Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Published by WATKAO, 2021-01-25 07:59:03

Description: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Keywords: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 201 อริยสัจ ๔ เปน็ ไฉน คอื ทกุ ขอรยิ สัจ ทกุ ขสมทุ ัยอรยิ สัจ ทุกขนิโรธอรยิ สัจ และทุกขนิโรธคามินปี ฏปิ ทาอรยิ สจั ดกู ่อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย เพราะฉะนั้นแหละ เธอทงั้ หลาย พึงกระทำ�ความเพียร เพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่าน้ีทุกข์ ฯลฯ นี้ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทา” สรปุ ไดว้ า่ การปฏบิ ตั ธิ รรม เปน็ กจิ ทตี่ อ้ งท�ำ อยา่ งรบี ดว่ น ทส่ี ุด ด่วนกว่าการดบั ไฟทก่ี �ำ ลังไหมบ้ นศีรษะ เพราะความทุกข์ เผ็ดรอ้ นของภัยใดๆ ในโลกนี้เปน็ เพยี งชั่วคราว เทียบไม่ไดเ้ ลย กบั ภยั ในวฏั ฏะที่ทกุ ข์แสนสาหสั อย่างไมม่ ีสนิ้ สดุ การปฏบิ ตั ธิ รรม เปน็ กจิ ทจี่ �ำ เปน็ ตอ้ งท�ำ แมต้ อ้ งแลกดว้ ย ความทุกข์ทรมานแสนสาหัส จากความเจ็บปวดท่ีย่ิงกว่าตาย เพราะหากเข้าถึงพระธรรมกาย ทำ�พระนิพพานให้แจ้งได้ ความทุกข์เจ็บปวดน้ีเป็นเพียง การลงทุนเล็กน้อย เม่ือเทียบ กับผลกำ�ไร คือการพ้นจากทุกข์ภัยในวัฏฏะอย่างถาวร และ บรมสขุ ท่ีไดร้ ับ www.webkal.org

www.webkal.org

ปล่อยทุกอยา่ ง วางทกุ สงิ่ “ท�ำ อยา่ งไรใจจงึ จะหยดุ นงิ่ ?” ค�ำ ถามนค้ี งอยใู่ นใจของ นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทกุ คน เพราะเวลาปฏบิ ตั ธิ รรม ใจของเรามกั ชอบ วง่ิ ไปในอารมณต์ า่ งๆ ทค่ี นุ้ เคย และยดึ ตดิ อยใู่ นอารมณน์ นั้ ท�ำ ให้ ใจเศรา้ หมองไมผ่ อ่ งใส เกดิ ความกงั วลและความทกุ ขต์ ามมาไม่ จบสนิ้ แตถ่ า้ เราตอ้ งการแกไ้ ขกต็ อ้ งรจู้ กั ปลอ่ ยวางจากสง่ิ ตา่ งๆ ทเ่ี รายดึ ติด แล้วอยกู่ ับปจั จบุ นั ที่เราเป็น ใจก็จะเริ่มเบาสบาย คลายจากความยดึ ม่นั ท่มี ีอยู่ เรอ่ื งของการปลอ่ ยวางนนั้ เปน็ เรอ่ื งส�ำ คญั ทพี่ ระพทุ ธองค์ ทรงเน้นย�้ำ อยู่เสมอ และไม่เพียงสอนให้ปล่อยวางในสิ่งที่เป็น บาปอกุศลเท่าน้ัน แม้ธรรมะท่ีพระองค์สั่งสอนก็ไม่ให้ยึดติด เพราะธรรมเหล่าน้ัน เป็นเพียงอุปกรณ์ท่ีใช้กล่อมเกลาใจของ ผฟู้ งั ใหอ้ อ่ นโยน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเลอื่ มใสศรทั ธาจนมแี รงบนั ดาล ใจทจ่ี ะปฏบิ ตั ธิ รรมดว้ ยตนเอง แตเ่ มอ่ื เรมิ่ ปฏบิ ตั แิ ลว้ กไ็ มจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งยดึ มน่ั ในค�ำ สอนตอ่ ไป ใหท้ �ำ ใจหยดุ นง่ิ เปน็ หนง่ึ เดยี วเทา่ นน้ั ในเรอื่ งนพี้ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตรสั ยนื ยนั เอาไวใ้ น อลคทั ทปู มสูตร : พระสุตตันตปฎิ ก มชั ฌิมนิกาย มลู ปณั ณาสก,์ มมร. เลม่ ๑๘ หน้า ๒๗๙ www.webkal.org

204 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก อลคัททูปมสูตร โดยเปรียบเทียบคำ�สั่งสอนของพระองค์ เหมอื นแพทใ่ี ชข้ า้ มฟาก เมอื่ ถงึ ฝ่งั แล้วกไ็ มจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งแบกแพ ไปดว้ ย แพเปน็ เพยี งอปุ กรณใ์ นการน�ำ พาเราไปถงึ ฝง่ั ทตี่ อ้ งการ เท่านนั้ ดงั มีใจความโดยสรปุ ว่า... “ดกู ่อนภกิ ษุทงั้ หลาย บุรษุ คนหนึ่งเดินทางไกลมาพบ แม่นำ้�ขวางหน้า แต่ฝั่งนี้มีอันตราย ส่วนฝั่งโน้นเป็นที่สบาย ปลอดภัย เรอื หรอื สะพานจะข้ามฝ่ังก็ไมม่ ี บุรุษหนุ่มนั้นคิดว่า จะอยชู่ า้ ไมไ่ ด้แล้วเพราะมีอนั ตรายรออยู่ เขาจงึ รวบรวมก่ิงไม้ และใบไมม้ าผกู เปน็ แพ แลว้ พยายามถอ่ แพไปจนถงึ ฝงั่ ตรงขา้ ม โดยปลอดภัย หลงั จากนั้น เขาจึงคดิ ว่าแพนี้มปี ระโยชนแ์ กเ่ ขา มาก พาเขาขา้ มฝงั่ พน้ อนั ตรายมาได้ อยา่ กระน้ันเลย เราแบก แพนีข้ ้ึนทนู หวั ไปดว้ ยดกี วา่ แล้วเขาก็เอาแพน้นั ทนู หัวเดินไป ภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกเธอคดิ วา่ บรุ ษุ นนั้ ท�ำ ถกู ตอ้ งหรอื ไม”่ ภิกษทุ ้งั หลายกราบทลู ว่า “ไม่ถูกต้อง พระเจ้าข้า ความจริงบุรุษน้ันควรผูกแพ ไว้ที่ริมฝั่ง หรือยกแพข้ึนมาเกยบนบก แล้วจึงเดินทางต่อไป เพราะหมดความจำ�เป็นที่จะต้องอาศัยแพอีกแล้ว” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 205 พระพทุ ธองคต์ รัสว่า “เช่นเดียวกันภิกษุท้ังหลาย เราแสดงธรรมเพื่อเป็น อปุ กรณ์ใหป้ ฏบิ ตั เิ พ่อื ออกจากทกุ ข์ ดุจแพน�ำ ไปสฝู่ ่งั ไมใ่ ช่เพ่ือ ให้ยึดม่ันถือมั่น แม้ธรรมะเรายังสอนให้ละวาง ไม่ต้องพูดถึง อธรรมเลย” เม่ืออ่านพระสูตรนี้จบลง ใครท่ีเป็นนักปฏิบัติธรรม ตัวจริงก็คงจะซาบซ้ึงดีอยู่แล้ว เพราะใจจะหยุดน่ิงได้ต้อง ปราศจากความยดึ มนั่ ถอื มนั่ ทง้ั ในบาปอกศุ ลหรอื แมแ้ ตธ่ รรมะท่ี ไดเ้ คยศกึ ษาเลา่ เรยี นมา ตอ้ งทำ�ใจใหว้ า่ งเปลา่ “ปลอ่ ยทกุ อยา่ ง วางทุกส่ิง” ให้ได้จริงๆ ใจถึงจะหยุดน่ิงดิ่งเข้าสู่ความสะอาด บรสิ ุทธภ์ิ ายในได้ www.webkal.org

www.webkal.org

ความต่อเน่ือง การปฏิบัติธรรมเป็นสิ่งที่ใครๆ ก็ปฏิบัติกันได้ง่ายๆ แต่น้อยคนนักที่จะประสบความสำ�เร็จ ตัวแปรสำ�คัญอย่าง หน่งึ ทที่ �ำ ใหน้ กั ปฏิบตั ิธรรมประสบความส�ำ เร็จหรือลม้ เหลวก็ คือ “ความต่อเน่ือง” เพราะคนส่วนมากมักละความเพียรไป กลางคัน บ้างก็บอกว่าไม่มีเวลา บ้างก็มีภาระหรืออ่อนเพลีย จากการทำ�งาน เป็นต้น คนเหล่าน้ีแม้จะรักและต้องการเข้า ถึงธรรมเพยี งใด ก็ยอ่ มไปไม่ถึงจดุ หมายปลายทาง ทั้งๆ ทีใ่ จ ก็รักท่ีจะเข้าถึงธรรมะภายใน และธรรมะภายในก็มีอยู่แล้วใน ตวั ของมนุษย์ทกุ คน แต่เพราะไม่ไดท้ ำ�อยา่ งตอ่ เนือ่ งนเี้ อง จึง ทำ�ใหค้ วามรกั ในธรรมะต้องกลายเปน็ หมันไปในท่ีสุด ความต่อ เนอ่ื งจงึ มคี วามสำ�คญั และมผี ลตอ่ การเขา้ ถงึ ธรรมะภายใน ดงั โอวาททพี่ ระพทุ ธองค์ตรัสไว้วา่ “ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอ่ื ภกิ ษไุ มห่ มนั่ เจรญิ ภาวนา แม้ จะพึงปรารถนาใหจ้ ิตหลุดพ้นจากกเิ ลสอาสวะกจ็ ริง แต่จิตกไ็ ม่ สามารถหลดุ พน้ ได้ เหมอื นแมไ่ กม่ ไี ข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง ๑๒ ฟอง ภาวนาสตู ร : พระสุตตันตปิฎก อังคตุ ตรนกิ าย สัตตกนบิ าต, มมร. เล่ม ๓๗ หนา้ ๒๕๒ www.webkal.org

208 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เมอ่ื แมไ่ กก่ กไขไ่ มด่ ี ใหค้ วามอบอุ่นไมเ่ พยี งพอ ฟกั กไ็ มด่ ี แมแ้ ม่ ไกจ่ ะปรารถนาให้ลูกเจาะกระเปาะไขอ่ อกมากท็ �ำ ไมไ่ ด้ เมื่อภกิ ษหุ ม่ันเจรญิ ภาวนา แมไ้ มพ่ งึ ปรารถนาขอให้จติ หลดุ พน้ กจ็ รงิ แตจ่ ติ กห็ ลดุ พน้ เหมอื นแมไ่ กม่ ไี ข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง ๑๒ ฟอง เม่ือแมไ่ กก่ กดี ให้ความอบอุ่นเพยี งพอ ฟักดี แมแ้ ม่ ไก่จะไมป่ รารถนาให้ลูกไก่เจาะกระเปาะไข่ออกมา ลกู ไก่กอ็ อก มาไดโ้ ดยสวัสดี เปรยี บเหมอื นรอยนว้ิ มอื ทด่ี า้ มมดี ยอ่ มเกดิ แกน่ ายชา่ งไม้ แต่เขาไม่รู้อย่างน้ีว่า วันน้ีด้ามมีดของเราสึกไปเท่าน้ีเม่ือวาน สึกไปเท่าน้ี เม่ือวานซืนสึกไปเท่านี้ แต่ที่จริงเมื่ออาสวะ ส้ินไป ภกิ ษนุ ัน้ ก็รวู้ า่ ส้นิ ไป หรอื เปรยี บเหมอื นเรอื เดนิ สมทุ รทเ่ี ขาผกู หวายขนั ชะเนาะ แล้วแล่นไปตลอด ๖ เดือน ถึงฤดูหนาวก็เข็นข้ึนบก เคร่ืองผูกประจำ�เรือตากลมและแดดไว้ เครื่องผูกเหล่าน้ันถูก ฝนชะ ย่อมชำ�รุดเสียหาย เป็นของเป่ือยไปโดยไม่ยากฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย... เม่ือภิกษุนั้นหมั่นเจริญภาวนาอยู่ สังโยชนย์ ่อมระงบั ไปโดยไมย่ าก ฉันนัน้ ” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 209 จากพระสูตรน้ี จะเห็นว่า การปฏิบัติท่ีไม่ต่อเนื่อง แม้มีความปรารถนาที่จะเข้าถึงธรรมมากเพียงใด ก็ไม่อาจจะ สมหวังได้ นักปฏิบัติธรรมที่ต้องการไปถึงจุดหมายปลายทาง จึงต้องหมั่นประกอบเหตไุ ปเรอื่ ยๆ อย่างต่อเนอื่ ง แลว้ ผลกจ็ ะ เกิดขน้ึ โดยไมย่ ากนกั อยา่ มวั แตร่ อโอกาสหรือบน่ เพ้อรำ�พันว่า เม่ือไหร่หนอจะถึงจุดหมายเสียที ให้ท�ำ ตนเหมือนนักเดินทาง ผูช้ าญฉลาด เมือ่ ก�ำ หนดทิศทางที่แนน่ อนแล้ว ก็ต้งั หนา้ ต้ังตา เดนิ ทางโดยไมส่ นใจขา้ งทาง หรอื อปุ สรรคความยากล�ำ บาก ไม่ นานก็จะร้สู กึ แปลกใจว่า “เอะ๊ ! ถงึ ทีห่ มายเสยี แล้วหรอื นี่” www.webkal.org

www.webkal.org

ความพอดี ความพอดี เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะเป็นเรื่อง ละเอียดอ่อน ต้องอาศัยความช่างสังเกตและความพิถีพิถัน เพื่อให้เกิดความลงตัวในส่ิงที่กำ�ลังกระทำ�อยู่ ยกตัวอย่างเช่น ช่างตัดเส้ือ ถ้าตัดเสื้อออกมาไม่พอดี เวลาใส่จะรู้สึกไม่สบาย ตัว แตถ่ ้าชา่ งคนไหนตัดเสือ้ ออกมาพอดี นอกจากจะใสส่ บาย แลว้ ยังดูสมสว่ นสวยงามรับกับรปู ร่างอีกดว้ ย ความพอดีนี้จึงต้องมีอยู่ในทุกๆเร่ือง โดยเฉพาะ เร่ืองการปฏิบัติธรรม ยิ่งต้องอาศัยความพอดีเป็นอย่างมาก เพราะตอ้ งปฏิบัติแบบไมต่ งึ เกนิ ไป ไมห่ ย่อนเกินไป ดำ�เนินอยู่ บนเส้นทางสายกลาง ถ้าทำ�ไม่ถูกสว่ น ไมพ่ อดี ก็อาจทำ�ให้เกิด ทกุ ข์เกิดโทษได้ ดงั เร่อื งราวต่อไปน้ี ในสมัยพุทธกาล... มีภิกษุรูปหนึ่งชื่อว่า “พระโสณโกฬิวิสะ” เปน็ บตุ รมหาเศรษฐที ่ีมีความสะดวกสบายมาก ท่านมีลักษณะ พเิ ศษ คอื ฝา่ เทา้ ออ่ นนมุ่ มากมขี นออ่ นๆ ทว่ั ฝา่ เทา้ ในภายหลงั ทา่ นไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ “เปน็ ภกิ ษผุ เู้ ลศิ ดา้ นการท�ำ ความเพยี ร” โสณสูตร : พระสตุ ตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย ฉกั กนิบาต, มมร. เล่ม ๓๖ หน้า ๗๐๖ www.webkal.org

212 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก แต่ในช่วงต้น ท่านทำ�ความเพียรจัดเกินไป จึงทำ�ให้ร่างกาย บอบชำ้� ไมส่ ามารถบรรลุธรรมได้ การปฏิบตั ขิ องท่านน้ันวา่ กนั ว่า ถึงขั้นเลอื ดตกยางออกกันทีเดยี ว มีเรื่องเล่าว่า ในช่วงต้นท่านได้ทำ�ความเพียรท้ัง กลางวันและกลางคืน เป็นเหตุให้ตัวท่านเกิดความง่วงเป็น อย่างมาก แม้ความง่วงเกิดขึ้นท่านก็ยังไม่ยอมคลาย ความเพียร ท่านจึงเปลี่ยนจากการน่ังสมาธิ มาเป็นการ เดินจงกรม เม่ือท่านเดินบนลานจงกรมมากเข้า เท้าท่ี อ่อนนุ่มของท่านจึงแตก แม้เท้าของท่านจะแตกจนเดิน ไม่ได้ แต่ท่านก็ยังไม่ละความเพียร ท่านยังคงเดินต่อไป ด้วยเข่า และในท่ีสุดก็ต้องคลาน ท่านคลานไปด้วยอก จนเน้ือตัวถลอกปอกเปลือก ทำ�ให้ลานจงกรมเปรอะเป้ือนไป ด้วยเลือดของท่าน เมอ่ื เปน็ เช่นน้นั ทา่ นจงึ คิดว่า “เราคงไม่มีบุญวาสนา ท่ีจะบรรลุธรรมเป็นแน่ เพราะขนาดเราทำ�ความเพียรถึงขนาดน้ีแล้ว ก็ยังไม่บรรลุ ธรรมเลย” ท่านจึงเกิดความท้อใจ คิดท่ีจะสึกไปเป็นคฤหัสถ์ ในคร้ังน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบด้วยญาณทัสสนะ จึงเสด็จมาเป็นกัลยาณมิตรให้กบั พระโสณะ เมอื่ พระพุทธองค์ เสด็จมาถงึ จึงตรสั ถามวา่ “โสณะ เธอคดิ ว่า ในบรรดาสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 213 ท่ีปรารภความเพียร เราก็เป็นรูปหน่ึงท่ีมีความเพียรเป็นอย่าง ยง่ิ แตไ่ ฉนจติ ของเราจงึ ยงั ไมห่ ลดุ พน้ สกั ที ควรทเ่ี ราจะกลบั ไป ใช้ชีวิตเช่นคฤหัสถ์ แล้วนำ�ทรัพย์สมบัติที่มีอยู่มาทำ�บุญดีกว่า ใช่หรือไม”่ “ใช่ พระพทุ ธเจา้ ขา้ ” พระโสณโกฬวิ สิ ะยอมรับ “โสณะ สมัยที่เธอยังอยู่ครองเรือน เธอเป็นผู้ เชี่ยวชาญในการดดี พิณมใิ ช่หรือ?” “ใช่ พระพทุ ธเจา้ ขา้ ” “เวลาสายพณิ ของเธอตึงเกนิ ไป เสยี งพิณของเธอใช้ ไดม้ ัย้ ” “ใชไ้ มไ่ ด้ พระพทุ ธเจ้าข้า” “เวลาสายพณิ ของเธอหย่อนเกินไป เสียงพณิ ของเธอ ใช้ได้มัย้ ” “ใช้ไม่ได้ พระพทุ ธเจ้าข้า” “และถ้าสายพิณของเธอไม่ตึงไม่หย่อน อยู่ในระดับ พอดี เสยี งพิณของเธอใชไ้ ดม้ ย้ั ” “ใช้ได้ พระพทุ ธเจ้าขา้ ” www.webkal.org

214 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก “การปฏิบัติธรรมกเ็ ชน่ เดียวกนั โสณะ ความเพียรที่ เน้นหนักเกินไปมักท�ำ ให้จิตฟุ้งซ่าน แต่ถ้าหย่อนเกินไปก็ท�ำ ให้ เกดิ ความเกยี จคร้าน เธอต้องปรับความเพียรในการปฏิบตั ิของ เธอให้พอดี ปรบั อินทรียใ์ หเ้ สมอกัน” พระโสณะเมอ่ื รบั ฟงั พระโอวาทจากพระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้ ก็ต้ังใจปฏิบัติตามน้ัน ไม่นานก็ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ ในทีส่ ุด ความเพียรพยายามนำ�มาซึ่งความสำ�เร็จก็จริง แต่ถ้า เรง่ เพียรพยายามมากเกนิ ก�ำ ลงั ไป ไม่พอดี กไ็ ม่อาจที่จะบรรลุ วัตถุประสงค์ ตรงกนั ขา้ มกลับสง่ ผลเปน็ อนั ตรายตอ่ การปฏิบตั ิ ได้ ความเพียรนั้นควรดำ�เนินไปอย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง เหมือนรถท่ีวิ่งไปในระดับความเร็วพอดีๆ ไม่ซัดส่าย ว่ิงไป เร่ือยๆ ในท่สี ดุ ก็จะถงึ จดุ หมายปลายทางโดยสวสั ดภิ าพเอง www.webkal.org

ปัจจบุ นั ส�ำ คัญทส่ี ุด “เวลา” เป็นสิ่งท่ีมีค่ามาก เพราะเมื่อมันผ่านไปแล้ว จะไม่มีวันหวนกลับคืน แตค่ นเรามกั จะใชเ้ วลาให้หมดไปกับสง่ิ ทไ่ี ร้สาระ บ้างก็มัวแตน่ กึ ถึงอดตี ทผ่ี า่ นเลยไปแล้ว หรอื ฟุ้งฝนั ถงึ อนาคตที่ยังมาไม่ถงึ ปล่อยใหว้ ันเวลาผ่านไปอยา่ งไร้คณุ ค่า เราควรให้ความสำ�คัญและใช้ประโยชน์ จากวันเวลาที่ผ่านไป ใหม้ ากทีส่ ุด จะไดไ้ มต่ ้องมาเสยี ดายในภายหลงั วา่ “รอู้ ย่างน้ี นา่ จะท�ำ อยา่ งนนั้ ...นา่ จะทำ�อยา่ งน”ี้ โดยเฉพาะเวลาในปจั จบุ นั เปน็ ชว่ งเวลาทเ่ี ราตอ้ งใหค้ วามสำ�คญั มากทสี่ ดุ เพราะเปน็ เวลา ที่เราจับต้องได้ สามารถกำ�หนดชะตาชีวติ เราได้ ในเรือ่ งนีพ้ ระ สัมมาสัมพุทธเจ้าท่านได้ตรัสยืนยันไว้ใน ภัทเทกรัตตสูตร มีใจความว่า... “ปจั จบุ นั เปน็ สงิ่ ทสี่ �ำ คญั ทส่ี ดุ เพราะอดตี ไดผ้ า่ นไปแลว้ อนาคตยงั มาไมถ่ ึง ท้งั อดตี และอนาคตจึงเป็นส่งิ ท่ีไมค่ วรสนใจ ส่ิงทคี่ วรใหค้ วามสนใจคอื ปจั จบุ นั ทน่ี ่ี และเดี๋ยวน้”ี และตรัสอีกว่า “บุคคลไม่ควรคิดถึงสิ่งท่ีล่วงไปแล้ว ภทั เทกรตั ตสูตร : พระสุตตันตปิฎก มชั ฌมิ นิกาย อุปริปัณณาสก์, มมร. เลม่ ๒๓ หน้า ๒๑๐ www.webkal.org

216 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ไม่ควรมุ่งหวังในส่ิงที่ยังมาไม่ถึง บุคคลใดเห็นแจ้งในปัจจุบัน ธรรม ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนในธรรมนั้นๆ ผู้น้ันควรเจริญ ธรรมนน้ั เนอื งๆ ควรท�ำ ความเพยี รเสยี ในวนั นี้ เดย๋ี วนี้ ไมม่ ใี คร รู้ว่าความตายจะมีในวันพรุ่งนี้หรือไม่ เพราะการผัดเพี้ยนกับ ความตาย ไมม่ ีใครท�ำ ได้ ผู้รู้ ผสู้ งบ ยอ่ มเรียกผู้ทมี่ คี วามเพียร ไมเ่ กยี จครา้ นทง้ั กลางวนั และกลางคนื วา่ ‘ผมู้ รี าตรเี ดยี วเจรญิ ’ ” เม่อื เรารูแ้ ลว้ วา่ เวลาในปจั จุบันส�ำ คัญที่สุด เราก็ควร มีสติอยู่กับปจั จบุ นั เพราะถ้าเราท�ำ ปัจจบุ ันให้ดี เม่อื เวลาผ่าน ไปมันจะกลายเป็นอดีตท่ีน่าจดจำ� และยังเป็นรากฐานไปสู่ อนาคตท่ีเจริญรุ่งเรืองในภายภาคหน้าอีกด้วย โดยเฉพาะใน เรื่องการปฏิบัติธรรม ยิ่งต้องให้ความสำ�คัญกับปัจจุบันขณะ เพราะเปน็ การเจรญิ สตใิ หอ้ ยู่กบั ปัจจบุ ันโดยตรง ไม่ส่งจติ เทย่ี ว ไปภายนอก มใี จตั้งมั่นในอารมณเ์ ดียว ถ้าท�ำ ได้ เด๋ยี วกจ็ ะพบ ทพ่ี ึง่ ภายใน ทีอ่ ยูใ่ นใจของเราเอง www.webkal.org

ต้องรักษาใจ “ใจ” มธี รรมชาตทิ อ่ี อ่ นไหว ปรวนแปรและลอ่ งลอยไป ในทกุ ๆ ท่ีได้ง่ายแสนงา่ ย แมแ้ ตช่ ่วงเวลาเพียงเลก็ น้อย ใจ...ก็ อาจจะล่องลอยไปไกลจนตามไม่ทัน ผ้ทู ี่ไม่ระวงั รักษาใจ ปลอ่ ย ใหฟ้ งุ้ ซา่ นไปในอารมณต์ า่ งๆ จงึ มชี วี ติ ทสี่ บั สนวนุ่ วาย อาจเปน็ อันตรายทงั้ ตอ่ ตนเองและผู้อ่นื ได้ พระบรมศาสดาได้ตรสั สอนเรือ่ งนี้ โดยตรัสเลา่ ถงึ ภกิ ษุ หนมุ่ รปู หนง่ึ ผเู้ คยมชี วี ติ ทลี่ อ่ แหลมตอ่ เพศพรหมจรรย์ เพราะมวั ปลอ่ ยใจใหฟ้ งุ้ ซา่ น แตใ่ นทสี่ ดุ กส็ ามารถพลกิ ชวี ติ ใหพ้ บความสขุ ได้ เม่ือหนั มารักษาใจดว้ ยการปฏิบตั ธิ รรม โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ที่เมืองสาวัตถี มีชายหนุ่มคนหน่ึงไปขอบวชกับ พระสังฆรักขิตเถระผู้เป็นลุงของตน พอบวชแล้วก็ลา หลวงลุงไปจ�ำ พรรษาทว่ี ัดใกล้หมูบ่ ้านแหง่ หน่งึ ตอ่ มาภกิ ษหุ นมุ่ รปู นนั้ ไดร้ บั จวี รมา ๒ ผนื ผนื หนง่ึ ยาว ๗ ศอก อีกผนื หนงึ่ ยาว ๘ ศอก ตวั ทา่ นเองเก็บผืนท่ยี าว ๗ ศอก พระภาคิไนยสงั ฆรักขติ เถระ : พระสตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๐ หนา้ ๔๑๒ www.webkal.org

218 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ไวใ้ ช้ ส่วนผนื ท่ียาว ๘ ศอก ทา่ นตัง้ ใจจะน�ำ ไปถวายหลวงลงุ ผเู้ ป็นอปุ ัชฌาย์ พอออกพรรษา ท่านจงึ เดนิ ทางไปเย่ยี มหลวงลุง พร้อม กับนำ�ผ้าจีวรผืนน้ันไปถวาย แต่หลวงลุงเป็นพระอรหันต์ มีความมักน้อยสันโดษ จึงบอกกับพระหลานชายไปว่า “ฉนั มีผ้าพอใช้แลว้ เธอจงเกบ็ ไวใ้ ช้เองเถิด” ภกิ ษหุ นุม่ จงึ กราบเรียนว่า “ผมต้ังใจจะถวายหลวงลุง ขอให้หลวงลุงเป็นเน้ือนาบุญด้วย” แต่หลวงลุงก็ยังยืนยัน คำ�เดมิ คอื ใหพ้ ระหลานชายเก็บจวี รไวใ้ ช้เอง เม่ืออ้อนวอนไม่สำ�เร็จ ภิกษุหนุ่มจึงคิดน้อยใจว่า “หลวงลงุ คงไมร่ กั เราเสยี แลว้ เราจะอยเู่ ปน็ พระไปทำ�ไม สสู้ กึ ไป ครองเรอื นดกี ว่า” ขณะนง่ั ฟงุ้ ซา่ นอยนู่ น้ั ภกิ ษหุ นมุ่ กห็ ยบิ เอาพดั ใบตาลขน้ึ มาพดั ใหห้ ลวงลงุ มือพัดไปใจกย็ งั คงคดิ ไปอกี ว่า “เม่ือสึกแล้ว เราจะหาเล้ียงชีพด้วยการนำ�ผ้า จวี รผนื นไ้ี ปขายเปน็ ตน้ ทนุ เมอ่ื ไดเ้ งนิ แลว้ จะไปซอื้ แมแ่ พะสกั ตวั เพราะแพะมลี กู งา่ ย เมอื่ มลี กู แพะ เรากจ็ ะขายไดเ้ งนิ ทอง แลว้ ก็จะหาภรรยามาสกั คนหนึ่ง ต่อมากจ็ ะมลี กู เมอื่ เราไดล้ ูกชาย เปน็ เดก็ ทน่ี า่ รกั เรากจ็ ะพาครอบครวั กลบั มาเยยี่ มหลวงลงุ โดย www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 219 อาศยั เกวียนน้อยเดนิ ทาง ให้ภรรยาเป็นคนอมุ้ ลกู สว่ นเราจะ เป็นคนขับเกวยี น” “เมื่อภรรยาเมื่อย เราจะอุ้มลูกแทน แต่นางกลับ ไม่ยอม ลูกจึงพลัดจากมือนาง ตกลงไปถูกล้อเกวียนทับตาย เราโกรธมากจงึ ตีนางด้วยด้ามปฏัก” “โปก๊ !” สิ้นเสียงนั้นภิกษุหนุ่มก็ได้สติรู้ตัวว่า ตนได้เอาด้ามพัด ฟาดหวั หลวงลงุ เขา้ อยา่ งจงั เขา้ เสยี แลว้ ฝ่ายหลวงลุงก็รู้ด้วยเจโตปริยญาณว่า พระหลานชาย ก�ำ ลงั ใจลอยคดิ ไปไกลวา่ จะตภี รรยาจงึ เผลอเอาดา้ มพดั มาฟาด ศรี ษะของทา่ น ทา่ นจงึ พดู ขนึ้ วา่ “เธอตไี มถ่ กู ภรรยา ไพลม่ าตเี รา แล้วพระแก่ไปทำ�ผิดอะไรเล่า” พระหนมุ่ รวู้ า่ หลวงลงุ รวู้ าระจติ ทง้ั อายทง้ั กลวั ความผดิ จงึ ลนลานวิ่งหนีไป แต่ถูกพระเณรในวดั ช่วยจับไว้ แลว้ พาตวั ไปเฝ้าพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า พระพุทธองค์ ทรงเมตตาปลอบโยนภกิ ษหุ นุ่มนัน้ วา่ “เธอบวชในศาสนาของเรา ได้ช่ือว่าเป็นลูกของ พระพทุ ธเจา้ เธออยา่ คดิ วติ กกงั วลใหม้ ากไปเลย ธรรมชาตขิ องใจ นน้ั ชอบรบั อารมณ์ ชอบเทย่ี วไปไกล เธอเปน็ ภกิ ษคุ วรพยายาม www.webkal.org

220 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก รักษาใจของตนให้พ้นจากบว่ งแห่งมารเถิด” แลว้ ตรสั พระคาถาวา่ “ใจอยใู่ นรา่ งกาย ไมม่ ีรปู รา่ ง ชอบเทยี่ วไปไกลตามล�ำ พงั ผใู้ ดควบคมุ ได้ ผนู้ น้ั ยอ่ มพน้ จากบว่ ง แห่งมารคือกเิ ลส” ภกิ ษหุ นมุ่ นอ้ มน�ำ ใจ ปฏบิ ตั ธิ รรมตามเสยี งของพระบรม ศาสดา เมื่อจบพระธรรมเทศนาก็ได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน ในที่สดุ แม้ว่าใจคนเราจะอ่อนไหวปรวนแปร และล่องลอย ไปง่ายแสนง่าย แต่ก็เป็นส่ิงท่ีสามารถฝึกหัดให้หยุดน่ิงได้ด้วย การปฏิบัติธรรม หากเราหมัน่ ดแู ลรกั ษาใจดว้ ยการปฏบิ ัติธรรม บ่อยๆ เรากจ็ ะพบกับความสงบสุขและปลอดภัย ปราศจากภัย อันตรายใดๆ ในชวี ติ www.webkal.org

หนักแนน่ ดั่งแผ่นดนิ “ใจ” เป็นธรรมชาติที่ละเอียดอ่อน มีความผ่องใสใน ตนเอง แต่ผู้เป็นเจ้าของมักชักนำ�อารมณ์ต่างๆ เข้ามาทาง ตา หู จมกู ลนิ้ กาย และใจ ยอมให้มนั ยนิ ดบี ้าง ยินรา้ ยบา้ ง เม่ือเหน็ รูป ฟังเสียง ดมกลิน่ ลม้ิ รส ถูกต้อง สมั ผัส และใจรับ รู้อารมณ์ เมอื่ ใจรบั อารมณ์แล้วกต็ อ้ งคอยดใี จ เสียใจอยูเ่ สมอ การตามใจตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ จนเกินไปยอ่ มท�ำ ใหต้ ้อง ดิ้นรนมาก มีทกุ ข์มาก จติ ไม่ตง้ั มน่ั เป็นสมาธิ เปน็ อนั ตรายตอ่ การปฏบิ ัติธรรม ดังน้ันพระพทุ ธองคจ์ ึงทรงพร่ำ�สอนใหร้ ู้จกั ระวังจิตของ ตนไม่ให้หวั่นไหวในอารมณ์ที่มากระทบ ดังโอวาทที่ทรงให้ไว้ กับพระราหุลใน มหาราหโุ ลวาทสูตร มีใจความวา่ ... “ราหุล เธอจงทำ�จิตให้เหมือนแผ่นดินเถิด เพราะเมอ่ื เธอทำ�จติ ใหเ้ หมอื นแผน่ ดนิ เปน็ ประจำ�อยเู่ สมอแลว้ เมือ่ กระทบอารมณท์ ช่ี อบใจหรอื ไม่ชอบใจกด็ ี อารมณเ์ หล่านัน้ จะไม่สามารถทำ�ใหจ้ ิตหวั่นไหวได้ มหาราหุโลวาทสูตร : พระสุตตนั ตปิฎก มัชฌมิ นกิ าย มัชฌมิ ปณั ณาสก์, มมร. เล่ม ๒๐ หนา้ ๒๗๘ www.webkal.org

222 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ราหลุ เปรยี บเหมอื นคนทง้ั หลายทง้ิ สง่ิ ของทสี่ ะอาดบา้ ง ไม่สะอาดบ้าง ถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะบ้าง ลงท่ี แผน่ ดนิ แตแ่ ผน่ ดนิ จะอดึ อดั ระอาหรอื รงั เกยี จดว้ ยสง่ิ ของนนั้ ๆ กห็ าไม่ ฉนั ใด ราหุล เธอจงท�ำ จิตให้เสมอแผน่ ดนิ ฉันน้ันแล เพราะ เมื่อเธอทำ�จิตให้เหมือนแผ่นดินอยู่ เม่ือมีการกระทบอารมณ์ เกิดขึ้น ความรกั หรอื ความชังก็ไม่สามารถครอบงำ�จิตเธอได้ ฉนั นน้ั ” ความหว่ันไหวเกิดข้ึนได้ง่าย เมื่อใจกระทบอารมณ์ ถา้ ไม่อยากหวนั่ ไหว ก็ต้องมีสติในการมอง การฟงั การดมกลน่ิ การรบั รส การถกู ตอ้ งสมั ผสั และความรสู้ กึ นกึ คดิ อยา่ ใหม้ กี าร ยึดมั่นถอื มัน่ ในการรับอารมณ์เหล่านั้น เม่ือฝกึ บอ่ ยๆ ใจจะเรมิ่ หนักแนน่ มั่นคง สมาธิจะต้ังมัน่ การปฏิบตั ธิ รรมกจ็ ะดีเอง www.webkal.org

ชา้ ๆ...แต่ค้มุ คา่ สังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่แข่งกับเวลา ทุกชีวิตต่าง ดำ�เนินไปด้วยความรีบเร่ง แม้การรับประทานอาหารก็ยังเป็น แบบ Fast Food การท�ำ อะไรอย่างรีบเรง่ บางคนมองว่าเป็นการใช้เวลา อยา่ งคมุ้ ค่า แต่คณุ แน่ใจหรอื ว่า ไดใ้ ช้เวลาไปอยา่ งคมุ้ คา่ จรงิ ๆ เพราะบางครง้ั การทย่ี อมเสยี เวลายาวนาน เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลงานอนั ประณตี สมบูรณ์ อาจเปน็ การใช้เวลาอยา่ งคุ้มคา่ ท่สี ุดก็เป็นได้ ดังเร่ืองท่ีพระพุทธองค์ตรัสเล่าใน ปเจตนสูตร มีราย ละเอยี ดดังนี้ มีพระราชาองค์หนึ่งนามว่า “ปเจตนราช” พระองค์ ตอ้ งการรถศึกคันใหม่ จึงใหไ้ ปตามหาช่างไมผ้ ูม้ ฝี ีมือ เพอื่ ทำ�ลอ้ รถค่หู น่ึง โดยใหเ้ วลา ๖ เดือน นายชา่ งไมเ้ มอื่ รบั งานมาแลว้ กร็ บี ลงมอื ท�ำ ลอ้ รถในทนั ที จนเวลาลว่ งไปเหลอื เพยี ง ๖ วนั จะครบ ๖ เดอื น เขาเพง่ิ จะท�ำ ปเจตนสูตร : พระสตุ ตนั ตปิฎก องั คตุ ตรนิบาต ติกนบิ าต, มมร. เลม่ ๓๔ หน้า ๔๑ www.webkal.org

224 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ล้อรถเสร็จข้างเดยี วเท่านน้ั เมอ่ื พระราชาทรงทราบดงั นน้ั จงึ ตรสั ถามวา่ “เหลอื เวลาอกี แค่ ๖ วัน ก็จะครบก�ำ หนดแล้ว ล้ออีกข้างจะทำ�เสร็จหรือ?” นายชา่ งกราบทลู วา่ “เสร็จพระเจ้าข้า” พอครบกำ�หนด ๖ เดือน นายช่างไม้ก็ทำ�ล้อรถเสร็จ ตามกำ�หนดท่ีได้รับปากไว้ และเม่ือเขานำ�ไปถวายพระราชา พระองค์มองดลู ้อคใู่ หม่นนั้ พร้อมตรัสวา่ “ลอ้ ท้งั สองข้าง ขา้ งหน่ึงใชเ้ วลาเกือบ ๖ เดอื น อกี ข้างใชเ้ วลาเพยี ง ๖ วนั ไมเ่ หน็ ว่าจะตา่ งกันตรงไหนเลย” นายชา่ งทลู วา่ “ดภู ายนอกเหมอื นกนั แตภ่ ายในทเี่ ปน็ สว่ นประกอบแตกตา่ งกนั ขอพระองคท์ อดพระเนตรดคู วามแตก ตา่ งกนั เถดิ ” วา่ แล้วนายช่างกเ็ อาล้อข้างท่ที �ำ เพยี ง ๖ วนั กลิง้ ไปบน พนื้ ดนิ พอสดุ ก�ำ ลงั มนั กล็ ม้ ลง สว่ นลอ้ ทใ่ี ชเ้ วลาท�ำ นานถงึ เกอื บ ๖ เดือน พอกลง้ิ ไปสดุ ก�ำ ลังแลว้ กย็ งั คงตง้ั อย่ดู งั เดิม พระราชาทรงแปลกใจ จงึ ถามถงึ สาเหตทุ ล่ี อ้ ทง้ั คแู่ ตกตา่ ง กนั นายชา่ งจงึ กราบทลู วา่ “ขอเดชะ ลอ้ ทร่ี บี ท�ำ เพยี ง ๖ วนั นนั้ ใชไ้ มท้ ยี่ งั อบไมแ่ หง้ สนิท ยังมยี างอยู่ ไมจ้ ึงคด เมือ่ นำ�มาใช้จึง www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 225 ไมส่ มดุล ส่วนลอ้ ขา้ งทใี่ ช้เวลาเกอื บ ๖ เดือน ทำ�ดว้ ยไม้ทีอ่ บ แห้งสนิทดีแล้ว ไมค่ ดงอ เมื่อน�ำ มาใชจ้ ึงได้สมดุล พระเจา้ ข้า” จากเรอ่ื งน้ี ท�ำ ใหเ้ ราเหน็ วา่ การทน่ี ายชา่ งยอมสละเวลา ยาวนานในการทำ�ล้อให้มีความสมดุล มั่นคง ไม่เป็นการเสีย เวลาเลย ตรงกันข้ามกลับเป็นการใช้เวลาอย่างคุ้มค่าเพ่ือผล งานทส่ี มบูรณแ์ บบ ในเร่ืองการปฏิบัติธรรมก็เช่นกัน แม้ต้องใช้ระยะเวลา นาน แตผ่ ลการปฏบิ ตั ทิ ไี่ ดจ้ ะมนั่ คงถาวร เมือ่ เราทำ�ถกู วธิ ีแลว้ ขยนั แลว้ แต่ยังไม่เข้าถึงธรรมซกั ที ก็ขอใหท้ ำ�ไปอยา่ งมคี วาม สุข เพราะเวลาแหง่ ความสุขยอ่ มเป็นเวลาทมี่ ีคา่ มากท่สี ดุ www.webkal.org

www.webkal.org

เอาเตา่ เป็นครู สังคมปัจจุบันนี้มีภัยอยู่รอบตัว โดยเฉพาะภัยทาง อารมณ์ที่คอยรุมเร้าจิตใจของเราให้เศร้าหมอง เร่าร้อน กระวนกระวาย ทำ�ให้เกดิ ความทกุ ข์ใจอยูเ่ สมอ แตถ่ า้ เรารู้จกั ระวงั ปอ้ งกนั ภยั เหลา่ นนั้ อยา่ งถกู วธิ ี ใจของเรากจ็ ะรอดพน้ จาก อันตรายนัน้ ได้ การรจู้ กั ระวงั ปอ้ งกนั ภยั ทจ่ี ะมาทำ�รา้ ยใจ ในทางธรรมะ เรียกว่า “อินทรีย์สังวร” หมายถึงการสำ�รวมอินทรีย์ท้ัง ๖ คือ ตา หู จมูก ล้นิ กาย และใจ เพ่ือปิดกั้นไม่ใหบ้ าปอกศุ ล หรือสิ่งท่ีจะทำ�ให้ใจเศร้าหมองเข้ามาสู่ภายในได้ ถ้าเรารู้จัก ส�ำ รวมอินทรยี ์ มสี ตริ เู้ ทา่ ทนั อารมณต์ ่างๆ ภายนอก เราก็จะ สามารถรักษาใจให้สะอาดบริสทุ ธิ์อย่เู สมอ เรื่องนี้พระพุทธองค์ตรัสไว้ใน กุมมสูตร โดยอุปมา ไวว้ า่ “มเี ตา่ ตวั หนง่ึ เทย่ี วหากนิ อยรู่ มิ ฝง่ั แมน่ �ำ้ เลก็ ๆ สายหนง่ึ วนั หนึ่งในเวลาเยน็ ไดม้ ีสนุ ขั จง้ิ จอกตวั หนง่ึ เดนิ ผา่ นมาพบเข้า กุมมสตู ร : พระสตุ ตันตปิฎก สังยตุ ตนิกาย สฬายตนวรรค, มมร. เล่ม ๒๘ หนา้ ๔๐๖ www.webkal.org

228 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เต่าเห็นสุนัขจิ้งจอกเดินมาแต่ไกล ก็รีบหดอวัยวะทุกส่วนของ ร่างกายเขา้ ไปอยใู่ นกระดองและนงิ่ อยู่ ฝา่ ยสนุ ขั จง้ิ จอกเมอื่ เห็นเต่า ก็อยากกินเนอื้ เตา่ ดังนั้น จึงหยุดน่ิง และคอยจ้องดูว่า เม่ือใดเต่าจะเหยียดคอหรือขา ข้างใดข้างหนึ่งออกมานอกกระดอง เราจะงับและฟาดมันให้ กระดองแตกแลว้ กินเนอ้ื มนั ทนั ที ส่วนเจ้าเต่าดูเหมือนว่า จะรู้ความคิดของสุนัขจิ้งจอก จงึ ไมย่ อมยน่ื ขาหรอื คอออกนอกกระดองเลย ทนนงิ่ อยอู่ ยา่ งนน้ั เป็นเวลานาน ในทีส่ ดุ สุนขั จง้ิ จอกกท็ นรอไม่ไหว จึงเดินหนไี ป ด้วยความผิดหวงั ภิกษุท้ังหลาย ตราบใดทเี่ ธอทง้ั หลาย คุ้มครองอินทรีย์ (คอื รกั ษาใจเมอ่ื รบั อารมณ์ทางตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ) เมอื่ เห็นรปู (คือ...มองเห็นสิง่ ต่างๆ) ทงั้ เมอ่ื มองโดยรวม และ มองแยกสว่ น สว่ นใจกไ็ มย่ นิ ดยี นิ รา้ ย ระมดั ระวงั การรบั อารมณ์ ทางตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ “มาร” คอื อภชิ ฌา ความโลภจอ้ งอยากได้ของคนอ่นื และโทมนสั ความเสยี ใจทกุ ขใ์ จ จะไมม่ โี อกาสท�ำ ใหพ้ วกเธอตก เปน็ เหยือ่ ได”้ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 229 แมว้ า่ ภยั อนั ตรายทจี่ ะมาท�ำ รา้ ยใจ จะมมี ากมายเพยี งใด แต่ถ้าเราหมั่นรักษาใจด้วย “อินทรีย์สังวร” มีสติรู้เท่าทัน อารมณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ อยเู่ สมอ ปลอ่ ยวางความยึดมั่นถอื ม่ัน ตงั้ ใจ นัง่ สมาธิปฏบิ ตั ิธรรมเปน็ ประจำ� ชวี ติ เรากจ็ ะพบกับความสงบ สุขและปลอดภยั ปราศจากอันตรายใดๆ ในชวี ิตอยา่ งแนน่ อน www.webkal.org

www.webkal.org

เครอ่ื งกนั้ จติ ปดิ กนั้ ใจ “จติ ” ของมนษุ ยน์ น้ั เดมิ ทมี คี วามใสสวา่ ง สะอาดบรสิ ทุ ธ์ิ หรือท่ีเรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส (กเิ ลสท่ีจรมา) รบกวน จึงสูญเสียความใสกระจา่ งไป นำ�มาซึง่ ความเศรา้ หมองไมผ่ อ่ งใส อาคนั ตกุ ะกเิ ลสทกี่ ลา่ วถงึ น้ี เรยี กวา่ “นิวรณ์” หมายถึง เคร่ืองกั้นจิต ซ่ึงจัดเป็นกิเลสข้ันกลาง เป็นอุปสรรคต่อการทำ�สมาธิ ทำ�ให้จิตมัวหมองไม่ผ่องใส ใจไมห่ ยุดนิ่ง ดิ่งเข้าส่ภู ายในไม่ได้ นวิ รณ์ ท่กี ล่าวถงึ นีม้ อี ยู่ ๕ อย่างดว้ ยกัน คอื ๑. กามฉนั ทะ (ความรักความพอใจในกาม) ๒. พยาบาท (ความปองร้าย ความอาฆาต) ๓. ถีนมิทธะ (ความท้อแท้ และความงว่ งซึม) ๔. อทุ ธจั จกุกกุจจะ (ความฟุง้ ซา่ นรำ�คาญใจ) ๕. วจิ ิกิจฉา (ความลังเลสงสยั ) นิวรณ์ท้ัง ๕ ชนิดน้ีเป็นตัวกิเลสท่ีทำ�ลายความเจริญ ก้าวหน้า และขัดขวางการปฏิบัติธรรม ซึ่งพระพุทธองค์ทรง สคารวสตู ร : พระสุตตันตปฎิ ก มัชฌมิ นกิ าย มชั ฌิมปณั ณาสก,์ มมร. เล่ม ๒๑ หนา้ ๔๕๑ www.webkal.org

232 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก อุปมาเปรยี บเทียบไว้ดังนี้ “ดูก่อนพราหมณ์ ภาชนะใส่นำ้�ซ่ึงผสมด้วยสีคร่ัง สเี หลอื ง สเี ขยี ว สแี ดง คนตาดี เมอ่ื มองดเู งาหนา้ ของตนในน�ำ้ ทผ่ี สมดว้ ยสีนัน้ ๆ ยอ่ มไม่เหน็ ตามความเปน็ จริง ฉันใด ผ้มู จี ติ ประกอบดว้ ยราคะ ยอ่ มไมร่ ไู้ มเ่ หน็ อบุ ายอนั เปน็ เครอ่ื งสลดั ออก ซง่ึ ราคะท่เี กิดขึ้นแลว้ ตามความเปน็ จริง ฉันนั้น ดกู อ่ นพราหมณ์ ภาชนะใสน่ ำ�้ รอ้ นทเ่ี ดอื ดพลา่ นมไี อพงุ่ ขึ้น คนตาดี เม่อื มองเงาหนา้ ของตนในน้ำ�นน้ั ย่อมมองไม่เหน็ ตามความเป็นจริง ฉันใด ผู้มีจิตประกอบด้วยพยาบาท (คิด ปองร้ายเขา) ย่อมไม่รู้ไม่เห็นอุบายอันเป็นเครื่องสลัดออกซึ่ง พยาบาททเ่ี กิดขึ้นแลว้ ตามความเป็นจริง ฉนั น้นั ดกู อ่ นพราหมณ์ ภาชนะใสน่ �้ำ ซงึ่ มสี าหรา่ ยและจอกแหน ปกคลมุ อยู่ คนตาดี เมอ่ื มองดเู งาหนา้ ของตนในน�้ำ นน้ั ยอ่ มมอง ไม่เห็นตามความเปน็ จริง ฉนั ใด ผมู้ ีจติ ประกอบดว้ ยถีนมิทธะ (ความหดหู่ซึมเซา) ย่อมไม่รู้ไม่เห็นอุบายเครื่องสลัดออกซ่ึง ถีนมิทธะทเ่ี กิดขึ้นแลว้ ตามความเปน็ จริง ฉันนั้น ดูก่อนพราหมณ์ ภาชนะใส่นำ้�ท่ีถูกลมพัดกระเพ่ือม คนตาดีเม่ือมองดูเงาหน้าของตนในนำ้�น้ัน ย่อมมองไม่เห็น ตามความเป็นจรงิ ฉันใด ผมู้ ีจติ ประกอบด้วยอุทธจั จกกุ กุจจะ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 233 (ความฟุ้งซา่ นร�ำ คาญใจ) ยอ่ มไมร่ ไู้ มเ่ หน็ อบุ ายเครอ่ื งสลดั ออก ซงึ่ อุทธัจจกุกกจุ จะทเี่ กิดข้ึนแล้วตามความเปน็ จริง ฉันนัน้ ดกู อ่ นพราหมณ์ ภาชนะใส่น�้ำ ซ่ึงขนุ่ มวั เปน็ ตม คนตาดี เมื่อมองดูเงาหน้าของตนในน้ำ�น้ัน ย่อมมองไม่เห็นตาม ความเป็นจริง ฉันใด ผู้มีจิตประกอบด้วยวิจิกิจฉา (ความ ลงั เลสงสยั ) ยอ่ มไมร่ ้ไู มเ่ ห็นอุบายเคร่ืองสลัดออกซงึ่ วจิ กิ จิ ฉาท่ี เกดิ ขึ้นแลว้ ตามความเป็นจรงิ ฉันนัน้ ” จากเรอ่ื งนจี้ ะเหน็ ไดว้ า่ คนทถ่ี กู นวิ รณค์ รอบงำ� ใจจะถกู ปิดกั้น ทำ�ให้มองไม่เห็นปัญหา ค้นหาทางออกไม่เจอ แม้มตี าดีกเ็ หมอื นคนตาบอด ได้แตด่ ำ�เนนิ ชวี ิตไปแบบสะเปะ- สะปะตามประสา “คนตามดื มดิ จติ มดื มน” แตถ่ า้ อยากหลดุ พน้ จากนิวรณ์ก็ต้องต้ังใจปฏิบัติธรรม ปล่อยทุกอย่างวางทุกสิ่ง ทำ�ใจให้นิ่ง ทำ�จิตให้สงบ แล้วท่ามกลางความสงบก็จะพบ ทางออกเอง www.webkal.org

www.webkal.org

บุญมาก บรรลธุ รรมงา่ ย บุญเป็นต้นทุนแห่งความสำ�เร็จในทุกส่ิง คนมีบุญมาก ความสุขความสำ�เร็จก็มาก มีบุญน้อยความสุขความสำ�เร็จ ก็น้อย ทุกอย่างวัดกันด้วยกำ�ลังบุญท้ังสิ้น และหากได้ทำ�บุญ ถูกเนื้อนาบุญ และทำ�อย่างต่อเนื่องกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอรหนั ต์ หรอื ภิกษผุ ปู้ ระพฤตธิ รรมทั้งหลาย ย่อมเป็นเหตุ ใหเ้ มอ่ื ท�ำ ความเพยี รยอ่ มไดบ้ รรลธุ รรมไดเ้ รว็ ดงั เรอื่ งการบรรลุ ธรรมของพระอานนทเถระ เมอื่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ใกลจ้ ะเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน ท่านพระอานนท์เกิดความเสียใจว่า “พระพุทธเจ้าใกล้จะ ปรนิ ิพพานแล้ว เรายังไม่ไดบ้ รรลุพระอรหนั ตเ์ ลย” จึงได้ปลกี ตวั เขา้ ไปในพระวหิ าร ยนื เหนยี่ วไมส้ ลกั เพชรรอ้ งไหอ้ ยวู่ า่ “เรา ยงั เป็นเสขะบคุ คล มกี จิ ทีจ่ ะตอ้ งทำ�อยู่ แตพ่ ระศาสดาของเรา ซึง่ เป็นผู้อนเุ คราะห์เรา จะปรินพิ พานเสียแล้ว” ขณะน้นั พระผู้มพี ระภาคเจา้ ได้ตรสั ถามภิกษุท้งั หลาย วา่ “อานนทอ์ ยทู่ ไ่ี หน” พวกภกิ ษจุ งึ กราบทลู ใหท้ รงทราบเหตนุ นั้ มหาปรินิพพานสตู ร : พระสตุ ตนั ตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค, มมร. เล่ม ๑๓ หน้า ๓๑๒ www.webkal.org

236 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงรับส่ังภิกษุรูปหนึ่งว่า “ภิกษุ เธอจงไป บอกอานนท์ตามคำ�ของเราวา่ ‘ท่านอานนท์ พระศาสดารบั สั่ง หาทา่ น’ ภิกษนุ น้ั ทูลรับพระดำ�รสั ของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ แลว้ ได้เข้าไปหาท่านพระอานนท์ แจ้งให้ทราบว่า “ท่านอานนท์ พระศาสดารบั สง่ั หาท่าน” ท่านพระอานนท์รบั ค�ำ ภกิ ษุนนั้ แล้ว เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดถ้ วายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้ น่งั ลงในทส่ี มควร พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า “อานนท์ เธออยา่ เศรา้ โศกร่ำ�ไรไปเลย เราไดบ้ อกไวก้ อ่ นแลว้ ไมใ่ ชห่ รอื วา่ “ความพลดั พราก ความทอดทงิ้ ความเปลย่ี นแปลงเปน็ อยา่ ง อนื่ จากของรกั ของชอบใจทง้ั สน้ิ ตอ้ งมี ฉะนน้ั เธอจะหวงั อะไรใน สงั ขารนี้ สิง่ ใดเกดิ ข้นี มีข้นึ ถกู ปัจจยั ปรงุ แต่งแล้ว ลว้ นแตก สลายไปเป็นธรรมดา ความปรารถนาว่า ‘ขอสิ่งน้ันอย่าแตก สลายไปเลย’ นน่ั ไม่ใชฐ่ านะที่จะมีได้ อานนท์ เธอได้อปุ ฏั ฐากตถาคตดว้ ยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันประกอบด้วยเมตตา เป็นประโยชนเ์ กอ้ื กลู เปน็ ความสุขเสมอต้นเสมอปลาย หาประมาณมไิ ด้มาชา้ นาน เธอ ได้กระท�ำ บญุ ไว้แลว้ อานนท์ จงประกอบความเพียรเถิด เธอ จักเปน็ ผ้ไู มม่ อี าสวะโดยฉับพลัน” จากนนั้ พระพทุ ธองคต์ รสั ยกยอ่ งพระอานนทว์ า่ เปน็ ยอด www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 237 ของอุปัฏฐากในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ังหลาย ตลอดเวลา ที่พระอานนท์เถระ อุปัฏฐากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่น้ัน ท่านไม่มีโอกาสทำ�ความเพียรอย่างเต็มที่ เพราะกังวล อยู่แต่เร่ืองท่ีจะถวายความสะดวกแก่พระบรมศาสดา และ เร่ืองการทรงจำ�พระพุทธวจนะ แต่เมื่อพระบรมศาสดาเสด็จ ปรินิพพานแล้ว และวนั ประชมุ สงฆ์ท�ำ สงั คายนากใ็ กลเ้ ข้ามา พวกภิกษุจงึ ไดเ้ ตือนท่านพระอานนทว์ า่ “อาวุโส การ ประชุมจะมีในวันพรงุ่ น้ี แตท่ า่ นยงั เป็นเสขะบุคคลอยู่ เพราะ เหตุนน้ั ท่านไมค่ วรไปสู่ที่ประชมุ ขอท่านจงเปน็ ผ้ไู มป่ ระมาท เถิด” พระอานนท์คดิ ว่า “การประชุมจะมีในวนั พร่งุ น้ี กก็ าร ทเี่ รายงั เปน็ เสขะบคุ คลอยู่ จะพงึ ไปสทู่ ปี่ ระชมุ เพอื่ ทำ�สงั คายนา น้ันไม่สมควรเลย” แล้วได้เร่งความเพียรกำ�หนดกายคตาสติ ตลอดคืน ในเวลาใกล้รุ่งท่านได้หวนนึกถึงพระดำ�รัสของพระ สมั มาสัมพุทธเจา้ ทีว่ ่า “อานนท์ เธอเป็นผู้ได้ท�ำ บุญไวแ้ ล้ว จงหม่ันประกอบ ความเพียรเถิด จักเปน็ ผูห้ าอาสวะมิได้โดยฉบั พลนั ” ธรรมดาว่า ความผิดพลาดแห่งพระดำ�รัสของ พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่มี เราเพียรจัดเกินไป เพราะเหตุน้ัน www.webkal.org

238 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก จิตของเราจึงเกิดความฟุ้งซา่ น เอาเถิด เราจะประกอบความ เพยี รใหส้ มำ�่ เสมอ คดิ ดังนแ้ี ลว้ จงึ ได้ลงจากทีจ่ งกรม เขา้ ไปใน พระวิหาร คดิ วา่ จักพักนอนสกั นิด ได้เอนกายลง เทา้ ท้งั สอง พน้ จากพนื้ แตศ่ รี ษะไมท่ ันถึงหมอน ในระหว่างน้ี จิตก็พ้นจาก อาสวะ บรรลุพระอรหนั ตใ์ นขณะนนั้ เพราะฉะนนั้ ใครทค่ี ดิ วา่ เราไดท้ ำ�แตง่ านพระศาสนาที่ ใชเ้ รย่ี วแรงก�ำ ลงั ไดเ้ พยี งขวนขวายดว้ ยกายดว้ ยวาจา ไมค่ อ่ ยได้ สรา้ งมหาทานเหมอื นอยา่ งมหาเศรษฐเี ลย สมาธกิ ม็ เี วลานงั่ นอ้ ย เราคงยากที่จะบรรลุธรรมอย่างคนอ่ืนเขา ก็อย่าได้กังวลใจไป เลย ตง้ั ใจรบั ผดิ ชอบงานพระศาสนาทเ่ี ราไดร้ บั มอบหมายอยา่ ง เต็มท่ี ควบคู่ไปกับการปฏิบัติธรรม เม่ือบุญเต็มส่วน ความ ส�ำ เรจ็ ย่อมเกดิ ข้นึ ไดโ้ ดยงา่ ย ปฏบิ ัตธิ รรมก็จะสะดวก บรรลุได้ เร็วพลนั อยา่ งแน่นอน www.webkal.org

“ไม่มีเวลา” ไม่มีในโลก ชวี ติ ๑ วนั มเี วลา ๒๔ ชว่ั โมง เทา่ กนั ทกุ คน ฉะนน้ั ค�ำ วา่ “ไม่มีเวลา” จึงไม่มีจริงในโลก มนั เปน็ เพียงคำ�ปฏเิ สธสำ�เรจ็ รูป ของคนทยี่ งั ไมเ่ หน็ ความส�ำ คญั ส�ำ หรบั สงิ่ นนั้ ๆ จงึ ไมไ่ ดแ้ บง่ เวลา มาให้ เพราะไมเ่ คยมใี ครบอกว่า “โอย๊ ! งานย่งุ มาก ไม่มเี วลา หายใจเลย” และหากไมไ่ ด้หายใจจริงๆ กค็ งพดู ได้เตม็ ปากว่า “ไมม่ เี วลา” บุคคลใดท่ีเข้าใจความจริงของชีวิตว่า “เราเกิดมาเพ่ือ สรา้ งบารม”ี ยอ่ มไม่เอ่ยค�ำ วา่ “ไม่มีเวลา” สำ�หรับการสั่งสม บญุ ท�ำ ทาน รักษาศลี เจรญิ ภาวนา มแี ตว่ า่ “กำ�ลงั จะหมด เวลา” สร้างบารมี หรอื “ไม่มีเวลา” ส�ำ หรับความเพลิดเพลิน ประมาทอกี แลว้ เพราะเราก�ำ ลังถกู ภัย คือ ความแก่และความ ตาย ตามบดขย้อี ย่ทู กุ อนวุ ินาที ไม่อาจร้ไู ดว้ า่ เวลาชีวติ ยังเหลอื อยู่มากน้อยเท่าใด ดังเช่นท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเตือน พระเจ้าปเสนทิโกศลไมใ่ หป้ ระมาท ดงั น้ี ณ กรุงสาวัตถี ครัง้ น้นั พระเจ้าปเสนทิโกศลได้เสด็จ ปพั พโตปมสตู ร : พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนกิ าย สคาถวรรค, มมร. เลม่ ๒๔ หนา้ ๕๒๒ www.webkal.org

240 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับแต่ยังวัน ถวายอภิวาท แล้วประทบั นัง่ ณ ที่สมควร พระผมู้ ีพระภาคได้ตรัสกับพระ เจา้ ปเสนทิโกศลวา่ “เชิญเถิดมหาบพติ ร พระองค์เสด็จมาจาก ไหนแต่ยังวัน” พระเจา้ ปเสนทโิ กศลกราบทลู วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ข้าพระองคต์ อ้ งขวนขวายราชกรณยี กิจมากมาย ตามวสิ ยั ของ กษัตราธิราชผู้ได้มูรธาภิเษกแล้ว มัวเมาเพราะความเป็นใหญ่ ถกู ความก�ำ หนดั ในกามกลมุ้ รมุ แลว้ ผถู้ งึ ซงึ่ ความมน่ั คงในชนบท ได้ชนะครอบครองปฐพมี ณฑลใหญ่แลว้ ” พ. “มหาบพติ ร พระองค์จะทรงเขา้ พระทัยว่าอย่างไร สมมุติว่า ณ ท่ีน้ี ราชบุรุษท่ีพระองค์ไว้วางใจได้มาจากทิศ ตะวนั ออก เขา้ มาเฝา้ พระองคแ์ ลว้ กราบทลู อยา่ งนว้ี า่ “ขอเดชะ ขา้ พระองค์มาจากทศิ ตะวันออก ณ ท่นี ั้นได้เหน็ ภเู ขาใหญ่สูง เทยี มเมฆกำ�ลังกลง้ิ บดทบั สัตว์ทง้ั ปวง พระเจา้ ขา้ ขอพระองค์ ทรงกระท�ำ สิ่งทพ่ี ึงกระท�ำ เถิด” ลำ�ดบั นั้น ราชบรุ ุษคนที่ ๒ มาจากทิศตะวนั ตก ก็กล่าว เชน่ เดียวกัน ต่อจากนนั้ ราชบรุ ุษคนท่ี ๓ มาจากทศิ เหนอื กก็ ล่าว เชน่ เดยี วกัน www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 241 ตอ่ จากนน้ั ราชบุรษุ คนที่ ๔ มาจากทศิ ใต้ ก็กลา่ วเชน่ เดยี วกนั เมื่อมหาภยั รา้ ยกาจ ทีจ่ ะทำ�ใหม้ นุษย์สนิ้ ชีวิต อนั ใหญ่ หลวงเหน็ ปานนี้ บงั เกดิ ขนึ้ แลว้ แกพ่ ระองค์ อะไรเลา่ จะเปน็ กจิ ที่พระองคค์ วรกระทำ�ในฐานะเปน็ มนษุ ยท์ ่หี าไดย้ าก” ป. “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ หากเกดิ เหตุการณ์เชน่ น้นั จริง ข้าพระองค์จะทำ�อะไรได้ นอกเสียจาก ปฏิบัติธรรมให้ เสมอตน้ เสมอปลาย สร้างบญุ กศุ ลเอาไว้” พ. “มหาบพิตร อาตมภาพขอถวายพระพรใหท้ รงทราบ ชราและมรณะยอ่ มครอบงำ�พระองค์ (ดงั เชน่ ภเู ขาทก่ี ลง้ิ มาทง้ั ๔ ทศิ ) เมอื่ ชราและมรณะครอบง�ำ พระองคอ์ ยู่ อะไรเลา่ จะเปน็ กิจท่พี ระองคค์ วรกระท�ำ ” ป. “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ เมอื่ ชราและมรณะครอบง�ำ ขา้ พระองคอ์ ยู่ ขา้ พระองคจ์ ะท�ำ อะไรได้ นอกเสยี จาก ปฏบิ ตั ธิ รรม ให้เสมอต้นเสมอปลาย สรา้ งบุญกุศลเอาไว้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กษัตราธิราชผู้ได้มูรธาภิเษก แล้ว ฯลฯ ทรงทำ�การรบด้วยพลช้าง พลม้า พลรถ พลเดินเท้า เหล่าใด เมื่อชราและมรณะครอบงำ�อยู่ ก็ไม่ใชค่ ติ ไม่ใช่วสิ ัยที่ จะท�ำ การรบดว้ ยพลชา้ ง พลมา้ พลรถ พลเดนิ เทา้ แมเ้ หลา่ นนั้ www.webkal.org

242 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ขา้ แต่พระองค์ผเู้ จรญิ ในราชตระกลู น้ี มหาอำ�มาตย์ผู้ มีมนตร์ ซ่งึ สามารถจะใชม้ นตร์ท�ำ ลายข้าศกึ ท่ยี กทัพมา ก็มอี ยู่ เหมอื นกนั แตเ่ มอื่ ชราและมรณะครอบงำ�อยู่ ก็ไมใ่ ชค่ ติ ไมใ่ ช่ วิสยั ทจ่ี ะทำ�การรบด้วยมนตร์แม้เหล่าน้นั ข้าแต่พระองคผ์ เู้ จริญ อนึง่ ในราชตระกลู น้ี เงินทอง ทง้ั ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ดนิ ทง้ั ทอี่ ยใู่ นอากาศ ซงึ่ พวกขา้ พระองคส์ ามารถ จะใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ยแุ หยใ่ หข้ า้ ศกึ ทย่ี กทพั มาแตกกนั กม็ อี ยเู่ ปน็ อนั มาก แตเ่ มอ่ื ชราและมรณะครอบง�ำ กไ็ มใ่ ชค่ ติ ไมใ่ ชว่ สิ ยั ทจ่ี ะ ทำ�การรบดว้ ยทรพั ย์แม้เหล่าน้นั ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็แลเมื่อชราและมรณะ ครอบง�ำ อยู่ ข้าพระองค์จะท�ำ อะไรได้ นอกเสยี จากปฏิบัติธรรม ใหเ้ สมอตน้ เสมอปลาย สรา้ งบญุ กศุ ลเอาไว้” พ. “มหาบพิตร ข้อน้เี ป็นอย่างนนั้ ข้อน้เี ป็นอยา่ งนนั้ ฯลฯ” พระผู้มพี ระภาคเจ้าได้ตรัสสรปุ เป็นคาถาประพนั ธ์วา่ ภเู ขาใหญล่ ้วนแลว้ ด้วยศิลา สูงจดท้องฟ้า กลิ้งบดสัตว์มาโดยรอบท้ัง ๔ ทิศ แม้ฉนั ใด ชราและมรณะกฉ็ นั น้ัน ยอ่ มครอบงำ�สตั ว์ทงั้ หลาย คอื พวกกษตั ริย์ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 243 พราหมณ์ แพศย์ ศทู ร คนจณั ฑาล และคนเทขยะ ไม่เวน้ ใครๆ ไว้เลย ยอ่ มย�่ำ ยเี หล่าสัตวท์ ั้งสิน้ ณ ที่น้นั ไม่มยี ุทธภูมสิ ำ�หรบั พลช้าง พลมา้ พลรถ พลเดินเท้า และไม่อาจจะเอาชนะแมด้ ้วยมนตร์หรือด้วยทรพั ย์ เพราะฉะนนั้ บุคคลผู้เปน็ บัณฑติ มีปญั ญา เมื่อเห็นประโยชน์ตน พึงต้ังศรทั ธาไว้ในพระพทุ ธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ ผูใ้ ดมีปกตปิ ระพฤติธรรมทางกาย ทางวาจา ทางใจ บณั ฑิตท้ังหลายย่อมสรรเสริญผนู้ ้นั ในโลกน้ีโดยแท้ ผนู้ ้นั ละโลกน้ไี ปแล้ว ย่อมบนั เทิงในสวรรค์ www.webkal.org

www.webkal.org

ท่สี ดุ โลก ในตัวคณุ เวลาแหงนหนา้ มองฟา้ ท่ีกวา้ งใหญ่ ไรข้ อบเขต มกั เกิด จนิ ตนาการมากมาย บา้ งกส็ งสยั วา่ มอี ะไรอยทู่ ส่ี ดุ ขอบฟา้ บา้ งก็ ใฝฝ่ นั วา่ จะไปใหถ้ งึ ดวงดาวอนั ไกลโพน้ ฝนั วา่ ทสี่ ดุ ฟา้ จะมสี ถาน ท่ที งี่ ดงาม มคี วามสขุ เปน็ นริ ันดร์ จนิ ตนาการเหลา่ น้ีล้วนเปน็ ทมี่ าของการแสวงหาความรทู้ างดาราศาสตร์ จนสามารถสรา้ ง ยานอวกาศไปส�ำ รวจดวงดาวตา่ งๆ ได้ และการคน้ หาความรนู้ ้ี ก็คงจะออกไกลโลก ไกลตัวเราไปเรื่อยๆ ไม่มีสิ้นสุด เพราะ จุดเร่ิมต้นของการแสวงหาคือ “มองออกนอกตัว” ซึ่งบัณฑิต ในอดีตกาลไดพ้ ิสูจน์แล้ววา่ ไม่สามารถหาท่ีสุดของคำ�ตอบได้ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าไดท้ รงปฏวิ ตั ิการแสวงหาความรู้ ของโลก ดว้ ยการ “มองเขา้ ไปในตวั ” จงึ ทรงพบกบั ความสำ�เรจ็ ตรัสรู้เป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า ผู้รู้แจ้งโลก ดังปรากฏใน โรหิตัสสสูตร ดงั น้ี สมยั หนง่ึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ พระวหิ ารเชตวนั อารามของท่านอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรุงสาวตั ถี ครั้งน้นั เมอ่ื โรหิตัสสสูตร : พระสุตตันตปิฎก สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค, มมร. เลม่ ๒๔ หนา้ ๓๘๑ www.webkal.org

246 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ล่วงปฐมยาม โรหิตัสสเทพบุตรมีวรรณะงามยิ่งนัก ทำ�ให้ พระวหิ ารเชตวนั สวา่ งทว่ั ไดเ้ ขา้ ไปกราบทลู พระผมู้ พี ระภาค วา่ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์สามารถหรือหนอที่ จะทรงรู้ ทรงเห็น หรือทรงถงึ ท่สี ดุ แห่งโลกทีส่ ตั วไ์ ม่เกิด ไมแ่ ก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไมอ่ ุบัตดิ ว้ ยการเดนิ ทางไป” พระผมู้ พี ระภาคตรสั ตอบวา่ “เทพบตุ ร เราไมก่ ลา่ วทสี่ ดุ แห่งโลกท่ีสตั ว์ไมเ่ กิด ไมแ่ ก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อบุ ตั ิ วา่ ‘พึงรู้ พึงเห็น พงึ ถึงได้’ ด้วยการเดนิ ทางไป” โรหิตัสสเทพบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรยจ์ รงิ ไม่เคยปรากฏ พระผูม้ พี ระภาคตรสั เรอื่ งนไ้ี ว้ ดยี ิ่งนัก ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เรื่องเคยมีแล้ว (ในชาติก่อน) ขา้ พระองคเ์ ปน็ ฤาษชี อื่ โรหติ สั สะ เปน็ บตุ รของผเู้ ปน็ ใหญ่ เปน็ ผมู้ ีฤทธ์ิ เหาะได้ ความเรว็ ของข้าพระองคน์ ้ันเปรียบได้กบั นาย ขมังธนู ผู้ยิงธนูแม่นยำ� ศึกษามาดีแล้ว ผู้เช่ียวชาญชำ่�ชอง ฝกึ ซ้อมมาดี พึงยิงลกู ศรเบาให้ผ่านเงาตาลด้านขวางไปไดโ้ ดย ไม่ยาก ฉะน้นั (ด้วยความเร็วนั้น) การย่างเทา้ แต่ละกา้ วของ ขา้ พระองค์ไปไดไ้ กลเท่ากับระยะทางจากทะเลด้านตะวันออก ถงึ ทะเลดา้ นตะวนั ตก ฉะนัน้ ข้าพระองคเ์ กดิ ความปรารถนา www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 247 อยา่ งนว้ี ่า “เราจักเดินทางไปให้ถงึ ท่ีสดุ แห่งโลก” ข้าแตพ่ ระองคผ์ ู้เจรญิ ข้าพระองคน์ ั้นเพียบพรอ้ มดว้ ย ความเร็วและการย่างเท้าอย่างนี้ เว้นจากการกิน การด่ืม การเคี้ยว การล้มิ การถา่ ยอจุ จาระ ปัสสาวะ การหลบั และ การบรรเทาความเหน็ดเหนอ่ื ย มีอายุ ๑๐๐ ปี ด�ำ รงชีพอยไู่ ด้ ตงั้ ๑๐๐ ปี ดำ�เนนิ ไปไดต้ ง้ั ๑๐๐ ปี ยงั ไปไม่ถงึ ท่สี ดุ แห่งโลก ก็ตายเสยี กอ่ นในระหวา่ งทาง ข้าแตพ่ ระองคผ์ ูเ้ จรญิ น่าอัศจรรย์จริง ไมเ่ คยปรากฏ พระผู้มพี ระภาคตรัสเรื่องนีไ้ วด้ ยี ่งิ นกั ฯลฯ” พระผมู้ พี ระภาคตรสั วา่ “เทพบตุ ร เราไมก่ ลา่ วทส่ี ดุ แหง่ โลกทส่ี ตั วไ์ มเ่ กดิ ไมแ่ ก่ ไมต่ าย ไมจ่ ตุ ิ ไมอ่ บุ ตั ิ วา่ ‘พงึ รู้ พงึ เหน็ พงึ ถงึ ได้’ ด้วยการเดินทางไป และเราไมก่ ลา่ ววา่ การท่ีบคุ คล ยงั ไม่ถึงที่สุดแหง่ โลก จะท�ำ ทส่ี ดุ แห่งทุกขไ์ ด้ อนึ่ง เราบญั ญัตโิ ลก (ทกุ ข์) ความเกิดแห่งโลก (สมุทยั ) ความดับแห่งโลก (นิโรธ) และข้อปฏิบัติท่ีให้ถึงความดับแห่ง โลก (อริยมรรค) ในร่างกายที่มีประมาณวาหน่ึง มีสัญญา มใี จครองนี้เอง” www.webkal.org

248 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ดังนนั้ ท่ีสุดโลก ท่ีสุดของความรู้ ทสี่ ดุ แห่งธรรม กอ็ ยู่ ในกายยาววา หนาคบื กวา้ งศอก ของเราน่ีเอง บคุ คลจะถงึ ที่ สดุ แหง่ การแสวงหาได้ เมอื่ เราเอาใจมาหยดุ นง่ิ ทตี่ �ำ แหนง่ ๐๗๒ ณ ศนู ย์กลางกายฐานที่ ๗ เหนอื ระดับสะดือขึน้ มา ๒ น้วิ มือ เมอ่ื ใจหยุด ก็เกิดความสวา่ ง เมื่อสวา่ งกเ็ กดิ ความรูแ้ จ้ง ดังน้นั เมื่อหยุดในหยุด ก็ย่ิงสว่างในสว่าง การรู้แจ้งโลกทั้งผองย่อม เกดิ ขนึ้ ในทสี่ ุด www.webkal.org

ภารกจิ และจิตใจ ท�ำ ดี จะให้ไดด้ ีไมม่ เี สยี ต้องเข้าหลกั “ถกู ดี ถงึ ดี และ พอด”ี เบ้อื งต้นของการสง่ั สมบุญให้ถูกดี คือ ต้องทำ�ให้ครบดี ทัง้ ทาน ศีล และภาวนา มฉิ ะนัน้ จะเจอหลุมพรางของการ สั่งสมบญุ คอื มงุ่ มน่ั ท�ำ ภารกิจเพอื่ การสงั่ สมบญุ ท้ังทำ�ทาน ช่วยงานพระศาสนาอย่างสุดกำ�ลัง แต่ลืมทำ�กรณียกิจหลัก คอื การปฏิบัตธิ รรมเจริญภาวนา เขา้ ข่าย “ท�ำ แต่ภารกจิ จน ลืมจิตใจ” ซึ่งในท่ีสุดความเสื่อมก็จะเกิดขึ้นตามมา ปรากฏ เปน็ ความท้อแท้ เบอ่ื หน่าย ตดั พอ้ ตอ่ ว่า ทะเลาะววิ าท และ ตัดขาดจากการสร้างความดไี ปอย่างนา่ เสยี ดาย ดงั ทพ่ี ระพุทธ องค์ตรสั เตือนไว้ ว่า ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ธรรม ๕ ประการน้ี ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ความ เสือ่ มแกภ่ ิกษผุ เู้ ป็นเสขะ (ยังไมห่ มดกเิ ลส) คอื ๑. ภิกษุผู้เป็นเสขะ เป็นผู้มีกิจมาก มีกรณียกิจมาก ไม่ฉลาดในกิจน้อยใหญ่ แล้วละการหลีกเร้น (เจริญภาวนา) ไมต่ ามประกอบความสงบใจภายใน ทุตยิ เสขสตู ร : พระสตุ ตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต, มมร. เล่ม ๓๖ หนา้ ๒๑๔ www.webkal.org

250 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ๒. ภิกษุผเู้ ปน็ เสขะ ปล่อยใหว้ ันเวลาลว่ งไปเพราะการ งานเล็กน้อย แล้วละการหลีกเร้น ไม่ประกอบความสงบใจ ภายใน ๓. ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เสขะ คลกุ คลกี บั พวกคฤหสั ถแ์ ละบรรพชติ ดว้ ยการคลุกคลีอยา่ งคฤหสั ถ์ที่ไม่สมควร แล้วละการหลีกเร้น ไมป่ ระกอบความสงบใจภายใน ๔. ภกิ ษุผ้เู ป็นเสขะ เข้าไปยังหมูบ่ า้ นในเวลาเชา้ เกนิ ไป กลับมาในเวลาสายเกินไป แล้วละการหลีกเร้น ไม่ประกอบ ความสงบใจภายใน ๕. ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เสขะ ไมไ่ ดต้ ามความปรารถนา ไดโ้ ดยยาก ได้โดยลำ�บาก ซึ่งกถาเป็นเครื่องขัดเกลากิเลส ทำ�ให้จิตโปร่ง สบาย คือ อัปปิจฉกถา (เรื่องความมักน้อย) สันตุฏฐิกถา (เรอ่ื งความสนั โดษ) ปวเิ วกกถา (เรอื่ งความสงดั ) อสงั สคั คกถา (เรื่องความไมค่ ลุกคลี) วีรยิ ารัมภกถา (เร่ืองการปรารภความ เพยี ร) สลี กถา (เร่อื งศีล) สมาธกิ ถา (เร่อื งสมาธิ) ปัญญากถา (เร่ืองปัญญา) วิมุตติกถา (เรือ่ งวมิ ตุ ต)ิ วมิ ุตติญาณทัสสนกถา (เร่ืองความรู้ความเห็นในวิมุตติ) แล้วละการหลีกเร้น ไม่ประกอบความสงบใจภายใน www.webkal.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook