Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพุทธมามกะฉบับความรู้พื้นฐานก่อนไปวัด

คู่มือพุทธมามกะฉบับความรู้พื้นฐานก่อนไปวัด

Published by WATKAO, 2021-01-27 03:49:58

Description: พระเผด็จ ทัตตชีโว

Search

Read the Text Version

สอนของพระสัมมาส้มพุทธเจ้าไปได้อย่าง ชนิดยอมอุทิศชีวิตเป็นเดิมพน (๔) ความเป็นผู้ปรารภความเพียร คือ เป็นผู้ ที่มีนิสัยรักการเจริญภาวนา ตามคำสอน ของพระพุทธองค์อย่างสมาเสมอ โตยไม่มี ข้อแม้เงื่อนไข เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของ ตัวเองให้บริสุทธี้ยิ่งๆ ขึ้นไป จนกระทํ่งมี ความบริสุทธเท่ากับนิพพาน (๕) ความเป็นผู้มีฟ้ญญา คือ เป็นผู้ที่รู้เห็นการ เกิตตับของทุกข์ตามความเป็นจริงในระตับ โลกตตรธรรม และสามารถกำจ้ตทุกชีให้ สิ้นไปได้ด้วยการปฎิป้ตอริยมรรคมีองค์ ๘ ในระตับโลคุตตรธรรมให้ยิ่งๆ ขึ้นไป จน กระทั่งเห็นนิพพาน เข้าถึงนิพพาน และ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับนิพพาน ทำ ให้ สามารถกำจ้ตทุกข์ให้สิ้นไปจากชีวิตได้ อย่างถาวร ตังนั้น การที่ชาวโลกจะรอตพ้นจากทุกข์ประจำชีวิต จากความอันตรายของกฎแห่งกรรม และจากสภาพทำลาย ล้างของกฎไตรสักษณ์ได้ ก็จำ เป็นจะตัองปฏิบัดิอริยมรรค มีองค์ ๘ ให้อยู่ในระตับที่พื่งตนเองได้ นั้นคือ อย่างน้อยที่สุต ก็จำ เป็นตัองแกอบรมตนให้มีคุณสมม้ต ๕ ประการอยู่ประจำ ตัว ^มปี^เฑรมามก::€เปับ ความรู้พนฐานก่อนใปาด พรรๆทรคาaนากับทวามอ{{รรฅรอฬาาโทท www.kalyanamitra.org

ในขณะที่เรากำลังแกอบรมตนเองอยู่ และยังไม่อาจเป็น ที่พึ่งให้แก่ตนเองได้ ก็จำ เป็นด้องได้กัลยาณมิตรเป็นที่พึ่ง กัลยาณมิตรที่ดีนั้นจะด้องเป็นที่พึ่งให้แก่ชาวโลกได้อย่าง น้อยใน ๓ ฐานะ ได้แก่ ๑) พึ่งในฐานะบุคคลด้นแบบการกำจัตทุกข์ ๒)พึ่งในฐานะครูสอนอริยมรรคมีองค์๘ ในภาคปฏิบต ๓) พึ่งในฐานะเป็นแหล่งที่ให้กำลังใจในการกำจัตทุกข์ใป ได้ตลอตรอตฝัง จนกว่าจะบรรลุนิพพานในตน ด้งนั้นบุคคลที่เป็นที่พึ่งให้แก่ชาวโลกได้ดีที่สุดก็คือพระ ลัมมาลัมพุทธเจ้า รองลงมาก็คือเหล่าพระอรห้นค์สาวก รอง ลงมาอีกก็คือพระภิกษุสงฆ์ที่ทุ่มชีวิตปฎิป้ตอริยมรรคมีองค์๘ เพึ่อมุ่งกำจ้ตทุกข์ตามพระองค์ใปให้ใด้ ชาวโลกในยุคก่อนเข้าใจภาวะเดือตร้อนที่ด้อง เคว้งคว้างเป็นทุกข์ ขณะไร้ที่พึ่งในการกำจ้ตทุกข์ของตนเอง เป็นอย่างดี จึงได้จ้ตให้มี พิธีประกาศตนเป็นพุทธมามกะ เพึ่อขอถึงพระลัมมาลัมพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งในการกำจ้ตทุกข์ นั้นเอง ซึ่งแม้ว้นนี้พระพุทธองคืได้ดับข้นธปรินิพพานไปแลัว แต่ก็ยังคงพิธีการประกาศตนเป็นพุทธมามกะนั้นไว้ ทางหนึ่ง ก็เพึ่อระลึกถึงพระคุณอันยิ่งใหญ่ของพระสัมมาลัมพุทธเจ้า ในอดีต และอีกทางหนึ่งก็เพึ่อผูกใจของตนเองเอาไว้กับ พระสัมมาลัมพุทธเจ้าที่จะมาตรัสรูในอนาคต ฅู่มือพุทธมามกร ฉบัม ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัด พ•ระทุทรศาเ(นากับคาาพอยู่รอดของBาวโสก www.kalyanamitra.org

๕. ทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์ซึ่งเป็นแม่บทการ สิกษาทางธรรมให้ชาวโลกนำไปปฏิบัติตามอย่างเร่งด่วน พระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงทราบดีว่า ในช่วงที่พระองค์ยัง ทรงมีพระชนม์ชีพอยู่นั้น พระองค์โม่สามารถขนชาวโลกทั้ง โลกไปนิพพานได้หมดสิ้น แต่ทว่าก็ไม่อาจทอดทิ้งโดยไม่ เหลียวแล จึงจำเป็นด้องหาวิธีการสอนอริยมรรคมีองค์ ๘ ใน ระดับที่ช่วยให้ชาวโลกสามารถพึ่งดนเองได้เร็วที่สุด แม์ไม่ได้ ตรัสสอนด้วยพระองค์เอง แต่ก็สามารถศึกษาจากพระอรห้นต์ และ!เกอบรมตนเองดามพระองค์โปได้เช่นกัน รวมทั้งถึง แม้ว่าพระองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว ชาวโลกที่เกิด มาในภายหสังก็ยังมีหนทางรอดไปนิพพานได้ ด้วยเหตุนี้ พระสัมมาส้มพุทธเจ้าจึงทรงปรับระดับคำ สอนเรื่องอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้อยู่ในสักษณะที่สามารถทำให้ ชาวโลกเห็นความสำคัญได้ง่ายที่สุด เรียนรูได้ง่ายที่สุด ปฏิบัติตามได้ง่ายที่สุด และนำไปเผยแผ่ได้ง่ายที่สุด แม้แต่ เด็กที่ยังอยู่ในครรภ์มารดาก็สามารถนำไปสั่งสอนอบรมได้ การปรับสักษณะคำสอนที่เหมาะแก่การเผยแผ่เช่นนี้ นอกจากจะช่วยให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนากระจายออก ไปทั้วโลกได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังสามารถช่วยเหลีอชาวโลก ทุกระดับการศึกษา ทุกระดับสติปัญญา ทุกชนชาติ ทุกศาสนา ทุกเพศทุกรัย ให้ปฏิบัติอริยมรรคมีองค์ ๘ ตามพระองค์โป ได้โดยง่าย ซึ่งส่งผลให้พระองค์สามารถเพึ่มกำสังชาวพุทธ ในการขนชาวโลกไปนิพพานได้เพึ่มขึ้นอย่างรวดเร็วที่สุดอีก คูมปีพุทธผา}jnt ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวด ๓๕^ nirnnsctnaนาทบคาา าาTan www.kalyanamitra.org

ด้วย อีกทั้งยังเป็นมรดกตกทอดมาถึงชาวโลกในยุคหลัง ให้มี ทางรอดพ้นจากทุกข์ประจำชีวิด รอดพ้นจากกฎแห่งกรรม รอดพ้นจากกฎไตรลักษณ์ ดามพระองค็ไปได้อีกด้วย ด้งนั้น พระสัมมาลัมพุทธเจ้าจึงประทาน \"โอวาทปาฏิ โมกข์\" แปลว่า โอวาทเพื่อความรอดพ้นจากทุกข์ของคน ทั้งโลก ซึ่งเป็นคำสอนที่ทำให้ชาวโลกเห็นความสำคัญของ การปฏิบดอริยมรรคมีองค์ ๘ ได้ง่ายที่สุด เรียนรู!ด้ง่ายที่สุด ปฏิบัติดามได้ง่ายที่สุด และนำไปเผยแผ่ได้ง่ายที่สุด เพราะ เหมาะแก่ชาวโลกทกยคสม้ย จ1 โอวาทปาฏิโมกข์ ประกอบด้วยคำสอน ๓ ชุด โอวาทชุดแรก คือ คำ สอนที่มุ่งปลูกฝัง\"อุดมการณ์ชีวิต ที่เป็นสัมมาฑิฏฐิ\"มี ๓ ประเด็นใหญ่ ที่ด้องรีบบอกให้ชาวโลก รู้ความจริง ได้แก่ ๑) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า การที่จะกำจ้ด ทุกข์ใด้สำเร็จด้องมี\"ความอดทน\"เป็นอันคับแรก คนเราทุก คนลัวนด้องอดทนตั้งแต่วินาทีแรกที่คลอดออกจากครรภ์ มารดา ซึ่งเป็นวินาทีวิกฤตที่สุดในชีวิต เพราะขณะนั้นเป็น ภาวะที่เราอ่อนแอที่สุด โง่เขลาที่สุด พร้อมที่จะดายได้ดลอด เวลา เพียงแค่เราไม่สามารถเรียนรู้เรื่องการหายใจด้วย ตนเองให้เป็น ก็ตายได้เดี๋ยวนั้นทันที ครั้นเมื่อเราหายใจเป็น แล้ว เราจึงได้รู้ว่าเราไม่สามารถยืมจมูกของใครหายใจได้เลย เป็นการสอนให้รู้วา ด้วของเราเองจะด้องเป็นทีพงเห้ตวเอง คู่มึอพุทธมามกร amjความเพนฐานท่อนไปวัด nirvjnBcnnunทันทวานอ^tomiooราiTan www.kalyanamitra.org

ไปตลอดชีวิต ดังนั้น เราจึงดัองมีความอตทน เพราะดวาม อดทนเป็นเครื่องเผาผลาญทุกข์อย่างยิ่ง ๒)พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้จักวำ เป้าหมาย ที่แท้จริงของการเกิตมาเป็นมนุษย์ คือ \"การบรรลุนิพพาน\" เพราะนิพพานเป็นบรมสุขอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นสภาวะที่ ทำ ให้รอตพ้นจากทุกข์ประจำชีวิต รอตพ้นจันตรายจากกฎ แห่งกรรม รอดพ้นจากสภาพทำลายล้างของกฎไตรลักษณ์ อย่างสมบูรณ์แบบ เพราะเหตุนี้พระสัมมาล้มพุทธเจัาทุกๆ พระองค์จึงตรัสตรงกันว่า \"นิพพานนันเป็นเยี่ยม\" ๓) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า หนทางที่มุ่งไปสู่ นิพพานนั้น มีเพียงสายเดียว และเป็น \"หนทางที่ไม่ก่อบาป ก่อเวรเพิ่ม เป็นหนทางของสมณะ ผู้สงบสงัดจากการ ก่อบาปก่อเวรทั้งปวง\"ผู้ที่จะไปนิพพานไดันั้นจำเป็นดัอง?เก อบรมกาย วาจาใจให้บริสุทธี้เทำกับนิพพานจึงจะเห็นนิพพาน เข้าถึงนิพพาน และเป็นจันหนื่งจันเดียวกับนิพพานไดั จึงจะ บรรลุนิพพานไดัอย่างถาวร การก่อบาปก่อเวรจึงไม่ใช่ หนทางของผู้มีความบริสุทธกาย วาจา ใจ แต่เป็นหนทาง ของผู้ยังดัองตกอยู่ในอบาย ซึ่งมีแต่ทุกข์กับทุกข์ที่เพิ่มขึ้น อย่างไม่รู้จบรู้สิ้นเท่านั้น โอวาทชุดที่สอง คือ คำ สอนที่มุ่งปลูกฝัง \"หสักการคิด ที่เป็นสัมมาสังกัปปะ\" ให้แก่ชาวโลก ซึ่งมีหสักการอยู่ ๓ ประการ ไดัแก่ คู่มือพุฑ&มามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด (๓๗ 1 พระทุทรศาสนากับความอยู่รอคnoงซาวโทท www.kalyanamitra.org

๑) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ก่อนจะทำอะไร ก็ตาม ต้องไตร่ตรองอย่างรอบคอบเสียก่อนว่า สิ่งนั้นดีหรือชั่ว โตยทรงให้ยึดหลักว่า \"ความชั่วทุกชนิดต้องไม่ทำเป็นอัน ขาด\"ถึงแม้ถูกขู่ฆ่าเอาชีวิตก็ต้องไม่ทำ เพราะการทำความชั่ว แม้เพียงเล็กน้อย อาจมีผลถึงตกนรก เมื่อใดที่ทำความชั่ว นั้นคือการก่อบาปก่อเวรใหม่ให้แก่ต้วเอง มีแต่เพิ่มบาปและ เพิ่มทุกข์ให้กับต้วเองอย่างไม่รู้จบไม่รู้สิ้น เพราะบาปก็คือ พลังงานชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถเห็นไต้ต้วยตามนุษย์ปุถุชน แต่มีอานุภาพทำลายล้างผลาญความดีไต้ร้ายกาจน้ก ๒)พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ก่อนจะทำอะไร ก็ตาม ต้องรู้ก่อนว่าสิ่งที่ทำไต้ก็เฉพาะ\"ความดี\"เท่านั้นโดย ทรงให้ยึดหลักว่า \"ความดีใดที่ไดีโอกาสทำ ต้องทำให้ดี ที่สุด ทำ อย่างสุดชีวิต ดีอ อุทิศชีวิดเป็นเดิมพัน\" ห้าม ทำ ความดีอย่างเหยาะๆ แหยะๆ ห้ามท้อถอยในการทำความ ดี เพราะการทำความดีแม้เพียงนิด ย่อมไม่มีผลต่อการกำจัด ทุกข์และเพิ่มความสุขให้กับชีวิต ความดียิ่งทำมากเท่าไหร่ ยิ่งส่งผลดีต่อชีวิตมากเท่านั้น เพราะผลของความดีก็คือ บุญ เพราะบุญ คือ พลังงานบริสุทธที่เกิดขึ้นในใจทุกครั้งที่ ทำ ความดี บุญนี้มีอานุภาพในการกำอัดทุกข์และดิงดูด ความสุข ความเจริญมาสู่ชีวิตอย่างไม่รู้จบไม่รู้สิน ดั่งคำ สุภาษิตที่ว่า \"บุญมาป๋'ญหาลด บุญหมดฟ้ญหาเพิ่ม\" ฅูมฝิพุทรมามทร ฉป้บ ความรูพนฐานก่อนไปวด ^cnc^ พาCพุฑ0«าลนาทนความอยู่'taonooiiๆาโan www.kalyanamitra.org

๓) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ต้องรักษาใจให้ ผ่องใสอยู่เสมอ เพราะในขณะทำความดี ใจยิ่งผ่องใสมาก เท่าใด บุญยิ่งเกิดขึ้นในใจมากเท่านั้นบุญยิ่งเกิดขึ้นมากเท่าใด ความบริสุทธกาย วาจา ใจยิ่งเพิ่มดามไปเท่านัน ความ บริสุทธยิ่งเพิ่มขึ้นมากเท่าใด ยิ่งเข้าใกล้นิพพานมากเท่านัน เมื่อใดที่กาย วาจา ใจมีความบริสุทขึ้เท่ากับนิพพาน ย่อม สามารถเห็นนิพพาน เข้าถึงนิพพาน และเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกับนิพพานเมื่อนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ตรัสรู้ธรรมได้ด้วยการเจริญภาวนาเพิ่อกสั่นกาย วาจา ใจให้ บริสุทธผ่องใสทั้งสิ้น โอวาทชุดที่สาม คือคำ สอนที่มุ่งปลูกฝัง\"วิธีการดำเนิน รวิตเพื่อรักษาใจให้ผ่องใสและไม่ก่อบาปก่อเวรใหม่เพิม\" ให้แก่ชาวโลก ซึ่งมีทั้งหมด ๖ ประการ ได้แก่ ๑) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ด้องระวังคำพูด ของดนเองให้ดี อย่าก่อบาปก่อเวรด้วยปาก โดยเริ่มด้น'ฝึกจาก \"การไม่ว่าร้ายผูใด\" เพราะนั้นคือการฝึกพูดด้วยใจที่ผ่องใส เป็นสัมมาวาจา ๒)พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ด้องระมัดระวัง มีอเท้าของดนเองให้ดี อย่าก่อบาปก่อเวรด้วยมือด้วยเท้า ของตัว โดยด้องเริ่มฝึกผ่นจาก \"การไม่ทำร้ายผูใด\" เพราะ นั้นคือการฝึกการกระท่าด้วยใจที่ผ่องใสเป็นสัมมากัมมันตะ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๓^ ฑระทุทBtniเนาทับความอยู่!อดของชาวโสก www.kalyanamitra.org

๓) พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ต้องระมัดระวัง การประกอบอาชีพของตนเองให้ดี อย่าเลี้ยงชีวิตต้วยการก่อ บาปก่อเวรเพิ่ม โตยเริ่ม?เกจาก \"การรักษาสีลและมารยาท ของตนให้ดี\" เพราะนั่นคือการ?เกประกอบอาชีพต้วยใจที่ ผ่องใสเป็นสัมมาอาชีวะ ๔)พระองค์ทรงสั่งสอนให้ชาวโลกรู้ว่า ต้องระมัดระวัง การใช้สอยปัจจัย ๔ให้ดี เพราะหากใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย ก็จะเป็น เหตุให้ก่อบาปก่อเวรที่เป็นความเสียหายต่างๆ ขึ้นมาทันที เช่น เสียทรัพย์เปล่า เสียแรงเปล่า เสียบุญเปล่า เสียเวลาเปล่า เสียมิตรแต่เพิ่มศ้ตรู ที่เสียอย่างยิ่งคือเสียนิสัย เพราะเพียง ไต้นิสัยเอาแต่ใจ นิสัยเห็นแก่ไต้ นิสัยมักง่าย แค่นี้ก็พรัอมจะ ก่อบาปก่อเวรไดไม่หยุดหย่อนแล้ว โดยพระองค์ทรงให้เริ่ม ?เกจาก \"การรู้ประมาณในการบริโภคอาหารให้พอเหมาะ พอดีกับสุขภาพร่างกาย\" เพราะนั่นคือการ?]กดวามเพียรละ ชั่วต้วยใจที่ผ่องใสเป็นสัมมาวายามะ ๕) พระองค์ทรงสั่งสอนให้รู้ว่า ความสงบของชีวิตเริ่ม ต้นที่การประคองใจให้อยู่ในตัวโดยต้องเริ่ม?]กจาก \"การเลือก ฑีน้งและทีนอนในที่สงบ\"เพิ่อที่จิดใจจะไดีไม่พีงซ่าน มีเวลา วางแผนแก่ไขช้อบกพร่องของตนเอง และมีโอกาสไดี?]ก สมาธิให็ใจมีกำสังสติที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป จะไดีไม่หงุดหงิดง่าย หรือวอกแวกง่าย สันจะเป็นเหตุให้พลั้งเผลอไปก่อบาปก่อ เวรเพิ่ม เพราะนั่นคือการ?]กประคองใจให้ผ่องใสอย่างต่อ เนื่องเป็นสัมมาสดี คู่มีอพุทธมามกรฉบับความรูพึ้นฐานก่อนไปวัด0พรร'ๆทรสา าทนความajjรอฅซองทา-)โทท www.kalyanamitra.org

๖) พระองค์ทรงสั่งสอนให้รู้ว่า ความบริสุทธกาย วาจา ใจของคนเรานั้น เริ่มต้นที่การเพิ่มปริมาณความผ่องใสของใจ ให้มากยิ่งขื้น ต่อเนื่องยิ่งขึ้น มั่นคงยิ่งขึ้น โดยต้องเริ่มแกจาก \"การหมั่นเจริญภาวนาให้ใจหยุดนิ่งอยู่ที่ศูนย์กลางกาย ฐานที่ ๗\"ในทุกโอกาสที่เอื้ออำนวยอย่างสมั่าเสมอเป็นประจำ ทุกวัน เพราะนั้นคือการ!เกกสั่นกาย วาจา ใจให้บริสุทธ ผ่องใสอย่างต่อเนื่องเป็นสัมมาสมาธิ โอวาทปาฎิโมกข์อันประกอบต้วยคำสอนทั้งสามชุดนี้เอง พระสัมมาอัมพุทธเจ้าไต้ประทานเป็นนโยบายการเผยแผ่ให้ แก่พระอรห้นต์ ๑,๒๕๐ รูปแรกของโลก ซึ่งเป็นชุดบุกเบิก การเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยให้พระอรห้นต์ทุกรูปรีบเดิน ทางกระจายกันไปอังแว่นแควันต่างๆ เพิ่อบอกให้ชาวโลกไต้ ทราบถึงสภาวการณ์ดามความจริงในชีวิต แล้วรีบ!]กอบรม ดนเองดามเล้นทางอริยมรรคมีองค์ ๘ เพิ่อฝ่าความทุกข์ ประจำชีวิดที่รุมเร้าไม่หยุดหย่อน เพิ่อฝ่ากฎแห่งกรรมที่ตาม บีบคั้นไม่เลิกรา เพิ่อฝ่ากฎไตรลักษณ์ที่ดามทำลายล้างไม่จบ สิ้น เพิ่อมุ่งไปสู่นิพพานตามพระพุทธองค์ เพราะอริยมรรคมี องค์๘ คือหนทางรอดพ้นจากทุกข์เพียงสายเดียวของชาวโลก โดยมีโอวาทปาฏิโมกข์เป็นจุดเริ่มต้นของอริยมรรคมีองค์ ๘ ภาคปฏิบัติ อันเป็นเสมีอนการศึกษาธรรมขั้นพื้นฐานใน พระพุทธศาสนา หรีอปากประตูไปสู่นิพพานของชาวโลก นั้นเอง คู่มือพุฑรมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานท่อนไปวัด พรรทุฑ0«าทนาทบคาาพฮยูพอคฃ0ง«า-1โรท www.kalyanamitra.org

รวิตที่ต่างต้องหาทางหลุดพ้นไปด้วยกัน เมื่อเราได้รู้ว่าพระพุทธศาสนาคือแหล่งคำสอนเดียวใน โลกที่สอนเรื่องวิธีกำจัดทุกข์ และได้ศึกษาวิธีการสอนอริย มรรคมีองค์ ๘ เพื่อช่วยชาวโลกไปนิพพานแล้ว ก็เป็นอันว่า เราต่างได้รู้ถึงสภาพชีวิตที่แท้จริงของตนเองว่า ไม่ว่าใครจะ มีความเชื่อแบบไหนก็ตาม แต่สภาวการณ์ที่เกิดขึ้นกับชีวิต ของเราในเวลานี้ ก็คือ ๑) กฎแห่งกรรม ยังคงตามควบคุมเราทุกลมหายใจ หากเราก่อความผิตพลาตทางกาย วาจา ใจเมื่อใด วิบากคือ ผลของกรรมใหม่จะเกิดขึ้นเป็นโทษท้ณฑ์ติดตัวเราไปท้นที โทษท้ณฑ์ต่างๆ ที่ถูกตรากำหนตไว้แล้วในกฎแห่งกรรมนั้นๆ ก็จะถูกนำมาใช้กระหนั้าลงมาในชีวิตของเรา โตยไม่มีละเว้น ไม่มีเหตุผล ไม่มีความปรานี โดยที่เราไม่มีสิทธรู้เลยว่ากฎ แห่งกรรมนี้เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ยิ่งเมื่อมาผสมโรงกับวิบาก กรรมเก่าที่ติดตัวมาจากอดีตด้วยแล้ว เราเองก็มีสภาพไม่ ต่างจากนักโทษที่ถูกผู้คุมหาเรื่องลงโทษอยู่ตลอดเวลา โตย ไม่มีโอกาสกระติกตัวหนีไปไหนได้เลย นี่คือสภาพชีวิตของ เราและคนทั้งโลกที่ด้องทำความเช้าใจใท้ช้ดเจน ๒) กฎไตรลักษณ์ซึ่งก็ไม่รู้ว่ามาอยู่ในตัวเราได้อย่างไร ยังคงตามกัตกร่อนทำลายล้างให้เราตกอยู่ในสภาพอ่อนแอที่สุด ยากจนที่สุด และโง่เขลาที่สุดอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าเราจะ พยายามสรรค์สร้างสิ่งใตไวิในโลกนี้มากนัอยเพียงใด เลอเลิศ ต่มีอทฑรมามกะ ฉบับ ความเหนฐานก่อนไปวัด ni£Tjno«iiaนาทนทาาMOป-10ดข04ราาโan www.kalyanamitra.org

เพียงใด แต่สุดทายก็จะคงอยู่ได้แค่ช่วงระยะเวลาหนง คือมี เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และด้บไป เฉกเช่นเดียวกับเซลล็ในร่างกาย ของคนเรา ที่มีเซลล์ตายและเซลล์เกิดสลับกันไปดลอดเวลา เมื่อใดที่มีแต่เซลล์ดายไม่มีเซลล์เกิด ลังขารของเราก็ถึงคราว แตกด้บสลายไปจากโลกนี้ ไม่อาจเหนี่ยวรั้งสิ่งใดไวให้เป็น ความจีรังยั่งยืนดลอดกาล นี้คือสภาพชีวิตของด้วเราและคน ทั้งโลกที่ด้องทำความเข้าใจให้ชัดเจน ๓) ทุกข์ประจำชีวิต ทั้งทุกข์จากการดำรงชีวิด ทุกข์จาก การอยู่ร่วมกัน ทุกข์จากอำนาจกิเลส ยังคงบีบคั้นให้เราแทบ ไม่มีเวลาได้คิดหาทางแกไข ว่าจะฝ่าทุกข์ทั้งหลาย ฝ่ากฎ แห่งกรรม ฝ่ากฎไตรลักษณ์นี้ออกไปได้อย่างไร เพราะมอง ไปทางไหน ก็ล้วนมีแต่ผู้ที่กำลังรัองครั้าครวญโอดโอยเพราะ ความทุกข์บีบคั้นเหมีอนๆ กันทั้งนั้น หรือบางคนที่อดทนต่อ การถูกทุกข์บีบคั้นไม่ไหว ก็ลุกขึ้นมาทุบดีทำร้าย เอารัดเอา เปรืยบผู้ที่อ่อนแอกว่า เปรืยบเหมีอนไก่ที่อยู่ในเข่งช่วงเทศ กาลตรุษจีน เพื่อรอเวลาถูกเชีอด สำ หรับเตรืยมใช่ในพิธีเซ่น ไหว้ ต่างพากันจิกดีกันเองอย่างไม่คิดชีวิต ไก่ด้วไหนจิกตัว อื่นให้หมอบฟายลงไปได้ก็โก่งคอชันแสดงอำนาจอยู่ในเข่งนั้น แต่ยังชันไม่ทันสุดเสียงก็ถูกเขาจับไปเชีอดคอตายหมดทั้งเข่ง นี้คือสภาพชีวิตของด้วเราและเพื่อนมนุษย์ที่ด้องทำความ เข้าใจให้ชัดเจน คู่มือพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด พระทุฑธศาสนากับความอยู่รอดของชาวโลก www.kalyanamitra.org

สภาวการถนนชีวิตทั้ง ๓ นี้ ต่างกักล้อมเราไว้ ทำ ให้เรา มีสภาพเหมือนคนติดคุกไปตลอดชีวิต ทำ ให้เราไม่ต่างจาก สัตว์ที่อยู่ในที่คุมขัง เพียงแต่คุกที่คุมขังของเรานั้น ไม่ใช่ กรงขังสัตว์ แต่เป็นโลกทั้งใบที่เราอาศัยอยู่นี้ ทำ ให้บางครั้ง ชาวโลกรุ่นก่อนที่มีปัญญาเท่าทัน รู้ถึงสภาพที่แทัจริงของ ชีวิตจึงเรียกคนทั้งโลกนี้ว่า สัตวโลก เพราะอยู่ในสภาพถูกคุม ขังอยู่ในโลก และถูกทรมานด้วยกฎแห่งกรรม กฎไตรสักษถโ และทุกข์ประจำชีวิต สิ่งที่เราพอรู้อยู่ในเวลานี้ ก็คือ พระสัมมาสัมพุทธเว้าได้ ทรงหาทางกู้อิสรภาพให้แก่พระองค์เองและชาวโลกยุคพุทธ กาล รอดฟันจากสภาพถูกคุมขังอยู่ในโลกและทัณฑ์ทรมาน ตลอดกาลยาวนานไปสู่นิพพานได้สำเร็จแล้วจำนวนมหาศาล ก็เหลือแต่ด้วเราว่า จะแหกคุกซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ที่ คุมขังเราอยู่ในขณะนี้ ติดตามพระพุทธองค็ไปหรีอไม่ เพราะในขณะนี้ สภาวะแห่งการรอดฟัน คือ นิพพานก็มี อยู่อย่างแน่นอนแล้ว หนทางที่จะหนีรอดก็มีอยู่อย่างขัดเจน แล้ว ผู้ที่ชี้ทางรอดคือพระสงฆ์ก็ยังมือยู่ แม้ว่าพระสัมมาสัม พุทธเว้าจะไม่ทรงอยู่กับเราแล้ว แต่ก็ยังมืหมู่สงฆ์ที่กำสังสืก ตนเพื่อแหกคุกแห่งการเวียนว่ายตายเกิดในว้ฏสงสารตาม พระพุทธองค็ไปด้งนั้นก็เหลือแต่เพียงว่า เราจะตัดสินใจร่วม แหกดุกแห่งวัฏสงสารไปกับท่านหรือไม่เท่านั้นหรีอจะยอม ติดคุกตลอดชีวิตและตลอดไป ทั้งนี้ขื้นอยู่กับการตัดสินใจ ของตัวเราเป็นสำศัญ upนก่อนไปวัด © 11ร£1]ท0ดาทนาทนทวา*)0^10«»10งธาวโลก www.kalyanamitra.org

สำ หร้บผู้ที่จะแหกคุกตามพระพุทธองคใปนั้น ก็จำ เป็น ต้องแกอบรมตนให้พร้อมต่อการแหกคุก ต้งนี้ ๑) ต้องแกอบรมตนให้เป็นที่พึ่งแห่งตนเองให้ได้ ผู้ที่จะพึ่งตนเองไต้จะต้องมีเป็าหมายในการแกอบรมตน ให้มีคุณสมบัติของผู้ปรารภความเพียรในการกำจัดทุกข์ ๕ ประการ คือ ๑.๑) แกตนให้เป็นผู้มีศรัทธา โดยเริ่มจากการ ศึกษาพุทธประวตและการแกอบรมตนของพระสัมมาส้มพุทธ เจัา ตั้งแต่เริ่มตั้งปณิธานเป็นพระพุทธเจัา จนกระทั่งไต้เป็น พระพุทธเจ้า และสั่งสอนสัตวโลกให้พ้นทุกข์ตามพระองค์ จนกระทั่งเสด็จดับขันธปรินิพพาน ให้เขัาใจอย่างขัดเจน ๑.โอ) แกตนให้ดูแลรักษาสุขภาพเป็น จนกระทั่ง เป็นผู้มีอาพาธน้อย โดยเริ่มจากการรู้ประมาณในการบริโภค ปัจจัย ๔ ให้พอเหมาะพอดี ทั่งคุณภาพ ปริมาณ การใช้งาน ระยะเวลา และงบประมาณที่ตนเองมีอยู่ โดยไม่ก่อให้เกิด โทษต่อสุขภาพของร่างกาย ๑.๓) แกตนให้เป็นคนตรง เปีดเผย ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา เพึ่อมุ่งตรงสู่พระนิพพานโดยเริ่มจากการแกรับ ผิดชอบงานต่างๆ ในชีวิตประจำจันให้ดี ตั้งแต่การศึกษาเล่า เรียน การทำงานบัาน การทำงานอาชีพ โดยพยายามแกทำให้ ถูกดี คือ ถูกจัตถุประสงค์ ถึงดี คือ ดีทั่งคุณภาพและดีทั่ง ปริมาณ พอดี คือ เหมาะสมสับบุคคล เวลา งบประมาณ 'ฅปู้่มือพรทรมามกร:ฉบับ ความรi้พนฐ2านก่อนไปวัด (y๙๕J! พระพ5ฺฑธศาสนาทับดาา«อมร่รอคของชาวโลท www.kalyanamitra.org

เหตุการณ์ และสถานที่ คนที่!!กตนเองมาในลักษณะนี้ ย่อมมี ความรู้ดี ความสามารถดี และความประพฤติดี อยู่ในระดับที่ จะทำให้พึ่งตนเองไดั ผู้อื่นเชื่อถือตนได้ จึงไม่มีปมด้อยใน การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ทำ ให้ใม่จำเป็นด้องโอ้อวดหรือมี มารยาเพึ่อเอาด้วรอต หรือเพึ่อสร้างภาพหลอกลวงให้ผู้อื่น เข้าใจผิดร่าตนเป็นคนดี มีความสามารถ ๑.๔) แกตนให้เป็นผู้มีความพากเพียรในการ กำ จัดทุกข์ โดยเริ่มจากการ!]กอบรมตนให้เป็นคนมีวินัย ทั้ง วินัยต่อเวลา วินัยต่อความสะอาด วินัยต่อความเป็นระเบียบ วินัยต่อกฎระเบียบต่าง ๆ และที่สำคัญต้องมีวินัยในการทำ สมาธิ คือต้องหมั่นเจริญสมาธิภาวนาเป็นประจำทุกวัน โดย ไม่มีข้อแม้เงื่อนไข ๑.๕) !1กตนให้เป็นผู้มีปัญญาในการกำจัดทุกข์ โดยเริ่มจากการ!]กจับประเด็นหลักการดัดสินถูก-ผิด ดี-ชว บุญ-บาป ควรทำ-ไม่ควรทำ จากนิทานชาดก จากนิทาน สอนศีลธรรม จากเหตุการถnนชีวิตประจำวัน เพึ่อให้มีความ รู้เท่าทันทุกข์ รู้เท่าทันกิเลส รู้เท่าทันกฎแห่งกรรม รู้เท่าทัน ปัญหาต่างๆ ที่ไม่พึงประสงค์ ไอ) ต้องได้กัลยาณมิตรเป็นผู้ร้ทาง การที่ใครจะพึ่งตนเองได้เร็วหรือข้านั้น มีปัจจัยสำคัญ อีกประการหนึ่ง นั้นคือ เขาต้องไต้ครูดี โดยเฉพาะครูที่ คู่มีอVเฑรมามกรฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด0ท1£>]ทรคาทนาก้นท')าน&yiomiooซาวโร*ท www.kalyanamitra.org

สามารถชี้ทางที่ถูกต้องตรงตามหลักธรรมของพระสัมมา สัมพุทธเจ้าไดจึงจะสามารถชี้แนะให้เราสามารถพึ่งตนเองไต้เร็ว ครูที่จะสามารถชี้แนะหนทางกำจ้ตทุกข็ให้เราไต้นั้น จะ ต้องเป็นครูที่ตั้งใจ?เกอบรมตนตามคำสั่งสอนของพระสัมมา สัมพุทธเจ้าจนกระที่งเห็นผลแลัว ต้งนี้คือ ๒.๑) ท่านต้องเป็นต้นแบบการกำจ้ตทกข็ให้แก่เรา เต้ ๒.๒) ท่านต้องให้คำแนะนำสั่งสอนในการกำจ้ต ทุกข็ให้แก่เราไต้ ๒.๓) ท่านต้องสามารถให้กำลังใจในการ?]กฝน อบรมตนเองให้แก่เราไต้ ครูที่จะสามารถทำไต้เซ่นนี้คือครูที่ปฎิบ้ตอริยมรรคมีองค์ ๘ อย่างอุทิศชีวิตเป็นเดิมพันทำนองเดียวกับพระสัมมา สัมพุทธเจ้ามาก่อนทั้งสิ้น ต้งเซ่น พระเดชพระคุณพระมงคล- เทพมุนี(หลวงป่วัตปากนํ้า ภาษีเจริญ) เป็นต้น ๓) ต้องดำเนินชีวิตไปตามเส้นทางโอวาทปาฏิโมกข์ ผู้ที่จะสามารถทำงานใหญ่ไต้ตลอดรอดฝังนั้น จำ เป็น ต้องเป็นคนมีอุดมการถโ หลักการ และวิธีการที่ถูกต้อง ครบ ถ้วน และชัดเจน อุดมการณ์ เป็นสิ่งที่บอกให้เรารู้ถึงความสำคัญและความ จำ เป็นของเป็าหมายที่กำลังจะทำ คู่มอพุทรมามกร ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๔ทา ท1:ๆฑ0ศาaนาทนค-]านอ^ร0ค110งราวโทท www.kalyanamitra.org

หลักการ เป็นสิ่งที่ใชในการตัดสินว่า - สิงใดที่ห้ามทำ ถ้าสืนทำไปจะนำเป็าหมายไปสู่ความ ล้มเหลว - สิงใดที่ทำได้ ถ้าทำแล้วจะนำเป็าหมายไปสู่ความ สำ เร็จ - สิงใดคือห้วใจสำคัญ ถ้ายิ่งทำจะยิ่งทำให้นำเป้า หมายไปสู่ความสำเร็จเร็วยิ่งขึ้น วิธีการ เป็นสิ่งที่บอกความชัดเจนในการปฏิบตว่า ตัอง เริ่มตันที่ไหน ขั้นดอนการปฏิบ้ติเป็นอย่างไร และทำอย่างไร จะเสร็จสมบูรณ์ พระล้มมาล้มพุทธเจ้าทรงตัองการให้ชาวโลกเป็นคนมี อุดมการณ์หล้กการ และวิธีการที่ถูกตัอง ครบถ้วน และชัดเจน ในการเริ่มตัน'ฝึกฝนอบรมดนเอง เพื่อกำจัดทุกข็ใหสิ้นไป อุดมการณ์รวิตที่ถูกด้องเป็นลัมมาฑิฏฐิ คือ เราตัอง อดทนฝึกฝนอบรมตนเอง โดยไม่มีการก่อบาปก่อเวรเพื่ม เพื่อม่งไปส่นิพพาน จ 'น หลักการคืดที่ถูกด้องเป็นสัมมาลังกัปปะ คือ คิดเตือน ตนเสมอว่า ความขั้วทุกชนิดตัองไม่ทำ ความตืที่มีโอกาสได้ ทำ ตัองทำให้ตืสุดชีวิต ขณะทำความดี ตัองยิ่งรักษาใจให้ ฝองใสตลอดเวลา วิธีการดำเนินรวิตที่ถูกด้องเป็นบุญล้วนๆ คือ ตั้งแต่ เชัาจรดคั้า จะดำเนินชีวิตโดยไม่ว่ารัายใคร ไม่ทำรัายใคร ตู่มือพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ร^ พ-5ะทุ«ท«าสนากับทวามอยู่'?ทดของชาวโรท www.kalyanamitra.org

ตั้งใจรักษาศีลและมารยาทให้ดี รู้ประมาณในการใช้ปัจจัย ๔ เลือกที่นั๋งและที่นอนที่มีความสงบ และหมั่นเจริญภาวนาเป็น กิจจัตรและทุกโอกาสที่เอื้ออำนวย ผู้ที่ดำ เนินชีวิตตามอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการใน โอวาทปาฎิโมกข์นี้ ย่อมจะสามารถแกฝนอบรมตนเองให้ กำ จัตทุกข์ใปได้ตลอดรอตฝัง ไม่ตกม้าตายไประหว่างทาง เพราะเช้าใจชัดเจนแล้วว่า การแกอบรมตนครั้งนี้ เราจะมุ่ง เอานิพพานเป็นแก่นสารของชีวิต ๔) ต้องปฏิบัติอริยมรรคมีองค์๘ อย่างอุทิศชีวิตเป็น เติมพ้น ผู้ที่จะบรรลุนิพพานได้นั้นจำเป็นด้องมีดวามบริสุทธี้กาย วาจา ใจเท่ากับนิพพาน จึงจะเห็นนิพพาน เช้าถึงนิพพาน และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับนิพพาน ต่อจากนั้นก็จะสามารถ พึ่งความบริสุทธิ้ของนิพพานไปกำจัดทุกข็ให้หมดสิ้นไปได้ และหากสามารถกำจัดทุกข็ได้หมดสิ้นเด็ดขาดถาวรเมื่อไหร่ เมื่อนั้นย่อมสามารถฝ่าวงล้อมกฎแห่งกรรม กฎไตรลักษณ์ ออกไปได้ด้วยโดยอัดโนมีด สิ่งสำคัญในการกลั่นกาย วาจา ใจให้บริสุทธี๋' ก็คือ การ เจริญสมาธิภาวนาที่ประกอบด้วยองค์ ๗ หรือการปฏิบัติ อริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วยการเจริญภาวนา อันจะก่อให้เกิด ความสะอาด ความสว่าง ความสงบ จากสภาวะแห่งความใจ หยุดใจนิ่งอย่างต่อเนื่องไม่ถอนถอยไปตามลำด้บ ๆ จน กระทงบรรลุธรรม ด้งภาพที่ ๑-๓ คูมอพท&มามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวด พร:'ทฑรศาทนาทนความอยู่loniiOJธาาโรก www.kalyanamitra.org

๑.สัมมาทิฏฐิ ๒.สัมมาสังก้ปปร ความดำริถก ความเห็นถก สัมมา ๓.สัมมาวาจา ๗.สัมมาสติ. สมาธิ การพูดถูก ความระลึกถูก ๖.สัมมาวายามะ ๕.สัมมาอาชีวร '๔. สัมมากัมม้นดร การกระทำถก ความพยายามถก การเลี้ยงรพถูก ภาพที่ ๑ แสดงองค์ประกอบอริยสมาธิ ๗ 0 ~๒ ส้มมาทิฏฐ ส้มมาส้งส้ปปร คาามคำา•คิคQภ คาานเพนฎท ๘/ ภายใน \\ ส้มมาสมาร \\ ส้มมาวาจา คาามส้เใ (บรรลุธรรม) 1 \"า''จ*»aท f ๗\\ /สะอาส/ / ^ภายใy\\ สวาง\\ ส้มมาสฟิ \\ภายใน^^ คาามาะangn ส้มมาก้มมันดร / ภารกาท?าทท ๖\\ ส้มมาวายามะ ■ะi; คาานทขานามทท ทาาtaนงรท(Jก ภาพที่ ๒ แสดงมรรคมีองค์ ๘ เพื่อการบรรลุธรรม คู่มือพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด f )พาะทุททดาทน๚ทัมทวามอยู่รอคชองชาบัรท www.kalyanamitra.org

เฬนถก ความเห็นถก ตั้งใจถูก ความดำริถก ความตงใจถูก เ y^JJๅyๆJJ / ร_ะ-สิ:กถก ความระลกถูก การทาถูก «วา เตั้ยง5พถูก ^ พยายามถูก การเลียงชพิถูก ภาพที่ ๓ แสดงมรรคมีองค์ ๘ รอบแล้วรอบเล่าเพื่อการบรรลธรรม พระสมมาส้มพุทธเจ้ากว่าจะทรงค้นพบวิธีการกลั่นกาย วาจา ใจให้บริสุทธิ้มาให้แก่ชาวโลกไค้ ก็ทรงอุทิศชีวิตเป็น เดิม'พันหลายครั้งหลายหน การที่บุคคลใดจะมีกำส้งใจสูงส่ง พอที่จะฟันฝ่าอุปสรรคนา'นัปการ เพราะเล็งเ'ทินคุณค่าของ การบรรลุธรรมยิ่งกว่าชีวิตของตน'นั้นหาไค้ยากยิ่ง แต่ทว่าในขณะที่เรายังมีกำส้งใจไม่เ'ข้มแข็งพอจะเอา ชีวิตเป็นเดิมพัน ก็มีสิ่งที่ค้องปฏิบ้ตอยู่ไม่ขาตอยู่ ๔ ประการ นั้นคือ ๑) อย่าห่างกัลยาณมิตร คือหมั่นไปหาครูดี เพื่อให้เกิด ความคุ้นเคยกับท่าน เพื่อว่าเมื่อพบข้อบกพร่องของ เรา ท่านจะไค้กล้าเดีอนเราโดยไม่ค้องเกรงใจ คูมีอพุทรมามกะ ฉบับ ความรู'พนฐานก่อนไปวัด ^๕®) mtTjnoflnnพาทนทาามodioRtiojBn^an www.kalyanamitra.org

ใฮ) หมั่นฟ้งธรรมไม่ขาด เพื่อเป็นการสั่งสมความรู้และ เตือนสติไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง ๓) หมั่นนำธรรมะมาไตร่ตรองให้เข้าใจวัตถุประสงค์ ในการปฏิบตและเห็นคุณค่าของธรรมะยิ่งกว่าชีวิต ๔) หมั่นปฏิบัติธรรมอย่างสมั่าเสมอ เพื่อให้มีที่พื่งใน การกำจัดทุกข์ และมีกำลังใจที่จะทำความตืให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ผู้ที่แกอบรมตนมาตามเส้นทางนี้เท่านั้นจึงจะสามารถฝ่า ทุกข์นาน้ปการ ฝ่ากฎแห่งกรรม และฝ่ากฎไตรลักษโแ ตาม พระลัมมาลัมพุทธเจัาไปลู่นิพพานได้ นี่คือวิธีการแหกดุก จากวัฏสงสารที่มีปรากฏอยู่ในพระพุทธศาสนา และเป็น ทางรอตสายเดียวที่พระสัมมาส้มพุทธเจัาทรงทิ้งไวัเป็นมรตก ธรรมให้แก่ชาวโลก ด้งนั้น สิ่งที่เราด้องตัดสินใจในเวลานี้ก็คือ เราจะติดคุกอยู่ในวัฏสงสารไปตลอดกาล หรือจะแกอบรมตน เพื่อบรรลุธรรมตามพระสัมมาส้มพุทธเจ้าไป นั้นเป็นสิ่งที่เรา จะด้องตัดสินใจด้วยตนเอง พระส้มมาส้มพุทธเจ้าได้ตรัสไวัว่า \"พระองค์ทรงเป็นเพียงผู้ชีทาง\" ดังนั้น เราก็จะต้องเป็น ผู้เดินทางตามพระองค์ด้วยดัวของเราเอง เพราะทางที่ พระองค์ชีนั้น เป็นทางรอตตายสายเดียวเท่านั้นของคน ทั้งโลก ฬูมือพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานท่อนใปว้ด ๕๒^ พร£11ท&ศาทนาทฆทวามay-santiojv๚วโลก www.kalyanamitra.org

พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว) www.kalyanamitra.org

ประวัติย่อ พระภาวนาวิริยคุณ(เผด็จ ฑตฺตรโว) • ปัจจุบันดำรงสมณกิจ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย • รองประธานมูลนิธิธรรมกาย และ President of Dhammakaya International Meditation Center (บ.ร.A.) ® เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ • สำ เร็จการศึกษาปริญญาดรี คณะกสิกรรมและสัดวบาล มหาวิทยาสัยเกษตรศาสดร์ บางเขน และ Diploma of Dairy Technology Hawkesbury College, Australia • อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๔ ณ พัทธสีมาวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร คู่มือVjทรมามกะ ฉบับ ความเพนฐานก่อนไปวัด( )ป-!ะว้ร พ!ะภาวนาวิริยคุณ(เผล่จ ฑ!)ฬโว) www.kalyanamitra.org

ปัญหาเรื่องนิพพาน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม อดีตคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มฬาวิทยาลัยเซียงใหม่ www.kalyanamitra.org

ปัญหาเรื่องนิพพาน โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม อดีตคณบดีคณะมนษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.kalyanamitra.org

ปัญหาเรื่องนิพพาน คำ ว่า\"นิพพาน\"เป็นชื่อของเป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ ตามตำรา นิพพานมี ๒ อย่าง คือ ๑, นิพพานของพระอรห'นต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เรียกตาม ศัพท์เทคนิคทางพระพุทธศาสนาว่า สอุปาทิเสสนิพพาน นิพพานชนิตนี้ นักวิชาการสมัยใหม่ บางท่านเรียกว่า นิพพานทางจิตวิทยา เพราะเป็นประสบการณ์ทางจิตขั้นสูง ของพระอรหันต์ผู้ศับกิเลสทุกชนิตได้อย่างเด็ตขาตแล้ว จิตใจ ของท่าน มีแต่ความสว่าง ความสะอาต ความสงบสุขตลอตกาล ฐ่มอพุฑรมามกะ ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๕ ป๋ญทาทองนพ*ทน www.kalyanamitra.org

นิพพานชนิดนี้ไม่มีปัญหาอะไร เพราะเป็นประสบการณ์ ในปัจจุปัน ถ้าอยากรู้ว่ามีจริงหรือไม่ ก็อาจพิสูจน์ดูได้ด้วย การปฏิปัติตามมรรคมีองค์ ๘ ที่พระพุทธเจ้า และพระ อรหันตสาวกทั้งหลาย ปฏิปัติได้ผลมาแล้ว ๒. นิพพานอีกชนิดหนึ่งเรืยกว่า อนุปาฑิเสสนิพพาน หมายถึง นิพพานของพระอรหันต์ที่สินรพดับขันธ์แล้ว นิพพานชนิดนี้ มีปัญหาถกเถียงกันมาก และถกเถียงกันมา ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุปัน มีคนทูลถามพระพุทธเจ้า มาตั้งแต่ สมัยพุทธกาลแล้วว่า พระอรหันต์สิ้นชีพแล้ว อะไรเกิดขึ้น ท่านยังมีอยู่หรือไม่มีอยู่ ความจริง พระพุทธเจ้าและพระ อรหันดสาวก ก็ได้ประทานคำดอมไว้แล้ว ในพระไตรปีฎก แต่ถึงกระนั้น คนก็ยังถามและถกเถียงกันอยู่ เพราะเหตุไร ก็ เพราะคำตอบเหล่านั้น ยังไม่ชัดเจนพอ บางทีก็ดอบเชิงปฏิเสธ (Negative) ว่า นั้นก็ไม่ใช่ นี้ก็ไม่ใช่ ไม่ใช่อะไรสักอย่าง บางฑีก็ดอบว่า นิพพานลึกซึ้งจนพูดถึงไม่ได้ อธิบายไม่ได้ ด้วยท่าทีแบบนี้ จึงมีชาวพุทธเถรวาทเป็นอันมาก เช่น ท่านพุทธทาส เป็นด้น ยอมรับเฉพาะนิพพานทางจิตวิทยา เท่านั้น ไม่ยอมรับนิพพานที่เป็น สภาวธรรมอันหนึ่ง ที่มีอยู่ โดยตัวเอง ในเอกภพ หรือที่น้กวิชาการสมัยใหม่ (ศาสตราจารย์ ดร.วิทย์ วิศทเวทย์) เรืยกว่า นิพพานแบบ อภิปรัชญา (Metaphysical Nirvana)ท่านเหล่านี้เชื่อว่า เมื่อ พระอรหันต์สิ้นชีพ ด้บชันธ์ลง ทกสิ่งทกอย่าง ก็สิ้นสดลง ฅู่มีอพุทธมามกะ ฉบ้บ ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัด(C)ป้ญทาliojuwทาน www.kalyanamitra.org

แค่นั้น ชีวิตของท่านดับไป เหมือนไฟหมดเชื้อ เหมือนตาล ยอตดัวน ไม่มือะไรเหลืออยู่เลย ปัญหาที่ใคร่จะพยายามตอบในบทความนี้ ก็คือว่า นิพพานแบบอภิปรัชญา มีอยู่หรือไม่ คำ ตอบที่ได้พบใน พระไตรปีฎกเป็นแบบ ยอมรับว่ามี นิพพานเป็นอายตนะอย่างหนึ่ง บางสำนักกำลังถูกโจมตีว่า บิตเบือนพระไตรปีฎก เพราะ สอนว่า นิพพานเป็นอายตนะ อย่างหนึ่ง แลัวบัญญตดัพท์ชื้น ใช้ว่า \"อายตนนิพพาน\" ความจริงพระพุทธพจน์ที่ว่า \"นิพพาน มีอย่จริง ในฐานะเป็นอายตนะอย่างหนึ่ง\" ก็มื ■น รฬิ ปรากฏอยู่ช้ตเจนในพระไตรปิฎก กล่าวคือ ในคัมภีร์อุทาน แห่งขุททกนิกาย (๒๕/๑๕๘/๒๐๖) มืช้อความว่า อตฺถิ ภิกฺขเว ตทายตนํ ฯลฯ แปลว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อายตนะนั้นมือยู่ แต่ในนั้นไม่มืดิน ไม่มืนั้า ไม่มืไฟ ไม่มืลม ไม่ใช่อากาสานัญจายตนะ ไม่ใช่ วิญญาณัญจายตนะไม่ใช่อากิญจัญญายตนะไม่ใช่เนวลัญญานา ลัญญายตนะ ไม่ใช่โลกนี้ ไม่ใช่โลกอื่น ไม่ใช่โลกทั้งสอง ไม่ใช่พระอาทิตย์ และพระจันทร์ เราไม่กล่าวอายตนะนั้น เป็นการมา เป็นการไป เป็นสิ่งตั้งอยู่ เป็นการดับไป เป็นการ เภิตชื้น อายตนะนั้นไม่มืที่ตั้ง ไม่หมุนไป ไม่มือารมณ1ดๆ นี้ แลคือที่สุดแห่งทุกข์\" คู่มีอพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ป็ญทาเรึ๋องนิพพาน www.kalyanamitra.org

ในพระพุทธพจน์นี้ พระพุทธเจ้าทรงเรียกนิพพานว่า อายตนะ ซึ่งหมายถึงสิงรับรู้ก็ได้ สิงที่ถูกรับรู้ก็ได้ สิ่งรับรู้ ท่านเรียกว่า อายตนะภายใน มี ๖ อย่าง คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายใจ ส่วนสิ่งที่ถูกรับรู้ท่านเรียกว่า อายตนะภายนอก เช่น รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และ มโนภาพ เป็นที่น่าสังเกตว่า เมื่อทรงยืนย้นว่า อายตนะนั้นมีอยู่ แล้วก็ทรงปฏิเสธว่า อายตนะนั้น ไม่ใช่สิ่งนั้นๆ ไม่ปรากฏว่า พระองค์พูตถึงอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เลย คล้ายกับจะทรงบอกว่า อายตนะนั้นไม่ใช่อายตนะ ภายในใตๆ ไม่ใช่สิ่งที่รับรู้ แต่ทรงปฏิเสธว่า อายตนะนั้น ไม่ใช่ธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นั้า ไฟ ลม ซึ่งเป็นอายตนะภายนอก ต่อจากนั้น ยังนำเอาสิ่งที่เป็นอายตนะภายนอกอื่นๆ มา ปฏิเสธอีก เช่น โลกนี้โลกอื่นไม่ใช่ทั้งสอง ไม่ใช่พระอาทิตย์ พระจันทร์ ตอนสุตท้ายทรงปฏิเสธกิริยาอาการทุกอย่างของ อายตนะนั้น เช่น การมา การไป การตั้งอยู่ การดับ การเกิด แล้วทรงสรุปว่า อายตนะนั้นไม่มีที่ตั้ง ไม่ดำเนินไปและไม่มี อารมณ์ จากการที่พระพุทธองค์ทรงเอ่ยถึงสิ่งที่ถูกรับรู้ต่างๆ เหล่านี้ แสตงว่า อายตนะนั้น เป็นอายตนะภายนอก นิพพาน เป็นอายตนะภายนอก เป็นสิงที่สามารถรับรู้ได้ ในพระพุทธพจน์นั้น มีการปฏิเสธว่า อายตนะนั้น ไม่ใช่ อรูปฌาน ๔ ดัวย และอรูปฌาน ๔ นั้น เป็นสมาธิขั้นสูง มีสิ่ง ไรัรูป เช่น ความว่าง (อากาศ) และวิญญาณ เป็นดัน เป็น คู่มีอทุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ('๖!^ ป็ญพาเรึ๋องนิพพาน www.kalyanamitra.org

อารมณ์ เป็นสภาพจิตที่จิตสามารถรับรูได้ แม้ว่าจะเป็นสิ่ง ละเอียตประณีตเพียงใตก็ตาม เมื่อเป็นสิ่งถูกรับรู้ จึงเป็น อายตนะภายนอก สรุปแล้ว ในพระพุทธพจน์นั้น พระพุทธองค์ทรงมีพระ ประสงค์จะยืนข้นว่า นิพพานเป็นอายตนะภายนอกอย่างหนึ่ง แต่ไม่ใช่อายตนะหยาบๆ เช่นดินนั้า ไฟ ลม หรือแม้อายตนะ ที่ละเอียต เช่นรูปฌาน ๔ แต่แม้จะเป็นอายตนะที่ละเอียดยิ่ง บุคคลก็สามารถรับรูได้ด้วยจิตที่บริสุทธิ้ สะอาด ด้งจะเห็นได้ ว่า พระโยคาวจร ผู้เจริญวิฟ้สสนา จนถึงขั้นได้โคตรภูญาณ จิตจะยึตพระนิพพานเป็นอารมณ์ และก้าวจาก ขั้นปุถุชนไป สู่ภูมิของพระอริยบุคคล แม้ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ก็ทรงนิพนธ์ไว้ว่า \"เพราะฉะนั้น พระพุทธ ศาสนาจึงไม่ปฏิเสธสิ่งที่ตั้งอยู่ สิ่งที่มีอยู่ สิ่งที่ดำรงอยู่ คือ วิสังขาร หรือ อสังขดธรรม ว่า มีอยู่จริง ดำ รงอยู่จริง และโดย เฉพาะภูมิธรรมที่บรรลุ ตลอดจนถึงนิพพานนี้ พระพุทธเจ้า ข้งตรัสเรืยกชื่อว่า เป็นอายตนะ ด้งที่ตรัสไว่ในที่แห่งหนึ่งว่า อตฺถิภิก.เข อายตนํ ภิกษุทั้งหลาย อายตนะนั้นมีอยู่ ที่เรืยกว่า อายตนะ แปลว่า ที่ต่อ หมายความว่า บุคคลปฏิบตให็'บรรลุ ให้ถึงได้ ก็เป็นอันว่า จิตนี้ต่อเข้าไปได้ ด้งที่มีตรัสไว่ในคาถา หนึ่งว่า \"วิสงขารคตํ จิตฺตํ\" จิตถึงวิสังขาร คือ นิพพาน ปราศจากสังขารเครื่องปรุงแต่งแล้ว ตณฺหานํ ขยมชฺฌคา ถึง ความสิ้นไปแห่งด้ณหาทั้งหลายแล้ว\" ด้งนี้ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรุ้พึ๋นฐานก่อนไปวัด ป๋ญทาทองนิพพาน www.kalyanamitra.org

ถ้าหากว่า ไม่เป็นอายตนะ ก็บรรลุไม่ได้ ถึงไม่ได้ เพราะ ฉะนั้น จึงเป็นอายตนะคือต่อได้ บรรลุได้ ถึงได้ ก็คือวิสังขาร ธรรม... แต่ว่า ไม่ให้ยึดถือว่า เป็นตัวเราของเรา เพราะถ้ามี ความปรารถนาด้องการอยากได้อยากถึงอยู่ ก็ถึงไม่ได้ บรรลุ ไม่ได้ ด้องปล่อยวางทั้งหมต ปล่อยวางเมื่อโต ก็เป็นอันว่า บรรลุได้ถึงได้ จิตเชื่อมเข้าถ้บวิสังขาร คือ อสังขตธรรมได้ เพราะฉะนั้น อัตตาในพระพุทธศาสนา พึงเข้าใจว่า หมายถึง มีสิ่งที่ยึตถือว่า เป็นตัวเราของเรานี้แหละ แต่ว่าสิ่งที่มีอยู่ ดำ รงอยู่ ตั้งอยู่ ก็มีอยู่ (พุทธชยมังดลคาถาบรรยายใน \"ธรรมจักษุ\"ปีที่ ๘๓ ฉบับที่ ๕กุมภาพันธ์๒๕๔๒ หน้า ๑๗- ๑๘^ ถ้าไม่มีโลกุดดรภูมิ ก็ไม่มิทางหนีจากโลกิยภูมิ มีพระพุทธพจน์อีกตอนหนึ่ง ในคัมภีร์อุทาน แห่งขุททก นิกาย (๒๕/๑๖๐/๒๐๗) ที่พระพุทธเจัาทรงยืนบันว่า นิพพานมีอยู่ในฐานะเป็น อายตนะ หรือ ภูมิ หรือแดนอีกอัน หนึ่งต่างหาก ด้วยเหตุผลที่หน้กแน่นยิ่ง พระพุทธองค์ตรัสว่า อตฺถิ ภิกขเว อชาตํ อภูตํ อกตํ อสงขตํ ฯ โน เจ ตํ ภิกฺขเว อภวิสฺส อชาตํ อภูตํ อกตํ อสงฺขตํ ฯ นยิธ ชาตสฺส ภูตสฺส กตสฺส สงขตสฺส นิ สสรณํ ปฌฌาเยถฯ ดู่มิอพุทธมามกะฉบับ ความรู้'พนฐานก่อนไปวัด0ป็ญพาส์องนิ*(พาน www.kalyanamitra.org

ยลุ[มา จ โข ภิกขเว อตถิ อชาตํ อภูตํ อกตํ อสงขตํ ฯ ตสฺมา ชาตสฺส ภูตสฺส กดสฺส สงฺขตสุส นิสฺสรณํ ปฌฺฌายตีติ แปลว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติที่ไม่มีเกิด ไม่มี กลับกลาย ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง มีอยู่ ดูก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย ถ้าธรรมชาติที่ไม่เกิด ไม่กลับกลาย ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีปัจจัยปรุงแต่งนั้น จักไม่มีไซร้ การสลัดออกเสียซึ่ง ธรรมชาติที่มีเกิด มีกลับกลาย มีผู้สร้าง มีปัจจัยปรุงแต่งนั้นก็ มีไม่ได้ แต่ภิกษุทั้งหลาย เพราะธรรมชาติที่ไม่เกิด ไม่กลับ กลาย ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีปัจจัยปรุงแต่งมีอยู่ การสลัดออกเสีย ซึ่งธรรมชาติที่มีเกิด มีกลับกลาย มีผู้สร้าง มีปัจจัยปรุงแต่ง จึงมีได้\" ความหมายของโลกุตตรธรรม ๙ โลกุดดรธรรม ๙ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของพระพุทธ ศาสนาคือ มรรค ๔ ได้แก่โสดาปัดติมรรค สกิทาคามีมรรค อนาคามีมรรค อรหัดดมรรค ผล ๔ คือ โสดาปัดติผล สกิทา คามีผล อนาคามีผล และอรหัดดผล มรรค ๔ ผล ๔ รวมเป็น ๘ประการนี้ก็ได้แก่ดวงจิตที่มีคุณพิเศษ ๔ประการ คือ สว่าง (ญาณ) สะอาด (วิสุทธิ) สงบ (ลันติ) สงสาร (กรุณา) โลคุตดรธรรม ๘ ประการนี้ ก็คือ สอุปาฑิเสสนิพพาน นั้นเอง ถ้าโลกุดดรธรรมมีเพียงเท่านี้ ท่านก็น่าจะหยุดเพียง คู่มีอทุฑธมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด (๖๕) ป็ญทาทองนิพพาน www.kalyanamitra.org

แค่นั้น แต่ท่านหาได้หยุดไม่ ยังเพิ่มโลกุตตรธรรมที่ ๙ คือ นิพพานเข้ามาอีก แสดงว่า นิพพานเป็นอมตธาตุ อมตธรรม มีอยู่ต่างหากอย่างไม่มีทางปฏิเสธได้ นิพพานไม่รู้จักเตมด้วยพระอรหันต์ มีพระพุทธพจน์อีกแห่งหนึ่งที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พระอรห้นต์ดับข้นธ์แล้ว มิได้สูญหายไปเลย เหมีอนทัศนะของ พวกถือนิพพานแบบจิดวิทยา แต่ได้บรรลุถืง หรือเข้าถืง นิพพานธาตุ ชนิดที่เรืยกว่า อนุปาทิเสสนิพพาน ที่มีอยู่ จริงในเอกภพ พระพุทธองค์ดรัสไว่ในคัมภีร์อุทานแห่งขุททก นกาย (๒๕/๑๑๘(๕)/๑๕๗) ว่า เสยฺยถาปี ภิกฺขเว ยา จ โลเก สวนติโย มหาสมุททํ อปฺเปนฺติ ฯ ยา จ อนฺดลิขา ธารา ปดนฺติ น เดน มหาสมุทฺทสฺส อูนตฺตํ วา ปูรดตํ วา ปฌฌายติ เอวเมว โข ภิกฺขเว พหูปี ภิกข อนุปาทิเสสาย นิพพานธาตุยา ปรินิพพานยนฺติ น เดน นิพฺ พานธาตุยา อูนตฺตํ วา ปูรตฺตํ วา ปฌฺฌายติ ฯ แปลว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม่นั้าทั้งหลาย ในโลก และสายนํ้าจากห้วงเวหา ย่อมหลั่งไหลสู่มหาสมุทร แต่ มหาสมุทร ก็ไม่ปรากฏว่า มีดวามพร่อง หรือความเต็มเพราะ เหตุนั้นฉันใด แม้ภิกษุทั้งหลายจะปรินิพพานด้วยอนุปากิ เลสนิพพานธาตุนิพพานธาตุก็มิได้พร่องหรือเต็มด้วยเหตุ นั้นฉันนั้น\" คู่มือพุทธมามกร ฉบับ ควานรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัค ปัธุ;«าเรึ๋องน«พาน www.kalyanamitra.org

พระพุทธพจน์บทนี้ แสดงให้เห็นชัดเจนว่า นิพพานใน ฐานะเป็นแดนอายดนะอันหนึ่ง มีอยู่จริง เปรียบเหมีอน มหาสมุทรมีอยู่จริง และแสดงให้เห็นต่อไปว่า พระอรห้นต์ดับ ชันธ์แล้ว มิไดัสูญหายไปเลย แต่ยังไปมีความส้มพ้นธ์ ความ เกี่ยวพัน ความต่อเนื่อง หรีอการต่อเชื่อม แบบใดแบบหนื่ง กับนิพพานนั้น แบบเดียวกับสายนั้าทั้งหลายในโลก มีความ ต่อเชื่อมกับมหาสมุทร ส้กษณะของการต่อเชื่อม ชวนให้คิดว่า นิพพานอยู่นื่งๆ พระอรหันต์ทั้งหลาย เคลื่อนไหวไปหา หรีอ \"เข้าสู่\" หรีอ \"บรรลุถึง\" แบบเดียวกับสายนั้าทั้งหลาย เป็น ฝ่ายเคลื่อนไหว เข้าสู่มหาสมุทร ในพระพุทธพจน์บทนี้มีการพูดถึงการที่พระนิพพานไม่รู้ จักตื้นเต็ม หรีอพร่อง แสดงให้เห็นว่า นิพพานนั้นยิ่งใหญ่ เหมือนมหาสมุทร สามารถรับพระอรหันต์ไดไม่จำกัด พระอรห้นต์นิพพานแล้วไม่สูญ มติฝ่ายเถรวาท ยุคอรรถกถา คือยุคที่นักปราชญ์ต่างๆ เขียนคัมภีร์อรรถกถาขึ้นอธิบายความหมายของพระไดร ปิฎกบาลี (น่าจะอยู่ในยุค พ.ศ.๗๐๐ ถึง ๑๐๐๐) เห็นว่า พระ อรหันต์ปรินิพพานไปแล้ว ดับสูญไปเลย ดุจเปลวไฟดับไป เพราะหมดเขึ้อ แต่หส้กฐานในพระไดรปิฎกบาลี ไม่ สอดคล้องกับมตินี้ คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด (๖^ ปัญVเานีB0นิพพาน www.kalyanamitra.org

ในอัคคิวัจฉโคตดสูตร (๑๓/๒๔๘-๕๑/๒๔๕-๘) ปริพ พาชก ชื่ออัคคิวัจฉะ ทูลถามพระสัมมาส้มพุทธเจ้าว่า พระ อรหันต์ดับขันธ์แล้วยังมีอยู่หรือไม่? พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า \"ดูก่อนวัจฉะ บุคคลเมื่อบัญญ้ติว่า สัตว์พึง บัญญ้ติ เพราะ รูป เวทนา สัญญา สังขารวิญญาณไต รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้น ตถาคตละได้แล้ว มีรากเหง้าที่ดัตขาตแล้ว ทำ ใหัเป็นดุจตาลยอตด้วน ถึงความไม่มี มีความไม่เกิตขึ้น ต่อไปเป็นธรรมตา ตถาคตพ้นจากการนับว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีคุณอันลึก อันใครๆ ประมาณไม่ได้ หยั่งถึงได้ โตยยาก เปรืยบเหมีอนมหาสมุทร ฉะนั้น จึงไม่ควรจะกล่าว ว่าเกิต ไม่ควร จะกล่าวว่า ไม่เกิต ไม่ควร จะกล่าวว่าเกิดก็มี ไม่เกิดก็มี ไม่ควร จะกล่าวว่าเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่\" พระพุทธพจน์นี้แสตงใหัเห็นว่า เมื่อพระอรหันต์หรือแม้ พระตถาคตสิ้นชีพดับขันธ์ลง ขันธ์ ๕ ย่อมดับไปตาม ธรรมชาติของม้นแม้สมมุติยัญ?^ทั้งหลายที่อาศัยอยู่กับขันธ์ ๕ ก็พลอยดับไปด้วย แต่ยังมีอะไรบางอย่างเหลึออยู่ และมี คุณสักษณะที่พออธิบายได้เช่น มีคุณอันลึก อันใครๆประมาณ ไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก (เขัาใจได้ยาก) เปรืยบเหมีอน มหาสมุทร ฉะนั้น ที่พระพุทธองค์ สรุปในตอนท้ายว่า จะว่า เกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่นั้น แสดงว่า สิ่งนั้นไม่สามารถ อธิบายได้ด้วยภาษาของมนุษย์ ไม่ว่าจะพูดถึงในแง่ไหน ม้น ไม่ถูกทั้งสิ้น คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้'พนฐานก่อนไปวัด ป๋ญทาทีองนิพพาน www.kalyanamitra.org

แม้สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายกก็ทรงรับรองว่า เพราะฉะนั้น ที่ซึ่งไม่ตายนั้นก็ ต้องเป็นที่ที่ไม่เกิด คือนิพพานในพระพุทธศาสนา เมื่อไต้ บรรลุถึง นิพพาน อันดับกิเลสและกองทุกข์ ทั้งสิ้น ไม่เกิดอีก จึงเป็นอันว่าไต้บรรลุอมดธรรม ธรรมที่ไม่ดายก็คือ ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ดาย เพราะฉะนั้น ท่านจึงแสดงไต้ว่า สัพเพ ธัมมา อนัดดา ธรรมทั้งปวง เป็นอนัดดา คือไม่พึงยึดถือว่า เป็นตัว เราของเรา แม้ว่าจะบรรลุถึงนิพพาน ไม่เกิดอีก แต่ก็ไม่สูญ เป็นสิ่งที่มีอยู่ แต่ว่าเมื่อถอนธรรมทั้งปวงเสียไต้หมด ก็เป็น อันว่า ถอนวาทะที่จะพูดเสียทุกทาง จึงไม่มีทางที่จะบัญญ้ต ถ้อยคำขึ้น พูดถึงว่าอะไรต่อไป เป็นอันยุติ เพราะเมื่ออังไม่ยุติ อังพูดถึงกันอยู่ว่า เป็นนั้นเป็นนี่ ก็แปลว่า อังไม่จบอังไม่สิน เมื่อจบสิ้น ก็แปลว่า ยุติที่จะพูดถึงกันต่อไป ไม่มีที่จะยกขึ้นมา เป็นนั้นเป็นนี่อะไร อีกต่อไป ท่านจึงเปรียบเหมีอนตังว่า ไฟ สิ้นเขึ้อตับไป ไม่ถึงความนับว่า ไฟไปทางไหน อย่างไร แต่ ว่าไฟก็ไม่สูญ ฉันใดก็ดีท่านผู้ที่บรรลุนิพพานสิ้นกิเลสและกอง ทุกข์ทั้งหมดแล้ว ตับขันธ์ไม่เกิดอีก ก็เป็นผู้ที่ไม่สูญ แต่ก็พ้น จากทางถ้อยคำ ที่จะกล่าวถึงว่าอะไร เป็นอันยุติกันเสียทีหนี่ง จะพูดว่าจิด ว่าวิญญาณ หรืออะไรก็ไม่ไต้ทั้งนั้น จะพูดว่าตัว ดนก็ไม่ไต้ทั้งนั้น (พุทธชยม้งดลดาถาบรรยาย ใน \"ธรรม จักษุ\" ปีที่ ๘๓ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนมีนาดม ๒๕๔๒ หนัา ๑๘-๑๙) คู่มีอพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด ปัญทา1รึ๋องนิพพาน www.kalyanamitra.org

สิงนั้นมีมากดุจเม็ดทรายในแม่นํ้าคงคาและ ดุจนั้าในมหาสมุทร บางสำใโกถูกกล่าวหาว่า สอนพระนิพพานที่เป็นอัตตา เพราะสอนว่า พระพุทธเจ้าที่ปรินิพพานไปแล้วในอดีต ยังอยู่ ในแดนนิพพาน มีจำ นวนมากกว่าเม็ตทรายในมหาสมุทร เป็นการบิตเบือนพระไตรปิฎก เป็นการจ้วงจาบพระธรรมวิใโย แต่ปรากฏว่า ในพระไตรปิฎก สพายตนวรรค ส้งยุตตนิ กาย (๑๘/๗๕๔-๗๖๑/๔๕๖-๔๖๒) มีพระพุทธพจน์ที่มี ล้กษณะ เปรียบเทียบ พระตถาคตที่ปรินิพพานไปแล้ว กับ เม็ดทรายในแม่\"นํ้าคงคา และกับปริมาตรของนํ้าในมหาสมุทร ดัง\"นี้ วันหนึ่ง พระเจ้าปเสนทีโกศลไดัสนทนาธรรม กับนาง เขมาภิกษุณีและไดัตวัสถามปัญหาสำคัญที่คนมักจะถามกันอยู่ เสมอว่า \"โหติ ตถาคโต ปรํ มรณา ฯ\" เป็นดัน แปลว่า เบื้องหน้าแต่ตาย พระตถาคตยังมีอยู่หริอ? ไม่มีอยู่หริอ? มีอยู่ดัวยไม่มีอยู่ดัวยหริอ? มีก็ไม่ใช่ไม่มีก็ไม่ใช่ หริอ? นางเขมาภิกษุณี\"ทูลตอบว่า พระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบ ปัญหาเหล่านี้ พระเจ้าปเสนทีโกศลตรัสถามว่า เพราะเหตุใด นางเขมาภิกษุณียังไม่ตอบคำถามนั้นโตยตรง แต่ย้อนถาม พระเจ้าปเสนทีโกศลก่อน เ'ที่อเป็นการปูทางเตินไปสู่คำตอบ ในขั้นสุดท้าย นางถามว่า ดู่มีอพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวัด (๗๐^ ป็ญทาl1องนิพพาน www.kalyanamitra.org

อตฺถิ เต โกจิ คณโก วา มุทฺทิโก วา สงขายโก วา โย ปโหติ คงคาย วาลิกํ คเณตุ เอตตกา วาลิกา อิติ วา เอตตกานิ วาลิกสตานิ รติ วา เอตตกานิ วาลิกสหสฺสานิ รติ วา เอตตกานิ วาลิกสตสหสฺสานิ รติ วา แปลว่า พระองค์มีนักคำนวณ หรือนักประเมิน หรือนัก ประมาณอยู่หรือไม่ ที่จะคำนวณเม็ดทรายแห่งแม่นํ้าคงคาได้ ว่า เม็ดทรายมีเท่านี้ หรือว่า เม็ดทรายมีเท่านี้ร้อย หรือว่า เม็ดทรายมีเท่านี้พน หรือว่า เม็ดทรายมีเท่านี้แสน ? พระเจ้าปเสนทิโกศลดร้สตอบว่า ไม่มีนักคำนวณที่จะ สามารถนับเม็ดทรายแห่งแม่คงคาได้ เท่านั้นยังไม่พอ นางเขมาภิกษุณียังถามยํ้าต่อไปอีกว่า พระองค์มีนักคำนวณ หรือนักประเมิน หรือนักประมาณ ที่ สามารถคำนวณนั้าในมหาสมุทรได้ ว่า มีเท่านี้ขัน(อาฬหกะ)? มีเท่านี้ร้อยขัน หรือว่า มีเท่านี้พันขัน หรือว่า คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ('๗^ ปัญvni'jojนิพพาน www.kalyanamitra.org

มีเท่านี้แสนขัน? พระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสตอบว่าไม่มีนักคำนวณคนใด ที่จะคำนวณนํ้าในมหาสมุทร ออกมาเป็นขันๆ ได้ นางเขมา ภิกษุณี ทูลถามว่า เพราะเหตุใดจึงคำนวณไม่ได้ พระเจ้า ปเสนทิโกศล ตรัสตอบว่า เพราะมหาสมุทร ลํ้าลึกประมาณ ไม่ได้ หยั่งถึงได้ยากยิ่ง พระนางเขมาภิกษุณีได้ทูลตอบ ใน ลักษณะสรุปประเด็นสำคัญว่า เอวเมว โข มหาราช เยน รูเปน ตลาดตํ ปฌฺฌาปยมาโน ปญเยถฯ ตํ รูป ตถาคตสฺส ปหินํ อุจฉินนมูลํ ตาลวตฺถุกตํ อ นภาวงคตํ อายตึ อนุปปาทธมมํฯ รูปสงขยาวิมุตโตโข มหาราช ตถาคโต คมภีโร อปปเมยโย ทุปปริโยคาฬฺโหฯ เสยฺยถาปี มหาราช มหาสมุทโทฯ แปลว่า ขัาแต่มหาราชเจ้า เช่นเดียวกันนั้นแล บุคคล เมื่อจะปัญญัติว่า ตถาคตพึงปัญญัติด้วยรูปใด รูปนั้น พระ ตถาคตละได้แลัว มีมูลรากคัดขาดแลัว ทำ ให้เป็นตุจดอด้นตาล ถึงความเป็นสภาพ ไม่มีอยู่ มีความไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็น ธรรมดา ขัาแต่มหาราชเจ้า ดถาคดพ้นแลัวจากการนับว่าเป็นรูป เป็นสภาพลํ้าลึกประมาณไม่ได้ เขัาใจได้ยากเปรียบเหมีอน มหาสมุทรนั้นแหละ มหาราชเจ้า ต่อจากนั้น นางเขมาภิกษุณีก็ได้กล่าวถึงการที่พระ ตถาคตละขันธ์ที่เหลึออีก ๔ อย่างคือ เวทนา ลัญญา ลังขาร คู่มีอพฑร3.ทมกะฉบับ ความเพึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๗^ ป็ญ«า1รีองนิพพาน www.kalyanamitra.org

วิญญาณ พนจากการนับว่าเป็น เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็น สภาพลํ้าลึก แบบเดียวกับกรณีของการละรูป ต่อมาภายหสัง พระเจ้าปเสนทิโกศล คล้ายๆ กับจะยัง ไม่แน่พระกัยว่า คำ ตอบที่พระองค็ได้ฟังจากเขมาภิกษุณีนั้น จะถูกต้องหรือไม่ เมื่อไดโอกาสจึง ไต้ทูลถามปัญหาเดียวกัน นั้นกับพระพุทธเจ้า ปรากฏว่า พระสัมมาล้มพุทธเจ้าไต้ ประทานคำตอบแบบเดียว กับคำตอบของนางเขมาภิกษุณี แบบคำต่อคำทีเดียว จนกระทั่ง พระเจ้าปเสนทีโกศล ต้อง ทรงเปล่ง พระอุทาน ออกมาว่า \"อจุฉริยํ ภนฺเต อพภตํ ภนฺเต ยตรหิ นาม สตถุ เจว สาวิกาย จ อตฺเถน อตุโถ พยฌฺชเนน พยฌชนํ สง.สนฺทีสฺสติ สเมสุสติ น วิหารสุสติ ฯ\" \"อัศจรรย์จริง พระเจ้าข้า ไม่น่าเป็นไต้ พระเจ้าข้า คือ ข้อที่คำพูตของพระศาสดา(ครู) และของพระสาวิกา(ศิษย์) จะปรากฏสอดคล้องกัน เข้ากันไต้ ไม่ข้ตแยังกันเลย แบบ ใจความ ต่อใจความ แบบตัวอักษรต่อตัวอักษรเช่นนี้\" ในพระพุทธพจน์บทนี้ ก็เช่นเดียวกับบทอื่น ที่ยืนยันว่า เมื่อพระอรหันต์หรือพระตถาคตสิ้นชีพตับข้นธ์ลง ข้นธ์ ๕ เท่านั้น ตับไปอย่างสิ้นเชิง แต่มิใช่ว่าทุกสิ่งทุกอย่าง สิ้นสุดลง แค่นั้น ถ้าสิ้นสุดลงแค่นั้น พระองค์ก็น่าจะยืนยันแบบนั้น ใหั ข้ตเจนลงไปเลย แต่พระองค์หาไต้ทำเช่นนั้นไม่ ยังตรัสคล้าย กันว่า ยังมีอะไรบางอย่างเหลืออยู่ แต่สิ่งนั้นลึกซึ้งประมาณมิไต้ คู่มือพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ป็ญพเาองนิ*เพาน www.kalyanamitra.org

ยากที่จะรู้ ยากที่จะเห็นสงบ ระงับ ประณีต เป็นต้น ยิ่งกว่า นั้นยังทรงนำเอาลักษณะที่ประมาณไม่ไต้ของสิ่งนั้น ไป เปรียบเทียบกับ เม็ดทรายแห่งแม่คงคา และนํ้าในมหาสมุทร อีกต้วย แต่ถึงจะเป็นสิ่งที่ประณีตลํ้าลึกหยิ่งถึงไต้ยาก เพียงใด พระพุทธองค์ก็ตรัสยืนยันว่า คนบางพวกยังอาจรู้ไต้ บาง พวกก็ไม่สามารถรูไต้ (มัชฌิมปัณณาสก์ มัชฌิมนิกาย ๑๓/ ๒๔๘-๒๕๑/๒๔๕-๒๔๘)ดังพระพุทธพจน์ที่ว่า \"ธรรมนี้ เป็นธรรมลุ่มลึก ยากที่จะเห็น ยากที่จะรู้ สงบ ระงับ ประณีต ไม่ใช่ธรรมที่จะหยิ่งถึงไต้ต้วยตรรกะ ผู้เป็น บัณฑิตเท่านั้น จึงจะรู้ ธรรมนั้น อันท่านผู้มีความเห็นเป็นอย่างอื่น มีความ ชอบใจเป็นอย่างอื่น มีความพอใจเป็นอย่างอื่น มีความเพียร ในทางอื่น อยู่ในสำนักของอาจารย์อื่น รูไดโดยยาก\" ตอนสุดท้าย พระพุทธองค์ทรงเตือนไว้อย่างชัดเจนว่า เราไม่เห็น คนอื่นเขาอาจจะเห็น อย่าเพิ่งไปประณาม เขาว่า งมงาย ชื่อต่างๆ ของนิพพานในฐานะเป็นอายตนะอันหนึ่งใน พระไตรปีฎก (๑๘/๗๒๐-.../๔๕๐-๔๕๒) มีการ เรียก นิพพานต้วยชื่อต่างๆ ไม่ตากว่า ๓๐ ชื่อ บางชื่อ ก็แสดงว่า นิพพานมีลักษณะเป็นอายตนะอันหนึ่ง เช่น คู่มือพุฑรมามกะ ฉบับ ความรู้พี้นฐานก่อนไปวัด ป๋ญทาทองนิพพาน www.kalyanamitra.org

ปารํ เป็นส่ง หมายความว่า เวลานี้สัตว์ทั้งหลายยังลอยคอ อยู่ในทะเลทุกข์ แต่เมื่อใดบรรลุถึงนิพพาน เมื่อนั้นก็พ้นทุกข์ ถึงฝังอันปลอดภัย พระพุทธเจ้าดรัสไว้(๑๘/๑๒๓/๔๕๐)ว่า ปารํ จ โว ภิกขเว เทเสลุ[สามิ ปารคามิฌฺจ มคฺคํ ตํ สุณาถฯ แปลว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงฝัง (ข้างโน้น) และ หนทางไปสู่ฝังแก่เธอทั้งหลาย ขอเธอทั้งหลายจงฟังข้อนั้น ทีป เป็นเกาะ ธรรมดาเกาะในทะเล เมื่อเรืออับปางคนว่าย นํ้าเข้าถึงเกาะแล้วย่อมปลอดภัย ดุจ บรรลุถึงนิพพานแล้ว ย่อมปลอดภัยจากทุกข์ทั้งปวง เสณํ เป็นถํ้า คือเป็นที่หลบภัยอันมั่นคง ดาณํ เป็นเครื่องป้องกัน เป็นเขื่อนป้องกันภัยคือ ทุกข์ อนฺตํ เป็นที่สุดแห่งทุกข์ทั้งปวง สรณํ เป็นที่พึ่ง เมื่อถึงนิพพานแล้ว ก็ถึงที่พึ่งอันปลอดภัย จากทุกข์ทั้งปวง ปรายนํ เป็นที่ไปในเบื้องหน้า นามนี้น่าสนใจมาก เพราะ แสดงให้เห็นว่า อนุปาทิเสสนิพพานนั้น จะต้องสิ้นชีพดับ ข้นข์ก่อน จึงจะบรรลุถึงไดั เป็นธรรมชาติที่แยกอยู่ต่างหาก จากชีวิดนี้ เพราะภัามีอยู่ในชีวิดนี้ ก็ดัองเป็นนิพพานแบบ จิดวิทยา พระพุทธองค์คงจะต้องใข้ศัพท์ว่า ทิฎรธมฺมํ แต่ กสับใข้คำว่า ปรายน่ เป็นที่ไปในเบื้องหน้า ซึ่งเป็นศัพท์ดรง กันข้ามกับ ทิฎรธมฺมํ ดู่มืปีพุฑรมามกรฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด บื!้ ปัญทา«องนิพพาน www.kalyanamitra.org

นิพพาน โฮ นัย หรือ โอ ความหมาย เมื่อกล่าวโดยสรุป หลักฐานในพระไตรปีฎก แสดงให้ เห็นว่า อนุปาทิเสสนิพพาน มีอยู่ ๒ ลักษณะ คือลักษณะฝาย ลบ (Negative) และลักษณะฝ่ายบวก (Positive) พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท เฉพาะอย่างยิ่ง ในยุค อรรถกถา(พ.ศ.๗๐๐-๑๐๐๐) เน้นแง่ลบของพระนิพพาน เป็นพิเศษ อธิบายนิพพานในฐานะเป็นความว่างอย่างยิ่ง (นิพพานํ ปรมํ สุฌฺฌํ)ไม่ใช่อะไรทั้งสิ้น เป็นอน้ดตา เป็น ความสูญอย่างสมบูรณ์ไม่มีอะไรเลย แต่ก็มีชาวเถรวาทบางพวกอธิบายนิพพานในแง่บวก บอกว่า นิพพานมีอยู่จริง ในฐานะเป็นแดน(อายตนะ sphere) ลันหนึ่ง มีอยู่ในเอกภพนี้เอง แต่ซี๋ไม่ได้ว่ามีอยู่ ณ จุดไหน พระพุทธเจ้า และพระอรห้นดสาวกทั้งหลาย สิ้นชีพดับขันธ์แล้ว บรรลุถึงนิพพานธาตุนั้น แต่ไม่ได้บอกว่า ยังอยู่ในฐานะเป็น บุคคล เป็นลัดตาหรือไม่ บอกแต่เพียงว่า เป็นธรรมชาติลํ้าลึก (คมุภีโร) หยงรูได้ยาก (ทุปฺปริโยคาพุ:โห) ลันใครๆ น้บ ประมาณไม่ได้ (อปฺปเมย.โย) ตุจเม็ดทรายแห่งแม่คงคา (คง. คาย วาลิกา) ตุจนํ้าในมหาสมุทร เพราะเหตุที่หลักฐาน ใน พระไตรปิฎก ไม่ระบุไว้ขัดเจนนี้เอง ฝ่ายเถรวาทบางสำน้ก จึงอธิบายให้ขัดเจนลงไปเลยว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายใน อดีต และพระอรหันตสาวกทั้งหลาย ยังมีอยู่ในรูปของธรรม กาย ที่พุทธคาสนิกชน สามารถเขัาลัมผัสได้ในสมาธิชั้นสูง คู่มือพุทธมามกะฉบับ ความรูพึ๋นฐานก่อนไปวัด ^๗^ ป็ญ«าเใองนพ*•าน www.kalyanamitra.org

ถ้าเราดูหลักฐานในพระไตรปีฎก เราจะพบว่า มีการนำ เสนอพระนิพพานในแง่บวก มากกว่าแง่ลบ แม้แต่ศัพท์ต่างๆ ที่เป็นไวพจน์ของนิพพาน ก็ลัวนแต่มีความหมายในทางบวก ทั้งนั้นโปรดลังเกดศัพท์ที่เป็นไวพจน์ของนิพพานดังต่อไปนี้ อสงฺขตํ - ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง เป็นธาตุบริสุทธี้ อมตํ - เป็นอมดะไม่รู้จักดาย(เพราะไม่มีการเกิด) อนาสวํ - ไม่มีอาสวะทั้ง ๓ คือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ อชฺชรํ - ไม่รู้จักแก่ ไม่มีดวามแก่ (เพราะไม่มี ความเกิด) อปโลกินํ - ไม่รู้จักทรุดโทรม ไม่มีอะไรทำลายไดั อนิทสุสนํ - ไม่มีลักษณะที่เห็นไดัดัวยจักขุ วิญญาณ นิปปปฌจํ - ไม่มีกิเลสเครื่องทำให้เนิ่นช้า อพภตํ - ไม่กลับกลาย อนีติกํ - ไม่มีความทุกข์ อนีติกธมฺมํ - เป็นธรรมอันหาทุกข์มิไดั อพ.ยาปชุฌํ- ไม่มีอันดราย ไม่มีการเบียดเบียน อนาลยํ - ไม่มีอาลัย ศัพท์เหล่านี้แม้จะเป็นศัพท์ปฏิเสธ ก็มีความหมาย ในทาง ดี เช่นคำว่า อมตํ ไม่ดาย ก็หมายความว่า มีอย่ดลอดกาล คู่มีอทุฑธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ^๗^ ปัญทาเรึ๋องนิพพาน www.kalyanamitra.org

ส่วนศัพท์ที่เป็นไวพจน์ของนิพพานต่อไปนี้มีความหมาย เป็นฝ่ายบวกโดยตรง เช่น สจฺจํ - เป็นความจริง นิปุณํ - เป็นธรรมชาติละเฮียต สุทุททสํ - เห็นได้ยากยิ่ง - เป็นสภาพมั่งยืน สนฺตํ - เป็นสภาพสงบ ปณีตํ - เป็นสภาพประณีต สิวํ - เป็นความสุข เยือกเย็น เขมํ - เกษม ปลอดภัย ตณฺหกขยํ - สิ้นความอยาก อจฉริยํ - เป็นธรรมชาติน่าอัศจรรย์ วิราคํ - ปราศจากราคะ สุทธิ - เป็นความบริสุทธิ้ มุต.ตํ - เป็นสภาพพ้น(จากทุกข์ทั้งปวง) (มีผู้อ้างบาลีว่า เทว เม ภิกขเว ธมฺมา ธุวา สสฺสตา นิจจา อมตา จกตา อสงขาตาฯ กตเม เทวฯ อากาใส จ นิพพานฌฺจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ ประการนี้ เที่ยงแท้ มั่นคง มั่ง ยืน เป็นอมตะ ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง ๒ ประการ เป็นไฉน คือ อากาศ(อวกาศ)๑ นิพาน ๑) คู่มือV{ฑธมามกรaiTu คาามรู้พนฐานก่อนไปวัด0{(ญหาพึ๋องนิพพาน www.kalyanamitra.org

มีบางศัพท์ที่ฟังดูมีความหมายในทางลบ แต่คำอธิบาย ที่ท่านไหไว้ กลับเป็นบวก เช่น นิพฺพานํ - ความดับ ในที่มาแทบทกแห่ง หมายถึง ความ™โลโะโทสะโมหะ สุฌฌํ - ว่าง หมายถึง ว่างจากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ ผลทางจิตใจของการอธิบายนิพพาน ใฮ แบบ ทัศนะหรือมุมมองที่คนมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมมีอิทธิพล อย่างมากต่อจิตใจและพฤติกรรมของคน เช่น คนที่เห็นว่า ตายแลัวสูญมักจะเห็นว่าชีวิตสั้นและมีแนวโน้ม ที่จะทำให้ชีวิต มีความสุขสำราญมากที่สุต โตยไม่คำนึงถึงวิธีการว่า จะเป็น กุศลหรืออกุศล ขอให้สุขสำราญก็แลัวกัน เพราะตายแลัวก็สูญ ไม่ต้องไปเกิตเสวยผลกรรมที่ไหนอีก ส่วนคนที่เชื่อเรื่อง ตาย แลัวเกิต มักจะมีท่าทีรับผิตชอบต่อการกระทำมากขึ้น จะ คำ นึงถึงความดีความชั่วมากขึ้น เพราะการกระทำใตๆ จะส่ง ผลถึงชาติหน้าหรือชาติต่อๆ ไป การมองนิพพานในแง่บวกหรือแง่ลบ ก็มีอิทธิพลเหนึอ จิตใจของบุคคลเช่นเดียวกัน การมองนิพพานแบบลบ เห็นว่านิพพานเป็นความสูญ ความว่าง ทำ ให้นิพพานขาตเสน่ห์ไม่ดึงดูต ให้คนอยากบรรลุ ดู่มึอพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พึ๋นฐานก่อนไปวั«1 ป็ญหาnองนิพพาน www.kalyanamitra.org

ไม่กระตุ้นให้คนอยากปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพาน เพราะเกิด ความรูสึกว่า อุดส่าห้ปฏิป้ติแทบล้มแทบตาย ในที่สุดกลับพบ แต่ความว่างเปล่า มีนักปราชญ์บางคนกล่าวว่า พระพุทธศาสนาแบบ เถรวาทเสื่อมความนิยมจากอินเดียอย่างรวดเร็ว ก็เพราะ สอนว่านิพพานเป็นความว่างเปล่านี้เองเมื่อหลวงจีนยานฉว่าง ไปสืบทอดพระพุทธศาสนาในอินเดีย ในพุทธศดวรรษที่ ๑๒ นั้นได้พบว่า พระพุทธศาสนาเถรวาทยังเหลืออยู่นัอยมาก แต่พระพุทธศาสนามหายานกลับเจริญรุ่งเรือง จนกระทั่งมี มหาวิทยาลัยนาลันทา วิกรมศิลา และโอทันดปุรื พระพุทธ โฆษาจารย์ ซึ่งเป็นพระภิกษุเถรวาท ที่ยังหลงเหลืออยู่แถว พุทธคยา ด้องเตินทางไปถึงเกาะลังกา เพื่อศึกษาพระพุทธ ศาสนา แบบเถรวาท และได้แปล คัมภีร์ ต่างๆ จากภาษา สิงหลเป็นภาษามคธ พระพุทธศาสนาแบบมหายานเพื่งจะ หายไปจากอินเดีย เมื่อถูกกองทัพมุสลิมเดอร์กทำลาย เมื่อ พุทธศดวรรษที่ ๑๘ นี้เอง บางท่านถึงคับกล่าวว่า พระพุทธ ศาสนาแบบเถรวาท เป็นศาสนากลวงข้างในคือ เมื่อคันเข้า ไปถึงแก่นแล้ว กลับพบแต่ความว่างเปล่า เพราะฉะนั้น จึงไม่ สามารถจะยืนหยัดต่อสู้คับศาสนาที่แน่นข้างในอย่าง ศาสนา ฮินดได้ ดู่มีอพุทธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ป็ญพาทองนิพพาน www.kalyanamitra.org

ส่วนการนำเสนอนิพพานแบบเป็นรูปธรรม เป็น อายตนะที่เป็นบรมสุขนั้น เข้าใจง่ายกว่า มีเสน่ห์ดึงดูดชวน ใหใปมากกว่า เพราะฉะนั้น ในเมีองไทยเอง จึงเคยเสนอ นิพพานในรูปของ เมีองแก้ว กล่าวแล้วคือ พระนฤพาน คน สมัยก่อนจึงอยากบรรสุถึงนิพพานก้น เวลาทำบุญทำทานก็ ตั้งความปรารถนาว่า \"นิพฺพานปจจโย โหตุ\"ขอกุศลผลบุญ ครั้งนี้ จงเป็นปัจจัยสู่พระนิพพานเถิด เวลานี้มีคนน้อยคนที่อยากไปนิพพาน เพราะนักปราชญ์ ฝ่ายเถรวาทเนันด้านลบของนิพพานมากเกินไป อย่างไรก็ดาม ไม่ว่าใครจะอธิบายในแง่ลบหรือแง่บวก นิพพานที่แท้จริงก็คงเป็นด้วของตัวเองอยู่อย่างนั้น หาได้ เป็นลบหรือเป็นบวกไปดามคำอธิบายของคนไม่ แต่การ อธิบายในแง่บวก อาจจะเป็นอุบายวิธีที่ดึกว่าในการเชิญชวน ให์คนอยากปฏิบตเพื่อบรรสุนิพพาน และเมื่อบรรสุแล้ว เขาก็ จะเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตัวเอง การอธิบายในแง่บวกหรือแง่ลบ จะไม่มีความหมายใดๆ ทั้งสิ้น คู่มีอพุฑธมามกะ ฉบับ ความรู้พึ้นฐานก่อนไปวัด ๘^ ปัญพา1100นิพ«าน www.kalyanamitra.org

ศาสตราจารย์เกียรดิคณ แสง จันทร์งาม www.kalyanamitra.org

- ประวัติย่อ ศาสตราจารยเกียรติคุณ แสง จันทร์งาม ถิ่นกำเนิด เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์๒๔๗๐ พ.ศ. ๒๔๘๓ ที่อำ เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ในครอบครัวชาวนาที่ยากจนดามธรรมชาติ พ.ศ. ๒๔๘๖ พ.ศ. ๒๔๘๖ เรียนจบชั้นป.๔ ที่โรงเรียนใกล้หมู่บ้าน พ.ศ. ๒๔๘๗ บิดานำไปฝากเป็นเด็กวัด ที่วัดเกาะ ทองในสำนักพระอาจารย์ยนต์ โสภิโด (พระวัดป่าสายหลวงปูมั่น ภูริทต.โด) และ ได้บรรพชาเป็นสามเณรในปลายปีนั้น สอบนักธรรมชั้นตรี เข้าไปอยู่วัดศรีจันทร์ในเมืองขอนแก่น สอบได้นักธรรมชั้นโท และเรียนบาลี ไวยากรณ์ สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค และนัก ธรรมเอก ศู่มีอพุทธมามกร ฉบับ ความรู้พนฐานก่อนไปวัด f ๔๓ 1 ปรรวัสิม่อ «.1ก๊นฬิทุณ นผ จันทเงาม www.kalyanamitra.org

พ.ศ. ๒๔๘๘ สอบได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค ย้ายไปอยู่ พ.ศ. ๒๔๘๙ พ.ศ. ๒๔๙๒ วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๔๙๓ สอบได้เปรียญธรรม ๕ ประโยค และได้เข้า พ.ศ. ๒๔๙๕ พ.ศ. ๒๕๐๐ เรียนในสภาการศึกษามหามกุฎราช วิทยาลัยเป็นรุ่นแรก สอบได้เปรียญธรรม ๖ ประโยคและได้ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ มีสมเด็จพระมหา วีรวงศ์(อ้วน ติสุโส) เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้เป็นปัจฉาสมณะเดินทางตามพระศรีวิ สุทธิญาณ (สุชีพ ปุฌฺญานุภาพ) ไป ประชุมร่วมพิธีเป็ดองศ์การพุทธศาสนิก ลัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) กลับมาแลัวได้ เชียนนิยายอิงหลักธรรมเรื่อง \"ลีลาวดี\" ที่ มีชื่อเสียงเป็นครั้งแรก เรียนจบหลักสูตรปริญญาตรี มหาวิทยาลัย มหามกุฎราชวิทยาลัย ได้รับปริญญาคาสน ศาสดรบัณฑิต (ศ.บ.) และได้รับแต่งตั้ง เป็นครูสอนภาษาอังกฤษและตรรกวิทยา ได้รับพระราชทานสมณศักด เป็นพระราชา คณะชั้นสามัญที่ พระอมราภิรักขิต คู่มือพุทธมามกะ ฉบับ ความรูพี้นฐานก่อนไปวัด ('๘^ ปใะวัติปอ ค.เกยรดคุณนลง จนทรํงาม www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook