Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Published by WATKAO, 2021-01-25 07:59:03

Description: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Keywords: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

นำ้�ตามากกวา่ มหาสมทุ ร น้ำ�ตา คงไม่มีใครในโลกที่เกิดมาแล้วไม่เคยเสีย น�้ำ ตา เราเสียน�้ำ ตากันตั้งแตแ่ รกเกิด หลังจากนัน้ ก็ตอ้ งเสยี น�ำ้ ตามาโดยตลอด มเี หตกุ ารณท์ ที่ ำ�ใหเ้ ราตอ้ งเสยี นำ้�ตามาเปน็ ระยะๆ คนสว่ นใหญเ่ สยี น�้ำ ตาใหก้ บั ความทกุ ขม์ ากกวา่ ความสขุ น�ำ้ ตาแหง่ ความปลม้ื ปตี ิ มนี อ้ ยกวา่ น�้ำ ตาแหง่ ความผดิ หวงั และ ความเศร้าเสียใจมากมายนัก แต่ความจริงเราสามารถเลอื ก ท่จี ะไม่เสียนำ�้ ตาได้ เลือกท่จี ะไม่ทุกข์ได้ พระพุทธองค์ทรง ช้ีแนะแนวทางให้เราพ้นทุกข์ไว้แล้ว ถ้าเราเลือกที่จะเดิน ตามทางที่พระพทุ ธองค์สอน เรากค็ งไมต่ ้องเสยี เวลาเวียนวา่ ย ตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร ให้น้ำ�ตามากกว่ามหาสมทุ ร เหมอื น ดงั ทพ่ี ระพทุ ธองคต์ รสั ไวใ้ น อสั สสุ ตู ร ดงั มีใจความโดยสรุปวา่ “ภกิ ษุท้งั หลาย สงั สารวัฏของสัตว์โลกนี้กำ�หนดเบือ้ ง ต้น และเบื้องปลายไม่ได้ ด้วยเหตุที่สรรพสัตว์ทั้งหลายต้อง เกิดๆ ตายๆ ชาติแลว้ ชาติเลา่ จนนับไม่ได้ อสั สุสูตร : พระสุตตันตปิฎก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค, มมร. เลม่ ๒๖ หนา้ ๕๐๙ www.webkal.org

102 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ภิกษทุ ั้งหลาย พวกเธอเขา้ ใจอย่างไร น�้ำ ตาของสรรพ สตั ว์ที่หลัง่ ไหลเพราะความเศรา้ โศกเสยี ใจ แตล่ ะชาตทิ ่ีเกิดมา นัน้ เม่ือเปรียบเทยี บกับน�ำ้ ในมหาสมทุ รทัง้ ๔ อย่างไหนจะมี มากกว่ากนั ?” “น้ำ�ตาของสรรพสตั ว์ทต่ี อ้ งเสยี ไป เพราะประสบกบั สง่ิ ทไ่ี มเ่ ป็นท่ีรักที่พอใจในแตล่ ะชาตแิ ละแตล่ ะภพทต่ี ้องเกดิ มา นนั้ มีมากกวา่ นำ้�ในมหาสมุทรทงั้ ๔ พระเจา้ ข้า” “ถกู ตอ้ งแลว้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย พวกเธอเขา้ ใจถกู แลว้ เพยี ง แค่สัตว์ทั้งหลายต้องร้องไห้เสียน้ำ�ตาเพราะแม่ตาย...ในแต่ละ ชาตริ วมกนั แลว้ ยงั มมี ากกวา่ น้ำ�ในมหาสมทุ รทงั้ ๔ ยงั ไมก่ ลา่ ว ถงึ น�้ำ ตาทส่ี ตั วท์ งั้ หลายตอ้ งเสยี ไปเพราะพอ่ ตาย ปู่ ยา่ ตา ยาย ลงุ ปา้ นา้ อาตาย พสี่ าว หลานสาวตาย รวมทงั้ ผวั ตาย เมยี ตาย เมื่อรวมนำ้�ตาที่เสียไปในแต่ละชาติ ซึ่งนับจำ�นวนไม่ได้จะ มากกว่าน�ำ้ ในมหาสมทุ รท้ัง ๔ สกั เพียงใด?” “นอกจากนย้ี งั มนี �้ำ ตาทมี่ าจากความทกุ ขโ์ ศก เพราะเหตุ แหง่ ความเสอ่ื มลาภ, โรคภยั เบยี ดเบยี น, พลดั พรากจากของรกั และความผิดหวังอื่นๆ อีกสารพัด เม่ือรวมกันแล้ว ย่อมมี มากกวา่ น�ำ้ ในมหาสมทุ รทง้ั ๔ อยา่ งเทียบกันไมไ่ ด้เลย ด้วยเหตุนี้ สัตว์ทั้งหลายควรที่จะเบื่อหน่ายการเวียน www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 103 วา่ ยตายเกดิ แลว้ หนั มาบ�ำ เพญ็ ตนใหพ้ น้ จากทกุ ขโ์ ศกทตี่ อ้ งไดร้ บั เพราะการเกิดและตายนีเ้ สียโดยเรว็ เถดิ ” ในชีวิตของคนเราน้ัน ต้องเสียนำ้�ตามามากพอแล้ว เพราะความยดึ มน่ั ถอื มนั่ ในสง่ิ ตา่ งๆ ถงึ เวลาแลว้ ทเ่ี ราตอ้ งมสี ติ รเู้ ทา่ ทนั ในสภาวการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ มองใหอ้ อกวา่ ทกุ สง่ิ ลว้ นเกดิ ขน้ึ ต้ังอยู่ และเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา แล้วหันมาปฏิบัตธิ รรม เพื่อเข้าถึงพระธรรมกายภายใน จะได้หลุดพ้นจากวัฏสงสาร และ ไมต่ ้องเสียน้ำ�ตาอกี ต่อไป www.webkal.org

www.webkal.org

นนิ ทา สรรเสริญ นินทา สรรเสริญ เป็นธรรมประจำ�โลก เป็นเหมือน ฝาแฝด ไปไหนมกั ไปคกู่ นั ไมเ่ คยมใี ครในโลกนแ้ี มส้ กั คนเดยี วท่ี ไดร้ บั แตค่ �ำ สรรเสรญิ และกไ็ มม่ ใี ครในโลกนแ้ี มส้ กั คนเดยี วเชน่ กนั ที่ได้รับแต่คำ�นินทา ฉะนั้นคนท่ีเกิดมาแล้วย่อมถูกนินทา และสรรเสรญิ ควบคกู่ นั ไป แมแ้ ตพ่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กย็ งั หนี ไม่พ้น นับประสาอะไรกบั ผู้ทีย่ ังเป็นปถุ ุชนคนธรรมดาอย่างเรา เรอ่ื งนี้ พระพทุ ธองคท์ า่ นทรงสอนใหว้ างทา่ ทใี หถ้ กู ตอ้ ง เมื่อใดก็ตาม ท่ีเราได้ยินได้ฟังเสียงนินทาสรรเสริญของผู้อ่ืนที่ มีต่อเรา เม่ือน้ันเราก็ต้องรู้จักพิจารณาด้วยใจท่ีเป็นกลางโดย ปราศจากอคติ และพสิ จู นท์ ราบดว้ ยตนเองใหไ้ ดว้ า่ ความคดิ เหน็ นัน้ เปน็ จรงิ หรือไม่ ดังท่ีพระพทุ ธองคต์ รสั ไว้ใน พรหมชาลสตู ร ว่า... สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จดำ�เนินทางไกลระหว่าง กรุงราชคฤห์กับเมืองนาลันทา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ในคร้ังน้ันสุปปิยปริพาชกกับ พรหมชาลสูตร : พระสตุ ตันตปฎิ ก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค, มมร. เล่ม ๙ หน้า ๒ www.webkal.org

106 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก พรหมทตั ตมาณพผเู้ ปน็ ศษิ ย์ กไ็ ดเ้ ดนิ ทางไกลในเสน้ ทางเดยี วกนั ตามหลังมาหา่ งๆ ระหวา่ งทางน้ัน อาจารย์กับศษิ ย์ได้โต้เถียง กนั คอื อาจารย์กล่าวติพระพทุ ธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์ สว่ นศษิ ยก์ ลา่ วชม เมอ่ื ถงึ เวลากลางคนื ภกิ ษทุ ง้ั หลายไดส้ นทนา กันถงึ เร่ืองศิษย์อาจารย์กลา่ วแยง้ กันในเร่อื งสรรเสรญิ ตเิ ตยี น พระรัตนตรัย ในเวลานั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าได้เสด็จมาถึง ทรง ประทับนั่งที่อาสนะท่ีจัดปูไว้ แล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า “ก�ำ ลงั สนทนาเรือ่ งอะไรกนั อย”ู่ ภกิ ษุทง้ั หลายจึงกราบทูลเรื่อง ราวดงั กล่าวให้ทราบ พระพทุ ธองค์จงึ ตรสั วา่ “ภกิ ษทุ งั้ หลาย ถงึ คนอนื่ จะมากลา่ วตเิ ตยี นเรา ตเิ ตยี น พระธรรม ตเิ ตยี นพระสงฆ์ พวกเธอกไ็ มค่ วรผกู อาฆาตคบั แคน้ ใจ เพราะถา้ พวกเธอโกรธเคืองหรอื ไมพ่ อใจในคำ�ติเตยี นนัน้ พวก เธอจะประสบอันตราย และพลอยไมร่ ู้วา่ ทีเ่ ขากล่าวตเิ ตยี นนั้น ถูกหรือผิด ถ้าเป็นเรื่องไม่จริง เธอก็ควรพิสูจน์ด้วยตนเองว่า เรื่องนีไ้ ม่จริง ไม่ถกู ตอ้ ง ไมเ่ คยมปี รากฏในพวกเรา สว่ นถา้ มีใครกลา่ วช่นื ชมเรา ชน่ื ชมพระธรรม ยกย่อง พระสงฆ์ พวกเธอก็ไม่ควรยินดีจนออกนอกหน้า เพราะถ้า พวกเธอหลงชืน่ ชมพอใจในค�ำ ยกย่องนนั้ พวกเธอก็จะประสบ อันตราย ถา้ คำ�ชมนัน้ เป็นเร่ืองจรงิ เธอก็ควรพิสูจนท์ ราบด้วย www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 107 ตนเองวา่ จรงิ อยา่ งไร เพราะอะไรถึงเปน็ เชน่ น้ัน และพวกเรา เปน็ อย่างน้ันจริงหรอื ไม่” เราจะเห็นได้ว่า เสียงนินทาสรรเสริญมีมาทุกยุคทุก สมยั เราไม่ควรน�ำ มาเปน็ อารมณ์ ควรถือวา่ น่ันเป็นเหมอื น สัญญาณเตือน ให้เราย้อนกลับมาพิจารณาสำ�รวจตนเองว่า สิ่งท่ีคนอื่นติเตียนเราอยู่น้ัน เราเป็นอย่างนั้นจริงหรือไม่ ถ้าจริงเราก็ควรปรับปรุงแก้ไข แต่ถ้าไม่จริงเราก็ควรทำ�ใจเป็น กลางและตั้งใจทำ�ความดีต่อไป ถ้าทำ�ได้เช่นน้ี เสียงนินทา สรรเสริญก็จะเป็นเพียงส่ือให้เราได้ศึกษา หรือเป็นมิเตอร์ วดั ความส่นั สะเทือนของใจเราน่ันเอง www.webkal.org

www.webkal.org

เมอ่ื ตอ้ งสอน ผู้มองตา่ งมุม เม่ืออยู่ในสถานะที่แตกต่าง ความคิดความเข้าใจย่อม แตกต่าง ดังเช่น บางคนไม่เข้าใจว่า ทำ�ไมต้องให้ทาน เสีย ทรัพย์เปล่าๆ ทำ�ไมต้องเข้าวัด เสียเวลา ทำ�ไมต้องไปบวช ลำ�บากเปลา่ ๆ เรามขี า้ วกนิ มบี า้ นอยู่ ท�ำ ไมต้องไปขอเขากนิ และเพราะความไม่เข้าใจ จึงไม่สนใจไยดี หรือหนักข้ึนเป็น ต่อว่า เสียดสี เหน็บแนม หรืออาจหนักขึ้นเป็น ต่อต้าน ก่อมอ็ บ ท�ำ ลายลา้ ง พระพทุ ธองคท์ รงสอนให้เข้าใจธรรมชาติ ทแ่ี ตกตา่ งนี้ และวธิ ที จ่ี ะแก้ไขความไม่เขา้ ใจเป็นลำ�ดับ จนเขา มายนื อยใู่ นสถานะเดยี วกนั กบั เรา คอื เปน็ ผมู้ สี มั มาทฏิ ฐิ มงุ่ มน่ั ในการประพฤติธรรม จาก ทนั ตภูมิสตู ร ดังน้ี สามเณรอจิรวตะ อัคคิเวสสนะ กราบทูลพระสัมมา- สมั พุทธเจ้า เล่าถึงการตอบปัญหาเรื่องการมีจิตเป็นเอกัคคตา (หยดุ น่งิ เปน็ หนึ่ง) แกพ่ ระราชกมุ ารชยเสนะ พระพทุ ธองคจ์ ึง ตรัสแนะนำ�วา่ “อคั คเิ วสสนะ พระราชกมุ ารจะเขา้ ใจความในภาษติ ของ ทันตภมู ิสูตร : พระสตุ ตนั ตปฏิ ก มชั ฌิมนกิ าย อุปรปิ ัณณาสก,์ มมร. เล่ม ๒๓ หนา้ ๘๔ www.webkal.org

110 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก เธอได้อยา่ งไร จติ เตกคั คตาทเ่ี ธอกล่าวน้ัน เขารู้ เขาเห็น เขา บรรลุ เขาท�ำ ใหแ้ จง้ กนั ไดด้ ว้ ยเนกขมั มะ (ประพฤตพิ รหมจรรย)์ แต่พระราชกุมารชยเสนะยังอยู่ท่ามกลางกาม ยังบริโภคกาม ถกู กามวติ กกนิ ถกู ความเรา่ รอ้ นเพราะกามเผา ยงั ขวนขวายใน การแสวงหากาม จกั ทรงรู้ หรอื จักทรงเหน็ หรือจักทรงทำ�ให้ แจ้งจิตเตกัคคตาไดน้ น่ั ไม่ใชฐ่ านะที่มไี ด้ ฯลฯ อัคคิเวสสนะ เปรียบเหมือนภูเขาใหญ่ไม่ห่างไกลบ้าน หรอื นคิ ม สหาย ๒ คนออกจากบา้ นหรือนคิ มน้ันไปยงั ภเู ขาลกู นั้นแล้ว จูงมือกันเข้าไปยังที่ต้ังภูเขา คร้ันแล้วสหายคนหน่ึง ยืนท่เี ชงิ ภเู ขาเบอ้ื งล่าง อีกคนหน่งึ ขน้ึ ไปข้างบนภเู ขา สหายท่ยี ืนตรงเชิงภเู ขาขา้ งลา่ ง เอย่ ถามสหายผู้ยนื บน ภูเขานั้นว่า “แน่ะเพ่ือน ท่านยืนบนภูเขานั้น มองเห็นอะไร บา้ ง” สหายผยู้ นื อยบู่ นภเู ขาตอบวา่ “เพอ่ื นเอย๋ เรายนื บนภเู ขา แล้วเห็นสวน ปา่ ไม้ ภมู ภิ าค และสระโบกขรณีทน่ี ่ารืน่ รมย์” สหายขา้ งลา่ งกลา่ วอยา่ งนว้ี า่ “แนะ่ เพอื่ น ขอ้ ทท่ี า่ นยนื บนภเู ขา แล้วเห็นสวน ปา่ ไม้ ภมู ิภาค และสระโบกขรณีที่น่าร่นื รมย์น่ัน เป็นไปไมไ่ ดห้ รอก” สหายท่ียืนบนภูเขา จึงลงมายังเชิงเขาข้างล่างแล้วจูง แขนสหายคนนนั้ ใหข้ ึน้ ไปบนภเู ขาลูกนัน้ ใหพ้ ักเหนอ่ื ยครู่หนึง่ แลว้ เอ่ยถามสหายน้นั ว่า “แนะ่ เพอื่ น เรายืนอยบู่ นภูเขาแล้ว www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 111 ท่านเห็นอะไรบ้าง” สหายคนนั้นตอบอย่างนี้ว่า “เพื่อนเอ๋ย เรายนื บนภเู ขาแลว้ แลเหน็ สวน ปา่ ไม้ ภมู ภิ าค และสระโบกขรณี ทน่ี า่ รืน่ รมย”์ สหายคนขนึ้ ไปกอ่ นกลา่ วอยา่ งนวี้ า่ “แนะ่ เพอ่ื น เราเพง่ิ ไดย้ ินท่านกลา่ ววา่ สงิ่ ทเ่ี ราเห็น เป็นไปไม่ไดห้ รอก” สหายคนขึน้ ไปทีหลังกพ็ ูดว่า “เราก็เพง่ิ รู้คำ�ทีท่ ่านกล่าว วา่ เป็นจริงอยา่ งน้ีเอง” สหายคนขึ้นไปก่อนจึงพูดอย่างน้ีว่า “สหายเอ๋ย ความเป็นจริง เราถูกภูเขาใหญ่ลูกนี้กั้นไว้ จึงไม่แลเห็น สง่ิ ทีค่ วรเหน็ ” นี้ ฉนั ใด อคั คเิ วสสนะ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั แล พระราชกมุ ารชยเสนะ ถูกกองอวิชชาใหญ่ยง่ิ กวา่ ภูเขาลกู นน้ั กัน้ ไว้ บังไว้ ปิดไว้ คลมุ ไว้แลว้ พระราชกุมารชยเสนะน้นั แลยงั อยู่ทา่ มกลางกาม ยัง บริโภคกาม ถูกกามวิตกกิน ถูกความเร่าร้อนเพราะกามเผา ยังขวนขวายในการแสวงหากามจักทรงรู้ หรือทรงเห็น หรือ ทรงท�ำ ให้แจง้ ซ่ึงธรรม ทเ่ี ขารู้ เขาเหน็ เขาบรรลุ เขาทำ�ให้แจ้ง กนั ไดด้ ้วยเนกขัมมะ นัน่ ไมใ่ ช่ฐานะทีม่ ีได้ จากน้ันจึงทรงแนะนำ�ต่อว่า การสอนธรรมะ ฝึกคน นั้น ควรทำ�อย่างการฝึกช้างทรง คือ เร่ิมจากจับช้างป่ามา www.webkal.org

112 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก แล้วผูกไว้กับช้างหลวงที่ฝึกดีแล้ว ต่อมาให้ช้างหลวงจูงออก มาจากป่า แล้วฝึกให้คุ้นกับบ้านด้วยการล่ามไว้กับเสาใหญ่ พดู ดว้ ยค�ำ ทไ่ี พเราะ เมอื่ ชา้ งเรม่ิ รบั ฟงั ค�ำ กเ็ พม่ิ อาหาร คอื หญา้ และนำ้�เปน็ รางวัล หลังจากนั้นจงึ ฝึกใหท้ �ำ ตามคำ�สง่ั ควาญช้าง ใหร้ กุ ใหถ้ อย ใหย้ นื ใหห้ ยดุ และขนั้ สดุ ทา้ ยคอื ฝกึ เปน็ ชา้ งทรง ในสงครามดว้ ยการผกู โลใ่ หญท่ ง่ี วงชา้ ง ใหบ้ รุ ษุ ถอื หอกนง่ั บนคอ และบุรุษถอื หอกหลายคนยืนลอ้ มรอบ ควาญช้างถอื ของา้ วยืน อย่ขู า้ งหนา้ จากนัน้ ฝึกช้างใหห้ ยุดนง่ิ ไม่ขยับอวยั วะใดๆ ทา่ มกลาง เสียงและอาวุธ เป็นช้างหลวงทนต่อการประหาร ด้วยหอก ดาบ ลกู ศร และเครอ่ื งประหารของศตั รอู นื่ ทนตอ่ เสยี งกกึ กอ้ ง แห่งกลองใหญ่ บัณเฑาะว์ สังข์ และกลองเล็ก กำ�จัดข้อ- บกพร่องทุกอย่างได้ หมดพยศ เมื่อน้ันจึงนับเป็นช้างทรง ที่สมควรแก่พระราชา เป็นสมบัติคบู่ ารมขี องพระราชา ดว้ ยอปุ ไมยนนั้ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กท็ รงฝกึ คนไปตามล�ำ ดบั ดว้ ยการแสดงธรรม จนเกดิ ความเลอ่ื มใส ท�ำ ใหเ้ ขาเหน็ อานสิ งส์ แห่งการบรรพชา เม่ือเขาออกบวชก็ทรงฝึกให้ละกามคุณ ๕ ด้วยการสำ�รวมในพระปาฏโิ มกข์ สำ�รวมอนิ ทรยี ์ เจริญภาวนา ละนวิ รณท์ ง้ั ๕ เจรญิ สตปิ ฏั ฐาน ๔ ไปตามล�ำ ดบั จนบรรลวุ ชิ ชา ๓ มปี พุ เพนวิ าสานุสติญาณ จุตปู ปาตญาณ และอาสวักขยญาณ ก�ำ จดั กิเลสไดห้ มดสิ้น บรรลุธรรมเปน็ พระอรหนั ตใ์ นทสี่ ดุ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 113 วธิ แี กไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ความเหน็ ทแี่ ตกตา่ ง พระพทุ ธ- องค์สอนด้วยวิธีท่ีเป็นธรรมชาติท่ีสุด คือ เหตุที่เขาไม่เข้าใจ เพราะว่า เขาไมเ่ คยมปี ระสบการณ์เช่นน้นั ไมเ่ คยมาอย่ใู นจดุ เดียวกับเรา แตค่ ิดจะใหเ้ ขามคี วามเขา้ ใจ ความเห็นเหมอื นกัน กบั เรา เป็นเรอื่ งท่เี ปน็ ไปไมไ่ ด้ ดงั นนั้ วิธีแก้ไขทลี่ ดั และตรงประเด็นที่สุด ก็คือนำ�เขา ใหม้ าอยตู่ รงจดุ ทเ่ี รายนื อยู่ เมอ่ื อยบู่ นยอดเขาเชน่ เดยี วกนั แลว้ กย็ อ่ มเหน็ เหมอื นกนั จะชชี้ วนดคู วามสวยงามของตน้ ไม้ ทวิ เขา ก็เข้าใจกันและกัน แต่การท�ำ เช่นนั้น ก็ต้องทำ�อย่างค่อยเป็น ค่อยไปไมห่ กั โหมประหนง่ึ หักดา้ มพรา้ ดว้ ยเข่า ดังเชน่ การฝกึ ชา้ งจากชา้ งปา่ จนกลายเปน็ ชา้ งทรงทอี่ อกศกึ สงคราม คบู่ ารมี พระราชาได้ www.webkal.org

www.webkal.org

คนรวยท่แี ทจ้ ริง ต�ำ แหนง่ “มหาเศรษฐ”ี มกั เปน็ ทชี่ นื่ ชมสนใจของคนใน โลก ทุกปีจะมีการจัดอันดับ “ความรวย” ออกแสดงทางส่ือ หลายคา่ ยด้วยกัน บางท่านคงปรารถนาวา่ สกั วันเราได้ไปยืน อยใู่ นต�ำ แหนง่ นน้ั บา้ ง แต่ ณ วนั นี้ แมเ้ รายังไมร่ วยเงินทอง ก็ไม่เป็นไร ขอให้เราหมั่นสร้างมหาทานบารมีต่อไป สักวัน เมอ่ื บญุ เตม็ เปยี่ มก็จะไดเ้ ปน็ มหาเศรษฐีแนน่ อน ในทัศนะเรือ่ งความรวย พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ตรัสว่า ความรวยทรพั ยน์ น้ั ยงั เปน็ ความรวยทไ่ี มม่ น่ั คง ไมใ่ ชค่ วามรวย ที่แท้จริง เพราะวา่ นเี่ ป็นเพยี งผลจากความรวยอริยทรัพย์ คอื คณุ ความดี หากรวยกศุ ลความดกี ห็ วงั ได้ว่าจะเปน็ ผู้รวยทรพั ย์ แนน่ อน แตห่ ากจนอรยิ ทรพั ย์ คอื ความดเี สยี แลว้ กป็ ดิ หนทาง รวยทรพั ยใ์ นอนาคต หรือแมแ้ ต่ทรัพยใ์ นปัจจบุ นั ก็จะรกั ษาไว้ ไม่ได้ ดงั ใน อคุ คสตู ร ว่า อุคคสตู ร : พระสตุ ตันตปิฎก องั คตุ ตรนกิ าย สตั ตกนบิ าต, มมร. เล่ม ๓๗ หนา้ ๑๔ www.webkal.org

116 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ครั้งหน่ึง ราชมหาอำ�มาตย์ชื่อว่า อุคคะ เข้าไปเฝ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าถึงท่ีประทับ และได้กราบทูล พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์ ข้าแต่พระองค์ผู้ เจริญ ไม่เคยมีมา โดยเหตุที่มิคารเศรษฐีผู้เป็นหลานโรหณ- เศรษฐีเปน็ ผมู้ ั่งค่ัง มที รพั ย์มาก มีโภคสมบัตมิ ากถึงเพยี งนี้” พระผู้มีพระภาคเจา้ ตรัสถามว่า “ดูกอ่ นอคุ คะ กม็ คิ าร เศรษฐหี ลานโรหณเศรษฐมี ง่ั คง่ั มที รพั ยม์ าก มโี ภคสมบตั มิ าก สักเทา่ ไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ มีทองแสนลิ่ม จะกล่าวไปไย ถึงเงนิ ” “ดูก่อนอุคคะ ทรัพย์น้ันมีอยู่แล เรามิได้กล่าวว่าไม่มี แต่ทรัพย์น้ันเป็นของอันตราย ด้วยไฟ น้ำ� พระราชา โจร ทายาทผูไ้ มเ่ ป็นท่ีรัก ดูก่อนอคุ คะ ทรพั ย์ ๗ ประการนีแ้ ล ไมท่ ่วั ไปแกไ่ ฟ น�้ำ พระราชา โจร ทายาทผไู้ มเ่ ป็นที่รกั ๗ ประการเปน็ ไฉน ทรพั ย์ คอื ศรทั ธา ๑ ศลี ๑ หริ ิ ๑ โอตตปั ปะ ๑ สตุ ะ ๑ จาคะ ๑ ปัญญา ๑ ” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 117 ผ้ใู ด จะเป็นสตรี หรือบุรุษก็ตาม มีทรพั ย์ ๗ ประการนี้ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตปั ปะ สุตะ จาคะ และปญั ญา ผนู้ ้นั แลเปน็ “คนมีทรพั ยม์ าก” ใครๆ ไมพ่ งึ ชนะไดท้ ้งั ในเทวโลกและมนษุ ยโลก เพราะฉะนน้ั ผูม้ ีปัญญา เม่อื ระลกึ ถึงคำ�ส่งั สอนของพระพทุ ธเจา้ ทัง้ หลาย ควรหม่นั ประกอบศรทั ธา ศลี ความเลอ่ื มใสและการเหน็ ธรรม เมอ่ื บคุ คลสมบรู ณด์ ว้ ยอรยิ ทรพั ย์ กจ็ ะเปน็ เหตแุ หง่ การ สงั่ สมบญุ กศุ ลไปตลอดอายขุ ยั เปน็ การสะสมทรพั ยท์ แี่ ทจ้ รงิ คอื “บุญ” ขา้ มชาตไิ ปได้ ดงั ใน ปิยสตู ร ว่า สัตว์ผจู้ ะต้องตายในโลกน้ี ทำ�กรรมอนั ใด คือบุญและบาปท้ัง ๒ ประการ บญุ และบาปน้นั แลเปน็ สมบัติของเขา ท้ังเขาจะน�ำ เอาบุญและบาปน้นั ไปได้ อนึง่ บญุ และบาปนั้นย่อมติดตามเขาไป ดุจเงาตดิ ตามตัวไป ฉะน้นั เพราะฉะนนั้ บคุ คลควรท�ำ กรรมดี สะสมไวเ้ ป็นสมบตั ใิ นโลกหนา้ เพราะบุญเป็นท่ีพงึ่ ของสตั วท์ ัง้ หลายในโลกหนา้ ปิยสูตร : พระสตุ ตันตปิฎก สังยุตตนกิ าย สคาถวรรค, มมร. เล่ม ๒๔ หน้า ๔๒๖ www.webkal.org

118 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ดงั นนั้ แมป้ จั จุบันบางทา่ นจะจนทรพั ย์ แต่ก็อยา่ ใหจ้ น ความดี เพราะนนั่ ยงั สามารถทำ�เปา้ หมายการมาเกดิ เปน็ มนษุ ย์ คอื การสร้างบารมี ใหส้ ำ�เร็จได้ และในอนาคตเราจะเปน็ ผ้ทู ่ี รวยทงั้ ภายนอกและภายใน คอื เปน็ “มหาเศรษฐผี ใู้ จบญุ ค�ำ้ จนุ พระพทุ ธศาสนา” อยา่ งแนน่ อน www.webkal.org

เกิดในโลก แต่ไมต่ ดิ ในโลก ดอกบัวอาศัยเกิดในนำ้�และเปือกตม แต่เมื่อเจริญโผล่ พน้ ผวิ น�ำ้ แล้ว กลับไมต่ ดิ ด้วยน�ำ้ และเปอื กตม เปน็ ธรรมชาติที่ นา่ อศั จรรยท์ เี ดยี ว พระสารบี ตุ รเถระ อคั รสาวกผมู้ ปี ญั ญาเปน็ เลศิ ไดก้ ลา่ วสรรเสรญิ คณุ ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปรยี บกบั ธรรมชาตขิ องดอกบัวว่า ดอกโกมทุ ดอกบัวเผอื่ น จ�ำ นวนมาก เกิดในน้ำ� แล้วตดิ อยดู่ ว้ ยนำ้�และเปอื กตม ฉนั ใด เหล่าสตั ว์จำ�นวนมากกฉ็ ันน้ัน เกดิ มาในโลกแล้ว ถูกราคะและโทสะเบียดเบยี น ย่อมงอกงาม (ในวฏั สงสาร) ดุจดอกโกมทุ งอกงามในเปอื กตม ฉะนัน้ ดอกบวั หลวงเกิดในน�้ำ งดงามอยกู่ ลางนำ้� (แต่) ดอกบวั หลวงน้ันยังคงบริสทุ ธิ์ ไม่ตดิ ด้วยน้ำ� ฉันใด ขา้ แตพ่ ระมหาวรี เจ้า พระองคก์ ท็ รงเปน็ ฉนั น้ัน เป็นมหามนุ ี เกดิ มาแลว้ ในโลก (แต)่ ไมท่ รงตดิ อยู่กับโลก ดุจดอกบัวหลวงไม่ตดิ นำ้� ฉะน้นั สารปี ตุ ตเถราปทาน : พระสตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน, มมร. เลม่ ๗๐ หนา้ ๔๑๙ www.webkal.org

120 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก มนษุ ยท์ ง้ั หลายจ�ำ เปน็ ตอ้ งอาศยั โลก คอื กามคณุ ๕ เปน็ ท่ี เกดิ ขนึ้ ด�ำ รงชีวติ อยู่ แต่บางคนติดอยใู่ นโลก จมอยใู่ นโลก คือ หลงใหลติดในทรพั ย์สมบัติ และกามคณุ ๕ ตอ้ งเปน็ ทกุ ข์กับ การแสวงหาอย่างไม่รู้จักอ่ิม ต่อสู้แย่งชิงกันเป็นใหญ่ และ โศกเศร้าอาดูรเมื่อไม่ได้สมปรารถนา หรือทรัพย์น้ันเสื่อมสูญ ไปด้วยเหตุตา่ งๆ แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันต์ท้ังหลาย เปน็ แบบอยา่ งดยี งิ่ ของ ผเู้ กดิ ในโลก แตไ่ มต่ ดิ ในโลก มองทรพั ย์ สมบัติที่มีอยู่เป็นอุปกรณ์การสร้างบารมี แม้แต่คร้ังท่ีพระพุทธองค์ ยงั เสวยพระชาตเิ ปน็ พระโพธสิ ตั วอ์ ยู่ กย็ งั สอนตนเองไดเ้ ชน่ นน้ั ดังทพี่ ระองค์ตรัสเลา่ ให้พระอานนท์ฟัง ถงึ พระชาตทิ ที่ รงเกิด เป็นพระเจา้ จักรพรรดชิ อ่ื ว่า พระเจา้ มหาสทุ สั สนะ ดังนี้ “อานนท์ เราเป็นพระเจ้ามหาสทุ ัสสนะ ในสมยั นัน้ เรา มีเมืองขึ้น ๘๔,๐๐๐ เมอื ง มกี รุงกุสาวดรี าชธานเี ป็นเมืองหลวง มปี ราสาท ๘๔,๐๐๐ องค์ มธี รรมปราสาทเป็นทอ่ี ยู่ มีเรอื นยอด ๘๔,๐๐๐ หลงั มเี รอื นยอดมหาวยิ หู ะเปน็ ทอ่ี ยู่ มบี ลั ลงั ก์ ๘๔,๐๐๐ บัลลงั ก์ เปน็ บัลลงั ก์ทอง บัลลังก์เงิน บัลลังกง์ า บลั ลังก์แก้ว บุษราคัม ลาดด้วยพรมขนสัตว์ชายยาว ลาดด้วยสักหลาด ลาดด้วยผ้าปักลวดลาย ลาดด้วยหนังกวางอย่างดี มีพนักสูง ห้มุ นวมสแี ดงท้งั ๒ ข้าง มีช้าง ๘๔,๐๐๐ ชา้ ง มเี ครอ่ื งประดับ ทอง มธี งทอง คลุมดว้ ยตาข่ายทอง มพี ญาชา้ งตระกลู อุโบสถ มหาสทุ สั สนสตู ร : พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค, มมร. เล่ม ๑๓ หน้า ๔๗๓ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 121 เป็นชา้ งทรง มมี ้า ๘๔,๐๐๐ มา้ มีเคร่ืองประดับทอง มีธงทอง คลุมด้วยตาข่ายทอง มีพญาม้าวลาหกเป็นม้าทรง มีราชรถ ๘๔,๐๐๐ คนั หมุ้ ดว้ ยหนงั ราชสหี ์ หมุ้ ดว้ ยหนงั เสอื โครง่ หมุ้ ดว้ ย หนังเสือเหลือง หุ้มด้วยผ้ากัมพลเหลือง มีเคร่ืองประดับทอง มธี งทอง คลมุ ดว้ ยตาขา่ ยทอง มเี วชยนั ตร์ าชรถเปน็ รถพระทน่ี งั่ มแี กว้ ๘๔,๐๐๐ ดวง มมี ณแี กว้ เปน็ ชน้ั ยอด มีสตรี ๘๔,๐๐๐ นาง มพี ระนางสภุ ทั ทาเทวเี ปน็ อคั รมเหสี มคี หบดี ๘๔,๐๐๐ คน มีคหบดีแกว้ เปน็ หัวหน้า มกี ษัตรยิ ผ์ ้สู วามภิ ักดิ์ ๘๔,๐๐๐ องค์ มีปรณิ ายกแกว้ เปน็ หัวหน้า มโี คนม ๘๔,๐๐๐ ตัว ที่พร้อมจะ ให้น้ำ�นมจนสามารถเอาภาชนะรองรับได้ มผี ้าโขมพัสตรเ์ นื้อดี ผา้ ฝา้ ยเนอ้ื ดี ผา้ ไหมเนอ้ื ดี และผา้ กมั พลเนอ้ื ดรี วม ๘๔,๐๐๐ โกฏิ มสี ำ�รบั อาหารทมี่ ีคนน�ำ มาถวายทั้งเช้าและเย็น ๘๔,๐๐๐ ส�ำ รบั บรรดาเมือง ๘๔,๐๐๐ เมือง ในสมัยนั้น เราอยู่ ครอบครองเมืองเดยี วเท่านนั้ คอื กรุงกสุ าวดรี าชธานี ปราสาท ๘๔,๐๐๐ องค์ เราอยู่ในปราสาทหลังเดียว เท่าน้นั คือ ธรรมปราสาท เรอื นยอด ๘๔,๐๐๐ หลงั เราอย่ใู นเรือนยอดหลงั เดียว เทา่ นัน้ คือ เรือนยอดมหาวยิ ูหะ บลั ลงั ก์ ๘๔,๐๐๐ บลั ลงั ก์ บลั ลงั กท์ เ่ี ราใชส้ อย คอื บลั ลงั กท์ อง www.webkal.org

122 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก บัลลังก์เงิน บัลลังก์งา หรือบัลลังก์แก้วบุษราคัม บัลลังก์ใด บัลลังก์หนึ่งเท่านน้ั ช้าง ๘๔,๐๐๐ ชา้ ง ชา้ งทีเ่ ราขี่เชือกเดยี วเท่านัน้ คือ พญาชา้ งตระกูลอโุ บสถ มา้ ๘๔,๐๐๐ มา้ ม้าทเี่ ราขีต่ ัวเดียวเท่าน้ัน คือ พญามา้ วลาหก ราชรถ ๘๔,๐๐๐ คนั ราชรถท่เี ราใชค้ ันเดยี วเทา่ นนั้ คอื เวชยนั ตร์ าชรถ สตรี ๘๔,๐๐๐ นาง นางกษตั รยิ ์หรือนางแพศย์คนเดียว เท่าน้ันทปี่ รนนิบัตเิ รา ผา้ ๘๔,๐๐๐ โกฏิ ผ้าท่เี รานงุ่ มีเพยี งคู่เดยี วเท่านั้น จะ เปน็ ผา้ โขมพสั ตรเ์ นอื้ ดี ผา้ ฝา้ ยเนอ้ื ดี ผา้ ไหมเนอื้ ดี หรอื ผา้ กมั พล เน้ือดกี ็ตาม สำ�รับอาหาร ๘๔,๐๐๐ สำ�รับ ส�ำ รับอาหารที่เราบรโิ ภค เพยี งสำ�รับเดยี วเท่านนั้ คือ ขา้ วสุกทะนานหนึง่ เป็นอยา่ งมาก พรอ้ มด้วยกับขา้ วพอสมควรแก่ข้าวสุกนั้น ดูเถิด อานนท์ สังขารเหล่าน้ันทั้งปวงล่วงลับดับไป ผนั แปรไปแลว้ สงั ขารทง้ั หลายไมเ่ ทยี่ งอยา่ งนแ้ี ล สงั ขารทงั้ หลาย www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 123 ไมย่ ง่ั ยนื อยา่ งนแ้ี ล สงั ขารทง้ั หลายไมน่ า่ ยนิ ดอี ยา่ งนแ้ี ล อานนท์ ขอ้ นจ้ี งึ ควรเบอ่ื หนา่ ย ควรคลายกำ�หนดั ควรจะหลดุ พน้ ไปจาก สังขารทง้ั ปวงโดยแท้” ในพระชาตนิ ้ัน พระโพธิสัตว์ได้สั่งสมบญุ อย่างย่ิงใหญ่ ด้วยการสร้างมหาทาน รักษาอุโบสถศีล และในช่วงท้ายของ ชีวิตกท็ รงประพฤตพิ รหมจรรย์ถงึ ๘๔,๐๐๐ ปี บำ�เพญ็ สมาธิจน ได้ฌาน ๔ และเจรญิ พรหมวหิ าร เม่อื ละโลกก็ไปเกิดในพรหม โลก หากเราบริโภคทรัพย์สมบตั ิ เพียงเพ่ือตอบสนองความ ต้องการของร่างกายให้ดำ�รงอยู่ได้ กินแค่อิ่ม อยู่แค่อุ่นหลับ สบาย เราจะไมท่ ุกข์มากเพราะทรพั ย์ และสามารถใช้ทรพั ยไ์ ป เพอื่ การสง่ั สมบญุ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ โดยไมต่ ดิ ไมเ่ สยี ดายหวงแหน เป็นเช่น ดอกบัวทไ่ี มต่ ดิ นำ้�และโคลนตม ฉะนัน้ www.webkal.org

www.webkal.org

หากเดินผิดทาง แม้เก่งเท่าไรกไ็ มถ่ งึ เปา้ หมาย มผี กู้ ลา่ วไวว้ า่ สง่ิ ทสี่ �ำ คญั ทสี่ ดุ ของการเดนิ ทาง คอื การ ตั้งทิศทางเป้าหมายอย่างถูกต้อง การดำ�เนินชีวิตในวัฏสงสาร กเ็ ชน่ กนั สิ่งทสี่ ำ�คัญทส่ี ดุ คือ ความเหน็ หรอื ความเขา้ ใจทีถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกับโลกและชีวติ ตามความเปน็ จรงิ หรือเรยี กว่า เปน็ สัมมาทฏิ ฐิ นน่ั เอง ซงึ่ จะท�ำ ให้ด�ำ เนนิ ชีวิตได้อย่างถูกตอ้ ง ตรงกนั ข้าม หากมีความเช่ือที่ผดิ เป็นมจิ ฉาทฏิ ฐิ เช่น ไมเ่ ชอ่ื บญุ บาป ไมเ่ ชอื่ กฎแหง่ กรรม แมจ้ ะเปน็ ผมู้ คี วามรู้ ความ สามารถ หรอื มคี วามวริ ยิ ะอตุ สาหะ มากเพยี งใดกต็ าม สง่ิ เหลา่ นนั้ กไ็ มส่ ามารถท�ำ ใหเ้ ขาเกดิ ความสขุ ไดเ้ ลย กลบั ยงิ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ขา ไดร้ บั ทกุ ขม์ ากขน้ึ ดว้ ย เพราะใชค้ วามรู้ ความสามารถ และความ เพียรนั้นไปเพื่อก่อบาปอกศุ ล หวงั อยากได้สขุ แตก่ ลบั ทกุ ขถ์ นัด ดังท่พี ระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรัสไวใ้ น ภมู ชิ สตู ร ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน กรงุ ราชคฤห์ คร้งั นนั้ พระองคต์ รัสกับพระภมู ิชะว่า “ดูก่อนภูมิชะ ก็สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหน่ึง ภมู ิชสูตร : พระสตุ ตนั ตปฎิ ก มชั ฌิมนกิ าย อปุ ริปัณณาสก,์ มมร. เล่ม ๒๓ หนา้ ๙๙ www.webkal.org

126 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ทมี่ มี ิจฉาทฏิ ฐิ มมี ิจฉาสังกัปปะ มีมจิ ฉาวาจา มมี ิจฉากมั มนั ตะ มมี จิ ฉาอาชวี ะ มมี จิ ฉาวายามะ มมี จิ ฉาสติ มมี จิ ฉาสมาธิ ถงึ แม้ ทำ�ความหวัง หรือไม่ทำ�ความหวัง หรือทำ�ทั้งความหวัง และความไม่หวัง หรือทำ�ความหวังก็มิใช่ ความไม่หวังก็มิใช่ แล้วประพฤติพรหมจรรย์ เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล นน่ั เพราะเหตไุ ร ดกู อ่ นภมู ชิ ะ เพราะเขาไมส่ ามารถจะบรรลผุ ล ไดโ้ ดยอบุ ายไม่แยบคาย อุปมาเหมือนบุรุษต้องการนำ้�มัน แสวงหาน้ำ�มัน จงึ เทย่ี วเสาะหาน�ำ้ มนั แตเ่ กลยี่ ทรายลงในรางแลว้ คน้ั ไป เอาน�ำ้ พรมไปๆ เขากไ็ มส่ ามารถจะไดน้ ้ำ�มัน นนั่ เพราะเหตุไร เพราะ เขาไมส่ ามารถจะไดน้ ำ�้ มนั โดยวิธีไม่แยบคาย อุปมาเหมือนบุรุษต้องการนมสด แสวงหานมสด จงึ เทยี่ วเสาะหานมสด แต่รีดเอาจากเขาแม่โคลกู ออ่ น เขาก็ไม่ สามารถจะได้นมสด นัน่ เพราะเหตุไร เพราะเขาไมส่ ามารถจะ บรรลผุ ลไดโ้ ดยอบุ ายไม่แยบคาย อุปมาเหมือนบุรุษต้องการเนยข้น แสวงหาเนยข้น จึงเท่ียวเสาะหาเนยข้น แต่ใส่น้ำ�ลงในอ่าง แล้วคนเข้ากับ นมขน้ เขาก็ไมส่ ามารถจะไดเ้ นย น่ันเพราะเหตไุ ร เพราะเขา ไมส่ ามารถจะได้เนยข้นโดยวธิ ไี มแ่ ยบคาย www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 127 อุปมาเหมือนบุรุษต้องการไฟ แสวงหาไฟจึงเที่ยว เสาะหาไฟ แต่เอาไม้สดที่มียางมาทำ�ไม้สีไฟสีกันไป เขาก็ไม่สามารถจะได้ไฟ น่ันเพราะเหตุไร เพราะเขา ไมส่ ามารถจะไดไ้ ฟโดยวธิ ีไมแ่ ยบคาย ดกู อ่ นภมู ชิ ะ สว่ นสมณะหรอื พราหมณพ์ วกใดพวกหนงึ่ ทม่ี สี มั มาทฏิ ฐิ มสี มั มาสงั กปั ปะ มสี มั มาวาจา มสี มั มากมั มนั ตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ ถงึ แม้ท�ำ ความหวงั หรือไม่ทำ�ความหวัง หรือทำ�ทง้ั ความหวงั และความไม่หวัง หรือทำ�ความหวังก็มิใช่ความไม่หวังก็มิใช่ แลว้ ประพฤตพิ รหมจรรย์ เขากส็ ามารถบรรลผุ ล นนั่ เพราะเหตุ ไร ดกู อ่ นภูมิชะเพราะเขาสามารถบรรลไุ ด้โดยอบุ ายแยบคาย อุปมาเหมือนบุรุษต้องการน้ำ�มัน แสวงหาน้ำ�มัน จึงเท่ียวเสาะหานำ้�มัน โดยเกลีย่ งาปน่ ลงในรางแล้วค้ันไป เอา นำ้�พรมไปๆ เขากส็ ามารถได้นำ้�มัน น่นั เพราะเหตไุ ร เพราะ เขาสามารถได้นำ้�มนั โดยวิธแี ยบคาย อปุ มาเหมอื นบรุ ษุ ตอ้ งการนมสด แสวงหานมสดจงึ เทย่ี ว เสาะหานมสด รีดเอาจากเตา้ นมแมโ่ คลกู อ่อน เขาก็สามารถ ไดน้ มสด น่ันเพราะเหตุไร เพราะเขาสามารถได้นมสดโดยวิธี แยบคาย www.webkal.org

128 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก อุปมาเหมือนบุรุษต้องการเนยข้น แสวงหาเนยข้น จึงเที่ยวเสาะหาเนยข้น ใส่นมส้มลงในอ่าง คนเข้ากับนมข้น เขากส็ ามารถได้เนยขน้ น่ันเพราะเหตุไร เพราะเขาสามารถได้ เนยขน้ โดยวิธแี ยบคาย อุปมาเหมือนบุรุษต้องการไฟ แสวงหาไฟจึงเที่ยว เสาะหาไฟ โดยเอาไม้แห้งเกราะมาทำ�ไม้สีไฟ สีกันไป เขา ก็สามารถได้ไฟ น่ันเพราะเหตุไร เพราะเขาสามารถได้ไฟ โดยวธิ แี ยบคาย” ดังนั้นจงึ เปน็ ความโชคดีมบี ุญ ที่ได้เกิดมาเปน็ ชาวพทุ ธ ได้รับการปลูกฝงั สมั มาทฏิ ฐิ และการทำ�ความดีท่ีถูกต้องตงั้ แต่ เยาวว์ ยั แมเ้ ราจะไมเ่ กง่ กาจอะไร แตก่ ม็ น่ั ใจไดว้ า่ สามารถเอา ดีมีสุขท้ังในชาติน้ีชาติหน้าได้ ซ่ึงหากเราไปเกิดในดินแดนท่ีมี ความเชอื่ เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ ถกู ปลกู ฝงั ความเชอ่ื ทผ่ี ดิ ตงั้ แตเ่ ลก็ แต่ นอ้ ยก็ยากทจ่ี ะเอาดีมสี ขุ ได้ แมจ้ ะมสี ติปัญญาสามารถอย่างไร กต็ าม จงึ ควรแกก่ ารภาคภมู ใิ จทไ่ี ดเ้ กดิ เปน็ ชาวพทุ ธ โชคดจี รงิ ๆ www.webkal.org

กวา่ จะรู้จักกัน มีคำ�กล่าวว่า “หนทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คน” การที่จะรู้จักเข้าใจใครสักคนหน่ึง เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา เพราะจิตมนุษย์น้ันยากแท้หยั่งถึง กิเลสในใจเปรียบดังป่าท่ี รกชัฏ มีความลึกลับเป็นปริศนาซุกซ่อนอยู่มากมาย ทำ�ให้ บางทีแม้แต่ตนเองก็ยังไม่เข้าใจกระจ่างในตัวเองสักเท่าไร ดังน้ันการทำ�ความรู้จักผู้อ่ืนในวิสัยของปุถุชน ไม่เพียงแต่ ต้องอาศัยเวลาเท่าน้ัน ยังต้องมีเหตุการณ์ที่เหมาะสมเป็น เคร่ืองพิสูจน์ ซ่ึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนวิธีดูคนไว้ ใน สตั ตชฎลิ สูตร ดังน้ี สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ บุพพาราม ปราสาทของนางวิสาขามิคารมาตา เขตกรุงสาวัตถี คร้ังน้ัน ในเวลาเย็น พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคถงึ ทป่ี ระทบั ถวายอภวิ าทแลว้ ประทบั นง่ั ณ ทสี่ มควร ขณะนนั้ มนี กั บวชประเภทตา่ งๆ คอื ชฎลิ ๗ คน นคิ รนถ์ ๗ คน อเจลก ๗ คน เอกสาฎก ๗ คน ปริพาชก ๗ คน ชฎิลสตู ร : พระสุตตันตปิฎก สังยตุ ตนิกาย สคาถวรรค, มมร. เลม่ ๒๔ หนา้ ๔๕๓ www.webkal.org

130 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ผูม้ ีขนรักแร้ เลบ็ และขนยาว ถอื เครือ่ งบริขารต่างๆ เดนิ ผา่ น ไปในท่ีไม่ไกลพระผู้มพี ระภาค ทันใดนน้ั พระเจา้ ปเสนทิโกศล เสดจ็ ลกุ จากทป่ี ระทบั ทรงหม่ พระภษู าเฉวยี งพระองั สาขา้ งหนงึ่ ทรงจดพระชานุมณฑล (คุกเข่า) เบื้องขวา ณ พื้นแผ่นดิน ประนมมือไปทางนักบวชเหล่าน้ัน แล้วทรงประกาศพระนาม ๓ ครั้งว่า “ท่านเจ้าขา้ ขา้ พเจา้ คือพระราชาปเสนทิโกศล ฯลฯ ทา่ นเจา้ ข้า ขา้ พเจ้าคอื พระราชาปเสนทิโกศล” คร้ันเมื่อนักบวชเหล่าน้ัน เดินผ่านไปได้ไม่นาน พระเจา้ ปเสนทิโกศลเสด็จกลับเข้าไปเฝา้ พระผูม้ พี ระภาค แล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังน้ีว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกนักบวชเหล่าน้ัน คงเป็นพระอรหันต์ หรือท่านผู้บรรลุ อรหัตตมรรคเหล่าใดเหลา่ หน่ึงในโลก” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มหาบพิตร พระองค์เป็น คฤหัสถ์บริโภคกาม ครอบครองเรือน บรรทมเบียดพระโอรส และพระชายา ทาจรุ ณจนั ทน์ (เครอ่ื งหอม) อนั น�ำ มาจากแควน้ กาสี ทรงมาลาของหอมและเครื่องลบู ไล้ ยนิ ดเี งนิ ทอง ยากที่ จะรเู้ รอ่ื งนว้ี า่ คนพวกนเี้ ปน็ พระอรหนั ต์ หรอื วา่ คนพวกนบ้ี รรลุ อรหตั ตมรรค (๑) มหาบพิตร ศีลพงึ รู้ได้ดว้ ยการอยู่รว่ มกนั ศลี น้ันจะ พึงรู้ได้ด้วยกาลนาน ไม่ใช่ด้วยกาลเล็กน้อย ผู้ใส่ใจจึงจะรู้ได้ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 131 ผู้ไม่ใสใ่ จรู้ไม่ได้ ผมู้ ปี ัญญาจึงจะรูไ้ ด้ ผู้ไมม่ ปี ญั ญารไู้ มไ่ ด้ (๒) มหาบพติ ร ความสะอาดจะพงึ รไู้ ดด้ ว้ ยการงาน ฯลฯ ผู้มีปญั ญาจึงจะรู้ได้ ผ้ไู มม่ ปี ญั ญารไู้ ม่ได้ (๓) มหาบพิตร กำ�ลังใจจะพึงรู้ได้ในคราวมีอันตราย ฯลฯ ผ้มู ปี ัญญาจงึ จะรไู้ ด้ ผไู้ มม่ ีปญั ญารไู้ ม่ได้ (๔) มหาบพิตร ปัญญาจะพึงรูไ้ ดด้ ว้ ยการสนทนา ฯลฯ ผูม้ ปี ญั ญาจงึ จะรไู้ ด้ ผ้ไู ม่มีปัญญาร้ไู มไ่ ด้” พระเจา้ ปเสนทโิ กศลกราบทลู วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ นา่ อศั จรรย์จรงิ ไม่เคยปรากฏ พระผ้มู ีพระภาคตรสั เรอื่ งนี้ไว้ ดยี ่ิงนักว่า มหาบพิตร พระองค์เป็นคฤหสั ถ์ บริโภคกาม ฯลฯ ยากที่จะร้เู ร่ืองนี้ ฯลฯ ผมู้ ีปัญญาจงึ จะรูไ้ ด้ ผู้ไมม่ ปี ัญญารู้ไม่ได้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ (แท้จริงแล้ว) นักบวชเหล่า น้ันเป็นคนของข้าพระองค์ เป็นบุรุษสอดแนม เป็นสายลับ เที่ยวสอดแนมไปยังชนบทแล้วพากันกลับมา ข้าพระองค์จะรู้ เรื่องราวหลังจากที่คนเหล่านั้นสืบมา บัดน้ีคนเหล่านั้นคงจะ ชำ�ระล้างละอองธุลีน้ันแล้ว อาบสะอาดดี ลูบไล้ผิวดีแล้ว โกนผมและหนวด นงุ่ หม่ ผา้ ขาว เอบิ อม่ิ เพยี บพรอ้ มดว้ ยกามคณุ ๕ บำ�เรอข้าพระองคอ์ ยู”่ www.webkal.org

132 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก “การดคู นออก” แมจ้ ะเปน็ สงิ่ ทย่ี ากตอ้ งอาศยั ความชา่ ง สงั เกต และการฝึกฝนเปน็ เวลานาน บางครง้ั ก็ได้ “ผดิ เปน็ คร”ู แต่ก็มีความจำ�เป็นสำ�หรับการสร้างบารมีเป็นทีม โดยเฉพาะ ผู้นำ�หมู่คณะที่ต้องดูนิสัยของแต่ละคนในทีมให้ออก เพื่อใช้ ในการประคบั ประคองเปน็ กลั ยาณมิตรแกค่ นในทีม ดังท่พี ระ- สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงแกไ้ ขนสิ ยั ใหแ้ กเ่ หลา่ พระสาวก ในทกุ ชาติ ท่ีเกดิ มาเจอกนั อกี ทง้ั จะรเู้ ทา่ ทนั คนสามารถปอ้ งกนั เหตเุ ภทภยั ทจ่ี ะมาถงึ หม่คู ณะไดอ้ ีกด้วย แตท่ วา่ การดคู นออก กม็ ีวธิ ีลัด คอื “ดูตนเองใหอ้ อก” เสยี กอ่ น โดยการปดิ ตา เปดิ ใจ ดเู ขา้ ไปในศนู ยก์ ลางกาย ดว้ ยใจท่ี หยดุ น่งิ เบาสบาย จนเห็นถึงไส้ใน คอื กายในกายตา่ งๆ จนถงึ พระธรรมกายภายใน นั่นแหละจึงจะได้ชื่อว่า “รู้จักตนเอง” อย่างแท้จริง เม่ือเรารู้จักรู้เท่าทันกิเลสภายในตนเองได้ กจ็ ะสามารถ “ทนั โลก ทนั คน” ได้ไม่ยากเลย www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

ทำ�ดี ต้องไมม่ ีขอ้ แม้ ส่ิงประดิษฐ์และส่ิงอัศจรรย์ของโลก ล้วนเกิดข้ึนจาก บุคคลผู้ไม่ยอมพ่ายแพ้ต่อปัญหาอุปสรรค เพราะความทุกข์ ความไม่พร้อมเป็นของคู่โลก หากมัวแต่นำ�ปัญหาอุปสรรค เหล่าน้นั มาเปน็ ข้ออา้ ง ขอ้ แม้ เงือ่ นไข โลกน้คี งจะปราศจาก สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื สง่ิ อศั จรรยใ์ ดๆ การดำ�เนนิ ชวี ติ กเ็ ชน่ เดยี วกนั ต้องพยายามรักษาความดี แม้มีอุปสรรคปัญหา เพราะ กฎแหง่ กรรมไมเ่ คยผอ่ นผนั ใหก้ บั ขอ้ แมข้ อ้ อ้างใดๆ ดงั เรอื่ งราว ตอ่ ไปน้ี พระสารีบุตร ได้ทราบข่าวว่า ธนัญชานิพราหมณ์ ตั้งอยู่ในความประมาท อาศัยพระราชาเบียดเบียนทรัพย์ พวกพราหมณ์และคฤหบดี อาศัยพวกพราหมณ์และคฤหบดี เบยี ดเบยี นทรพั ยพ์ ระราชา ภรยิ าของเขาผมู้ ศี รทั ธา ไดส้ น้ิ ชวี ติ เสียแล้ว เขาไดภ้ ริยาคนใหมแ่ ต่เปน็ ผู้ไม่มศี รัทธา มาจากสกลุ ที่ ไมม่ ศี รทั ธา ธนัญชานสิ ตู ร : พระสตุ ตันตปิฎก มชั ฌิมนกิ าย มัชฌิมปณั ณาสก,์ มมร. เล่ม๒๐ หน้า ๓๘๔ www.webkal.org

138 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก พระสารบี ตุ รคดิ ทจ่ี ะอนเุ คราะห์ ดงั นนั้ วนั หนง่ึ หลงั จาก บณิ ฑบาต และเสรจ็ ภตั กจิ แลว้ ไดเ้ ขา้ ไปหาธนญั ชานพิ ราหมณ์ ถึงทอ่ี ยู่ หลังจากปราศรัยพอใหร้ ะลกึ ถึงกนั แล้ว ท่านพระสารีบุตรได้ถามว่า “ธนัญชานิ ท่านเป็นผู้ไม่ ประมาทหรือ” ธนญั ชานิพราหมณไ์ ดต้ อบวา่ “ข้าแตท่ า่ นพระสารีบตุ ร ทไ่ี หนขา้ พเจา้ จะไมป่ ระมาทเลา่ เพราะขา้ พเจา้ ตอ้ งเลยี้ งมารดา บดิ า ตอ้ งเล้ยี งบตุ รภริยา ต้องเล้ียงพวกทาสกรรมกร และคน รับใช้ ต้องทำ�กิจสำ�หรับมิตรและอำ�มาตย์ ต้องทำ�กิจสำ�หรับ ญาติสาโลหิต ต้องท�ำ กจิ สำ�หรบั แขกแกแ่ ขก ต้องท�ำ บญุ ทค่ี วร ทำ�แก่ปุพเปตชนส่งไปให้ปุพเปตชน ต้องทำ�การบวงสรวงแก่ พวกเทวดา ตอ้ งท�ำ ราชการใหแ้ ก่หลวง แมก้ ายนี้กต็ ้องเลี้ยงดู ใหอ้ ่มิ หนำ� ตอ้ งใหเ้ จรญิ ” สา. “ธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นว่าอย่างไร บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ ผิดศลี ธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบดิ า ...เพราะเหตแุ ห่งบุตรและภรยิ า ...เพราะเหตแุ หง่ ทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 139 ...เพราะเหตุแห่งมิตรและอำ�มาตย์ ...เพราะเหตแุ หง่ ญาตสิ าโลหติ ...เพราะเหตุแห่งแขก ...เพราะเหตุแหง่ ปุพเปตชน ...เพราะเหตแุ ห่งเทวดา ...เพราะเหตแุ ห่งพระราชา ...เพราะเหตุแห่งการเลย้ี งกาย ทำ�นุบ�ำ รงุ ร่างกาย นายนิรยบาลจะฉุดคร่าเขาผู้น้ันไปยังนรก เพราะเหตุ แหง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ศลี ธรรม เขาจะ ขอผอ่ นผนั ไดห้ รือวา่ เราเปน็ ผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ ผิดศลี ธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา ฯลฯ ขอนายนริ ยบาล อย่าพึงฉุดครา่ เราไปนรกเลย หรือมารดาบดิ าของผนู้ ้ัน ฯลฯ จะขอผ่อนผันไดห้ รอื วา่ ผนู้ เ้ี ปน็ ผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ศลี ธรรม เพราะเหตุ แหง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยบาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เขาไปนรกเลย” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ถึงผู้น้ันจะ คร�่ำ ครวญมากมาย นายนริ ยบาลกย็ งั โยนเขาลงในนรกจนได”้ www.webkal.org

140 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก สา. “ดูก่อนธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นว่า อย่างไร บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดศีลธรรม เพราะเหตแุ หง่ มารดาบดิ า ...เพราะเหตุแห่งบตุ รและภริยา ...เพราะเหตแุ ห่งทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ ...เพราะเหตุแห่งมิตรและอำ�มาตย์ ...เพราะเหตแุ ห่งญาติสาโลหิต ...เพราะเหตแุ หง่ แขก ...เพราะเหตุแหง่ ปพุ เปตชน ...เพราะเหตแุ ห่งเทวดา ...เพราะเหตุแหง่ พระราชา ...เพราะเหตุแหง่ การเล้ียงกาย ทำ�นุบ�ำ รงุ รา่ งกาย เปรียบกับบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูก ศลี ธรรมเพราะเหตแุ หง่ มารดาบดิ า ฯลฯ บคุ คลไหนจะประเสรฐิ กว่ากัน” ธ. “ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร ผู้ที่ประพฤติไม่ชอบ ธรรม ประพฤติผิดศีลธรรม เพราะเหตุแหง่ มารดาบดิ า ฯลฯ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 141 ไม่ประเสริฐ ส่วนผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา ฯลฯ ประเสริฐกว่า ด้วยว่าการ ประพฤตชิ อบธรรมและการประพฤตถิ กู ศลี ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤติผดิ ศีลธรรม” สา. “ธนัญชานิ การงานอย่างอ่ืนที่เป็นสัมมาอาชีวะ ประกอบดว้ ยธรรม เปน็ เครื่องให้บุคคลอาจเลย้ี งมารดาบิดาได้ ฯลฯ ไมต่ อ้ งทำ�กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏิบตั ปิ ฏิปทาอันเปน็ บญุ ได้ มีอย”ู่ ครั้งนั้นแล ธนัญชานิพราหมณ์ช่ืนชมอนุโมทนาภาษิต ของทา่ นพระสารบี ตุ รลุกจากอาสนะหลกี ไปแล้ว ต่อมา เม่ือธนัญชานิพราหมณ์ป่วยหนักใกล้ตาย มที กุ ขเวทนาแรงกลา้ ก็ไดอ้ าศยั พระสารีบุตรเป็นกัลยาณมติ ร ชกั น�ำ ใจให้เปน็ กศุ ล ได้ไปบงั เกิดในพรหมโลก ในที่สดุ เหตุที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงเป็นบุคคลอัศจรรย์ ของโลกได้ เพราะทรงสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้ ไม่รอ ความพร้อม เพราะความพร้อมจรงิ ๆ ไม่เคยมีอย่ใู นโลก ฉะนั้น เราทา่ นทั้งหลายจงรีบเร่งสร้างความดเี ถดิ ความพร้อมจะเกิด เพม่ิ ข้นึ เมือ่ เริม่ ลงมือสรา้ งความดี นั่นเอง www.webkal.org

www.webkal.org

ยอดผนู้ �ำ บุญ ทุกหมู่ชนล้วนมีผู้นำ� แต่ในบรรดาผู้นำ�ท้ังหลาย พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ สุดยอดของผู้นำ� เพราะนำ�ใน สิ่งท่ีทำ�ได้ยากท่ีสุด คือ นำ�พาสรรพสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้น บ่วงแห่งภพและการเวียนว่ายตายเกิด และทรงเป็นผู้นำ�ใน การสร้างความดีของสรรพสัตว์ ตั้งแต่เม่ือคร้ังที่ยังเป็นปุถุชน เป็นพระโพธสิ ตั ว์สรา้ งบารมีอยู ่ ในขณะที่ชาวโลกไหลไปตามกระแสกิเลส แต่พระโพธิสัตว์ ท้ังหลายทวนกระแสกิเลสเป็นตัวอย่าง เป็นผู้นำ�ในการสร้าง ความดี สรา้ งความอศั จรรย์ใจต่อผอู้ ยูร่ อบข้าง และกอ่ เกิดแรง บนั ดาลใจ ใหอ้ ยากทำ�ความดใี หไ้ ด้เช่นนั้นบา้ ง ดังน้ัน ตำ�แหน่ง “ผู้นำ�บุญ” จึงเป็นตำ�แหน่งอันทรง เกยี รตขิ องโลกและจกั รวาล เพราะเปน็ ผนู้ ำ�แหง่ ความดี ดงั เชน่ พระโพธสิ ัตว์ทง้ั หลาย เป็นผ้ทู ่จี ะเป็นหลัก เป็นกำ�ลงั ใจ และ ฉุดให้ชาวโลก พ้นจากภัยของกระแสกิเลสอันเช่ียวกราก แต่ การเปน็ ผนู้ ำ�บญุ มิไดเ้ ป็นด้วยชอื่ หากแต่เป็นด้วยการกระทำ� ภเวสิสูตร : พระสตุ ตนั ตปิฎก อังคตุ ตรนกิ าย ปญั จกนบิ าต, มมร. เล่ม ๓๖ หนา้ ๓๘๗ www.webkal.org

144 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก กระทำ�ส่ิงทดี่ ีกวา่ กระท�ำ สงิ่ ทเ่ี ปน็ แบบอย่าง กระทำ�สงิ่ ทเี่ ป็น แรงบันดาลใจ ใหค้ นรอบตวั เกิดก�ำ ลังใจในการสรา้ งความดยี ิง่ ขนึ้ ไป ดงั เช่น เรือ่ งราวของ ภเวสอี บุ าสก ยอดผ้นู ำ�บุญในสมัย พระกสั สปสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ดังนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกไปในโกศล ชนบท พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ขณะท่ีเสด็จดำ�เนินไป ตามหนทาง ไดท้ อดพระเนตรเหน็ ปา่ สาละแหง่ หนงึ่ จงึ ทรงแวะ เสด็จเข้าไปสู่ป่าสาละนั้น ครั้นเสด็จถึงแล้ว ทรงทำ�การแย้ม พระโอษฐใ์ หป้ รากฏ ครง้ั นน้ั ทา่ นพระอานนทจ์ งึ ไดท้ ลู ถามพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอาการแย้ม พระตถาคตย่อมไม่ ทรงแสดงอาการแยม้ โดยไม่มเี หตุ” พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเล่าว่า “ดูก่อนอานนท์ ในอดตี สมยั ของพระกสั สปอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ณ ประเทศ น้ีเป็นเมืองม่ังคั่ง กว้างขวาง มีชนมาก มีมนุษย์หนาแน่น ในพระนครน้ัน มีอุบาสกนามว่า ภเวสี เป็นผู้ยังไม่บริบูรณ์ ในศลี (รกั ษาศลี ๕ ไมส่ ม�ำ่ เสมอ) แมอ้ บุ าสกประมาณ ๕๐๐ คน ในกลมุ่ ทีภ่ เวสอี ุบาสกชวนเขา้ วดั กเ็ ป็นผยู้ งั ไมบ่ รบิ รู ณ์ในศีล www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 145 วนั หนงึ่ ภเวสอี บุ าสกไดค้ ดิ วา่ “กเ็ ราเปน็ ผมู้ อี ปุ การะมาก เป็นหัวหนา้ ชักชวนอบุ าสกประมาณ ๕๐๐ คนเหล่านี้ และเรา กเ็ ปน็ ผู้ยงั ไม่บริบรู ณใ์ นศีล แม้อบุ าสกประมาณ ๕๐๐ เหล่านี้ กเ็ ปน็ ผยู้ งั ไมบ่ รบิ รู ณใ์ นศลี ตา่ งคนตา่ งกเ็ ทา่ ๆ กนั ไมย่ งิ่ ไปกวา่ กนั เอาเถอะ เราควรปฏิบตั ิให้ย่งิ กว่า” ดังนนั้ ภเวสีอบุ าสกไดเ้ ข้าไปหาอบุ าสกประมาณ ๕๐๐ เหลา่ นน้ั แล้วไดก้ ล่าววา่ “ดกู ่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ตง้ั แต่ วนั นไ้ี ป ขอทา่ นทงั้ หลาย จงจ�ำ เราไวว้ า่ เปน็ ผกู้ ระท�ำ ใหบ้ รบิ รู ณ์ ในศลี ” ฝ่ายอุบาสกประมาณ ๕๐๐ เหลา่ นน้ั ได้คิดวา่ “ภเวสี อุบาสกผู้เป็นเจา้ เป็นผู้มอี ปุ การะมาก เปน็ หัวหน้า ชกั ชวนเรา ท้ังหลาย หากภเวสีอุบาสก จักเป็นผู้กระทำ�ให้บริบูรณ์ในศีล กไ็ ฉนเราทัง้ หลายจะทำ�ใหบ้ ริบรู ณ์ในศีลไม่ได้เล่า” ดังนนั้ อุบาสกประมาณ ๕๐๐ เหลา่ นัน้ ได้เขา้ ไปหา ภเวสอี บุ าสกแลว้ กลา่ ววา่ “ตงั้ แตว่ นั นไ้ี ป ขอภเวสอี บุ าสก จงจ�ำ อบุ าสก ๕๐๐ แม้เหล่านีว้ ่า เปน็ ผกู้ ระท�ำ ใหบ้ ริบูรณใ์ นศลี ” ตอ่ มา ภเวสอี บุ าสกไดค้ ดิ วา่ “กเ็ ราแลเปน็ ผมู้ อี ปุ การะมาก เปน็ หัวหน้าชักชวนอบุ าสกประมาณ ๕๐๐ เหลา่ น้ี และเราก็ เปน็ ผกู้ ระท�ำ ใหบ้ รบิ รู ณใ์ นศลี แมอ้ บุ าสกประมาณ ๕๐๐ เหลา่ นี้ www.webkal.org

146 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก กเ็ ป็นผกู้ ระทำ�ใหบ้ รบิ ูรณ์ในศลี ตา่ งคนตา่ งก็เท่า ๆ กัน ไม่ยงิ่ ไปกวา่ กนั เอาเถอะ เราควรปฏิบตั ิให้ยิง่ กว่า” ดงั นั้น ภเวสีอบุ าสกไดเ้ ข้าไปหาอุบาสกประมาณ ๕๐๐ เหล่านนั้ แลว้ กลา่ วว่า “ดูก่อนท่านผมู้ ีอายุท้งั หลาย ตง้ั แต่วนั น้ี ไป ขอทา่ นทัง้ หลาย จงจำ�เราไว้วา่ เป็นผ้ปู ระพฤติพรหมจรรย์ ประพฤตเิ วน้ ไกลจากเมถนุ อันเปน็ ธรรมของชาวบ้าน ครั้งน้ัน อุบาสกประมาณ ๕๐๐ เหล่านั้นได้คิดว่า “ภเวสีอุบาสก เปน็ ผู้มีอุปการะมาก เป็นหวั หน้า ชักชวนเราท้งั หลาย หากภเวสีอบุ าสก จกั ประพฤตพิ รหมจรรย์ ประพฤติเว้น ไกลจากเมถนุ อนั เปน็ ธรรมของชาวบ้านได้ กไ็ ฉนเราทัง้ หลาย จักเป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติเว้นไกลจากเมถุนอัน เปน็ ธรรมของชาวบา้ นไม่ได้เล่า” ดังนน้ั อุบาสกประมาณ ๕๐๐ เหล่านน้ั ไดเ้ ข้าไปหา ภเวสีอบุ าสกแล้วกลา่ ววา่ ตงั้ แตว่ นั นีไ้ ป ขอภเวสีอบุ าสก จงจำ� อบุ าสก ๕๐๐ แมเ้ หลา่ นวี้ า่ เปน็ ผปู้ ระพฤตพิ รหมจรรย์ ประพฤติ เว้นไกลจากเมถนุ อนั เป็นธรรมของชาวบา้ น ดว้ ยอาการเชน่ นี้ ภเวสอี บุ าสก และอบุ าสกประมาณ ๕๐๐ ได้เพิ่มวัตรปฏิบัติในการฝึกฝนความดีของตนๆ ดังนี้ คอื เปน็ ผบู้ รโิ ภคอาหารมอ้ื เดยี ว เวน้ การบรโิ ภคในราตรี งดเวน้ การบริโภคอาหารในเวลาวิกาล www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 147 และตอ่ มา ไดบ้ รรพชาอปุ สมบทในส�ำ นกั ของพระกสั สป อรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา้ แลว้ ได้หลกี ออกจากหมู่อยู่ผูเ้ ดยี วไม่ ประมาท มีความเพยี ร มีใจเดด็ เด่ยี ว ไมน่ านนัก กท็ ำ�ให้แจง้ ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเย่ียม ภเวสีภิกษุ และภิกษุ ประมาณ ๕๐๐ เหลา่ นน้ั ไดบ้ รรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ตท์ งั้ หมด ภกิ ษปุ ระมาณ ๕๐๐ เหลา่ นัน้ มภี เวสภี ิกษุเป็นประมขุ พยายามบำ�เพ็ญธรรมทีส่ ูงๆ ขนึ้ ไป ประณีตขึน้ ไป ได้ทำ�ให้แจ้ง ซง่ึ วมิ ุตติอนั เปน็ ธรรมชน้ั เยีย่ ม ดว้ ยประการฉะนี้ ดูก่อนอานนท์ เพราะฉะนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษา อย่างนี้ว่า เราท้ังหลายจักพยายามบำ�เพ็ญธรรมที่สูงๆ ข้ึนไป ประณีตข้ึนไป จักทำ�ให้แจ้งซึ่งวิมุตติอันเป็นธรรมช้ันเยี่ยม ดงั นีแ้ ล” ภเวสีอุบาสก เป็นตัวอย่างท่ีดีเยี่ยมของผู้นำ�บุญ ในฐานะแหง่ ความเปน็ ผนู้ �ำ หมายถงึ ตอ้ งเปน็ เลศิ กวา่ ในทางคณุ ความดี พยายามพฒั นาความดขี องตนเปน็ แบบอยา่ งแกผ่ อู้ นื่ ใน หมู่ และอบุ าสกประมาณ ๕๐๐ กเ็ ปน็ ตวั อยา่ งอนั เยย่ี มของผตู้ าม ที่ทำ�ความดีตามอย่างไม่ลดละ ตามติด ติดตามไปตลอดเส้น ทางแหง่ ความดี และนคี่ อื แบบอยา่ งอนั ยอดเยย่ี มของหมคู่ ณะ นักสร้างบารมี ทีเ่ ทา่ เทียมทนั กนั ทง้ั ทีม www.webkal.org

www.webkal.org

ผเู้ ป็นใหญใ่ นทรัพย์ คณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ทา่ น สอนว่า “มีน้ำ�ต้องใช้นำ้�ให้เป็น ใช้ไม่เป็นก็เป็นขี้ข้าน้ำ� มีไฟ ตอ้ งใชไ้ ฟใหเ้ ปน็ ใชไ้ มเ่ ปน็ กเ็ ปน็ ขขี้ า้ ไฟ มเี งนิ กต็ อ้ งใชเ้ งนิ ใหเ้ ปน็ ใช้ไม่เป็นก็เป็นข้ีข้าเงิน เมื่อหามาได้ ต้องรู้จักใช้ของให้เป็น ใช้ไมเ่ ป็น กเ็ ป็นขข้ี า้ ของเหลา่ น้นั ทั้งชาต”ิ เพยี งการหาทรพั ย์ และการดแู ลรกั ษา กน็ �ำ ความล�ำ บาก มาใหไ้ มน่ อ้ ยแลว้ หากจะต้องทุกข์เพราะการใช้ ก็คงต้องเป็น ขขี้ า้ ทรพั ยท์ ง้ั ชาตอิ ยา่ งหนไี มพ่ น้ ทำ�อยา่ งไรเลา่ เราจงึ จะ “เปน็ ใหญใ่ นทรพั ย”์ นนั้ คอื ไดป้ ระโยชนส์ ขุ จากทรพั ยน์ นั้ อยา่ งเตม็ ท่ี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้สอยทรัพย์ แต่ไม่ติดใน ทรพั ย์ เหมอื นบวั ทอ่ี าศยั เกดิ ในน�ำ้ แตไ่ มต่ ดิ ในน�ำ้ ดงั ใน อทุ ายี เถรคาถา วา่ “พระพทุ ธเจา้ นนั้ บรโิ ภคของอนั หาโทษมไิ ด้ ไมบ่ รโิ ภค ของท่ีมีโทษ ได้อาหารและเคร่ืองนุ่งห่มแล้ว ก็ไม่ส่ังสมไว้ อุทายีเถรคาถา : พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา, มมร. เลม่ ๕๒ หน้า ๕๐๖ www.webkal.org

150 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ตดั เครอื่ งเกาะเกยี่ วผกู พนั นอ้ ยใหญท่ ง้ั สน้ิ ไมม่ คี วามหว่ งใยเลย เทยี่ วไปในทที่ กุ แหง่ เปรยี บเหมอื นดอกบวั ขาบ มกี ลน่ิ หอมหวาน ชวนให้ร่ืนรมย์ เกิดในน้ำ� เจริญในน้ำ� ย่อมไม่ติดอยู่ด้วยนำ้� ฉันใด พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ อุบตั แิ ลว้ ในโลก อยใู่ นโลก ไม่ตดิ อยู่ ดว้ ยโลก เหมือนดอกปทมุ ไม่ตดิ อยู่ดว้ ยนำ้� ฉนั นั้น” นอกจากน้ันทรงสอนให้เปลี่ยนโภคทรัพย์ท่ีมี ให้เป็น ทรัพยท์ ี่แทจ้ รงิ ทสี่ ามารถตดิ ตามไปอำ�นวยประโยชนส์ ขุ แกเ่ รา ผู้เป็นเจ้าของได้แม้ข้ามชาติ โดยการฝังทรัพย์น้ันไว้ด้วย การสรา้ งบญุ ดังนี้ พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ทรงสอนคฤหบดีอบุ าสก ในเมือง สาวตั ถีว่า “บรุ ษุ ยอ่ มฝงั ขมุ ทรพั ยไ์ วใ้ นน�ำ้ ลกึ ดว้ ยคดิ วา่ เมอ่ื กจิ ท่ี จ�ำ เป็นเกดิ ขึ้น ทรพั ย์นจี้ ักเป็นประโยชนแ์ ก่เรา เพือ่ เปลอื้ งตน จากราชภยั บา้ ง เพ่ือช่วยตนให้พ้นจากโจรภยั บา้ ง เพ่อื เปลื้อง หนบ้ี ้าง ในคราวทพุ ภิกขภัยบา้ ง ในคราวคบั ขนั บ้าง ขุมทรพั ย์ ทเ่ี ขาฝงั ไวใ้ นโลก ก็เพื่อประโยชนน์ ้แี ล ขมุ ทรพั ยน์ ัน้ ยอ่ มหาส�ำ เร็จประโยชนแ์ กเ่ ขาไปทง้ั หมด ในกาลทกุ เมอื่ ทเี ดยี วไม่ เพราะขมุ ทรพั ยเ์ คลอ่ื นจากทไี่ ปเสยี บา้ ง นธิ กิ ณั ฑ์ : พระสุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ขุททกปาฐะ, มมร. เล่ม ๓๙ หนา้ ๓๐๒ www.webkal.org