พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 51 ชาติได้ มีตาทิพย์ เห็นการไปเกิดมาเกิด ของสัตว์ทั้งหลาย และท�ำ อาสวะกเิ ลสใหส้ นิ้ ไปได้ และในสมยั ตอ่ มากไ็ ดป้ รนิ พิ พาน พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตรสั วา่ “ตอ้ งเอาชนะคนไมด่ ดี ว้ ย ความด”ี แตจ่ ะทำ�ไดอ้ ยา่ งนน้ั จดุ เริม่ ตน้ ทส่ี �ำ คญั คือ การระงับ ใจมิใหเ้ กดิ ความโกรธแค้นต่อภัยท่ีเกดิ จากคนพาลเสยี ก่อน ถือ หลกั วา่ “โกรธคอื โง่ โมโหคอื บา้ ” แลว้ ตอบโตด้ ว้ ยการท�ำ ความดี ใหห้ นกั ขน้ึ กจ็ ะเกดิ เปน็ ตบะบารมที จี่ ะปอ้ งกนั ระงบั ภยั ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ อกี จนคนพาลเกดิ สำ�นกึ เปลยี่ นจติ กลบั ใจ หรอื แพภ้ ยั ตนเอง ไป จึงจะได้ชือ่ วา่ ชนะด้วยความดี www.webkal.org
www.webkal.org
ผชู้ ้ชี ะตาโลก นับแต่โบราณมา มนุษย์เฝ้าเรียนรู้ศึกษาธรรมชาติ เพราะรสู้ ึกวา่ ธรรมชาตนิ ้ันชา่ งกว้างขวาง ย่ิงใหญเ่ หลือคณา มิอาจต้านทานได้ จนบางกลุ่มบางหมู่ถึงกับยกให้เป็นเทพเจ้า เช่น พระพิรุณ สุริยเทพ อัคนีเทพ เป็นต้น และว่าเป็นผู้ ลขิ ติ ชะตาของมนุษยแ์ ละโลก จนเกิดเป็นลัทธิศาสนาเทวนยิ ม มากมาย แต่เมอ่ื พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้ามาบังเกิดข้นึ ตรสั รูธ้ รรม จึงทรงไขความกระจ่างให้รู้ว่า ตัวตนภายในของมนุษย์น้ันมี ความยิง่ ใหญน่ ัก แท้จรงิ ผกู้ ำ�หนดธรรมชาติ กำ�หนดความเปน็ ไปของโลก รวมถงึ ชะตาของมนษุ ย์ ก็คือ ตวั เรานน่ั เอง ดงั ท่ี พระองค์ตรัสไว้ใน ธัมมกิ สูตร วา่ ภิกษทุ ง้ั หลาย ในเวลาที่พระราชาไมต่ งั้ อยู่ในธรรม แมพ้ วกข้าราชการกไ็ ม่ตง้ั อยู่ในธรรม เมอื่ พวกข้าราชการไมต่ งั้ อย่ใู นธรรม แมพ้ ราหมณ์และ คหบดกี ็ไมต่ ั้งอยใู่ นธรรม ธมั มิกสูตร : พระสุตตนั ตปิฎก องั คุตตรนกิ าย จตกุ นิบาต, มมร. เลม่ ๓๕ หนา้ ๒๒๑ www.webkal.org
54 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เมือ่ พราหมณ์และคหบดไี ม่ตั้งอยใู่ นธรรม แม้ชาวนิคม และชาวชนบทก็ไม่ตัง้ อยใู่ นธรรม เมอื่ ชาวนคิ มและชาวชนบทไมต่ งั้ อยใู่ นธรรม ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์ก็โคจร (หมนุ ) ไปไม่สม�ำ่ เสมอ เม่อื ดวงจันทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ โคจรไปไมส่ ม่ำ�เสมอ หมดู่ าวนกั ษตั รก็โคจรไปไมส่ ม่�ำ เสมอ เมอื่ หมดู่ าวนักษตั รโคจรไปไม่สมำ่�เสมอ คนื และวันก็ หมุนเวียนไปไม่สม�่ำ เสมอ เมอื่ คนื และวนั หมนุ เวียนไปไม่สม่ำ�เสมอ เดอื นหน่ึงและ ครึง่ เดือนกห็ มนุ เวยี นไปไมส่ มำ�่ เสมอ เมอื่ เดอื นหน่ึงและครง่ึ เดอื น หมุนเวียนไปไมส่ มำ่�เสมอ ฤดแู ละปกี ห็ มุนเวยี นไปไม่สม่ำ�เสมอ เม่ือฤดูและปหี มุนเวยี นไปไม่สม�ำ่ เสมอ ลมกพ็ ดั ไปไม่ สม�่ำ เสมอ พัดไปผดิ ทางไม่สม่ำ�เสมอ เมื่อลมพัดไปไม่สม่ำ�เสมอ พัดไปผดิ ทางไม่สมำ่�เสมอ พวกเทวดาก็ปั่นป่วน เมือ่ พวกเทวดาป่ันป่วน ฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เม่ือฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาล ข้าวกล้าทง้ั หลายกอ็ อก รวงสกุ ไม่พรอ้ มกัน ภกิ ษุทงั้ หลาย มนุษย์ทัง้ หลายบริโภคขา้ วกล้าที่สกุ ไม่ พรอ้ มกันย่อมมอี ายนุ ้อย ๑ มผี วิ พรรณไมด่ ี ๑ มีกำ�ลังไมด่ ี ๑ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 55 มีความเจบ็ ปว่ ยมาก ๑ ในเวลาทพ่ี ระราชาตงั้ อยใู่ นธรรม แม้พวกขา้ ราชการ กต็ ัง้ อยูใ่ นธรรม เมอื่ พวกขา้ ราชการตงั้ อยูใ่ นธรรม แม้พราหมณ์และ คหบดกี ต็ งั้ อยใู่ นธรรม เมื่อพราหมณ์และคหบดตี ง้ั อย่ใู นธรรม แมช้ าวนิคม และชาวชนบทก็ตง้ั อย่ใู นธรรม เมื่อชาวนิคมและชาวชนบทตั้งอยใู่ นธรรม ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์กโ็ คจรไปสมำ่�เสมอ เมอ่ื ดวงจนั ทร์และดวงอาทิตย์โคจรไปสม�่ำ เสมอ หม่ดู าว นักษัตรก็โคจรไปสม่ำ�เสมอ เมื่อหมดู่ าวนกั ษตั รโคจรไปสมำ�่ เสมอ คนื และวันก็ หมุนเวียนไปสม�ำ่ เสมอ เมอื่ คืนและวันหมนุ เวยี นไปสมำ่�เสมอ เดือนหนึง่ และ ครึ่งเดือนก็หมุนเวยี นไปสมำ่�เสมอ เมื่อเดือนหนึ่งและครึ่งเดือนหมุนเวียนไปสม่ำ�เสมอ ฤดแู ละปีก็หมนุ เวยี นไปสม่ำ�เสมอ เมอ่ื ฤดแู ละปหี มนุ เวยี นไปสม�ำ่ เสมอ ลมกพ็ ดั ไปสม�ำ่ เสมอ พัดไปถกู ทางสมำ่�เสมอ เมื่อลมพัดไปสม่ำ�เสมอ พัดไปถูกทางสม่ำ�เสมอ พวก เทวดากไ็ มป่ ัน่ ปว่ น www.webkal.org
56 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เมื่อพวกเทวดาไมป่ ั่นป่วน ฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล เม่ือฝนตกตอ้ งตามฤดกู าล ข้าวกล้าทงั้ หลายก็ออกรวง สุกพร้อมกนั ภกิ ษทุ ้งั หลาย มนษุ ย์ท้ังหลายบรโิ ภคข้าวกลา้ สกุ พรอ้ ม กนั ย่อมมอี ายยุ นื ๑ มผี ิวพรรณผอ่ งใส ๑ มีกำ�ลัง ๑ มคี วาม เจ็บปว่ ยน้อย ๑ เมอื่ ฝูงโคข้ามน�ำ้ ไป ถา้ โคจา่ ฝูงไปคดเค้ียว โคทั้งฝูงก็ไป คดเค้ยี วตามกัน ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้น้ันประพฤติไม่เป็นธรรม ประชาชนชาวเมืองนั้นก็จะ ประพฤตไิ มเ่ ปน็ ธรรมตามไปดว้ ย หากพระราชาไมต่ ง้ั อยใู่ นธรรม ชาวเมอื งนั้นก็อยเู่ ปน็ ทกุ ข์ เมอื่ ฝงู โคขา้ มน�้ำ ไป ถา้ โคจา่ ฝงู ไปตรง โคทงั้ ฝงู กไ็ ปตรง ตามกัน ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งต้ังให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้นั้นประพฤติชอบธรรม ประชาชนชาวเมืองน้ันก็จะ ประพฤติชอบธรรมตามไปดว้ ย หากพระราชาตง้ั อย่ใู นธรรม ชาวเมอื งนั้นกอ็ ยเู่ ปน็ สขุ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 57 สรปุ ได้วา่ โลกท้งั ใบขน้ึ อยู่กับใจของเรา ดงั นัน้ โลกน้ีจะ เปน็ สุขน่าอยู่ หรอื เปน็ ทกุ ขไ์ ม่น่าอยู่ กอ็ ยูท่ ี่การกระทำ�ของเรา นนั่ เอง และยง่ิ กวา่ นน้ั มนษุ ยชาตจิ ะรสู้ กึ ถงึ ความยงิ่ ใหญภ่ ายใน ตนได้ ก็ต่อเมอื่ ท�ำ จิตใหห้ ยุดน่งิ จนหลดุ พน้ จากกรอบของโลก เขา้ ไปสภู่ ายใน พบกบั ตวั ตนทแ่ี ทจ้ รงิ ทใ่ี สสวา่ ง สะอาดบรสิ ทุ ธิ์ เปน็ อิสระจากกิเลสอาสวะใดๆ เมื่อนน้ั เราจะตระหนักถงึ ความ ยงิ่ ใหญข่ องกายมนษุ ยว์ า่ เราคอื ผกู้ ำ�หนดควบคมุ ชะตาของโลก อยา่ งแทจ้ รงิ ดังนี้ www.webkal.org
www.webkal.org
ผู้อยใู่ กล้ตถาคต ธรรมดาเม่ือเรารักใคร เคารพใคร ก็อยากอยู่ใกล้ผู้ท่ี เรารักเราเคารพน้ัน ดังเช่น หลายท่านปรารภว่า เสียดายท่ี เราเกิดมาไม่ทันพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ไดแ้ ตศ่ ึกษาคำ�สอนของ พระองค์ผ่านพระไตรปิฎก หรือครูบาอาจารย์ท่ีรักษาสืบทอด ต่อกนั มา การได้ฟังธรรมต่อหนา้ พระพกั ตร์ของพระสัมมาสัม- พุทธเจ้าย่อมเป็นสงิ่ ท่ดี ีท่ีสุด แต่ถงึ จะทำ�เชน่ น้นั ไม่ทนั เสียแลว้ กย็ ังไมห่ มดหวังเสียทีเดยี ว การใกลช้ ิดนั้น มที ัง้ ใกล้ชดิ ดว้ ยกาย และใกลช้ ดิ ดว้ ยใจทต่ี รงกนั หรอื ใกลช้ ดิ ดว้ ยกายธรรมภายใน ซงึ่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงสรรเสรญิ วา่ ผมู้ ใี จตรงกนั กบั พระองค์ คอื เปน็ ผปู้ ระพฤตธิ รรรม ไดช้ อื่ วา่ อยใู่ กลพ้ ระตถาคตอยา่ งแทจ้ รงิ ดงั ปรากฏใน สังฆาฏิสตู ร ว่า “ภิกษุทั้งหลาย แม้ถ้าภิกษุจับชายผ้าสังฆาฏิแล้วเดิน ตามรอยเท้าเรา ตดิ ตามไปข้างหลงั แต่ภกิ ษุนัน้ มคี วามละโมบ ก�ำ หนดั ยนิ ดอี ยา่ งแรงกลา้ ในกาม มจี ติ พยาบาท คดิ ประทษุ รา้ ย หลงลมื สติ ไมร่ ู้สึกตวั มีจิตไม่ตงั้ มัน่ กระสบั กระสา่ ยไม่สำ�รวม อนิ ทรยี ์ แท้จริงแล้ว ภกิ ษุนัน้ กย็ ังช่อื ว่า อยู่ห่างไกลเรา เราก็ สงั ฆาฏิสูตร : พระสุตตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย อิตวิ ุตตกะ, มมร. เล่ม ๔๕ หนา้ ๕๘๒ www.webkal.org
60 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก หา่ งไกลภิกษุนั้น น่ันเปน็ เพราะเหตไุ ร เพราะภิกษุนนั้ ยงั ไมเ่ หน็ ธรรม เมอื่ ไม่เห็นธรรม ชือ่ ว่าไม่เห็นเรา ภิกษุท้ังหลาย แม้ถ้าภิกษุอยู่ไกลเราถึง ๑๐๐ โยชน์ แต่ภิกษุนั้นไม่มีความละโมบ ไม่กำ�หนัดยินดีอย่างแรงกล้าใน กาม มจี ติ ไมพ่ ยาบาท ไมค่ ดิ ประทษุ รา้ ยมสี ตติ ง้ั มนั่ มคี วามรสู้ กึ ตัว มจี ติ ตัง้ มนั่ แน่วแน่ สำ�รวมอนิ ทรยี ์ แทจ้ รงิ แล้วภกิ ษุน้นั กช็ ื่อว่า อยู่ใกล้เรา เราก็อยใู่ กล้ภกิ ษนุ นั้ นั่นเป็นเพราะเหตไุ ร เพราะภิกษุนั้นเหน็ ธรรม เมอ่ื เห็นธรรม ช่ือวา่ เหน็ เรา” และพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เคยตรัสสอนเช่นน้ีแก่ พระวักกลิ ผู้ออกบวช เพราะศรัทธาช่ืนชมต่อความงาม ในสรรี กายของพระพทุ ธองคอ์ ยา่ งยงิ่ ไดต้ ดิ ตามดพู ระองคอ์ ยา่ ง ไมร่ เู้ บอ่ื หนา่ ย จงึ คดิ วา่ วธิ ที จ่ี ะท�ำ ใหไ้ ดเ้ หน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ อยู่ทุกวนั คอื การบรรพชาอุปสมบท ครนั้ เมอื่ ไดบ้ วชแลว้ เวน้ จากเวลาฉนั ภตั ตาหาร กต็ ิดตามดูพระพทุ ธเจา้ ทกุ เวลา กาลต่อมา เม่ืออินทรีย์ของพระวักกลิแก่รอบแล้ว พระพทุ ธองคจ์ ึงตรสั อยา่ งน้ีวา่ “วกั กลิ ท่านจะได้ประโยชนอ์ ะไร ด้วยการมองรปู กาย อันเป่อื ยเน่านี้ วกั กลิ ผู้ใดเห็นธรรม ผูน้ น้ั ชอ่ื ว่าเหน็ เราตถาคต ผู้ใดเหน็ เราตถาคต ผ้นู ัน้ ชอ่ื วา่ เห็นธรรม วักกลิ เห็นธรรมจึง พระวกั กลิเถระ : พระสตุ ตนั ตปฎื ก อังคตุ ตรนิกาย เอกนิบาต, มมร. เลม่ ๓๒ หนา้ ๓๘๙ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 61 จะชื่อวา่ เห็นเรา” พระพทุ ธองคแ์ มท้ รงประทานโอวาทอย่างนี้ พระเถระ ก็ไม่อาจละการติดตามดูสรีรกายพระพุทธเจ้าได้ ดังน้ันจึง ทรงดำ�ริว่า ‘ภิกษุน้ีหากไม่ได้ความสังเวช จักไม่ตรัสรู้’ เม่ือ ใกล้เขา้ พรรษา จงึ ทรงประกาศขบั ไลพ่ ระเถระน้ันว่า “วักกลิ จงหลีกไป” ธรรมดาพระด�ำ รสั ของพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลายใครๆ มอิ าจ บิดพลิ้วได้ เพราะฉะนั้น พระเถระจึงไม่อาจมาปรากฏตัวต่อ หน้าพระพุทธองคไ์ ดอ้ กี คดิ นอ้ ยใจวา่ “บดั นเี้ ราจะทำ�อยา่ งไร ได้ เราถกู พระตถาคตประณามเสยี แล้ว เมื่อไม่ไดเ้ ห็นพระองค์ ประโยชนอ์ ะไรดว้ ยชวี ิตของเรา” จึงขนึ้ สู่หน้าผาทเี่ ขาคิชฌกูฏ เพ่อื จะฆา่ ตวั ตาย พระศาสดาทรงทราบเหตนุ ั้น ทรงดำ�รวิ ่า ภิกษนุ ้ีเมอ่ื ไม่ ได้ความปลอบใจจากเรา ก็จะพึงทำ�ลายอุปนิสัยแห่งมรรคผล เสยี จงึ ทรงเปลง่ รัศมไี ปแสดงพระองค์อยู่กลางอากาศ ครั้งนนั้ เมอื่ พระวกั กลนิ ้นั เห็นพระศาสดา กล็ ะความโศกศัลย์ในทันที พระศาสดาเพอื่ จะใหพ้ ระวกั กลเิ ถระเกดิ ปตี โิ สมนสั แรง ขน้ึ เหมอื นหลงั่ กระแสนำ้�ลงในสระทีแ่ หง้ จงึ ตรัสวา่ “ภิกษุผู้ มากด้วยความปราโมทย์ เล่ือมใสในพระพุทธศาสนา จะพึง www.webkal.org
62 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก บรรลุสันตบท (นพิ พาน) อันเป็นท่รี ะงับสังขาร เป็นสขุ ” แลว้ พระศาสดาทรงเหยยี ดพระหตั ถป์ ระทานแกพ่ ระวกั กลิ เถระวา่ “มาเถิด วักกล”ิ พระเถระบังเกิดปตี อิ ยา่ งแรงกล้าวา่ เราเห็นพระทศพลแล้วยงั ไดร้ บั พระดำ�รัสตรัสเรียกวา่ “มาเถดิ วักกลิ” ลืมส้ินว่า ตนอยู่ในท่ีใด จึงโลดแล่นไปในอากาศต่อ พระพกั ตร์พระทศพล แล้วขณะทเ่ี ท้ายงั ไม่พน้ ภเู ขา นกึ ถึงพระ ด�ำ รสั ทพ่ี ระศาสดาตรสั แลว้ ขม่ ปตี ใิ นอากาศนน่ั เอง บรรลพุ ระ- อรหัตพรอ้ มด้วยปฏสิ มั ภิทา ลงมาถวายบังคมพระตถาคต ภายหลงั พระศาสดาทรงสถาปนาพระวกั กลเิ ถระ ไวใ้ น ต�ำ แหนง่ เอตทคั คะ เปน็ ยอดของเหลา่ ภกิ ษผุ หู้ ลดุ พน้ ดว้ ยศรทั ธา การไดเ้ หน็ ไดอ้ ยูใ่ กล้ ครบู าอาจารยเ์ พยี งกายหยาบ ยงั ไมไ่ ดช้ อื่ วา่ อยใู่ กลท้ แ่ี ทจ้ รงิ แตก่ ารตงั้ ใจปฏบิ ตั ติ ามคำ�สอนของ ท่าน จึงจะได้ชือ่ ว่า ใกลช้ ิดท่าน แม้กายอยหู่ า่ งไกล แต่หวั ใจ ตรงกัน และหากย่ิงปฏบิ ัตธิ รรมใหเ้ ข้าถงึ พระธรรมกายภายใน ดว้ ยแลว้ มเิ พยี งแคใ่ กลช้ ดิ แตไ่ ดช้ อื่ วา่ ไดเ้ ขา้ ถงึ เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกบั ครบู าอาจารย์ และพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทกุ ๆ พระองค์ ทเี ดียว www.webkal.org
นำ้�ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ แก้วิบากกรรม “น้ำ�ศักดิ์สิทธิ์” เป็นความเชื่อท่ีมีอยู่ในหลายชนชาติ ศาสนา แม้แตช่ าวพทุ ธเอง บางคนก็ยังแสวงหาว่า นำ้�มนตร์ วดั ไหนดัง ศักดิส์ ิทธ์ิ ดน้ั ดน้ ไปเอามาอาบดื่มกนิ ให้เกิดโชคลาภ หายทุกข์หายโศก ว่ากันไป หากว่ามีนำ้�ศักดิ์สิทธิ์ที่ล้างบาป ลา้ งทุกขไ์ ดจ้ รงิ ก็คงจะดไี ม่น้อยเลย เราจะได้ไม่ตอ้ งกังวลกบั กรรมชว่ั ทเ่ี ราเผลอพลงั้ ท�ำ ไปในอดีต แล้วหากมีผู้บอกท่านว่า ในพระพุทธศาสนาก็มีวิธี “ลา้ งบาป” เหมือนกนั ท่านจะเชื่อหรือไม่ ลองมาดคู ำ�สอนของ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ดงั ต่อไปนี้ ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกน้ี ทำ�บาปกรรมแม้ เพียงเล็กน้อย บาปกรรมก็นำ�เขาไปสู่นรกได้ ส่วนบุคคลบาง คนในโลกน้ี ท�ำ บาปกรรมเพียงเลก็ น้อย เชน่ นนั้ แล บาปกรรม นั้นให้ผลในปัจจุบันเท่านั้น ไม่ให้ผลแม้แต่น้อยในอัตภาพท่ี ๒ (ชาติหนา้ ) ไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งพูดถึงผลมาก (๑) บุคคลที่ทำ�บาปกรรมแมเ้ พยี งเลก็ น้อย บาปกรรม โลณกสตู ร : พระสตุ ตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย ตกิ นิบาต, มมร. เลม่ ๓๔ หน้า ๔๙๒ www.webkal.org
64 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก นัน้ ก็นำ�เขาไปสูน่ รกได้ คอื บคุ คลเชน่ ไร คือ บุคคลบางคนในโลกน้ี ไม่เจริญกาย ไม่เจริญศีล ไม่เจริญจิต ไม่เจริญปญั ญา มีคุณนอ้ ย มีอตั ภาพนอ้ ย (ใจคบั แคบ ใจหยาบ ใจต�่ำ ทราม) เปน็ อปั ปทกุ ขวหิ ารี (มกั อยเู่ ปน็ ทกุ ข์ เพราะผลกรรมเลก็ นอ้ ย) บคุ คลเชน่ นท้ี �ำ บาปกรรมแมเ้ พยี งเลก็ น้อย บาปกรรมนั้นกน็ ำ�เขาไปสู่นรกได้ (๒) บุคคลท่ีทำ�บาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นน้ันแล บาปกรรมน้ันให้ผลในปัจจุบันเท่านั้น ไม่ให้ผลแม้แต่น้อยใน อัตภาพท่ี ๒ ไม่จำ�เป็นต้องพูดถึงผลมาก คือ บุคคลเชน่ ไร คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ เจริญกาย เจริญศีล เจรญิ จิต เจรญิ ปัญญาแล้ว มคี ณุ มาก มีอตั ภาพใหญ่ (ใจกว้าง ขวาง ใจบญุ ใจสงู ) เป็นอัปปมาณวหิ ารี (มปี กติอยดู่ ้วยธรรม อันหาประมาณมิได้ คือเป็นคนไม่มีกิเลสหรือไม่แสดงกิเลส) บุคคลเชน่ นท้ี �ำ บาปกรรมเพยี งเลก็ น้อยเชน่ นั้นแล บาปกรรม น้นั ใหผ้ ลในปัจจุบนั เท่านัน้ ไม่ใหผ้ ลแมแ้ ต่นอ้ ยในอตั ภาพที่ ๒ ไม่จ�ำ เปน็ ตอ้ งพดู ถึงผลมาก ภิกษุทง้ั หลาย เปรียบเหมือน บรุ ษุ ใสก่ ้อนเกลอื ลงในขัน ใบน้อย เธอทั้งหลายเข้าใจเรื่องนั้นอย่างไร น้ำ�ในขันเล็กน้อย นั้นเค็ม ดม่ื กินไมไ่ ด้เพราะกอ้ นเกลอื โน้น ใชห่ รอื ไม่ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 65 “อย่างนั้น พระพุทธเจ้าขา้ ” “ขอ้ นน้ั เพราะเหตไุ ร” “เพราะในขนั น�้ำ มนี ำ้�นดิ หนอ่ ย น้�ำ น้นั จึงเคม็ ดืม่ กินไม่ ได้เพราะก้อนเกลือโน้น พระพุทธเจ้าขา้ ” “หากบุคคลใสก่ อ้ นเกลอื ลงในแมน่ �ำ้ คงคา เธอทง้ั หลาย เข้าใจเรื่องนั้นอยา่ งไร แม่น้ำ�คงคาน้นั เคม็ ดืม่ กนิ ไมไ่ ดเ้ พราะ ก้อนเกลือโน้นใช่หรอื ไม่” “ไม่ใชอ่ ย่างนนั้ พระพุทธเจา้ ขา้ ” “ข้อนั้นเพราะเหตุไร” “เพราะในแมน่ �ำ้ คงคานนั้ มหี ว้ งน�ำ้ ใหญ่ น�ำ้ นน้ั จงึ ไมเ่ คม็ ดืม่ กนิ ได้เพราะกอ้ นเกลอื โน้น พระพทุ ธเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบาง คนในโลกน้ีก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ทำ�บาปกรรมแม้เพียงเล็ก น้อย บาปกรรมนน้ั กน็ �ำ เขาไปสู่นรกได้ ส่วนบคุ คลบางคนใน โลกน้ี ท�ำ บาปกรรมเพยี งเลก็ นอ้ ยเชน่ นนั้ แล บาปกรรมนนั้ ใหผ้ ล ในปัจจบุ ันเทา่ นัน้ ไมใ่ หผ้ ลแมแ้ ต่นอ้ ยในอตั ภาพท่ี ๒ ไมจ่ ำ�เปน็ ต้องพดู ถงึ ผลมาก” www.webkal.org
66 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ดังนนั้ หากชีวติ เรา มีรสเคม็ คอื กำ�ลงั ทกุ ขด์ ้วยวิบาก กรรมท่ีตามมาส่งผล ก็สามารถเติมนำ้�ศักด์ิสิทธิ์แก้ความเค็ม ให้เจอื จาง หรอื หมดรสเค็ม ได้ดว้ ยการสร้างความดี สร้างบญุ ให้สุดก�ำ ลงั เมื่อบุญมปี ริมาณและความเข้มขน้ มากพอ บาปก็ ย่อมเจือจาง หรอื ตามมาสง่ ผลไมท่ ัน จนกลายเป็นอโหสิกรรม ในท่ีสดุ นแ่ี ลคอื วิธีลา้ งบาปในพระพุทธศาสนา ล้างบาปดว้ ย การสร้างบุญอย่างเตม็ กำ�ลงั www.webkal.org
www.webkal.org
www.webkal.org
www.webkal.org
www.webkal.org
ตาบอดคลำ�ชา้ ง นนิ ทาและสรรเสรญิ เปน็ โลกธรรม ทอี่ ยคู่ มู่ นษุ ยชาตมิ า ตลอด เพราะในโลกน้ี “นกั พดู ” มมี ากกวา่ “นักท�ำ ” ผู้ทีม่ ีปกติ ชอบพดู วพิ ากษว์ จิ ารณ์ เยาะเยย้ ถากถางผอู้ น่ื มกั เปน็ ผไู้ มร่ จู้ รงิ ในสง่ิ ทพี่ ดู เพราะธรรมดาวา่ กระบอกไมไ้ ผท่ ปี่ ราศจากน�้ำ ยอ่ มตี ดงั โบราณเปรยี บผทู้ ไี่ มร่ ู้ ไมเ่ หน็ จรงิ แตช่ อบพดู วพิ ากษว์ จิ ารณ์ ไปตามความเข้าใจทีผ่ ิดๆ ของตน ด้วยคำ�พังเพยว่า “ตาบอด คล�ำ ชา้ ง” ซง่ึ มที มี่ าจาก ค�ำ สอนเชงิ อปุ มาของพระสมั มาสมั พทุ ธ- เจ้าใน ปฐมกริ สูตร ว่า สมยั หน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี เขตกรงุ สาวตั ถี สมยั นน้ั มสี มณ พราหมณ์และปริพาชกจำ�นวนมาก ผู้มีลัทธิคำ�สอนแตกต่าง กัน อาศยั อยใู่ นกรุงสาวัตถ.ี .. สมณพราหมณ์เหล่านนั้ เกิดการ บาดหมางกัน ทะเลาะวิวาทกัน ใช้หอกคือปากท่ิมแทงกันอยู่ วา่ “อย่างน้ีเปน็ ธรรม อยา่ งนีม้ ใิ ช่ธรรม ธรรมตอ้ งไม่เปน็ อยา่ ง นี้ ธรรมตอ้ งเป็นอยา่ งน้ี” ปฐมกริ สูตร : พระสุตตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อทุ าน, มมร. เล่ม ๔๔ หนา้ ๖๑๒. www.webkal.org
72 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก พระภิกษุทเ่ี ขา้ ไปบณิ ฑบาตในกรงุ สาวัตถี ไดท้ ราบขา่ ว น้ัน จึงกราบทลู เล่าเหตุการณ์น้ี แดพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุท้ังหลาย อัญเดียรถีย์ ปริพาชกเป็นคนบอดไม่มีจักษุ จึงไม่รู้ประโยชน์ ไม่รู้ส่ิงท่ีมิใช่ ประโยชน์ ไมร่ ธู้ รรม ไมร่ สู้ ง่ิ ทม่ี ใิ ชธ่ รรม เมอ่ื ไมร่ ู้ ฯลฯ กเ็ กดิ การ บาดหมางกัน ทะเลาะวิวาทกนั ใชห้ อกคือปากท่มิ แทงกนั อยู่ ภิกษุท้ังหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว ในกรุงสาวัตถีนี้เอง มพี ระราชาพระองคห์ นง่ึ รบั สง่ั เรยี กบรุ ษุ คนหนงึ่ มาตรสั วา่ “พอ่ หนุ่ม เจ้าจงไป จงบอกให้คนตาบอดทั้งหมดในกรุงสาวัตถีมา ประชุมร่วมกัน” บุรุษน้ันทูลรับสนองพระดำ�รัสแล้ว พาคน ตาบอดท้ังหมดในกรุงสาวตั ถเี ข้าไปเฝ้าพระราชาถึงท่ปี ระทบั ไดก้ ราบทลู พระราชาดังนี้วา่ “ขอเดชะ คนตาบอดทั้งหลายใน กรุงสาวตั ถีมาประชมุ กันแล้ว พระเจา้ ขา้ ” พระราชาตรัสว่า “พอ่ หนมุ่ ถา้ อย่างนัน้ เจา้ จงแสดง ช้างแกค่ นตาบอดทั้งหลายเถดิ “บุรษุ น้นั ทลู รบั สนองพระด�ำ รัส แลว้ จึงแสดงชา้ งแก่คนตาบอดทั้งหลาย คือ แสดง หัวช้าง แก่คนตาบอดพวกหน่ึง บอกวา่ “ท่านทง้ั หลาย ช้างเป็นอยา่ งน้ี” แสดง หูชา้ ง แก่คนตาบอดพวกหน่งึ บอกว่า “ทา่ นท้ังหลาย ช้างเปน็ อยา่ งน้ี” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 73 แสดง งาชา้ ง แก่คนตาบอดพวกหนึง่ บอกว่า “ทา่ นท้งั หลาย ชา้ งเป็นอยา่ งน้”ี แสดง งวงช้าง แกค่ นตาบอดพวกหนงึ่ บอกว่า “ทา่ นทง้ั หลาย ช้างเป็นอยา่ งน”ี้ แสดง ตัวช้าง แก่คนตาบอดพวกหนงึ่ บอกว่า “ทา่ นทัง้ หลาย ชา้ งเป็นอย่างนี้” แสดง เท้าชา้ ง แก่คนตาบอดพวกหน่งึ บอกวา่ “ท่านทง้ั หลาย ชา้ งเป็นอย่างน”้ี แสดง ระหว่างขาออ่ นชา้ ง แกค่ นตาบอดพวกหน่ึง บอกวา่ “ท่านท้งั หลาย ช้างเป็นอย่างน้ี” แสดง หางช้าง แก่คนตาบอดพวกหนงึ่ บอกวา่ “ทา่ นท้งั หลาย ช้างเปน็ อยา่ งน”้ี แสดง ขนหางชา้ ง แกค่ นตาบอดพวกหน่ึง บอกว่า “ท่านทัง้ หลาย ช้างเปน็ อย่างนี”้ ภิกษุท้ังหลาย บุรุษน้ันคร้ันแสดงช้างแก่คนตาบอดท้ัง หลายแล้ว ได้เข้าเฝ้าพระราชาพระองค์น้ันถึงที่ประทับแล้ว กราบทูลดังนี้ว่า “ขอเดชะ คนตาบอดท้ังหลายเห็นช้างแล้ว พระเจ้าขา้ ขอพระองค์จงทรงกำ�หนดเวลาทส่ี มควร ณ บัดน้ี เถิด” ภิกษุทงั้ หลาย ลำ�ดบั นนั้ พระราชาพระองคน์ นั้ ได้เสด็จ www.webkal.org
74 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ไปหาคนตาบอดเหล่าน้ัน ได้ตรัสกับคนตาบอดทั้งหลายดังน้ี ว่า “ท่านท้ังหลาย พวกท่านเห็นช้างแล้วหรือ” คนตาบอด เหล่านั้นกราบทูลว่า “ขอเดชะ ข้าพระองค์ท้ังหลายเห็นแล้ว พระเจ้าขา้ ” พระราชาตรัสว่า “ท่านทั้งหลาย พวกท่านกล่าวว่า “ข้าพระองคท์ ง้ั หลายเหน็ ช้างแล้ว ช้างเปน็ อยา่ งไร” คนตาบอดพวกที่คลำ�หัวช้าง กราบทูลอย่างน้ีว่า “ชา้ งมีรปู รา่ งเหมือนหมอ้ พระเจา้ ข้า” คนตาบอดพวกที่คลำ�หูช้าง กราบทูลอย่างน้ีว่า “ช้างมรี ูปรา่ งเหมือนกระด้ง พระเจ้าข้า” คนตาบอดพวกท่ีคลำ�งาช้าง กราบทูลอย่างนี้ว่า “ชา้ งมรี ปู ร่างเหมือนตอไม้ พระเจ้าข้า” คนตาบอดพวกท่ีคลำ�งวงช้าง กราบทูลอย่างน้ีว่า “ชา้ งมีรูปรา่ งเหมอื นงอนไถ พระเจา้ ขา้ ” คนตาบอดพวกที่คลำ�ตัวช้าง กราบทูลอย่างนี้ว่า “ช้างมีรปู ร่างเหมือนยุง้ ขา้ ว พระเจา้ ข้า” คนตาบอดพวกที่คลำ�เท้าช้าง กราบทูลอย่างน้ีว่า “ช้างมรี ูปร่างเหมือนเสา พระเจา้ ข้า” คนตาบอดพวกทค่ี ล�ำ ระหวา่ งขาออ่ นชา้ ง กราบทลู อยา่ ง น้ีวา่ “ชา้ งมรี ูปรา่ งเหมือนครก พระเจา้ ขา้ ” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 75 คนตาบอดพวกที่คลำ�หางช้าง กราบทูลอย่างนี้ว่า “ชา้ งมรี ปู ร่างเหมือนสากต�ำ ขา้ ว พระเจ้าข้า” คนตาบอดพวกท่ีคลำ�ขนหางช้าง กราบทูลอย่างนี้ว่า “ชา้ งมีรูปร่างเหมือนไมก้ วาด พระเจา้ ข้า” ภิกษุทั้งหลาย คนตาบอดเหล่านั้นต่างกำ�หมัดทุ่มเถียง กันวา่ “อย่างน้คี อื ช้าง อยา่ งน้ีมใิ ชช่ ้าง ช้างตอ้ งไม่เปน็ อย่าง น้ี ช้างตอ้ งเปน็ อย่างน”ี้ ภกิ ษุทง้ั หลาย พระราชาพระองคน์ ั้น จงึ ทรงพอพระทยั ด้วยเหตุน้นั ภกิ ษทุ ง้ั หลาย อญั เดยี รถยี ป์ รพิ าชกเปน็ คนบอด ไมม่ จี กั ษุ จงึ ไมร่ ปู้ ระโยชน์ ไมร่ สู้ ง่ิ ทม่ี ใิ ชป่ ระโยชน์ ไมร่ ธู้ รรม ไมร่ สู้ งิ่ ทม่ี ใิ ช่ ธรรม เมอ่ื ไมร่ ฯู้ ลฯ ก็เกิดการบาดหมางกัน ทะเลาะวิวาทกนั ใช้หอกคอื ปากทิ่มแทงกนั อยูว่ า่ “อย่างนีเ้ ป็นธรรม อยา่ งน้มี ใิ ช่ ธรรม ธรรมต้องไม่เปน็ อยา่ งน้ี ธรรมต้องเป็นอย่างน้ี” มนษุ ยผ์ มู้ ตี าดที ง้ั หลายในโลกน้ี สว่ นมากกเ็ ปน็ เชน่ “คน ตาบอด” ในวัฏสงสาร เพราะถกู อวิชชา ความไม่รู้ ปดิ บงั ไว้ ดังน้ัน เราท่านอาจเป็นหน่ึงในพวก “ตาบอดคลำ�ช้าง” โดย ไมร่ ูต้ ัวกเ็ ปน็ ได้ หนทางสวา่ งท่จี ะพ้นจากความเป็นคนบอดได้ คอื “ปดิ ตา เปดิ ใจ รวมจติ ให้หยดุ นิ่งเป็นหนง่ึ ท่ีศนู ย์กลางกาย” เม่อื ใจบรสิ ทุ ธิ์ ยอ่ มเกิดความสว่างไสว ทำ�ลายความมืดบอดให้ สน้ิ ไปได้ เม่อื นัน้ เราจึงจะได้เปน็ “คนตาด”ี อย่างแทจ้ รงิ www.webkal.org
www.webkal.org
สมบตั ทิ ี่มคี ่าที่สดุ หลายคนในโลกมักไม่พอใจในสิ่งที่ตนมี ตนได้ แล้วก็ ขวนขวายให้ได้มาในสิ่งท่ีปรารถนา แม้ต้องแลกด้วยการทำ� ทจุ ริตก็ยอม อยา่ งนี้เรยี กวา่ ไดไ้ ม่คมุ้ เสีย เพราะกลับทำ�ลาย สมบตั ิทม่ี คี ่าทสี่ ดุ คือ การไดเ้ กิดเปน็ มนษุ ย์ ดว้ ยการทำ�ผิดศลี ผดิ ธรรม เพราะกายมนษุ ย์นี้ คอื ทุนรอนทีส่ �ำ คญั ท่สี ุดตอ่ การ สรา้ งบญุ บารมี จะไปเกดิ ในภพไหนๆ ไม่ว่าสุคตหิ รอื ทคุ ตภิ ูมิ ก็ ไมม่ โี อกาสสรา้ งบุญไดเ้ ชน่ เดียวกบั การไดเ้ กดิ เปน็ มนษุ ย์ กายมนุษย์บังเกิดขึ้นได้ด้วยอำ�นาจแห่งศีล หากเราไม่ รกั ษาสมบตั ทิ มี่ คี า่ ยงิ่ นใ้ี หด้ ี ดว้ ยการรกั ษาศลี สรา้ งความดี เมอื่ สญู เสียไปแล้ว โอกาสที่จะไดก้ ลับคนื มาอีกยากแสนยาก หรอื โอกาสนนั้ อาจจะไมเ่ วยี นกลบั มาอกี เลย ดงั ที่ พระสมั มาสมั พทุ ธ เจ้าตรสั ไวว้ ่า “กจิ โฺ ฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การไดอ้ ัตภาพเป็นมนุษย์ เปน็ การยาก” ดังท่ีตรสั สอนไว้ใน พาลบัณฑิตสตู ร ดงั นี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระ เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี พาลบณั ฑิตสตู ร : พระสุตตันตปิฎก มัชฌมิ นิกาย อุปริปัณณาสก์, มมร. เลม่ ๒๓ หน้า ๑๕๕ www.webkal.org
78 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก พระองค์ตรสั กบั ภิกษทุ งั้ หลายวา่ “ภิกษุทั้งหลาย บุรุษพึงโยนแอกที่มีรูเดียวลงไปใน มหาสมทุ ร ลมทางทศิ ตะวนั ออกพดั แอกนน้ั ไปทางทศิ ตะวนั ตก ลมทางทศิ ตะวนั ตกพดั แอกนน้ั ไปทางทศิ ตะวนั ออก ลมทางทศิ เหนอื พดั แอกนน้ั ไปทางทศิ ใต้ ลมทางทศิ ใตพ้ ดั แอกนน้ั ไปทางทศิ เหนอื ในมหาสมุทรน้ัน มีเต่าตาบอดอยู่ตัวหน่ึง ผ่านไป ๑๐๐ ปี มนั จะโผลข่ นึ้ มาคร้งั หน่งึ เธอทงั้ หลายเขา้ ใจความขอ้ นนั้ วา่ อยา่ งไร คอื เตา่ ตาบอด นั้นพึงสอดคอเข้าไปในแอกที่มีรูเดียวโน้นได้บ้างไหม” “ไม่ได้ พระพุทธเจ้าข้า แต่ถ้าเวลาล่วงเลยไปนานๆ บางคร้ังบางคราว มันก็จะสอดเข้าไปในแอกน้ันได้บ้าง พระพุทธเจา้ ขา้ ” พระผมู้ ีพระภาคตรัสว่า “ภกิ ษุทั้งหลาย เตา่ ตาบอดนั้น พึงสอดคอเข้าไปในแอกที่มีรูเดียวโน้นยังเร็วกว่า เรากล่าวว่า การทค่ี นพาลผไู้ ปสวู่ นิ บิ าต (อบายภมู )ิ คราวเดยี ว จะพงึ ไดเ้ ปน็ มนษุ ยอ์ ีกยากกวา่ นนั้ ข้อนัน้ เพราะเหตุไร เพราะในวนิ บิ าตนั้น ไมม่ กี ารประพฤตธิ รรม ไมม่ ีการ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 79 ประพฤติชอบ ไม่มีการท�ำ กุศล ไมม่ กี ารท�ำ บุญ ในวนิ ิบาตนั้น มแี ตส่ ตั วผ์ เู้ ค้ียวกินกนั เอง เค้ยี วกินสัตวผ์ ้มู ีกำ�ลังน้อยกว่า คนพาลน้ัน เพราะเวลาลว่ งเลยมานาน ในบางคร้ังบาง คราวถ้ามาเกิดเป็นมนุษย์ ก็จะเกิดในตระกูลตำ่� คือ ตระกูล คนจัณฑาล ตระกูลนายพราน ตระกูลช่างสาน ตระกูลช่าง รถ หรือตระกูลคนขนขยะเช่นนั้น ท่ีเป็นตระกูลยากจน มี ข้าว น�ำ้ และสิ่งของเครื่องใช้นอ้ ย เปน็ ไปอยา่ งฝืดเคอื ง เป็น แหล่งทีห่ าของกนิ และเคร่ืองน่งุ หม่ ไดย้ าก และคนพาลนนั้ มีผวิ พรรณหมน่ หมอง ไมน่ ่าดู ต่ำ�เตยี้ มีความเจบ็ ปว่ ยมาก ตาบอด เปน็ งอ่ ย เปน็ คนกระจอก หรอื เปน็ โรคอมั พาต มกั ไมไ่ ดข้ า้ ว น�ำ้ ผา้ ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลบู ไล้ ที่นอน ทพ่ี กั และ เครอื่ งประทปี และหากเขายงั ประพฤตกิ ายทจุ รติ วจที จุ รติ มโน ทุจรติ อกี หลงั จากตายแล้ว จะไปเกิดในอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก (อกี )…” นอกจากนนั้ พระพุทธองค์ยังตรัสอกี วา่ “กิจฉฺ ํ ธมมฺ สสฺ วนํ การไดฟ้ งั พระสัทธรรม เปน็ การยาก กิจโฺ ฉ พทุ ธฺ านมุปปฺ าโท การบงั เกดิ ขึ้นของพระสมั มา- สัมพทุ ธเจ้า หาไดย้ าก” www.webkal.org
80 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ดังน้ัน การได้เกิดเป็นมนุษย์ ได้พบพระพุทธศาสนา และไดม้ าเขา้ วดั ฟงั ธรรม จงึ เปน็ โชคลาภหลายชน้ั ของชาวพทุ ธ ทง้ั หลาย แตโ่ ชคนกี้ ม็ ไิ ดเ้ กดิ ดว้ ยความบงั เอญิ เราไดม้ าดว้ ยการ รักษาศลี ประพฤติธรรมมาขา้ มชาติ จงึ ควรทเ่ี ราทา่ นจะภาค ภมู ใิ จในความเปน็ ชาวพทุ ธ และตงั้ ใจสรา้ งบญุ บารมใี หเ้ ตม็ ที่ ให้ สมกบั ทไี่ ด้เกดิ มาเปน็ มนุษย์ได้พบพระพุทธศาสนาในภพชาตินี้ www.webkal.org
ตนลิขิตชวี ติ ตน พื้นฐานความเช่ือของคนโดยส่วนใหญ่ ที่ไม่ได้ศึกษาค�ำ สอน ในพระพทุ ธศาสนา มกั คดิ วา่ ชะตาชวี ติ ของคนเรานน้ั ขน้ึ อยกู่ บั พรหมลิขิต หรือฟ้าบันดาล บางคนก็เชื่อว่า พระเจ้าเป็น ผู้กำ�หนด จึงพยายามอ้อนวอนร้องขอให้ส่ิงเหล่านั้นช่วย ดลบนั ดาลให้ชวี ิตดีขึน้ แต่พวกเขาเหล่าน้ันหารู้ไม่ว่า แท้จริงแล้วไม่มีใคร กำ�หนดชะตาชีวิตใครได้ นอกจากตัวเขาจะเป็นผู้กำ�หนดเอง โดยอาศัยกรรมหรือการกระทำ� ใครทำ�กรรมดี...ย่อมได้ผลดี ใครทำ�กรรมช่ัว...ย่อมได้รับผลช่ัว ไม่มีใครสามารถอ้อนวอน หรอื บงั คบั ใหใ้ ครเปน็ อยา่ งไรได้ ดงั เรอื่ งทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตรัสไวใ้ น ภมู กสูตร ซ่ึงมใี จความวา่ ... ในสมยั ทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงประทบั อยู่ ณ ปารารกิ อมั พวนั เมอื งนาลนั ทา หัวหนา้ หมู่บ้านชอ่ื “อสพิ ันธ”์ ไดไ้ ป เฝ้าและทูลถามปัญหาพระบรมศาสดา ถึงคนท่ีตายแล้วว่า... พระพทุ ธองคส์ ามารถทำ�ใหค้ นเหลา่ นนั้ ไปเกดิ ในสวรรคท์ งั้ หมด ภูมกสูตร : พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนกิ าย สฬายตนวรรค, มมร. เลม่ ๒๙ หน้า ๑๘๙ www.webkal.org
82 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ไดห้ รอื ไม่ พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงย้อนถามกลบั ไปว่า... “อสิพนั ธ์... เราจะขอถามทา่ น คนบางคนในโลกน้เี ป็น ผฆู้ ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤตผิ ิดในกาม พูดเท็จ พดู ส่อเสยี ด พดู ค�ำ หยาบ พดู เพอ้ เจอ้ โลภมาก พยาบาท และมคี วามเหน็ ผดิ มหาชนได้ประชมุ กันแลว้ พากันสวดอ้อนวอนวา่ ขอใหค้ นๆ นี้ เมอื่ ตายแล้วจงไปเกดิ ในสวรรค์เถดิ คนทีไ่ มม่ ีกศุ ลกรรมบถผู้นี้ เม่ือตายแลว้ จะไปเกิดในสวรรค์ไดห้ รอื ไม”่ “ไมไ่ ด้ พระพทุ ธเจา้ ข้า” “อสิพันธ์... เปรียบเหมือนคนโยนหินก้อนใหญ่ ลงไปในแมน่ �ำ้ ลึก แลว้ มหาชนพากนั สวดอ้อนวอน ขอให้ก้อน หนิ ลอยขน้ึ มา กอ้ นหนิ จะลอยขน้ึ มาตามเสยี งสวดวงิ วอนหรอื ไม”่ “ไมล่ อยขึ้นมา พระพทุ ธเจ้าข้า” “อสิพันธ์... ฉันนั้นก็เหมือนกัน ผู้ใดไม่รักษากุศล กรรมบถ ๑๐ เม่ือตายไปย่อมตกนรก แม้เสียงอ้อนวอนของ มหาชนก็ไม่อาจจะช่วยอะไรใครได้ สว่ นคนบางคนในโลกน้ี รกั ษากศุ ลกรรมบถ ๑๐ มกี ารไม่ ฆา่ สัตว์ เป็นต้น เมื่อตายไป ย่อมไปเกิดในสวรรค์ แมม้ หาชน จะพากันสวดอ้อนวอน ใหผ้ ูต้ ายไปเกดิ ในนรก เขาก็ตอ้ งไปเกิด ในสวรรค์ ตามกศุ ลกรรมของเขา www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 83 เปรียบเสมือนคนเทน้ำ�มันลงในแม่น้ำ� แม้มหาชนจะ สวดออ้ นวอน ใหน้ �ำ้ มนั จมลง น�้ำ มนั ยอ่ มลอยขนึ้ ไมจ่ มลงใตน้ �ำ้ ” พระสูตรนี้แสดงให้เห็นว่า... “วัวใครก็เข้าคอกใคร” หมายถงึ ใครท�ำ ดยี อ่ มไดด้ ี ใครท�ำ ชวั่ กย็ อ่ มไดช้ วั่ ... ไมม่ ใี ครหลกี หนีพ้น จะสรรเสรญิ หรือสาปแชง่ ใหใ้ ครดีหรือชวั่ ไม่ได้เลย www.webkal.org
www.webkal.org
ความงามอันจอมปลอม ความงดงามของร่างกาย เป็นส่ิงท่ีมนุษย์ทุกคน ปรารถนา เพราะนอกจากตนเองจะเกิดความพึงพอใจแล้ว ยังเป็นท่ีถูกอกถูกใจของผู้ได้พบเห็นอีกด้วย บางคนถึงขนาด หลงใหลใฝ่ฝัน ยอมทำ�ทุกอย่างเพื่อให้ได้มาครอบครอง บาง คร้ังถงึ ขนาดยอมท�ำ ผดิ ศลี ผิดธรรมก็มี แต่...ในความเปน็ จรงิ แล้ว ร่างกายของมนษุ ย์น้นั มิได้ งดงามอยา่ งทเ่ี หน็ ถา้ เรารจู้ กั พจิ ารณาอยา่ งถถ่ี ว้ น จะเหน็ ความ ไมง่ ามทแี่ ฝงอยอู่ ยา่ งมากมาย แตท่ เี่ รามองไมเ่ หน็ ตามความเปน็ จรงิ กเ็ พราะไปหลงยดึ ตดิ กบั ภาพลวงตา อนั เกดิ จากกเิ ลสตณั หา ภายใน จนมองไมเ่ ห็นวา่ ...สงั ขารทั้งหลายน้ันไม่เทีย่ ง เป็นทกุ ข์ ไมใ่ ช่ตวั ตน และมคี วามเสือ่ มสลายไปในท่ีสุด พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคท์ รงรแู้ จง้ ในความจรงิ ขอ้ นด้ี ี จงึ มกั น�ำ หลกั การพจิ ารณาความไมง่ ามของรา่ งกายมาสอน แกพ่ ระภกิ ษแุ ละสาธชุ นทว่ั ไปอยเู่ ปน็ ประจ�ำ ซงึ่ บางครงั้ พระองค์ กม็ วี ธิ กี ารสอนแบบพเิ ศษๆ ทไ่ี ดผ้ ลแบบเฉยี บพลัน ดงั เรอื่ งราว พระนางเขมา : พระสุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๓ หน้า ๒๔๕ www.webkal.org
86 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ของพระนางเขมา ทจ่ี ะได้กลา่ วถึงตอ่ ไปน้ี พระนางเขมา เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าพิมพิสาร พระนางเป็นสตรีท่ีมีรูปงามเป็นเลิศผู้หน่ึง เม่ือพระนางทรง ทราบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงติเตียนความติดในรูป พระนางจึงไม่ประสงค์ที่จะเสด็จเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ เพ่ือฟัง ธรรม เพราะเกรงว่า พระพุทธองค์จะทรงติโทษแห่งรูปของ พระนางดว้ ย เม่ือพระเจ้าพิมพิสารทรงทราบความน้ัน จึงรับส่ังให้ พวกคีตกวีแต่งเพลงขับพรรณนาความงาม ความรื่นรมย์ของ พระเวฬุวัน เมื่อพระนางได้ทรงสดับเพลงขับนั้นแล้ว กป็ รารถนาจะเสดจ็ ไปยังเวฬุวันวิหาร เม่ือพระศาสดาทรงทราบว่า พระนางเขมาเสด็จมา จึงได้เนรมติ สตรสี าวสวยคนหนงึ่ ใหย้ ืนถวายงานพัดอยู่ข้างๆ ที่ แสดงธรรม เมื่อพระนางเขมาได้เห็นสาวงามคนนั้น ก็ถึงกับ ตะลึง! แลว้ ก็ทรงดำ�รวิ า่ “คนเขาพูดกนั วา่ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าทรงตโิ ทษแหง่ รปู เหน็ จะไมจ่ รงิ เสยี กระมงั เพราะหญงิ สาวทย่ี นื ถวายงานพดั อยนู่ ้ี ช่างสวยเหลอื เกนิ แมเ้ ราเองยังสวยไมถ่ ึงเศษหน่ึงส่วนสี่ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 87 ของหญิงผู้นี้เลย อีกทั้งรูปร่างที่สวยงามเช่นนี้เราก็ไม่เคยเห็น มาก่อนด้วย” ในขณะน้ัน พระนางมิได้สนพระทัยในพระดำ�รัสของ พระศาสดาเลย เพราะพระนางเอาแต่จ้องมองดูสาวงามผู้ นนั้ อยู่ พระศาสดาทรงทราบวาระจิตของพระนางแลว้ จึงทรง เนรมิตหญิงงามน้นั ให้คอ่ ยๆ แปรเปลย่ี นไปในวัยต่างๆ ตัง้ แต่ สาววัยรุ่น จนกระท่ังมาเป็นสาวใหญ่วัยกลางคน และท้าย ที่สุดก็กลายเป็นหญิงชราที่ล้มเจ็บและตายในที่สุด เมื่อตาย แล้วก็มีน้ำ�เลือดนำ้�เหลืองไหลออกมา นกแร้งกาก็ได้มารุมกัน จิกกนิ จนเหลอื แต่โครงกระดูกขาวโพลน พระนางเขมาไดท้ รงทอดพระเนตรทกุ ขัน้ ตอนของการ เปลี่ยนแปลงน้ัน จึงทรงดำ�รวิ ่า “รูปอันงามถงึ ปานนี้ ยงั ต้อง เส่ือมสิ้นไปเพียงครเู่ ดียวเทา่ นนั้ สาระในรูปนไ้ี ม่มีเลย” ในขณะนั้น พระศาสดาทรงทราบว่า พระหฤทัยของ พระนางอ่อนลงและมีความสังเวชสลดใจเช่นน้ัน ด้วยเหตุน้ี พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “เขมาเธอจงดูร่างกายน้ีอันอาดูร ไม่สะอาด เน่า มีส่ิงปฏิกูลไหลเข้าไหลออกอยู่เสมอ เป็นท่ี ปรารถนาย่ิงนกั ของคนเขลา” เมอ่ื จบพระธรรมเทศนา พระนางไดบ้ รรลโุ สดาปตั ตผิ ล พระศาสดายังตรัสต่อไปว่า...“เขมา สัตว์ทั้งหลายเย้ิมอยู่ www.webkal.org
88 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ดว้ ยราคะ รอ้ นอยดู่ ว้ ยโทสะ งมอยดู่ ว้ ยโมหะ จงึ ไมอ่ าจกา้ วลว่ ง กระแสตัณหาได้ ต้องข้องอยู่ในกระแสตัณหาน้ัน” ดังนี้แล้ว พระพทุ ธองคก์ ไ็ ด้ตรัสยกพระคาถาข้ึนว่า “บุคคลผู้ถกู ย้อมด้วยราคะ ยอ่ มตกลงไปสู่กระแสแหง่ ตณั หา เหมอื นแมงมมุ ตกลงไปยงั ใยท่ีตวั ทำ�ไว้เอง นักปราชญ์ ทั้งหลายตัดกระแสตัณหานั้นแล้ว เป็นผู้ไม่ไยดีละเว้นทุกข์ท้ัง ปวงไป” เมื่อจบพระธรรมเทศนาคร้งั ที่ ๒ นี้ พระนางก็ไดบ้ รรลุ พระอรหัตตผล และออกบวชเปน็ ภกิ ษณุ ใี นวันนั้นเอง เรอ่ื งนี้ ไดเ้ ผยใหเ้ ราไดเ้ หน็ ถงึ ความจรงิ ทซี่ อ่ นเรน้ อยภู่ าย ใตค้ วามงาม ท�ำ ให้เรามสี ติรเู้ ท่าทนั ความเปน็ จริงของชีวิต จะ ได้ไม่ต้องสูญเสียอิสรภาพของใจ เพราะไปหลงยึดติดในความ งามอนั จอมปลอมน้ี www.webkal.org
ความโกรธเหมอื นรอยขดี “ความโกรธ” คือ สภาวะทางอารมณ์ท่ีรุนแรง มักเกิดข้ึนจากความไม่พอใจในส่ิงท่ีมากระทบใจ ความโกรธ แม้ไม่มีตัวตน แต่เม่ือเกิดข้ึนกับใครแล้วจะมีอานุภาพไม่มี ประมาณ สามารถท�ำ ลายลา้ งทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง แมแ้ ตค่ นทเ่ี ขารกั เกิดผลเสียหายร้ายแรงอย่างไม่อาจประเมินได้ ผู้ท่ีปล่อยให้ ความโกรธครอบง�ำ ใจบอ่ ยๆ เปน็ ประจ�ำ ในไมช่ า้ กจ็ ะกลายเปน็ คน นสิ ัยไมด่ ี ท่แี ก้ยาก จนท�ำ ลายภาพลกั ษณ์ของตนในสังคมไป “ความโกรธ” นนั้ มหี ลายระดบั ต้งั แตม่ ากไปหาน้อย แลว้ แตส่ ภาวะทางจติ ใจของแตล่ ะคนวา่ สามารถควบคมุ ตนเอง ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด เรื่องนีพ้ ระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ได้เคยตรสั ไว้ใน เลขสตู ร โดยกลา่ วถงึ บคุ คล ๓ ประเภท ทถ่ี กู วา่ กลา่ วดว้ ยถอ้ ยค�ำ หยาบ แลว้ มรี ะดับความโกรธทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป โดยมีใจความดังนี้ “ดกู ่อนภิกษทุ ้งั หลาย ในโลกนีม้ บี คุ คลอยู่ ๓ ประเภท คือ... เลขสูตร : พระสุตตันตปิฎก องั คตุ ตรนิกาย ติกนิบาต, มมร. เล่ม ๓๔ หน้า ๕๖๘ www.webkal.org
90 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก บคุ คลเหมอื นรอยขีดในหนิ บุคคลเหมอื นรอยขดี ในดิน บุคคลเหมือนรอยขีดในน�้ำ บคุ คลเหมอื นรอยขีดในหนิ เปน็ อยา่ งไร? บคุ คลบางคนในโลกนเี้ ปน็ ผมู้ กั โกรธอยเู่ นอื งๆ และความ โกรธของเขาเมื่อเกิดข้ึนแล้วจะติดแน่นอยู่ในใจนาน เหมือน รอยขดี ในหนิ ไม่ลบเลือนไปง่ายๆ เราเรยี กบคุ คลประเภทนีว้ า่ บคุ คลเหมอื นรอยขดี ในหนิ บุคคลเหมือนรอยขดี ในดนิ เปน็ อย่างไร? บุคคลบางคนในโลกน้ีเป็นผู้มักโกรธอยู่เนืองๆ แต่ ความโกรธของเขานน้ั เกดิ ข้ึนอยู่ในใจไมน่ าน ไมช่ ้าก็เลือนหาย เหมอื นรอยขดี ในดนิ ยอ่ มลบงา่ ยดว้ ยลม หรือนำ้�เซาะ เป็นตน้ เราเรียกบุคคลประเภทนี้ว่า บคุ คลเหมือนรอยขีดในดิน บุคคลเหมอื นรอยขดี ในน�ำ้ เปน็ อยา่ งไร? บุคคลบางคนในโลกนแ้ี มถ้ ูกว่ากล่าวด้วยคำ�หยาบ กย็ ัง รักษาใจของตนใหส้ งบได้ ไมด่ า่ ตอบ เหมือนรอยขดี ในน้ำ� ย่อม สลายไปอย่างรวดเรว็ ไม่ติดอยู่นาน เราเรียกบคุ คลประเภทนี้ ว่า บคุ คลเหมือนรอยขดี ในนำ�้ ” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 91 ความโกรธนั้นไม่ดีเลย ความโกรธเม่ือเกิดขึ้นแล้ว จงอยา่ วงิ่ ตามความโกรธ จงอยา่ เกบ็ ไวภ้ ายในใจ ควรชนะความ โกรธดว้ ยการใหอ้ ภยั นกึ เสยี วา่ คนเราทกุ คนยอ่ มมขี อ้ บกพรอ่ ง ไมม่ ีใครสมบรู ณ์พรอ้ ม แม้แต่ตัวของเราอง ฝึกมองโลกดว้ ยจติ เมตตา มคี วามรกั ความปรารถนาดตี อ่ ผอู้ นื่ ใหม้ ากขน้ึ ปลอ่ ยวาง ความยดึ มนั่ ถอื มน่ั ใจจะไดใ้ สสะอาด การปฏบิ ตั ธิ รรมกจ็ ะดเี อง www.webkal.org
www.webkal.org
ทุกขเ์ พราะกาม มนษุ ยท์ ุกวนั น้ที มี่ ีทกุ ขไ์ ม่ร้จู บสนิ้ ก็เพราะ “ความอยาก ในกาม” “กาม” เปน็ ต้นเหตุสำ�คญั ที่ก่อให้เกดิ ความหิวกระหาย ในใจของเรา ความอยากในกามได้คอยครอบงำ� และบงการ ชีวิตเรา ให้เรารู้สึกไม่พอใจในสิ่งที่เรามี เราจึงต้องแสวงหา ท่ีจะเห็นรูปท่ีสวยกว่าเดิม อยากได้ยินเสียงที่ไพเราะกว่าเดิม อยากกินอาหารท่ีมีรสอร่อยกว่าเดิม ฯลฯ ความคิดเหล่านี้ได้ วนเวยี นอยใู่ นใจของเรา คอยผลักดนั ให้เราต้องดน้ิ รนแสวงหา ส่ิงต่างๆ มาสนองความอยาก เพราะเราเชื่อว่า... ถ้าเราได้ ทุกส่ิงทุกอย่างแล้ว เราจะมีความสุข แต่ย่ิงเราแสวงหามาก เทา่ ใด ดเู หมอื นวา่ ความอยากนน้ั มนั จะไมร่ จู้ กั อมิ่ จกั พอ เพราะ ความอยากมนั มีมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนในท่สี ุดแทนท่ีจะมีความสขุ กลับถูกความทกุ ข์เข้ารมุ เร้า พระบรมศาสดา ทรงสอนให้เราหลีกออกจากกาม ซง่ึ เปน็ ตน้ เหตแุ หง่ ทกุ ข์ แลว้ หนั มาแสวงหาความสขุ ภายในดว้ ย มหาสัจจกสูตร : พระสุตตันตปิฎก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปัณณาสก,์ มมร. เล่ม ๑๙ หนา้ ๑๐๘ www.webkal.org
94 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก การปฏิบัตธิ รรม แต่การหลีกออกจากกามที่ทรงสอนไม่เพียงหลีกออก แคร่ า่ งกายเทา่ น้ัน แตใ่ จจะต้องออกจากกามดว้ ย มิฉะนนั้ การ ปฏบิ ตั ธิ รรมกจ็ ะไมไ่ ดผ้ ล ดงั เรอื่ งทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงยกตวั อยา่ ง ไวใ้ น มหาสัจจกสูตร มใี จความว่า... “สมณพราหมณเ์ หลา่ ใดเหลา่ หนงึ่ ท่ีกายยังไม่ได้หลีก ออกจากกาม และใจก็ยงั ข้องอยใู่ นกาม สมณพราหมณ์นน้ั แม้ จะทำ�ความเพียรหนักสักเพียงไร หรือไม่ได้ทำ�ความเพียรเลย สมณพราหมณน์ น้ั ไมอ่ าจจะตรสั รธู้ รรมได้ เปรยี บเหมอื นไมส้ ด ที่ยังชุ่มอยู่ด้วยยาง และแช่นำ้�ไว้ด้วย ใครก็ตามที่ต้องการ จะไดไ้ ฟ เมอื่ เอาไมน้ น้ั มาสกี นั เขา้ สเี ทา่ ไรกไ็ มอ่ าจจะเกดิ ไฟขนึ้ ได้ เพราะไมน้ น้ั ชุ่มด้วยยาง และยงั แช่อยใู่ นน้ำ�” “ส่วนสมณพราหมณ์บางพวก แม้กายหลีกออกจาก กามแล้ว แตใ่ จยังรักใครอ่ ยใู่ นกาม ยังขอ้ งอยใู่ นกาม สมณ- พราหมณ์เหล่านั้นแม้จะทำ�ความเพียร หรือไม่ทำ�ความเพียร สมณพราหมณ์เหล่าน้ันก็ไม่อาจตรัสรู้ได้ เพราะใจยังชุ่มอยู่ ดว้ ยยางคือ กิเลส เปรียบเหมือนไมท้ ี่ช่มุ ด้วยยางวางไว้บนบก แมจ้ ะวางไวบ้ นบกแลว้ กต็ าม แตม่ นั ยงั สดอยู่ ยงั ชมุ่ ไปดว้ ยยาง ก็ไม่อาจจะสใี หเ้ กิดไฟขึน้ ได้” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 95 “ส่วนสมณพราหมณ์ ที่กายหลีกออกจากกามแล้ว ใจก็สละกามได้ มใี จสงบระงบั ดีแลว้ สมณพราหมณเ์ หล่าน้ัน แมจ้ ะท�ำ ความเพยี รหรอื ไมท่ �ำ ความเพยี รกต็ าม เขากจ็ ะสามารถ ตรสั รธู้ รรมได้ เปรยี บเหมอื นไมแ้ หง้ ทวี่ างไวบ้ นบก ผทู้ ต่ี อ้ งการ ไฟ เมอื่ เอาไมน้ น้ั มาสีเข้าดว้ ยกนั ไฟยอ่ มเกิดขึ้น เพราะไม้นน้ั เป็นไม้แห้งและวางไว้บนบก” จะเห็นไดว้ า่ การทจี่ ะปฏิบัตธิ รรมได้ดนี นั้ จะต้องหลกี ออกจากกามให้ได้ทั้งกายและใจ ถ้าปล่อยวางความอยากใน กามลงได้ ใจกจ็ ะเรม่ิ สงบนง่ิ จติ กจ็ ะดง่ิ เขา้ สภู่ ายใน ไดพ้ บกบั ความสุขที่แท้จริง ท่ีไม่มีความสุขอื่นยิ่งกว่า เป็นบรมสุขซ่ึง พระบรมศาสดาไดต้ รัสยนื ยันไวว้ า่ “นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นย่ิงกว่าความสงบไม่มี” www.webkal.org
www.webkal.org
รกั ตนเอง “คุณรักตัวเองแค่ไหน?” คำ�ถามนี้ดูไม่น่าจะ ถามเลย เพราะไม่มีความรักใดในโลกหล้าจะมาเทียบได้กับ ความรกั ตน คนทีบ่ อกวา่ ฉนั รกั เธอมากเหลอื เกิน รักจนแทบ จะกลืนกิน รักเธอเท่าฟ้า ท้ายที่สุดแล้วก็ไม่ได้รักมากเท่ากับ ความรักตนเอง ความรักตนเองเป็นสัญชาตญาณด้ังเดิมของ สตั ว์โลกท้ังหลาย ทกุ ๆ คนล้วนรกั ตนเอง ปรารถนาใหต้ นเอง มีความสุข ปราศจากความทุกข์ แต่ก็น่าแปลกคนบางคน พร�่ำ บอกวา่ รักตนเอง แต่พฤติกรรมภายนอกกลบั ตรงกันข้าม เทย่ี วไปกอ่ กรรมท�ำ ชวั่ จนตอ้ งตดิ คกุ ตดิ ตะราง ไดร้ บั ผลกรรมอนั เผ็ดรอ้ น ดแู ลว้ ไมส่ มกบั ค�ำ พดู ท่ีว่า “ฉัน...รกั ตนเอง” ถ้ารักตนเองจริงควรต้ังตนไว้ชอบ ประกอบแต่กรรมดี ทำ�ตนให้ประสบความสขุ ความเจริญสิ ถงึ จะถูก ในเร่ืองน.ี้ .. พระพุทธองค์ได้ตรัสยืนยันเอาไว้ใน ปิยสูตร ซงึ่ เป็นเร่ืองราว ของพระเจ้าปเสนทิโกศล ได้มาสนทนาธรรมกับพระพุทธองค์ มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ ปิยสูตร : พระสุตตนั ตปฎิ ก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค, มมร. เลม่ ๒๔ หนา้ ๔๒๖ www.webkal.org
98 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก กาลคร้ังหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงเข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าถึงท่ีประทับ ถวายอภิวาทแล้วประทับนั่ง ณ ท่ีควร กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า “พระองค์ผู้เจริญ วนั น้ขี ้าพระองคห์ ลีกเร้นอยู่ในท่ีสงดั เกดิ ความคดิ คำ�นงึ ข้นึ มา วา่ ผ้ใู ดหนอทีช่ ื่อวา่ รกั ตน ผใู้ ดหนอชอ่ื วา่ ไม่รักตน” ข้าพระองค์จึงมีความคิดว่า “ผู้ท่ีประพฤติกายทุจริต วจที จุ รติ มโนทจุ รติ คนผนู้ น้ั ชอื่ วา่ ...ไมร่ กั ตน แมเ้ ขาจะกลา่ ววา่ เรารกั ตนกต็ าม คนเหลา่ นน้ั กช็ อ่ื วา่ ไมร่ กั ตนอยดู่ ี เพราะเหตใุ ด หรอื ? ก็เพราะว่า ถ้าเขาสามารถทำ�สง่ิ ไม่ดใี หก้ บั คนทีไ่ ม่รกั ได้ เขาก็ย่อมทำ�สิ่งไม่ดีให้กับตนเองได้เช่นกัน คนเหล่าน้ันจึงช่ือ ว่า...ไมร่ กั ตน สว่ นผใู้ ดประพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ คนนน้ั ได้ช่ือว่า...รกั ตน แม้เขาจะบอกว่า เขาไม่ไดร้ ักตนก็ตาม คนๆ นั้นก็ยังได้ชื่อว่ารักตนอยู่ดี เพราะเหตุไรหรือ ก็เพราะว่า ถ้า เขาสามารถท�ำ สง่ิ ดๆี ใหก้ บั คนทเ่ี ขารกั ได้ เขากย็ อ่ มท�ำ สง่ิ ดๆี ให้ กับตนเองไดเ้ ชน่ กัน ดงั น้ันคนๆ นน้ั จึงช่อื วา่ รักตน” เมอ่ื พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดฟ้ งั แลว้ กไ็ ดต้ รสั ยนื ยนั ขน้ึ วา่ “มหาบพิตรเป็นไปตามที่ตรัสน้ัน มหาบพิตรเป็นไปตามที่ตรัส นัน้ ” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 99 จากพระสูตรน้ีได้สอนให้รู้ว่า เราจะรักตนเองอย่าง ถูกวิธีได้อย่างไร เร่มิ ต้นจากสำ�รวมกาย วาจา ใจของเราให้ สะอาดบริสุทธ์ิ ไม่ไปเบียดเบียนใคร มีความเอ้ืออาทร ตอ่ คนรอบขา้ ง แลว้ สง่ิ ดๆี ทเ่ี ราท�ำ ไว้ กจ็ ะยอ้ นกลบั มาหาเราเอง นี่คือความรักที่แท้จริงท่ีเราสามารถมอบให้ตนเอง ถ้าทำ�ได้ เชน่ น้ี ค�ำ วา่ “รกั ตนเอง” กจ็ ะไมเ่ ปน็ เพียงถ้อยคำ�อกี ตอ่ ไป www.webkal.org
www.webkal.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264