือพุทธมามกะฉบับความรู้พื้นฐานก่อนไปวัด

Published by WATKAO, 2021-01-27 03:49:58

Description: พระเผด็จ ทัตตชีโว

Search

Read the Text Version

กันสืบมา ด้งนี้ ๑) เมื่อพระสงฆ์มาในงานพิธีนั้นถ้าสถานที่ชุมนุมนั้น จัดให้นั้งเกัาอี้ นิยมให้พระสงฆ์นั้งเกัาอี้แถวหน้า ๒)คฤห้สถ์ชาย ถ้าจำเป็นจะด้องนั้งเกัาอี้แถวเดียว กับพระสงฆ์ นิยมนั้งเกัาอี้ด้านซ้ายของพระสงฆ์ ๓)สำ หรับสตรี ไม่ควรนั้งเกัาอี้แถวเดียว หรีอนั่ง อาสนะยาวผืนเดียวกับพระสงฆ์ เว้นแต่มีสุภาพ บุรุษนั่งคั่นระหว่างกลาง ๔)ถ้าสถานที่ชุมนุมนั้น จัดให้นั่งกับพื้น นิยมจัด อาสนะสงฆ็ไว้เป็นส่วนต่างหาก จากอาสนะที่ คฤห้สถ์ชายหญิงนั่ง เช่น ปูพรมผืนใหญ่เต็มห้อง เป็นด้น นิยมปูลาดอาสนะเล็กบนพรมผืนใหญ่ อีกชั้นหนึ่งสำหรับเป็นที่นั่งของพระสงฆ์แต่ละรูป คู่มือพุฑ&มามกะamiความรู้ฬึ๋นฐานก่อนไปวัค ^๘^ ท0นใปาด www.kalyanamitra.org

๒.๓ การตามส่งพระสงฆ์ การตามส่งพระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสดงความ เคารพแก่พระสงฆ์อีกประการหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธนิยมปฏิบัติ กันสืบมา เมื่อพระเถระ^หญ่ หรือพระสงฆ์ที่นิมนต์มาให้งาน พิธีนั้นจะกลับ คฤห้สถ์ชายหญิงพึงปฏิบตดังนี้ ๑) ถ้านั้งเกัาอี้ นิยมลุกขึ้นยืนส่งท่าน เมื่อท่านเติน ผ่านเฉพาะหน้า จึงน้อมตัวลงยกมือไหว้ ๒)ถ้านั้งอยู่กับพื้น ไม่ตัองยืนส่ง เมื่อท่านเตินผ่าน เฉพาะหน้าจึงกราบหรือยกมือไหว้ ตามควรแก่ กรณี ๓)สำ หรับท่านผู้เป็นประธานพิธี หรือเจ้าภาพงาน ควรเตินตามไปส่งท่านจนพ้นบริเวณงาน หรือ จนกว่าท่านจะขึ้นรถออกพ้นจากบริเวณงานไป แลัว และก่อนที่ท่านจะจากไป ควรน้อมตัวลง ยกมือไหว้ เป็นการแสตงความเคารพส่งท่านอีก ครั้งหนึ่ง ๒.๔ การหลีกทางให้พระ การหลีกทางให้แก่พระสงฆ์ เป็นกิริยาอาการแสดง ความเคารพเอื้อเพิอแก่พระสงฆ์อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธ นิยมปฏิบํ[ตกันสืบมา คู่มือYjฑธมามกร ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัค ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

ใอ.๔.๑ วิธีปฏิบัติเมื่อพระสงฆ์เดินตามมาข้างหลัง ถ้าพระสงฆ์เดินมาข้างหลัง คฤหัสถ์ชายหญิงเดินไป ข้างหน้ารูสึกตัวว่ามีพระสงฆ์เดินตามมาข้างหลัง นิยมปฏิบต ตังนี้ ๑) หลีกเข้าชิดข้างทางซ้ายมีอของพระสงฆ์ ๒)ยืนตรง มีอทั้งสองหัอยประสานไว้ข้างหน้า หันมา ทางท่าน ๓)เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัว ลงยกมีอไหว้ ๔)ถ้าท่านพูตตัวย นิยมประนมมีอพูตถ้บท่าน ๕)ถ้าท่านมิไตัพูดด้วย เมื่อยกมีอไหว้แล้ว มีอทั้ง สองหัอยประสานถ้นไว้ข้างหน้ามองดูท่านจน เดินเลยไปจึงค่อยเดินตามหลังท่านไป ไอ.๙.ไอ วิธีปฏิบัติเมื่อเดินสวนทางลับพระสงฆ์ ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิงเดินสวนทางลับพระสงฆ์ นิยม ปฎิบ๚ตังนี้ ๑) หลีกเข้าชิตข้างทางด้านซ้ายมีอของพระสงฆ์ ๒)ยืนตรง มีอทั้งสองหัอยประสานไว้ข้างหน้า หัน หน้ามาทางท่าน ค่มีอพุทธมามกะ นบับ ความเพนฐานก่อนไปวัด f๑๙๑ไ ท่อนไปวัท www.kalyanamitra.org

๓)เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้า นิยม น้อมตัวลงยกมือไหว้ หรือนั่งกระหย่งยกมือไหว้ ตามควรแก่กาลเทสะและบุคคล ๔)ถ้าท่านพูดด้วย นิยมประนมมือพูดถ้บท่าน ๕)ถ้าท่านมิไตัพูดด้วย เมื่อยกมือไหว้แล้ว ก็ลดมือ ลงห้อยประสานถ้นไว้ข้างหน้ามองดูท่านจนกว่า จะผ่านเลยไป จึงเดินไปดามปกดิ ใอ.๕ วิธีปฏิบัติเมื่อพบพระสงฆ์ยืนอยู่ ถ้าคฤห้สถ์ชายหญิง เดินไปพบพระสงฆ์ยืนอยู่ นิยม ปฎิบ๚ด้งนี ๑) หยุดยืนดรง ๒)น้อมตัวลงยกมือไหว้ ๓)ถ้าท่านพูดด้วย ประนมมือพูดกับท่าน ๔) เดินหลีกไปทางซ้ายของพระสงฆ์ ใอ.๖ วิธีปฏิบัติเมื่อพบพระสงฆ์นั่งอยู่ ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิง เดินไปพบพระสงฆ์นั่งอยู่ นิยม ปฏิบ๚ด้งนี้ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความเพนฐานก่อนไปวัต 1๑0^อ1 ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

๑) หยุดนั่งลง ถ้าพื้นที่นั่งสะอาด นิยมนั่งคุกเข่า หรือนั่งพบเพียบถ้าพื้นไม่สะอาดนิยมนั่งกระหย่ง ๒)น้อมตัวลงยกมือไหว้ ๓)ถ้าท่านพูดด้วย ประนมมือพูดกับท่าน ๔)ลุกขี้นเดินหลีกไปทางซ้ายของพระสงฆ์ ๕)ถ้าพระสงฆ์อยู่ที่กลางแจ้ง มืเงาปรากฏอยู่ คฤหัสถ์ชายหญิงไม่ควรเดินเหยียบเงาของพระ สงฆ์ ควรเดินหลีกไปเสียอีกทางหนึ่ง โฮ.๗ วิธีเดินตามหล้งพระสงฆ์ การเดินดามหลังพระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสดง ความเคารพแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธชายหญิง นิยมปฎิบ้ตกันสืบมามืวิธีปฏิป้ต ตังนี้ ๑) เดินตามไปเบื้องหลังของพระสงฆ์โดยใหัเยื้องไป ทางซ้ายของท่าน ๒)เว้นระยะห่างจากท่านประมาณ ๒-๓ ถ้าว ๓) เดินดามท่านไปด้วยกิริยาอาการสำรวมเรืยบว้อย ๔)ขณะเดินดามท่านอยู่ ไม่นิยมแสดงความเคารพ ^น ๕)ไม่นิยมพูดคุยหักทายปราศรัยกับ^น คู่มีอพุทรมามกร ฉบับ ความรูพึ๋นฐานก่อนไปว้ด ท่อนไปาท www.kalyanamitra.org

๓. มารยาทในการเข้าพบพระภิกษุสงฆ์ที่วัด การพบปะพระสงฆ์•แบเป็นมงคล เพราะได้มีโอกาส สนทนาธรรมอย่างใกล้ชิดกับบัณฑิต แต่ควรดูกาลและ โอกาสที่เหมาะสม และควรศึกษาพระวินัยเพื่อจะได้ปฏิบัติ ตนได้ถูกด้อง ในการไปพบพระภิกษุสงฆ์ที่วัต'นั้น ควรแต่ง กายใ'ห้สุภาพเรียบร้อย และรักษากิริยามารยาท ทางกาย วาจา ใจไวัอย่างดี นอกจากนั้น ตามประเพณีนิยม ควรเตรียม เครื่องสักการะบูชา เช่น ตอกไม้ ธูป เ'ทียน เป็นด้น ใส่พาน นำ ไปถวายเพื่อเป็นเครื่องแสตงความเคารพบูชาท่านด้วย ถ้าไปก่อนเที่ยง ควรมีภัตตาหารเ'ช้าหรีอเพลไปถวายด้วยก็ สมควรถ้าไปหสังเที่ยงก็ควรนำนั้าปานะหรีอนั้าผลไมีไปถวาย ในกรณีที่จะนิมนต์ท่านไปประกอบ'พิธีกรรม สิ่งที่ไม่ควรขาต คือ ตอกไม้ ธูป เ'ทียน เพื่อแสตงคารวะต่อท่าน เมื่อไปถึงเขตวัต ก่อนเข้าพบ ควรปฏิบตด้งนี้ - ไต่ถามพระภิกษุสงฆ์ สามเณร หรีอ ศิษย์วัต ซึ่งอยู่ ในบริเวณใกล้เคืยงว่า ท่านอยู่ไหม มีเวลาว่างหรีอไม่ สมควรจะเข้าพบท่านได้หรีอไม่อย่างไร ควรแจ้ง ความจำนงหรีอขออ'นุญาตก่อนเข้าพบ เมื่อได้รับ อ'นุญาตแล้ว จึงเข้าไปพบท่าน - ถ้าไม่พบ^ตพอจะไต่ถามไวั ควรรอดูจังหวะที่ เหมาะที่ควร เฉพาะบุรุษ ควรกระแอมหรีอเคาะ ประดูใ'ถ้เสียง ก่อนจะเข้าพบท่านขณะท่านอยู่ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัค ^๑ร^ ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

ภายในห้อง เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงเปิดประตูเข้าไป ส่วนสตรีไม่นิยมเข้าพบพระภิกษุสงฆ์ภายในห้อง - ระหว่างรอคอย อย่าส่งเสียงเอะอะรบกวน ควรนั่ง อย่างสงบ สำ รวม เพราะในวัตด้องการความเงียบสงบ - เมื่อเข้าพบ คอยจนท่านนั่งเรียบร้อยแล้ว จึงกราบ ท่านแบบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง - เมื่อกราบเสร็จแล้ว นิยมนั่งพับเพียบ ไม่ควรนั่ง อาสนะเสมอกับพระภิกษุสงฆ์ เช่น นั่งบนเสื่อ หรีอ พรมผืนเดียวกันหรีอนั่งเกัาอี้เสมอกันกับท่านเป็นด้น - กิริยาอาการนั่งพับเพียบ ด้องทำให้ถูกวิธี เช่น เก็บ เท้าให้เรียบร้อย ระวังเครื่องนุ่งห่มปกปิตร่างกายให้ มิตชิตเป็นด้น - ขณะที่พระภิกษุสงฆ์อยู่ชั้นล่างกุฏิ คฤห้สถ์ทั้งชาย หญิงไม่ควรขึ้นไปชั้นบนของกุฏิ ตลอดจนไม่เข้าไป ในห้องส่วนตัวของท่านด้วย - เวลาที่ดีที่สุตที่ควรพบพระภิกษุสงฆ์คือ เวลาใกล้เพล คู่มือพุทธมามกะ ฉใ7บ ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัต ^๑0^ ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

๔. การสนทนากับพระภิกษุสงฆ พระภิกษุสงฆ์เป็นผู้ประพฤติดี ประพฤติซื่อตรง ประพฤติ เพื่อออกไปจากทุกข์ ประพฤติถูกต้อง และเป็นเนื้อนาบุญ ของชาวโลก ดังนั้น ในขณะสนทนากับพระภิกษุสงฆ์ พึง ปฎิบตต้งนื้ - ไม่พูดล้อเล่น ไม่พูดหยาบโลน ไม่เล่าเรื่องส่วนตัว ไม่ยกตัวดีเสมอคล้ายเพื่อน หรือยกตัวสูงกว่า - กัาพระภิกษุสงฆ์รูปนั้นเป็นพระเถระผู้ใหญ่ ให้ ประนมมือพูดกับท่านทุกครั้งที่กราบเรืยนท่าน และ รับคำพูดของท่าน - เฉพาะสดรื แม้จะเป็นญาติกับพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น ก็ดาม ไม่นิยมสนทนาอยู่กับพระภิกษุสงฆ์สองต่อ สองทั้งภายในห้องและภายนอกห้อง ทั้งในที่ล้บหู และลับดาเพราะผิดพระวินัยพุทธบัญญ่ต - เมื่อเสร็จกิจธุระแล้วใหรืบลากลับ ไม่ควรอยู่นาน เกินควรเพราะเป็นการรบกวนเวลาของท่าน - กราบท่านตัวยเบญจางคประติษฐ์ ๓ ครั้ง เมื่อจะลา ท่านกลับ คู่มีอทุฑรมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ^0^ ท่รพไปวัค www.kalyanamitra.org

๕, การใช้คำพูดก้บพระภิกษุสงฆ์ตามระดับ สมณดักด ๑) สมเด็จพระสังฆราช ๒) สมเด็จพระราชาคณะ ๓) พระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรอง (รองจากชั้นสมเด็จ พระราชาคณะ) ๔) พระราชาคณะชั้นธรรม ๕) พระราชาคณะชั้นเทพ ๖) พระราชาคณะชั้นราช ๗)พระราชาคณะชั้นสามัญ ๘) รองพระราชาคณะชั้นพระครู และฐานะกรม ๕'.๑ การใช้คำทูลสมเด็จพระสังฆราช ถือหสังการใช้ ราชาศ้พท์ ฐานันดรศักด็ชั้นพระองค์เจ้า เช่น คำ คำ แทนตัว คำ รับคำพูด เรืยกขาน ชาย หญิง ชาย หญิง สมเด็จ ฝ่าพระบาท เกล้ากระหม่อม กระหม่อมฉัน พะยะค่ะ เพค่ะ พระสังฆราช ฝ่าบาท กระหม่อม หม่อมฉัน กระหม่อม I ๕'.๒ การใช้คำพูดกับสมเด็จพระราชาคณะและพระ ราชาคณะชั้นราชขึ้นไป ถือหสักการใช้คำสุภาพตาม ฐานานุรูป เช่น คู่มีอพุทธมาผกะ ฉบับ ความรู้ทึ้นฐานก่อนไปวัด ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

คำ ชาย หญิง ชาย หญิง เรียกขาน ขอรับกระผม เจ้าค่ร สมเดจพระ พระเดช เกล้ากระผม ดิฉ้น ครับกระผม ราชาคณะ พระคุณ เกล้าฯ ครับผม พระราชา นเ,า-ๅ คณะ (ชั้นราชชื้น ษ้) ๕'.๓ การใช้คำพูดกับพระราชาคณะชั้นสาม'ญลงมา ถื อหลักการใช้คำสภาพ คำ คำ แทนต้ว คำ รับคำพูด เรียกขาน ชาย หญิง ชาย หญิง ะราชาคณะ พระเจ้าคุณ,ท่าน กระผม ดิฉัน ครับ เจ้าค่ะ,ค่ร ะครูสัญญาบัตร ท่านพระครู ผม ดิฉัน ครับ ค่ะ ะครรฺรฺานานุกรม ท่าน ■น่^ H ะเปรียญ ท่านมหา,ท่าน ะอันดับธรรมดา พระคุณเจ้า,ท่าน ; :ผู้เฒ่า หลวงป่,หลวงพ่อ ! ;สงฆ์ทึ่เรนญาติ หลวงป่,หลวงตา หลวงพ่อ,หลวงลุง, หลวงอา ฯลฯ I คู่}3อทุฑธมามกะ ฉบับ คาามรู้พนฐานก่0นใปวั® (ffisrci) ก่อนไปๆพ www.kalyanamitra.org

๕.๔ การใช้คำพูดก้บพระสาม้ญฑั่วไป ถ้าผู้พูดไม่รู้จัก ถ้บพระภิกษุรูปนั้น ไม่ทราบว่าท่านมีสมณศ้กดี้ซั้นไหน นิยม ใช้คำพูดสามัญเปีนกลางๆ จังนี้ คำ แทนต้ว I คำ รับคำพด เรึยกขาน I ชาย j หญิง ชาย หญิง พระคณเจ้า กระผม ดิฉ้น ครับ 1 เจ้าค่ะ,ค่ พระภิกษสงฆ พระคณท่าน,ท่าน I ผม I ดิฉัน ๕.๕ ถ้อยคำพิเศษที่นิยมใช้เฉพาะแก่พระภิกษุสงฆั๊ ดามประเพณนิยมบางคำ อาตมภาพ - ช้าพเจ้า (เป็นคำที่พระใช้ แทนจัวท่านเอง) ออาารราาธธนนาา - เชิญ ออาาพพาาธธ - ป่วย อาหารบิณฑบาต - อาหาร อัฐบริขาร - ของใช้จำเป็นของพระภิกษุ ๘ สิ่ง ได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏ ป่ระคดเอว บาตร มีดโกน เข็ม กระบอกกรองนั้า ออาาสสนนะ - ที่นั้ง ออังงคคาาสส - ถวายอาหารพระ, เลี้ยงพระ จังหัน - อาหาร ค่มีอพทธมทมกะ ฉบับ ความร้พนnนก่อนโปวัต 1๑9ทร1'| ก่อนไปวัต www.kalyanamitra.org

ไทยธรรม ของถวาย คิลานเภสัช เผดียง ยารักษาโรค นิมนต์ ฉัน บอกไห้รู้. บอกนิมนต์, เชิญ ประเคน เชิญ จดปัจจัย กิน โยม ส่งให้ถึงมือ ปวารณา เครื่องยังชีพ ๔ อย่างของพระ มรณภาพ ภิกษุ ได้แก่ ผ้านุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศ้ย ยารักษาโรค ญาติ เปีดโอกาสให้พระภิกษุ สามเณร ขอ หรือเรียกรัอง บอกกล่าวถึงสิ่งที่ท่านด้องการ จะได้จัดหาให้ท่านหรือทำตาม ดาย ๖. การนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ ๖.๑ การอาราธนาพระภิกษุสงฆ็ไปประกอบพิธีบุญ ต่าง ๆ นิยมเรียกว่า นิมนต์ การนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ ควร กระทำเมื่อกำหนดวันประกอบพิธีบุญแน่นอนแล้ว และควร นิมนต์ก่อนรันงานไว้นานพอสมควรหรืออย่างน้อย ๗ รัน คู่มีอพฑรมามกะ aiTu ความรู้พึ้นฐานก่ปีนไปวัค ^๒๐^ ท่ฃพไงวัค www.kalyanamitra.org

หากต้องการเจาะจงนิมนต์พระเถระ^หญ่ ซึ่งเป็นที่เคารพ สักการะของมหาชน ควรนิมนต์ล่วงหน้าไว้ก่อนหลายๆ เดือนจึงจะไม่พลาดหว้ง การนิมนต์ จะนิมนต์ต้วยวาจาก็ไต้ แต่เพื่อความเหมาะ สมและป้องกันการลืม ควรนิมนต์เป็นลายสักษณ์อักษร เรียก ว่า วางฎีกา ฎีกานั้นควรระบุข้อความโดยย่อ เพื่อกราบเรียน ให้พระภิกษุสงฆ็ไต้ทราบและทั้งจะเป็นความสะดวกแก่ทั้ง ๒ ฝ่ายอีกต้วย ต้งนี้ ๑) พิธีบุญนั้นปรารภงานอะไร ๒) กำ หนดการเช่น วันเดือน ปี ดรงกับวันขึ้นหรีอแรม อะไร เวลาใด ๓) สถานที่ ๔) จำ นวนพระภิกษุสงฆ์ที่จะนิมนต์ ๕) การจัดพาหนะร้บส่ง จะจัดพาหนะมารับพระภิกษุ สงฆ์หรีอให้ท่านไปเอง กรณีที่จัดพาหนะมารับ ต้อง ระบุเวลาที่จะมารับท่านให้ชัดเจนต้วย ๖) ต้องการให้พระภิกษุสงฆ์ทำอะไรบ้าง หรีอจะให้ ท่านนำอะไรไปต้วย เช่น บาดร ต้ายสายสิญจน์ พระพุทธรูป หมายเหตุไว่ให้แจ่มชัด คู่มีอพุทธมามกะ amjความรูพนฐานก่อนไปวัด (๒๐®) ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

ตัวอย่างฎีกาอาราธนาพระภิกษุสงฆ์ ขออาราธนาพระ (พร้อมพระภิกษุในวัดนี้อีก รูป)เจริญพระพุทธมนต์(หรือ \"สวดพระพุทธมนต์\" ใช้เฉพาะงานศพ) แล้วฉ้นภัดดาหารเช้า (หรือเพล)ในงาน วันที่ น. ตรงกับขั้น (แรม) คา เดือน ณ บ้านเลขที่ ถนน อำ เภอ จังหวัด ขอพระคุณเจัาไดโปรดเมตดาอนุเคราะห์ ให์สำเร็จประโยชน์ดามนี้ด้วย ลงนาม (ผู้อาราธนา) หมายเหตุ - โปรดจัดพาหนะไปเอง น.) (หรือ จะมีรถมาวับเวลา ข้อควรปฏิบัติในการนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ ๑. ถ้านิมนต์ในงานมงคล ใช้คำนิมนต์ว่า อาราธนา เจริญพระพุทธมนต์ ถ้านิมนต์ในงานอวมงคล ใช้คำนิมนต์ว่า อาราธนาสวดพระพทธมนต์ คู่มีอพุฑรมามกร ฉบับ ความรู้'พนฐานก่อนไปวัค ^๐เ^ ทอนโปวัด www.kalyanamitra.org

๒. ไม่ระบุชื่ออาหารที่จะทำถวาย เพราะถ้าระบุชื่อ อาหาร หากไม่มีสมัยที่ได้รับการยกเว้นให้ฉัน ได้ตามพระวินัยบัฌญ้ต หรือเป็นอาหารประเภท เนื้อสัตว์ พระภิกษุสงฆ์รับนิมนต์แสัวฉันอาหาร ชนิดนั้นผิตวินัย เกิดโทษแก่พระภิกษุสงฆ์ จึง ควรใช้คำนิมนต์เป็นคำกลางๆ ว่า นิมนต์ฉัน ภัตตาหาร (หรือเพล) หรือนิมนต์รับอาหาร บิณฑบาตเช้า(หรือเพล) เท่านั้น เป็นด้น ๖.)อ จำ นวนพระภิกษุสงฆ์ที่จะนิมนต์ไม่กำหนดช้าง มาก แต่นิยมกำหนดช้างนัอยไว้เป็นเกณฑ์ คือ อย่างนัอยไม่ ดากว่า ๔ รูป เพราะถือว่า ๔ รูป ขึ้นไปครบองค์สงฆ์แล้ว ส่วนมากในงานมงคลนิยมนิมนต์เป็นจำนวนคี่ คือ ๕-๗-๙รูป ขึ้นไป ยกเว้นงานมงคลสมรสซึ่งนิยมนิมนต์จำนวนคู่ เพื่อคู่ ปาวสาวจะได้จัดเครื่องไทยธรรมถวายได้เท่าๆ กัน งานพิธี หลวงก็นิยมนิมนต์พระภิกษุสงฆ์เป็นจำนวนคู่เช่นกันกล่าวคือ ๑๐ รูปเป็นพื้น สำ หรับงานอวมงคล เช่น งานศพ นิยมนิมนต์ พระภิกษุสงฆ์เป็นจำนวนค่เช่น ๔—๕—๑๐ เป็นด้น คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัด ^๐^ ท0นาปวัค www.kalyanamitra.org

๗. การประเคนของแด่พระภิกษุสงฆ์ ๗.๑ การประเคน หมายถึง การมอบให้ด้วยความเคารพ ใช้ปฏิป้ตต่อพระภิกษุสงฆ์เท่านั้น มีพระวินัยบัญญ้ตห้ามพระ ภิกษุสงฆ์รับ หรือหยิบสิ่งของมาขบฉันเอง โดยไม่มีผู้ ประเคนให้ถูกด้องเสียก่อนเพื่อตัดปัญหาเรื่องการถวายแล้ว หรือยังไม่ได้ถวาย จึงให้พระภิกษุสงฆ์รับของประเคนเท่านั้น ยกเว้นนํ้าเปล่าที่ไม่ผสมสี เช่น นํ้าฝน นํ้าประปาเป็นด้น เพื่อ เป็นการแสดงออกอย่างชัดเจนว่า สิ่งของนั้นๆ เป็นของจัดไว้ ถวายพระภิกษุสงฆ์แน่นอน โดยมีผู้ประเคนเป็นพยานรู้เห็น ด้วยผู้หนึ่ง การประเคนของจึงเป็นการสนับสนุนให้พระภิกษุ สงฆ์ปฏิป้ตดามพระวินัยได้ถูกด้อง ๗.ใอ การประเดนที่ถูกต้อง ดามหลักพระวินัย มีลักษณะ ที่กำ หนดไว้ ๕ ประการตังนี้ ๑) สิ่งของที่จะประเคนด้องไม่ใหญ่เกินไปขนาดคนพอมี กำ ลังปานกลางยกขึ้นไตั ถ้าหนักหรือใหญ่เกินไปไม่ ด้องประเคน ๒) ผู้ประเคนด้องอยู่ในหัตลมๆส คือเอามีอประสานกัน แล้วยื่นไปช้างหนัา ห่างจากพระภิกษุสงฆ์ผู้รับ ประมาณ ๑ ศอก ๓) ผู้ประเคนนัอมสิ่งของนั้นส่งให้พระภิกษุสงฆ์ด้วย กิริยาอ่อนนัอม เป็นการเคารพ คู่ผีอพฑธมามกะ ฉบับ ความรู้พ็้นฐานก่อนไปวัด ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

๔) การน้อมเข้ามานั้น จะส่งให้ด้วยมือก็ได้ใข้ของเนื่อง ด้วยกาย เซ่น ไข้ทัพพี หรือข้อน ตักอาหารใส่ใน บาตรที่ท่านถือ หรือสะพายอยู่ก็ได้ ๕) ในกรณีผู้ประเคนเป็นชาย พระภิกษุสงฆ์ผู้รับจะรับ ด้วยมือ ในกรณีผู้ประเคนเป็นหญิง รับด้วยของ เนื่องด้วยกาย เซ่น ใข้ผ้าทอดรับ ใข้บาตรรับ ใข้ จานรับ เมื่อการประเคนได้ลักษณะครบทั้ง ๕ ประการนี้ จึงเป็น อันประเคนถูกด้อง ถ้าไม่ได้ลักษณะนี้ เซ่น ของนั้นใหญ่และ หน้กจนยกไม่ขึ้น ผู้ประเคนอยู่นอกห้ตถบาส หรือผู้ประเคน เสือกของส่งให้เป็นด้น แม้จะได้ส่งให้พระภิกษุสงฆ์แลัวก็ตาม ก็ชื่อว่าอังไม่ได้ประเคนอยู่นั้นเอง ๗.๓ วิธืประเดนสิงของแด่พระภิกษุสงฆ์ - ถ้าเป็นชาย ให้นั้งคุกเข่าหน้าพระภิกษุสงฆ์ ห่างจาก ท่านประมาณ ๑ ศอก ยกของที่จะประเคนส่งให้ ท่านได้เลย - ถ้าเป็นหญิง ให้วางของที่จะประเคน ลงบนผ้ารับ ประเคนที่ท่านทอดออกมารับ แลัวปล่อยมือ เพื่อ พระภิกษสงฆ์จะได้หยิบของนั้น ขค่มีอพ?ุทธมามกร ฉบับ ความรiู้พนร2ฺานก่อนไปว้ด (y๒-๐๕i! ก่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

วิธีประเคนสิ่งของแด่พระภิกษสงฆ์ส็าหร้บผ้ชาย - เมื่อประเคนเสร็จแล้ว ให้กราบ ๓ ครั้ง หรือไหว้ ๑ ครั้งก็ได้ ถ้าของที่จะประเคนมีมาก ก็ให้ประเคน ของให้หมดเสียก่อน แล้วจึงกราบหรือไหว้ ไม่นิยม กราบหรือไหว้ทุกครั้งที่ประเคน - ถ้าพระผู้รับประเคนนั่งเถ้าอี้หรืออยู่บนอาสนะสูง ผู้ ประเคนไม่อาจนั่งประเคนได้ ก็ให้ถอดรองเท้าเสีย ก่ อนแล้วยืนประเคนตามวิธีที่กล่าวแล้ว ดู่มอทุทธผา»Jกะ ami ควานรทนฐานก่อนไปวัด (๒^ ท0พ1ปา'ค www.kalyanamitra.org

K- V วิธีประเดนสิ่งของแด่พระภิกษสงฆ์สำหรับผ้หญิง - ของที่ประเคนแล้ว ห้ามคฤห้สถ์แตะต้องอีก เป็น เรื่องของพระท่านจะหยิบส่งกันเอง หากไปแตะต้อง เข้าโดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตาม ของนั้นถือว่า ขาดประเคน จะต้องประเคนใหม่ - สิ่งของที่ไม่ใช่ของเคี้ยวของฉัน เช่น กระโถน จาน ข้อน แกัวเปล่า กระดาษ เป็นต้น ไม่นิยมประเคน คู่มีอทุฑธมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด 1๒๐๗! ก่อนไปๆ(เ www.kalyanamitra.org

๗.๔ สิงของที่ไม่สมควรประเคนถวายแด่พระภิกษุ สงฆ' เงิน และวัตถุที่ใช้แทนเงิน เช่นธนบัตรไม่สมควรประเคน ถวายพระภิกษุสงฆ์โตยตรง แต่นิยมใช้ใบปวารณาดัง ดัวอย่างแทนดัวเงิน ส่วนดัวเงินนิยมมอบไวัก้บไวยาวัจกร ของพระภิกษรปนั้น จข่ ต้วอย่างใบปวารณาถวายป้'จจ้ย ช้าพเจ้าขอน้อมถวายปัจจัยสี่ อันควรแก่สมณะบริโภคแด่ พระคุณเจ้าเป็นมูลค่า บาท สตางค์ ไดั มอบไว้แก่ไวยาวัจกรของพระคุณเจ้าแล้ว หากพระคุณเจ้ามี ความประสงค์สี่งใดอันควรแก่สมณะบริโภคแล้วโปรดเรียกได้ จากไวยาวัจกรของพระคุณเจ้านั้น เทอญ ลงนาม ผู้ถวาย วันที่ เดือน พ.ศ ใบปวารณานี้นิยมใส่ซองร่วมถวายไปกับเครื่องไทยธรรม ส่วนเงินค่าจตุปัจจัยนั้นมอบไปกับศิษย์หรือไวยาวัจกรของ พระภิกษุสงฆ์นั้นๆ คู่มีอพุฑรมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

๗.๕ วัตถุอนามาส สิ่งของที่พระพุทธองค์ทรงห้ามพระ ภิกษุสงฆ์จับต้อง เรียกว่า วัตถุอนามาส ห้ามนำไปประเคน ถวายพระภิกษุ เพราะผิดวินัยพุทธบัญญ้ต ไต้แก่ ๑. ผู้หญิง ทั้งที่เป็นทารกแรกเกิดและผู้Iหญ่ รวมทั้ง เครื่องแต่งกายรูปภาพรูปปันทุกชนิดของผู้หญิง ๒. รัดนะ ๑๐ ประการ คือ ทอง เงิน แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วประพาฬ ทับทิม บุษราคัม สังข์ เลี่ยมทอง ศิลา เช่น หยก และโมรา ฯลฯ ๓. เครื่องคัดราวุธทุกชนิด อันเป็นเครื่องทำลายชีวิด ๔. เครื่องคักสัดว์ทุกชนิด ๕. เครื่องดนดรีทุกชนิด ๖. ข้าวเปลือก และผลไม้อันเกิดอยู่ก้บที่ ๘. การรับสิงของจากพระภิกษุสงฆ ต้องรับต้วยความเคารพ เรียบร้อย อย่าให้กลายเป็นฉุด ลาก ยื้อแย่ง หรีอช่มขู่พระภิกษุ ๘.๑ การรับขณะพระภิกษุยืนอยู่ หรือนั่งบนอาสนะ - เมื่อเข้าใกล้พอควร ยืนไหว้ แล้วยื่นมือทั้งสอง เข้าไปรับ พร้อมก้บนัอมคัวลงเล็กนัอย สำ หรับ ท่านชายรับสิ่งของก้บมือท่าน สำ หรับท่านหญิง แบฝ่ามือทั้งสองชิดก้น คอยรองรับสิ่งของ คู่มีอพุฑรมามกะฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๐^ ท่อนไ!!วัค www.kalyanamitra.org

- เมื่อร้บแล้ว ถ้าสิ่งของนั้นเล็ก นิยมน้อมตัวลง ยกมือไหว้ พร้อมถ้บสิ่งของที่อยู่ในมือ ถ้า สิ่งของที่ร้บนั้นใหญ่ หรือหน้ก ไม่ตัองยกมือไหว้ แล้วถ้าวเท้าซ้ายถอยหลังออกไป ๑ ถ้าว ชักเท้า ขวามาชิด แลัวหันหลังกลับ เดินไปได้ ๘.๒ การรับขณะพระภิกษุสงฆ์นั่งเก้าอี้ - เมื่อรับสิ่งของแล้ว ถ้าสิ่งของนั้นเล็ก นิยมน้อมตัว ลงยกมือไหว้ พร้อมกับสิ่งของที่อยู่ในมือ ถ้า สิ่งของนั้นใหญ่หรือหน้ก นิยมวางสิ่งของนั้นไว้ คู่มีอพุฑรมามกร ฉบบ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

ข้างตัวด้านซ้ายมือ น้อมตัวลงยกมือไหว้ แล้ว ยกสิ่งของนั้นด้วยมือทั้งสองประคองยืนขึ้นข้ก เท้าขวากล้บมายืนตรง ท้าวเท้าซ้ายถอยหลังไป ๑ ท้าวแล้วชักเท้าขวาชิด หันหลังกล้บ เดินไปได้ - เมื่อเดินเข้าไปใกล้ประมาณ ๒ ท้าวแล้ว นั้ง คุกเข่าซ้ายชันเข่าขวาขึ้น น้อมตัวลง ยกมือไหว้ แล้วยื่นมือทั้งสองออกไปรับสิ่งของตังกล่าว ๘.๓ การรับขณะพระภิกษุสงฆ์นั่งกับพื้น - เดินเข้าไปด้วยกิริยาอาการสำรวม เมื่อถึงบริเวณ ที่ปูลาดอาสนะไว้ นั้งคุกเข่าแล้วเดินเข่าเข้าไป เมื่อถึงที่ใกล้ประมาณ๑ ศอกเศษนั้งคุกเข่า กราบ ๓ ครั้ง ยื่นมือทั้งสองออกไปรับสิ่งของตังกล่าว - เมื่อรับสิ่งของแล้ว นิยมวางสิ่งของนั้นไว้ข้าง หน้าด้านขวามือ กราบ ๓ ครั้ง แล้วหยิบสิ่งของ นั้นด้วยมือทั้งสองประคอง เดินเข่าถอยหลัง ออกไปจนสุดบริเวณที่ปูลาดอาสนะไว้ แล้วลุก ขึ้นยืนเดินกลับไปได้ - กิริยาอาการเดินเข่านั้น นิยมตั้งตัวดรง ท้าไม่ได้ ถึอสิ่งของมือทั้งสองหัอยอยู่ข้างตัว ท้าถึอสิ่งของ มื อทั้งสองประคองสิ่งของยกขึ้นอยู่ระตับอก ศอกทั้งสองแนบชิดชายโครง คู่มือพุฑรมามกร ami ความรู้พนฐานก่อนใปฬั 1๒0)๑1 ทรนไปวัท www.kalyanamitra.org

- ขณะเดินเข่า ร่างกายส่วนบนไม่เคลื่อนไหว ไม่ ซัดส่าย ไม่โยกโคลงไปมา ไม่เอียงซัาย ไม่เอียง ขวา ร่างกายส่วนล่างเท่านั้นที่เคลื่อนไหว และ ขณะเดินเข่าเข้าไป หรือถอยหลังออกมานั้น นิยมให้ตรงเข้าไปแล้วตรงออกมา ๙. การกรวดนํ้าและรับพรพระ การกรวดนํ้า คือ การรินนั้าหลั่งลงให้เป็นสาย อันเป็น เครื่องหมายแห่งสายนํ้าใจอันบริสุทธี้ ตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วน กุศลที่ตนได้ทำมาในวันนั้นให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ถ้าผู้ล่วงลับ นั้นเป็นผู้มีอาวุโสน้อยกว่า เช่น เป็นบุตร ธิตา เป็นน้อง หรือ เป็นผู้Iด้บังคับบัญชา ก็ชื่อว่าได้แผ่เมตตากรุณาธรรมของตน ไปสู่ผู้ล่วงลับเหล่านั้น ถ้าเป็นผู้อาวุโสมากกว่า เช่น เป็น บิตา มารตา ปู ย่า ตา ยาย เป็นพี่ เป็นครูอาจารย์ เป็นด้น ก็ชื่อว่า ได้แสตงความกด้ญฌูกตเวทิตาต่อท่านเหล่านั้น การรับพรพระ คือ อาการที่เจ้าภาพนอบน้อมทั้งกายและ ใจรับความปรารถนาดี ที่พระภิกษุตั้งกัลยาณจิต สวต ประสิทธประสาทให้เจ้าภาพรอตพ้นจากอันตรายภัยพิบัดิทั้ง หลาย และเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ เป็นด้น คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พี้นฐานท่อนไปวัด ^๑^ ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

วิธีปฏิบัติในการกรวดนํ้า - นํ้าที่ใช้กรวดนั้น นิยมใช้นั้าที่สะอาดบริสุทธี้ ไม่มีสิ่ง อื่นเจือปน เช่น นั้าประปา นั้าฝน นั้าปอ เป็นต้น - ภาชนะที่ใส่นั้ากรวด ต้องเตรียมล่วงหน้าไวิให้ พร้อมใส่นํ้าให้เต็ม และมีที่รอง หากไม่มีภาชนะ สำ หรับกรวดนั้าโดยเฉพาะ จะใช้ขันหรือแก้วนั้า แทนก็ไต้ ในกรณีนี้ ควรหาจานหรือถาดไร้รองกัน นั้าหกด้วย คู่มีอพุฑรมามกะ ฉบบ ความรู้พนฐานก่อนไปวัต ๓^ ท่0นใปวัต www.kalyanamitra.org

- เมื่อถวายไทยธรรมแด่พระภิกษุสงฆ์เสร็จแล้ว เจ้า ภาพหรือประธานในพิธีนิยมนั่งกับพื้น ห่างจากพระ ภิกษุสงฆ์พอสมควร ประคองภาชนะที่ใส่นํ้ากรวด ด้วยมือทั้งสองเตรืยมกรวดนํ้า - เมื่อพระภิกษุสงฆ์ผู้เป็นหัวหน้าเริ่มอนุโมทนาว่า \"ยถา วาริวหา \"พึงรินนํ้าให่ไหลลงเป็นสายโดย ไม่ใหัสายนํ้าขาดดอนเป็นหยดๆ พร้อมทั้งตั้งใจ สำ รวมจิด อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปใหัแก่ผู้ล่วงล้ม ไปแล้ว โดยนึกในใจด้งนี้ อิฑัง เม ญาตินัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ ญาตโย. แปลว่า ขอส่วนบุญนั้นจงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลาย ของข้าพเจ้า, ขอญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าจงมี ความสุขเถิด. - คำ กรวดนี้านี้จะใช้แบบอื่นก็ได้ หรือจะนึกคิดเป็น ภาษาไทยใหัมืความหมายว่า อุทิศส่วนบุญไปใหัแก่ ผู้นั่น โดยระบุชื่อลงไปด้วยก็ได้ - ถ้าภาชนะที่กรวดนํ้ามืปากกว้าง เช่น ขัน หรือ แถ้ว นํ้านิยมใช้นี้วชี้มือขวารองร้บสายนํ้าให่ไหลไปดาม นี้วนั่นเพื่อป้องกันมิใหันั่าไหลลงเปรอะเปีอนพื้น หรืออาสนะ ถ้าภาชนะปากแคบ เช่น คนโท หรือ ที่ กรวดนํ้าโดยเฉพาะ ก็ไม่ด้องรอง เพึยงใช้มือทั้งสอง ประคองภาชนะนํ้านั่นรินลง คู่มีอทุทธมามกะ amjความรู้พนฐานก่อนไปวัค 1๒๑๙1 ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

- เมื่อตั้งใจอุทิศเป็นการส่วนรวมแล้ว จะอุทิศส่วนบุญ เฉพาะเจาะจง^ดผู้หนึ่งต่อก็ได้ โดยระบุชื่อบุคคล นั้นลงไปให้ชัดเจน - เมื่อพระภิกษุรปที่สองรับว่า \"สัพพีติโย \"แล้ว พระ 1<น ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดจะอนุโมทนา ผู้กรวดนั้าจะหยุด กรวด เทนั้าลงทั้งหมด แล้วประนมมือตั้งใจรับพร ซึ่งพระภิกษุสงฆ์กำลังให้ต่อไป - ขณะที่พระภิกษุสงฆ์กำลังสวดอนุโมทนาอยู่นั้น เจ้า ภาพหรือประธานในพิธีไม่ลุกไปทำธุรกิจอย่างอื่น กลางคัน ควรนั้งรับพรไปจนกว่าจะจบ เพราะเวลา นั้นเป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์กำลังประสิทธิ้ประสาท พรแก่เจ้าภาพ - เมื่อพระภิกษุสงฆ์อนุโมทนาจบ จึงกราบหรือไหว้ พระภิกษุสงฆ์อีกครั้งหนึ่ง แล้วนำนํ้าที่กรวดนั้นไป เทที่พื้นดินรดด้นไม้ หรือเทที่พื้นหญ้าภายนอกคัว อาคาร บ้านเรือน เพื่อฝากไว้คับแม่พระธรณีตาม คดิแต่โบราณ - การกรวดนํ้าพึงกระทำเมื่อได้บำเพ็ญกุศลหรือความดี อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว เช่น ทำ บุญใส่บาตร ถวาย สิ่งของแต่พระภิกษุสงฆ์ หรือให้ทานแก่คนยากจน หรือเสียสละปัจจ้ยก่อสรัางสาธารณประโยชน์ อย่าง อื่นแล้ว แม้จะไม่มีพระภิกษสงฆ์อนโมทนาต่อหน้า ดู่มีอพทรมามกร amjความรู้พนฐานก่อนใปวัฟิ 1๒๑๕ไ ก่รนไฝวัค www.kalyanamitra.org

จะกรวดนํ้าคนเดียวเงียบ ๆ หรือกรวดหลังสวดมนต์ ไหว้พระก่อนนอนก็ได้ - การกล่าวคำกรวดนํ้าที่เป็นภาษาบาลี พึงศึกษา ความหมายให้เข้าใจก่อนเป็นดี ไม่ใช่ว่ากันมา อย่างไรก็ว่ากันไปอย่างนั้น โดยไม่รู้ความหมาย ที่แท้จริง จึงด้องถามท่านผ้ร้หรือศึกษาวิธีการก่อน _ ฃ่ขํ ฑั้งนี้ จะเป็นผลดีแก่ด้วผู้ทำเอง คือ นอกจากจะได้ ชื่อว่าทำถูกทำเป็นแล้ว ยังจะเกิดประโยชน์ที่ ด้องการด้วย - ข้อควรจำเวลากรวดนั้า คือ ด้องตั้งใจทำจริงๆ ไม่ ใช่ทำเล่นๆ หรือทำเป็นเล่น หากว่าภาชนะใส่นํ้า กรวดไม่มี หรือมีไม่พอกัน ก็พึงนั้งกรวดในใจนิ่งๆ โดยนํ้าใจ กรวดอุทิศเลยไม่ควรไปนั่งรวมกลุ่มกัน แล้วจับแขน จับขา จับชายผ้า จับข้อศอกกัน แล้วกรวดนํ้า มองดูชุลมุนไปหมดไม่งามตา ทั้ง ไม่เกิดประโยชน์ เพราะจิตใจของผู้กรวดจะไม่ สงบเป็นสมาธิ ซํ้าบางดรั้งก็หัวเราะกันคิกดักไป ก็มี ด้องกรวดเป็น และตั้งใจกรวดจริงๆจึงจะมีผลจริง คู่มีอพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัค ^๑^ ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

๑๐.การยืน เดิน นั่ง ในบริเวณและสถาน ปฏิบัดิธรรม ๑๐.๑ การยน ๑. การยืนตามลำพัง ควรให้เป็นไปในลักษณะสุภาพ สบาย ขาชิด สง่า ไม่ห้นหน้าห้นหลังหรือแกว่งแขน ไปมา ไอ. การยืนเฉพาะหน้าพระภิกษุสงฆ์หรือ^หญ่ ถ้าไม่ จำ เป็น ไม่ควรยืนตรงหน้าท่าน ควรยืนเฉียงไปทาง ใดทางหนึ่ง อาจทำได้ ๒ วิธี คือ ๑) ยืนตรง ขาชิด ปลายเท้าห่างกันเล็กน้อย มือทั้ง สองแนบข้าง ๒)ยืนด้อมส่วนบนตั้งแต่เอวขึ้นไปเล็กน้อย มือ ประสาน การประสานมือทำได้ โฮ วิธี คือ ก) ควรมือช้อนกัน จะเป็นมือไหนท้บมือไหนก็ได้ ข) หงายมือทั้งสอง สอดนิ้วเข้าระหว่างร่องนิ้วของ แต่ละมือ คู่มีอพุทธมๆมกะฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ^๑^ ท่อนไปวัต www.kalyanamitra.org

๑๐.'๒ การเดห) ๑. เดินตามลำพัง ให้เดินอย่างสุภาพ หลังตรง ช่วงก้าว ไม่ยาวหรือสั้นเกินไป ไม่เดินเหลียวหน้าเหลียวหลัง แกว่งแขนพองาม ไม่เดินลากเท้า สำ รวมท่าเดินให้ เรืยบร้อย ไอ. เดินกับพระภิกษุสงฆหรือผู้!หญ่ให้เดินเยื้องไปทาง ซ้ายข้างหลังท่าน เว้นระยะห่างประมาณ ๒-๓ ก้าว ไม่เดินเหมือนเดินตามสำพัง ให้อยู่ในลักษณะ นอบน้อมสำรวม ถ้าเป็นการเดินในระยะใกลั มือ ควรประสานก้น (ดูระเบียบปฏิบัดิการแสดงความ เคารพพระภิกษุสงฆ์ประกอบด้วย) ๓. เดินเข้าสู่ที่ชุมนุมหรือสถานที่ปฎิบัดิธรรมที่มี เก้าอึ๋นง ให้ปฏิป้ตด้งนี้ ๑. เดินเข้าไปอย่างสุภาพ ๒. เมื่อผ่านผู้ที่นั่งอยู่ก่อน ก้มตัวเล็กน้อย ก้าผู้นั่ง เป็นผู้อาวุโสกว่า ก็ก้มตัวมาก ระว้งอย่าให้เสื้อผ้า หรือส่วนของร่างกายไปถูกตัอง^น ๓. ก้าไม่มืการกำหนดที่นั่ง ก็นั่งเก้าอี้ที่สมควรแก่ ฐานะโดยสุภาพ อย่าลากเก้าอี้ให้ตัง หรือ โยก ย้ายเก้าอี้ใปจากระตับที่ตั้งไว้ ๔. ถ้าเป็นการนั่งที่กำหนดที่นั่งไว้ก็นั่งดามที่ของตน คู่มีอพุทธมามกร ฉบบ ความรู้พนฐานท่อนไปวัด 1๒๑๘ไ ท่รนไฟ่าค www.kalyanamitra.org

๔. เดินเข้าสู่ที่ชุมนุมหรือสถานที่ปฏิบ้ติธรรมที่ต้อง นั่งกับพื้น ให้ปฎิบตดังนี้ ๑. เดินเข้าไปอย่างสุภาพ ๒. เมื่อผ่านผู้ที่นั่งอยู่ก่อนให้ก้มตัวมากหรือน้อยสุด แต่ระยะใกลไกล หรือผู้นั่งอาวุโสมากหรือน้อย ระวังอย่าให้เสื้อผ้าหรือส่วนของร่างกายไปถูก ตัองผู้อื่น ๓. ผ่านแล้วเดินตามธรรมดา ๔. ล้าระยะใกล้มาก ใช้เดินเข่า การเดินเข่า คือ การใช้เข่าทั้งสองข้างยันลงพื้นโดยงอ ขาพับไปทางตัานหลัง ใช้เข่าก้าวไปช้างหน้าหรือถอยหลัง ดุจใช้เท้าเดิน แต่การก้าวเช้าหรือเดินเช้านั้น ช่วงก้าวจะก้าว เพียงสั้นๆ ไม่ใช้การก้าวยาว เพราะนอกจากจะทำให้เดินเข่า ไม่ถน้ดแล้ว การพยุงตัวจะไม่เพียงพอ วิธีเดินเข่าปฏิป้ตตังนี้ ๑. นั่งดุกเข่า ตัวดรง มืออยู่ช้างๆ ลำ ตัว ๒. ยกเข่าขวา-ซ้าย ไปช้างหน้าทีละช้างสลับก้น ปลายเท้าตั้งช่วงก้าวพองาม ไม่กระชั้นเกินไป ๓. มือห้อยลงช้างตัว แกว่งได้เล็กน้อยเข่นเดียวกับการ เดิน การเดินในหมู่คนมาก ๆ ควรรักษาแนวให้ดรงก้บคน หน้า ไม่ควรแซงขึ้นหน้า ทำ ให้ขาดระเบียบวินัย การยืนก้น มากๆ ควรยืนให้ดรงคนหน้า ให้ถือแนวศีรษะให้ดรงก้น คู่มอพุฑรมามกร ฉบับ ควานรู้'พนฐานก่อนไปวัต ^๑^ ท่อนไปวัด www.kalyanamitra.org

ในพิธีกรรม ขณะประกอบพิธีควรรักษาความเงียบสงบ ในระหว่างประกอบพิธีกรรมอยู่หากเกิดความผิดปกติในเรื่อง ตินฟ้าอากาศก็ดี หรือสิ่งอันไม่คาดคิดก็ดี ควรรักษาความ เป็นระเบียบวินัยไว้ก่อนคอยฟังคำสั่งของประธานในพิธีว่าจะ ให้ปฏิบัติอย่างไรบ้าง ควบคุมสติให้ดี ไม่ควรตื่นดระหนก และชุลมุนวุ่นวาย เพราะจะทำให้ขาดระเบียบวินัย และอาจ เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ เนื่องจากการกระทำของหมู่ชนที่ขาด สติสัมปชัญญะ เช่น มีการผสักด้นก้นบ้าง เกิดโกลาหล ทำ ให้ กระทบกระทั่งได้ เป็นด้น ๑๐.๓ กๆรนง ๑. นั่งเก้าอี้ ให้นั่งด้วดรง หสังพิงพนักเก้าอี้ เท้าชิด เช่า ชิด มีอวางบนหนัาขา ถ้าเป็นเก้าอี้มีเท้าแขน เมื่อ นั่งดามลำพังจะเอาแขนพาดที่เท้าแขนก็ได้ ไม่ควร นั่งโดยเอาปลายเท้าหรือขาไขว้ก้นอย่างไขว่ห้าง ควรนั่งเต็มเก้าอี้ อย่านั่งโดยโยกเก้าอี้ให้โยกหนัา หรือเอนหสัง ถ้าเป็นหญิงด้องระมัดระรังเครื่องแต่ง กายอย่าให้ประเจิดประเจ้อ ๒. นั่งก้บพึ้น นิยมนั่งพับเพียบ การนั่งพับเพียบหมาย ถึงการนั่งตัวตรง พับขาทั้งสองข้างไปทางขวา หรือ ทางซ้ายก็ได้ตามถนัด ในหมู่ชาวพุทธ ถึอว่าเป็นท่า นั่งที่สุภาพเรืยบรัอยมากที่สุด ควรทำในกรณีที่ด้อง นั่งก้บพื้นต่อหนัาพระพุทธรูป พระสงฆ์ หรือขณะที่ นั่งฟังเทศน์ เป็นด้น คู่มีอฬุฑรมามกะ ฉบับ ความรูพึ้นฐานก่อนไปวัค ท่อนโปวัค www.kalyanamitra.org

๓. นั่งตามลำพังให้นงพบเพียบในล้กษณะสุภาพ ยืดตัว ไม่ตัองเก็บปลายเท้า แต่อย่าเหยืยดเท้า มือวางไว้ บนตักก็ไตั ผู้หญิงจะนั่งเท้าแขนก็ไตั การเท้าแขน อย่าเอาท้องแขนไว้ข้างหน้าผู้ชายไม่ควรนั่งเท้าแขน นั่งปล่อยแขนได้ ๔. นั่งต่อหน้าพระภิกษุสงฆ์ หรือผู้ใหญ่ ให้นั่งพับ เพียบเช่นเดียวกับนั่งตามลำพัง แต่น้อมตัวเล็กน้อย ตัองเก็บปลายเท้า มือประสานกัน วิธีนั่งพับเพียบแบบชาย ให้นั่งพับขาทั้งสองราบลงกับพื้นห้นปลายเท้าไปทางด้าน หลังจะพับขาทั้งสองไปทางซ้าย หรือขวาก็ได้ตามถน้ด ห้ว เข่าแยกห่างจากกัน จนกระทั้งฝ่าเท้าข้างหนึ่งจรตกับห้วเข่า อีกข้างหนึ่ง อย่าให้ขาท้บฝ่าเท้ามือทั้งสองประสานกันวางไว้ ที่หน้าตัก ไม่เท้าแขน กายตั้งตรง เป็นท่านั่งที่สง่ามาก (แต่ ถ้านั่งต่อหน้าผู้ใหญ่ นิยมลตความสง่าลง โตยแยกเข่าห่าง กันเพียงเล็กน้อยเท่านั่น และวางขาท้บบนฝ่าเท้า) วิธีนั่งพับเพียบแบบหญิง ให้นั่งพับขาทั้งสองราบกับพื้น ห้นปลายเท้าไปทางด้าน หลัง จะพับขาทั้งสองไปทางขวา หรือซ้ายก็ได้ แต่หัวเข่าทั้ง สองแนบชิตกัน ไม่นิยมแยกเข่า ถ้านั่งพับไปทางขวาก็วางขา ขวาท้บฝ่าเท้าซ้าย ปลายเท้าขวาพับไปทางด้านหลัง ถ้านั่ง คู่มีอพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๒^ ท่0นไปาฅ www.kalyanamitra.org

พับไปทางซ้าย ก็วางขาซ้ายไว้บนฝ่าเท้าขวา ปลายเท้าซ้าย หันไปทางด้านหลัง 'แงกายตั้งตรง ไม่โอนเอนไปมา ฝ่ามือ ประสานกันวางไว้บนห'น้าตัก ไม่เท้าแขนเปีนอันขาด ยกเว้น คนป่วยกับคนชรา วิธีเปลี่ยนท่า'นั่งพับเ'ฬียบ เมื่อนั่งพับเ'พียบอยู่ข้างเดียวเป็นเวลานานๆถ้าเมื่อยมาก ด้องการเปลี่ยนอิริยาบถไปพับเ'ทียบอีกข้างหนึ่ง ใหั1ข้มือทั้ง สองอัน'ที่หัวเข่าทั้งสอง หรืออันที่'พื้นข้างหน้า แล้วกระโหย่ง ตัวขึ้นพร้อมกับพลิกเปลี่ยนเท้าพับไปอีกข้างหนึ่ง โดยพลิก เท้าผลัดเปลี่ยนอยู่ด้านหลังไม่นิยมยกเท้ามาผลัดเปลี่ยนกัน ข้างหน้า เพราะไม่สภาพ คู่มีอพฑธมามกะฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๒!^ ท่อนไปวัค www.kalyanamitra.org

สิ่งที่เราต้องตัดสินใจในเวลานี้ ก็คือเราจะติดคุก อยู่ในวัฏสงสารไปดลอดกาล หรือจะ'ฝึกอบรมตนเพื่อบรรลุธรรม ดามพระสัมมาส้มพุทธเจ้าไป นั่นเป็นสิ่งที่เราจะต้องตัดสินใจ ตัวยดนเอง www.kalyanamitra.org

วิธีแกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือความสงบ สบาย และความรู้สิกเป็นสุขอย่างยิ่ง ที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได'ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนา กำ หนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบต็ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะและปัญญา สันเป็นเรื่องไม่ เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิป้ตได้ง่ายๆ ด้งวิธีปฏิบ้ตที่ พระเดช พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปูวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ ได้เมดดาสั่งสอนไว้ ดังนี้ คู่มือทฑธมามกะ ฉบับ ควาบรู้พนรานก่อนไปวัด ^๒^ วิฝืทรมารฟ้อฟ็ต้น www.kalyanamitra.org

๑. กราบบูชาพระร้ตนตรัย เป็นการเตรียมต้วเตรียมใจให้นุ่ม นวลไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีลห้า หรีอศีลแปต เพื่อ ยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของต้วเอง ๖.คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงความดี ที่ไต้ กระทำแล้วในว้นนี้ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมต ประกอบขื้นต้วยธาตุแห่งคุณ งามความดีล้วนๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ ขาขวาพับขาซ้าย มือขวาพับมือซ้าย นิ้วสั ขวาจรดพัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี ไม่แน ร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโต้งงอ หลับตาพอสบายคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อตา หรีอว่าขมวตคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้าง ความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจ ว่ากำล้งจะเข้าไปสู่ภาวะ แห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง ๔. นึกกำหนดนิมืด เป็น\"ดวงแก้วกลมใส\"ขนาตเท่าแกัวตา ตำ ใสสนิท ปราศจากราศี หรีอรอยตำหนิใตๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงตาว ตวงแก้วกลมใสนื้ เรียกว่า บริกรรมนิมืด นึกสบายๆ นึกเหมือนตวงแก้วนั้น มานิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นึกไปภาวนาไป อย่างนุ่มนวลเป็นพุทธานุสติว่า \"สัมมาอะระพัง\"หรีอค่อยๆ น้อมนึกดวงแก้ว กลมใส ให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลาง กายตามแนวฐาน โตยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่หนึ่งเป็นต้นไป น้อมต้วยการนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ กับตำ ภาวนา พุฑรมามกะ aiTu คาามเพนฐานก่อนใปว้ด (๒๒^ ว๊ร(เทรนาsiifaงฟัน www.kalyanamitra.org

ฐานที่@ ปากช่องจมู^หญิงข้างซ้าย \\ชายข้างขวา ฐานที่(๒) เพลาตา!' หญิงข้างซ้าย \\ ชายข้างขวา ฐานที่ ® จอมประ(ทท ฐานที่@ ช่องเพดาน ฐานที่ ® ปากช่องลำคอ ฐานที่@ ศูนย์กลางกายที่ดั้งจิตถาวร ฐานที่@ ศูนย์กลางกายระดับสะดือ ๒ นิ้วมือ ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงใสและกลมสนิท ปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า นิมิตเป็นส่วน หนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึก เสียตาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนตวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อม นิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มืการบ้งคับ และเมื่อนิมิตมา หยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวง นิมิต ต้วยความรู้สึกคล้ายมืดวงดาวตวงเล็กๆ อีกตวงหนึ่งซ้อนอยู่ ดรงกลางดวงนิมิตดวงเติม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรง กลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดไต้ถูกส่วน แล้วจากนั้นทุกอย่าง จะค่อยๆ ปรากฏให้เห็นไต้ต้วยตนเอง เป็นภาวะของตวงกลม ที่ทั้ง คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด วิรฟิทสพๆธิเบองพน www.kalyanamitra.org

0 ปากซ่องจมูเ^หญิงข้างชาย (§)■ \\ชายข้างขวา 0 เพลาตาr หญิงข้างซ้าย \\ ชายข้างขวา 0 จอมปวะสาท 0 ซ่องเพดาน 0 ปาทซ่องลำคอ 0 คูนย์กลางกายที๋ดั้งจํตถาวร © ศูนย์กลางกายระดับละดีอ .} ๒ นิ้วมือ ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน ใสทั้งสว่างผุดช้อนขึ้นมาจากกึ่งกลางดวงนิมิต ดรงที่เราเอาใจใส่ อย่างสมาเสมอ ดวงนี้เรียกว่า \"ดวงธรรม\"หรีอ \"ดวงปฐมมรรค\" อ้นเป็นประตู เบื้องต้น ที่จะเปีดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกนึกถึง นิมิด หรีอดวงปฐมมรรคสามารถทำไดในทุกแห่งทุกที่ ทุกอิริยาบถ เพราะดวงธรรมนี้คือที่พึ่งอ้นเป็นที่สุดแล้วของมนุษย์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สมาเสมอเป็นประจำ ทำ เรื่อยๆ ทำ อย่าง สบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำ ไต้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น อ้นจะเป็น เครื่องสกัดกั้นใจมิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำไห่ใจ ต้องสูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้ หมั่นดริกระลึกนึกถึงอย่เสมอจนกระทั้งดวงปธมมรรค กลายเป็นอ้น คู่มีอพุทธมามกะฉบับ ความรูพึ้นฐานก่อนไปวัด ^๒^ วิรแทสมาร!ฟ้04ดัน www.kalyanamitra.org

หนึ่งอันเดียวกับลมหายใจ หรือนึกเมื่อใดเป็นเห็นได้ทุกที อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำให้ชีวิตดำรงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความ สำ เร็จ และความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังทำให้สมาธิละเอียด อ่อนก้าวหน้าไปเรื่อยๆ ไดํอีกด้วย ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือไม่ใช้กำลังใดๆทั้งสิ้นเช่นไม่บีบกล้ามเนี้อ ดา เพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนี้อ หน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหน ของร่างกายก็ดาม จะทำให็จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไป สู่จุดนั้น ๒. อย่าอยากเห็น คือทำให็ใจเป็นกลาง ประคองสติมิให้เผลอ จากบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิด ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อ ใดนั้น อย่ากังวล กัาถึงเวลาแล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิด ของดวงนิมิตนั้นอุปมาเสมือนการขึ้นและดกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเช้าออก เพราะการ'ฝึก สมาธิเพื่อให้เช้าถึงพระธรรมกายภายใน อาศัยการนึกถึง อาโลกกสิณ คือกสิณแสงสว่างเป็นบาทเบื้องด้น เมื่อฝึก สมาธิจนเช้าถึงดวงปฐมมรรคแล้ว ฝึกสมาธิต่อไป ผ่านกาย มนุษย์ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จน กระทั้งเช้าถึงพระธรรมกายแล้วจึงเจริญวิปัสสนาในภายหลัง ด้งนั้นจึงไม่มืความจำเป็นด้องกำหนดลมหายใจเช้าออกแต่ ประการใด ฎ่มือพุทธมามกร ami คาวมรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๒^ ารฝิททนๆรเifojnu www.kalyanamitra.org

๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้วให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอริยาบถใดก็ตาม เช่น ยืนก็ดี เดินก็ดี นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี อ ย่าข้ายฐานที่ตั้งจิตไปไว้ที่อื่นเป็นอันขาดให้ตั้งใจ บริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็นตวงแก้ว ใสควบศู่กันตลอดไป ๕.นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลาง กายตั้งหมด ถ้านิมิตที่เกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สุตเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การ'ฝืกสมาธิเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ย่อมเป็นปัจจัยให้ เกิดความสุขไต้พอสมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบตอยู่เสมอๆ ไม่ทอดทิ้ง จนไต้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หมนประคองรักษาตวงปฐมมรรคนั้น ไว้ตลอดชีวิต ดำ รงตนอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันไต้ว่า ไต้ที่พึ่งของชีวิตที่ถูกต้องดีงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุข ความ เจริญ ทั้งในภพชาตินี้และภพชาติหน้า หากสามารถแนะนำต่อๆ กันไป ขยายไปข้งเหล่ามนุษยชาติ อย่างไม่จำกัดเขึ้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ สันติสุขอันไพบูลย์ที่ทุก คนใฝ่ฝัน ก็ย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน คู่มีอพุฑรมามกะ ฉบับ ความเพึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๗ร^ รรแททพารฟ้องค้น www.kalyanamitra.org

ประโยชน์ของการแกสมาธิ ๑. ผลต่อตนเอง ๑.๑ ด้านสุขภาพจิต 0 ส่งเสริมให้คุณภาพของใจดีขึ้น คือ ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธ สงบ เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย มีความจำ และสติปัญญาดีขึ้น © ส่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้คิดอะไรได้รวดเร็ว ถูก ด้อง และเลือกคิดแต่ในสิ่งที่ดีเท่านั้น ๑.๒ ด้านพ้ฒนาบุคลิกภาพ ๑ จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับกระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความองอาจสง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส © มีความมนคงทางอารมณ์ หนักแน่น เยือกเย็น และเชื่อ มนในดนเอง © มีมนุษยสัมพันธ์ดี วางด้วได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เป็น ผู้มีเสน่ห์ เพราะไม่มักโกรธ มีความเมดดากรุณาต่อ บุคคลทั่วไป ๑.๓ ด้านรวิตประจำวัน © ช่วยให้คลายเครียด เป็นเครื่องเสริมประสิทธิภาพในการ ทำ งาน และการศึกษาเล่าเรียน © ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะร่างกายกับ จิดใจย่อมมีอิทธิพลต่อกัน กัาจิดใจเข้มแข็ง ย่อมเป็น ภมิด้านทานโรคไปในตัว คู่มืรพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๓ ารฉททนๆรlifo^nu www.kalyanamitra.org

๑.๔ ด้านสีลธรรมจรรยา © ย่อมเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ เชื่อกฎแห่งกรรม สามารถ คุ้มครองตนให้พ้นจากความชั่วทั้งหลายได้ เป็นผู้มี ความประพฤติดี เนื่องจากจิตใจดี ทาให้ความประพฤติ ทางกายและวาจาดีตามไปด้วย © ย่อมเป็นผู้มีความมักน้อย สันโตษ รักสงบและมีข้นติ เป็นเลิศ 0 ย่อมเป็นผู้มีความเอื้อเฟิอเผื่อแผ่ เห็นประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ย่อมเป็นผู้มีสัมมาคารวะ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน โอ. ผลต่อครอบครัว ๒.๑ ทำ ให้ครอบครัวมีดวามสงบสุข เพราะสมาชิกใน ครอบครัวเห็นประโยชน์ของการประพฤติธรรม ทุกคน ตั้งมั่นอยู่ในศีล ปกครองกันด้วยธรรม เด็กเคารพผูใหญ่ ผู1หญ่เมตตาเด็ก ทุกคนมีความรักใคร่สามัคคีเป็นนํ้า หนื่งใจเดียวกัน ๒.๒ ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญก้าวหน้า เพราะสมาชิก ต่างก็ทำหน้าที่ของตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอ หน้กแน่น เมื่อมีปัญหาครอบครัวหรือมีอุปสรรคอันใต ย่อมร่วมใจกันแกไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ๓. ผลต่อสังคมและประเทศชาติ ๓.๑ ทำ ให้สังคมสงบสุข ปราศจากปัญหาอาชญากรรม และ ปัญหาสังคมอื่นๆ เพราะปัญหาทั้งหลายที่เกิตขึ้นใน สังคม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการฆ่า การข่มขืน โจรผู้รัาย คู่มีอพุทธมามกรฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๓^ วิรฉท««ารเสัทงส์น www.kalyanamitra.org

การทุจริตคอรัปชั่นล้วนเกิดขึ้นมาจากคนที่ขาดคุณธรรม เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอ หวั่นไหวต่ออำนาจสิ่งยั่วยวน หรือกิเลสได้ง่าย ผู้ที่แกสมาธิย่อมมีจิตใจเข้มแข็ง มี คุณธรรมในใจสูง ถ้าแต่ละคนในส้งคมต่างแกฝนอบรม ใจของตนให้หนักแน่น มั่นคง ปัญหาเหล่านี้กิจะไม่เกิด ขึ้น ส่งผลให้สังคมสงบสุขได้ n.b ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย และเกิดความประหยัด ผู้ที่แกใจให้ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อมเป็นผู้ รักความมีระเบียบวินัย รักความสะอาด มีความเคารพ กฎหมายบ้านเมีอง ด้งนั้นบ้านเมีองเราก็จะสะอาดน่าอยู่ ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้นถนน จะข้ามถนนก็ เฉพาะตรงทางข้าม เป็นด้น เป็นเหตุให้ประเทศชาติไม่ ด้องสิ้นเปลืองงบประมาณ เวลา และกำสังเจ้าหนัาที่ ที่ จะไปใช้สำหรับแถ้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่มี ระเบียบวินัยของประชาชน ๓.๓ ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหนัา เมื่อสมาชิกในสังคมมี สุขภาพจิตดี รักความเจริญถ้าวหน้า มีประสิทธิภาพใน การทำงานสูง ย่อมส่งผลให้สังคมเจริญถ้าวหน้าตาม ไปด้วย และจะสละความสุขส่วนตน ให้ความร่วมมีอ กับส่วนรวมอย่างเติมที่ และถ้ามีผูไม่ประสงค์ดีต่อสังคม จะมายุแหย่ให้เกิตความแตกแยก ก็จะไม่เป็นผลสำเร็จ เพราะสมาชิกในสังคมเป็นผู้มีจิดใจหนักแน่น มีเหตุผล และเป็นผ้รักสงบ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด วิร?เกสพารmaงส์น www.kalyanamitra.org

๔. ผลต่อศาสนา ๔.๑ ทำ ให้เข้าใจพระพุฑธศาสนาได้อย่างถูกต้อง และรู้ซึ้ง ถึงคุณค่าของพระพุทธศาสนารวมทั้งรู้เห็นด้วยตัวเองว่า การแกสมาธิไม่ใช่เรื่องเหลวไหล หากแต่เป็นวิธีเดียวที่ จะทำให้พ้นทุกข์เข้าสู่นิพพานไตั ๔.ใฮ ทำ ให้เกิดศรัทธาตั้งมั่นในพระร้ตนตรัย พร้อมที่จะ เป็นทนายแก้ต่างให้กับพระศาสนาอ้นจะเป็นกำลัง สำ คัญในการเผยแผ่การปฏิบัติธรรมที่ถูกตัอง ให้แพร่ หลายไปอย่างกว้างขวาง ๔.๓ เป็นการสืบอายุพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ตลอดไป เพราะตราบใดที่พุทธศาสนิกชนยังสนใจ ปฏิบัติธรรม เจริญภาวนาอยู่ พระพุทธศาสนาก็จะ เจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น ๔.๔ จะเป็นกำลังส่งเสริมทะนุบำรุงศาสนาโตยเมื่อเข้าใจ ซาบซึ้งถึงประโยชน์ของการปฏิบํติธรรมด้วยตนเองแลัว ย่อมจะชักชวนผู้อื่นให้ทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ตามไปด้วยและเมื่อใตที่ทุกคนในลังคมตั้งใจปฏิบติธรรม ทำ ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา เมื่อนั้นย่อมเป็นที่ หวังได้ว่า ลันติสขที่แห้จริงก็จะบังเกิดซึ้นอย่างแน่นอน คูมอพุฑรมามกร aiTu ความfmtฐานก่อนไปว'ค ^0๓^ ว๊ร?เททมารฟ้องทัน www.kalyanamitra.org

คำ อธิษฐานประจำว้น บุญใด, ที่ข้าพเจ้าได้ทำในบดนี้, เพราะบุญนั้น, และการ อุทิศแผ่ส่วนบุญนั้น, ขอให้ข้าพเจ้า, ทำ ให้แจ้ง, โลกุตตรธรรมเก้า, ในทันที, ข้าพเจ้า, เป็นผู้อาภัพอยู่, ยังด้องท่องเที่ยวไป,ในวัฏฎสงสาร, ขอให้ข้าพเจ้า, เป็นเหมือนพระโพธิสัตว์, ผู้เที่ยงแห้, ได้ รับพยากรณ์, แต่พระพุทธเจ้าแล้ว, ไม่ถึงฐานะ, แห่งความ อาภัพ, ๑๘ ประการ, ขอให้ข้าพเจ้า, พึงเว้นจากเวรทั้งห้า, พึงยินดีในการ รักษาศีล, ไม่เกาะเกี่ยวในกามคุณทั้งห้า, พึงเว้นจากเปีอก ดมด้งกล่าว, คือกามคุณ, ขอให้ข้าพเจ้า, ไม่พึงประกอบด้วย, ทิฏฐิชั่ว, พึง ประกอบด้วย, ทิฏฐิที่ดีงาม, ไม่พึงคบมิตรชั่ว, พึงคบแต่ บ้ณฑิดทกเมื่อ, คู่มีอพทรมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ^๓^ ฟ้ๆอรษฐๆนง■ระฟ้าวัน www.kalyanamitra.org

ขอให้ข้าพเจ้า, เป็นบ่อที่เกิดแห่งคุณ, คื อศรัทธา, สติ, หิริ, โอดตับ่บ่ะ, ความเพียรและข้นติ, พึงเป็นผู้ที่, ศัดรูครอบงำไม่ ได้, ไม่เป็นคนเขลา, คนหลงงมงาย, ขอให้ข้าพเจ้า, เป็นผู้ฉลาดในอุบาย, แห่งความเสื่อม, และความเจริญ, เป็นผู้เฉียบแหลม,ในอรรถและธรรม,ขอให้ ญาณของข้าพเจ้า, เป็นไบ่ไม่ข้องข้ด, ในธรรมะที่ควรรู้, บ่ระดุจลมพัดไบ่ในอากาคฉะนั้น, ความบ่รารถนาใดๆ, ของข้าพเจ้า, ที่เป็นกุคล, ขอให้ สำ เร็จ, โดยง่ายทุกเมื่อ, คุณที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วทั้งบ่วงนี้, จงมีแก่ข้าพเจ้า, ทุกภพทุกชาติ, เมื่อใด, พระล้มมาล้มพุทธเจ้า, ผู้แสดงธรรมเครื่องพัน ทุกข์, เกิดขึ้นแล้วในโลก, เมื่อนั้น, ขอให้ข้าพเจ้า, พันจาก กรรมอันชวข้าทั้งหลาย,เป็นผู้ใดโอกาส, แห่งการบรรลุธรรม, ขอให้ข้าพเจ้า, พึงได้ความเป็นมนุษย์, ได้เพคบริสุทธ, ได้บรรพชาอุบ่สมบทแล้ว, เป็นคนรักศีล, มีศีล, ทรงไว้ซึ่ง พระคาสนา, ของพระบรมคาสดา, ขอให้เป็นผู้มีการบ่ฎิบดธรรมได้, โดยสะดวก, ดรัสรูได้ พล้น, กระทำให้แจ้ง, ซึ่งอรห้ตดผลอันเลิค, อันบ่ระกอบด้วย ธรรมะ, มีวิชชา เป็นด้น, ถ้าหากพระพุทธเจ้า, ยังไม่บังเกิดขึ้น, แต่กุคลกรรมของ ข้าพเจ้า, เต็มเปียมแล้ว, เมื่อเป็นเช่นนี้, ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ ญาณ,เป็นเครื่องรู้เฉพาะตน, อันสูงสุด เทอญฯ คู่มีอพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัค คำ อร!เฐานประจำวน www.kalyanamitra.org

กฎระเบียบของวัดพระธรรมกาย วัดพระธรรมกาย เป็นบุญสถานของพุทธศวสนิกชน ทุกท่าน เป็นสถานที่ที่ต้องการความสงบ ความสะอาด ความเรียบร้อยและสำรวม ดังนั้นโปรดให้ความเคารพ ต่อสถานที่ดัวยการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่อไปนี้ อย่าง เคร่งคร้ด ๑. ห้ามสูบบุหรี่ดลอดจนไม่นำสิ่งเสพติดให้[ทษเข้ามา ๒. ห้ามอ่านหรีอนำ น.ส.พ.หรีอสิ่งตีพิมพ์ที่นำมาซึ่ง ความร้อนใจ ๓. ห้ามนำสินค้าหรีอสิ่งของใดๆ เข้ามาจำหนำย ๔. ห้ามเปิดวิทยุ เครี่องกระจายเสียง และเทปบันทึก เสียงเพลง ๕. ห้ามนำสัตว์มาปล่อยในบริเวณวัด ๖. ห้ามโฆษณาชวนเชื่อหาเสียงใดๆ ทั้งสิ้น ๗. ห้ามร้องรำทำเพลง หรีอแสดงการละเล่นทุกชนิด ๘. ห้ามทำนายทายทักโชคชะตา และคุยทันดัวยเรี่อง การเมืองที่ทำให้ร้อนใจ ๙. ห้ามเรี่ยไร และแจกใบฎีกาทุกชนิด ๑๐. โปรดแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย \"บัณฑิตย่อมรับรู้และปฏิบัติตามระเบียบวินัย\" ทู่มีรพุฑรมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด โ๒๓๖! กฎ-ร:เนยน«0งาทท!:01รมทาบ www.kalyanamitra.org

ว้ดพระธรรมกาย เลขที่ ๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทร. ๐๒-๘๓๑-๑๐๐๐ เว็บไซต์ www.dhammakaya.net, www.dmc.tv ฉใ!บ ความ|V(นฐานก่อนโปวต pencil นนนฑ(สันทางไปวAmsfilรพกาช www.kalyanamitra.org

ดู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทด.ตชีโว) เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-974-235-931-7 พิมพ์ครั้งที่ ๒ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จำ นวน ๕,๐๐๐ เล่ม ลิขสืทร มูลนิธิธรรมกาย คณะผู้จ้ดทำ กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต ออกแบบปกและสืลปกรรม ธาดา วงศ์คุณานนท์ จัดทำรูปเล่ม และ บริษัท ศรีเอทโซน จำ กัด โทร. ๐๒-๘๘๓-๑๕๑๕-๖ พิมพ์ท สันทัด ศักดี้สาคร โรงพิมพ์ รุ่งศิลป๋การพิมพ์(๑๙๗๗)จำ กัด โทร. ๐๒-๗๔๓-๙๐๐๐ โทรสาร ๐๒-๗๔๖-๓๓๘๗ จัคพิมพ์โดย กองวิชาการ อาศรมบัณฑิด 23/2 หมู่ 7 ด.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-831-1250 โทรสาร 02-831-1259 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ. National Library of Thailand Cataloging ๒ Publication Data พระภาวนาวิริยคุณ(เผด็จ ฑดฺดสืโว) คู่มือพุทธมามกะ ฉบับความรู้พี๋นฐานก่อนไปวัด.-- พิมพ์ครั้งที่ 2. -- ปทุมธานี: กองวิชาการ อาศรมบัณฑิด, 2552. 296 หน้า 1. พุทธศาสนา -- การศึกษา, 2. พุทธศาสนา -- คู่มือ, 3. พุทธศาสนา -- การปฎิบ้ตธรรม. I. ก่อนไปวัด, แ. ชื่อเรื่อง. 294.360 ISBN 978-974-235-931-7 www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook