พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 151 ความจ�ำ ของเขาคลาดเคลอื่ นเสยี บา้ ง นาคทงั้ หลายลกั ไปเสยี บา้ ง ยักษ์ท้ังหลายลักไปเสียบ้าง ผู้รับมรดกที่ไม่เป็นท่ีรักขุดเอาไป เม่ือเขาไม่เห็นบ้าง ในเวลาท่ีเขาสิ้นบุญ ขุมทรัพย์ท้ังหมดนั้น ยอ่ มสญู ไป ขมุ ทรพั ยค์ อื บญุ ของผใู้ ด เปน็ สตรกี ต็ าม เปน็ บรุ ษุ กต็ าม ฝงั ไวด้ แี ลว้ ดว้ ยการใหท้ าน รกั ษาศลี สญั ญมะ (ความส�ำ รวมใจ) ทมะ (ความฝกึ ตน) ในเจดยี ก์ ด็ ี ในสงฆก์ ด็ ี ในบคุ คลกด็ ี ในแขกกด็ ี ในมารดากด็ ี ในบิดาก็ดี ในพี่ชายก็ดี ขมุ ทรัพย์น้ัน ชื่อว่าฝังไว้ดีแล้ว ใครๆ ไม่อาจผจญได้ เป็นของติดตามตนไปได้ บรรดาโภคะท้ังหลายท่ีเขาจำ�ต้อง ละไป (เม่อื เสยี ชีวิต) เขากพ็ าขมุ ทรัพยค์ ือบญุ น้ันไป ขุมทรพั ย์คอื บญุ ไมส่ าธารณะแกช่ นเหลา่ อ่ืน โจรกล็ ัก ไปไมไ่ ด้ ขมุ ทรัพย์คือบญุ อันใด ตดิ ตามตนไปได้ ผ้มู ีปัญญาพงึ ทำ� ขมุ ทรัพยค์ อื บุญ อันน้นั ขุมทรัพย์คือบุญน้ัน อำ�นวยผลที่น่าปรารถนาทุกอย่าง แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เทวดาและมนุษย์ปรารถนาผล ท่ีน่าชอบใจใดๆ ผลที่น่าชอบใจท้ังหมดน้ันๆ อันย่อมเกิด ได้ดว้ ยขุมทรพั ยค์ ือบุญนี้ ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงไพเราะ ความมี www.webkal.org
152 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ทรวดทรงดี ความมรี ูปสวย ความเปน็ ใหญ่ ความมบี รวิ ารมาก ผลที่น่าชอบใจทัง้ หมดนั้น ยอ่ มได้ดว้ ยขุมทรพั ย์คือบญุ นี้ ความเป็นพระราชาในประเทศ ความเป็นพระเจ้า จกั รพรรดิ สขุ ของพระเจา้ จกั รพรรดทิ นี่ า่ พอใจ ความเปน็ เทวราช ของหมู่เทวดาทั้งหลาย ผลที่น่าชอบใจทั้งหมดนั้นย่อมได้ด้วย ขมุ ทรพั ย์คือบญุ น้ี สมบตั ขิ องมนุษย์ ความยินดีในเทวโลก และสมบัติคอื พระนพิ พาน ผลที่นา่ ชอบใจทง้ั หมดนนั้ ย่อมได้ ด้วยขุมทรพั ย์ คือบุญนี้ ความที่บุคคลอาศัย ความถึงพร้อมด้วยมิตรแล้ว ถ้า ประกอบโดยแยบคาย เปน็ ผูช้ �ำ นาญในวชิ ชาและวมิ ตุ ติ ผลท่ี น่าชอบใจทง้ั หมดนน้ั ยอ่ มได้ด้วยขุมทรัพย์คอื บญุ นี้ ปฏสิ มั ภทิ า วโิ มกข์ สาวกบารมี ปจั เจกโพธแิ ละพทุ ธภมู ิ อนั ใด ผลทนี่ า่ ชอบใจทงั้ หมดนน้ั อนั บคุ คลยอ่ มไดด้ ว้ ย ขมุ ทรพั ย์ คือบุญนี้ บุญสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยบุญนั้น เป็นไปเพื่อ ประโยชน์ใหญ่อย่างนี้ เพราะฉะนั้น บัณฑิตผู้มีปัญญา จงึ สรรเสรญิ ความเป็นผู้ท�ำ บุญไวแ้ ล” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 153 ทรพั ย์น้นั เกิดด้วยอ�ำ นาจแหง่ บุญทเี่ ราสั่งสมไว้ในอดตี การท�ำ มาหากนิ เปน็ เพยี งชอ่ งทางใหท้ รพั ยเ์ กดิ ขนึ้ เทา่ นนั้ เมอ่ื จะ ไดท้ รพั ยก์ ต็ อ้ งใชบ้ ญุ เมอื่ ใชท้ กุ วนั กย็ อ่ มหมดสน้ิ ไปเปน็ ธรรมดา หากหมดบญุ กห็ มดทรพั ย์ แตผ่ ฉู้ ลาดยอ่ ม “ใชบ้ ญุ ตอ่ บญุ ” คอื ใช้ ทรพั ยท์ เี่ กดิ จากบญุ น�ำ ไปสรา้ งบญุ ตอ่ อกี ดว้ ยการใหท้ าน บญุ กจ็ ะ เกิดทับทวี นำ�ประโยชน์สุขมาให้อย่างไม่มีสิ้นสุด การใช้สอย ทรพั ยเ์ ช่นนี้จงึ จะได้ช่ือวา่ “ผู้เปน็ ใหญใ่ นทรัพย์” อย่างแท้จรงิ www.webkal.org
www.webkal.org
การไดฟ้ งั ธรรมเปน็ ลาภอนั ประเสริฐ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า “การบังเกิดข้ึนของ พระพุทธเจ้ายากอย่างย่ิง แต่การได้ฟังพระสัทธรรม ยากยิ่งกว่า” เพราะโอกาสนั้นย่อมเกิดได้เม่ือมีพระสัมมาสัม- พุทธเจา้ มาบังเกดิ ขน้ึ เท่าน้นั ฉะนั้นจึงถือเปน็ ลาภอนั ประเสริฐ ทีเดียวสำ�หรับเราชาวพุทธ ท่ีเกิดมาพบพระพุทธศาสนา มี โอกาสได้ฟังธรรมอันบริสุทธิ์ ดังคำ�กล่าวของนางยักษิณีผู้ ปรารถนาจะฟงั ธรรมอย่างยง่ิ ดังนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระวิหาร เชตวัน อารามของทา่ นอนาถบิณฑิกเศรษฐี ในกรุงสาวัตถี คร้ังน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังภิกษุท้ังหลายให้ เหน็ แจ้ง ใหส้ มาทาน ให้อาจหาญ ให้รืน่ เรงิ อยดู่ ้วยธรรมกี ถา อนั ประกอบดว้ ยพระนพิ พาน ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ตง้ั ใจมนสกิ าร นอ้ ม นึกดว้ ยความเต็มใจ เงยี่ โสตลงสดบั พระธรรม ครง้ั นนั้ นางยกั ษณิ ผี เู้ ปน็ มารดาของปนุ พั พสุ ปลอบบตุ ร น้อยอยา่ งนี้วา่ ปุนัพพสสุ ูตร : พระสุตตนั ตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค, มมร. เล่ม ๒๕ หน้า ๔๐๕ www.webkal.org
156 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก “นิ่งเสยี เถิดลูกอตุ รา นง่ิ เสียเถดิ ลูกปนุ ัพพสุ จนกว่าแม่ จะฟังธรรมของพระพุทธเจ้าผปู้ ระเสริฐ ผู้เป็นพระศาสดาจบ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั นพิ พานอนั เปน็ เครอ่ื งเปลอ้ื งตน เสยี จากกเิ ลสเครอื่ งรอ้ ยรดั ทงั้ ปวง เวลาทปี่ รารถนาในธรรมนนั้ จะล่วงเลยแม่ไปเสยี ลูกของตนเป็นที่รักในโลก สามีของตนเป็นท่ีรักในโลก แต่ความปรารถนาในธรรมนั้นเป็นที่รักของแม่ยิ่งกว่าลูกและ สามีน้ัน เพราะวา่ ลูกหรอื สามที ีร่ กั จะปลดเปลอ้ื งแมจ่ ากทกุ ข์ ไมไ่ ด้ เหมอื นการฟงั ธรรมยอ่ มปลดเปลอื้ งเหลา่ สตั วจ์ ากทกุ ขไ์ ด้ ในเม่ือโลกถูกทุกข์ครอบงำ�อยู่ ประกอบด้วยชราและ มรณะ แม่ปรารถนาจะฟังธรรม ท่ีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ด้วย พระปัญญาอันยิ่ง เพื่อพ้นจากชราและมรณะ จงน่ิงเสียเถิด ลูกปุนัพพสุ” ปุนัพพสุพูดว่า “แมจ่ า๋ ฉนั จกั ไมพ่ ดู อตุ รานอ้ งสาวของฉนั กจ็ กั เปน็ ผนู้ ง่ิ เชญิ แมฟ่ งั ธรรมอยา่ งเดยี ว การฟงั พระสทั ธรรมน�ำ ความสขุ มาให้ แมจ่ า๋ เราไมร่ ู้พระสทั ธรรมจงึ ได้เทีย่ วไปลำ�บาก พระพทุ ธเจา้ พระองคน์ เี้ ปน็ ผทู้ �ำ ความสวา่ งไสวแกเ่ ทวดา และมนุษย์ผู้ลุ่มหลง พระองค์มีพระสรีระเป็นชาติสุดท้าย www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 157 ทรงมพี ระจกั ษุ แสดงธรรมอยู่” ยกั ษิณีพูดว่า “น่าช่ืนชมนัก ลูกผู้นอนบนอกของแม่ เป็นคนฉลาด ลูกของแม่ย่อมรักใคร่พระธรรมอันบริสุทธิ์ของพระพุทธเจ้าผู้ ประเสรฐิ ปนุ พั พสเุ จา้ จงมคี วามสขุ เถดิ วนั นแี้ มเ่ ปน็ ผยู้ า่ งขนึ้ ไป ในพระศาสนา แมแ่ ละเจา้ เหน็ อรยิ สจั แลว้ แมแ้ มอ่ ตุ รากจ็ งฟงั แม”่ คร้ังนั้น นางยักษิณีนั้น ยืนฟังธรรมอยู่ในที่น้ันกับ ปุนัพพสุผู้เป็นบุตร ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล ส่วนอุตราธิดาของ นางยกั ษณิ นี น้ั กม็ อี ปุ นสิ ยั (มบี ญุ จะไดบ้ รรลธุ รรม) แตไ่ มอ่ าจจะ รับเทศนาได้ เพราะเป็นเด็กเกินไป การไดฟ้ งั พระสทั ธรรม น�ำ สขุ มาใหแ้ กส่ รรพสตั ว์ เมอื่ เรา มีโอกาสอันดีแล้ว อย่าได้ปล่อยให้ผ่านเลยไปอย่างน่าเสียดาย มฉิ ะนนั้ อาจต้องเสียใจ เปน็ ทกุ ข์ เพราะหลงท�ำ บาปด้วยเหตุท่ี ไมไ่ ด้ฟงั ธรรม www.webkal.org
www.webkal.org
สอนตนเองให้ได้ บุคคลที่จะประสบความสำ�เร็จ ในการสร้างบารมี จะต้องรักในการฝึกฝนตนเองท้ังกาย วาจา และใจ หม่ัน ปรับปรุงแก้ไขตนเองให้ได้ก่อนในทุกรูปแบบ เพราะถ้าเรา สามารถสอนตนเองได้ มีความอดทน รู้จักยกใจตนเอง ให้ สูงข้นึ เหนืออปุ สรรคทง้ั มวล และรักษาใจใหผ้ ่องใสเปน็ ประจำ� ไม่ยอมรอคอยกำ�ลังใจจากใคร เราก็จะประสบความสำ�เร็จใน การสรา้ งบารมอี ยา่ งแนน่ อน เหมือนดังเร่ืองราวของหญิงสาวคนหน่ึง ผู้เป็นธิดา ของนายช่างหูก ผู้ที่รู้จักสอนตนเองด้วยการทำ�ตามโอวาท ของพระบรมศาสดา จนประสบความสำ�เรจ็ ในการสรา้ งบารมี ในท่สี ุด มีเรอ่ื งราวดังนี้ ในสมัยหน่ึง พระบรมศาสดาเสด็จไปเมืองอาฬวี ได้ ทรงประทานโอวาทให้แก่มหาชนว่า “ท่านทั้งหลายจงเจริญ มรณานสุ สตวิ า่ ชวี ติ ของเราไมย่ ง่ั ยนื ความตายของเราแนน่ อน เราพงึ ตายแนแ่ ท้ ชวี ติ ของเรามคี วามตายเปน็ ทสี่ ดุ ชวี ติ ของเรา ธดิ าชา่ งหกู : พระสุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท, มมร. เลม่ ๔๒ หนา้ ๒๔๕ www.webkal.org
160 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ไมเ่ ทย่ี ง แตค่ วามตายเทยี่ ง เพราะฉะนนั้ ...พวกทา่ นทง้ั หลายพงึ เจรญิ มรณานสุ สตเิ ถดิ ” เมอ่ื ทรงประทานโอวาทเสรจ็ พระบรม ศาสดากเ็ สดจ็ กลับวัดพระเชตวัน มหาชนคร้ันได้ฟังพระธรรมเทศนานั้นแล้ว บางส่วน ก็ปฏิบัติตาม บางส่วนก็ไม่ค่อยนำ�ไปปฏิบัติเท่าที่ควร ยังมัว ประมาทในชีวิตเหมือนเดิม ส่วนธิดาของนายช่างหูกคนหน่ึง นางอายเุ พยี ง ๑๖ ปี แตม่ ปี ญั ญาสอนตนเองได้ นางไดท้ ำ�หนา้ ท่ี กัลยาณมิตรให้กับตนเอง เมื่อกลับมาที่บ้านก็ได้ทำ�การบ้านท่ี พระบรมศาสดาทรงประทานให้ ดว้ ยการเจริญมรณานุสสติอยู่ ตลอดเวลา สามปตี อ่ มา พระบรมศาสดาเสดจ็ ไปโปรดชาวเมอื งอาฬวี อกี ครง้ั ธดิ าชา่ งหกู กม็ โี อกาสมาเขา้ เฝา้ เพอื่ ฟงั พระธรรมเทศนา เหมือนเดิม ในคร้ังนั้น...พระบรมศาสดาถามเธอในท่ามกลาง บริษัทว่า พ. “กุมารกิ า เธอมาจากไหน?” ธ. “ไมท่ ราบ พระเจา้ ขา้ ” พ. “เธอจะไปไหน?” ธ. “ไมท่ ราบ พระเจ้าขา้ ” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 161 พ. “เธอไมท่ ราบหรอื ?” ธ. “ทราบ พระเจ้าขา้ ” พ. “เธอทราบหรอื ?” ธ. “ไม่ทราบ พระเจ้าข้า” เมื่อธิดาช่างหูกตอบปัญหาเพียงคำ�ว่า “ทราบ” กับ “ไม่ทราบ” เท่าน้ัน ทำ�ให้มหาชนเกิดความไม่พอใจกันใหญ่ เพราะคดิ ว่า ธดิ าชา่ งหูกพูดเล่นลิน้ กบั พระพทุ ธเจ้า ดงั นนั้ เพ่อื คลายความสงสัยของมหาชน พระบรมศาสดาจึงตรัสถามต่อ ไปวา่ “กุมาริกา เมื่อเราถามว่า ‘เธอมาจากไหน?’ ทำ�ไม เธอจึงตอบว่า ไมท่ ราบ” กุมาริกาผู้มีปัญญาลึกซึ้งได้ทูลตอบว่า “หม่อมฉันไม่ ทราบว่า ตวั เองเกดิ มาจากไหน จึงตอบว่า ไม่ทราบ” พระบรมศาสดาทรงประทานสาธกุ ารวา่ “ดลี ะ กมุ ารกิ า เธอมปี ญั ญาแก้ปญั หาท่ตี ถาคตถามได้ดแี ล้ว” ทรงถามขอ้ ต่อไปวา่ “เมอื่ เราถามว่า ‘เธอจะไปไหน?’ ทำ�ไมจึงกลา่ วว่า ไมท่ ราบ” www.webkal.org
162 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก กมุ ารกิ ากท็ ลู ตามทเ่ี ขา้ ใจวา่ “เมอ่ื หมอ่ มฉนั ตายจากโลก นีแ้ ล้วไมท่ ราบว่า จะไปเกดิ ในทไ่ี หน” ทรงถามวา่ “แล้วเม่ือเราถามวา่ ‘เธอไมท่ ราบหรอื ?’ ท�ำ ไมจงึ ตอบวา่ ทราบ ล่ะ” กมุ ารกิ าทลู ตอบวา่ “พระเจา้ ขา้ หมอ่ มฉนั ทราบวา่ ตวั เองตอ้ งตายอยา่ งแน่นอน จึงตอบวา่ ทราบ เจ้าข้า” “แล้วเมื่อตถาคตถามว่า ‘เธอยอ่ มทราบหรือ?’ ทำ�ไม จงึ ตอบว่า ไมท่ ราบ” กมุ ารกิ ากท็ ลู ตอบวา่ “หมอ่ มฉนั ทราบแตเ่ พยี งวา่ จะตอ้ ง ตาย แตไ่ มท่ ราบวา่ จะตายเวลาไหน จงึ ตอบเชน่ นนั้ พระเจ้า ขา้ ” พระบรมศาสดาทรงชมเชยธดิ าชา่ งหูกในความเป็นผูม้ ี ใจจดจ่อต่อการเจริญมรณานุสสติ สามารถตักเตือนตนเองได้ ไมม่ วั รอใหค้ นอน่ื มาคอยจ�ำ้ จจี้ �ำ้ ไช แลว้ ตรสั เตอื นพทุ ธบรษิ ทั วา่ “พวกทา่ นไม่ทราบถ้อยคำ�ทกี่ ุมารกิ านี้กลา่ ว จึงกล่าวตู่ ธดิ าของเราผ้มู ีปญั ญา” แล้วทรงแสดงธรรม เรื่องมรณานุสสติอีกครั้งหนึ่ง เม่ือส้ินพระธรรมเทศนา ธิดาช่างหูกก็ได้บรรลุธรรมเป็นพระ โสดาบัน เป็นผ้ไู มต่ กตำ�่ ในชวี ิตอีกตอ่ ไป www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 163 แต.่ .. เนอ่ื งจากวิบากกรรมเก่าตามมาทนั เมื่อนางเดิน ทางกลบั ไปบา้ นแลว้ เหน็ พอ่ ก�ำ ลงั นอนหลบั อยขู่ า้ งเครอ่ื งทอหกู นางจงึ ได้ปลกุ พ่อให้ตืน่ ฝา่ ยพ่อก�ำ ลงั นอนหลบั เพลิน มอื จึงไป กระทบด้ามฟืมเครื่องทอผ้าอย่างแรง ทำ�ให้ปลายฟืมอีกด้าน หน่งึ แทงเข้าที่หน้าอกของนางอย่างแรง นางลม้ ลงกบั พนื้ แลว้ สิ้นใจ ณ ตรงนน้ั เอง เมอ่ื ละโลกแล้วก็ได้ไปบงั เกิดในสวรรค์ ช้นั ดุสติ จากเร่อื งนจ้ี ะเห็นได้วา่ ... การร้จู ักสอนตนเอง เปน็ ส่งิ ท่ี มคี วามส�ำ คญั มากของนกั สรา้ งบารมี เพราะในโลกน้ี ไมม่ ใี ครที่ จะสอนตวั เราไดด้ เี ทา่ กบั ตวั ของเราเอง และเมอ่ื เราสอนตวั เอง ไดด้ แี ลว้ การทจี่ ะท�ำ หนา้ ทสี่ ง่ั สอนผอู้ นื่ กจ็ ะสมบรู ณต์ ามมาดว้ ย www.webkal.org
www.webkal.org
พันธนาการแห่งชีวิต “เรอื นจ�ำ ” เปน็ สถานทที่ คี่ นทง้ั หลายไมอ่ ยากยา่ งกราย เข้าไป เพราะเป็นสถานท่ีท่ีมีไว้เพ่ือกักขังหน่วงเหน่ียวให้หมด อิสรภาพ และยังต้องถูกจองจำ�ด้วยเคร่ืองพันธนาการหลาก หลายชนดิ เช่น โซ่ ตรวน หรือถูกขังในห้องขัง เป็นตน้ แต.่ .. เครอื่ งจองจ�ำ เหลา่ นน้ั ยงั ไมน่ บั วา่ เปน็ เครอื่ งจองจ�ำ ทมี่ น่ั คงถาวร เพราะมนี ักโทษมากมายทส่ี ามารถแหกคุกหนีออกมาได้ แต.่ ..มเี ครอ่ื งจองจ�ำ อกี ประเภทหนงึ่ ทม่ี คี วามมน่ั คงถาวร ใครก็ตามที่ถูกพันธนาการด้วยเครื่องจองจำ�ประเภทนี้แล้ว ก็ ยากทจี่ ะหลดุ พน้ ออกมา ชวี ติ ของเขาจะหมดอสิ รภาพไปในทนั ที เครอ่ื งจองจ�ำ ทวี่ า่ นน้ั กค็ อื “ชอื่ เสยี ง ลาภ ยศ และบตุ รภรรยา” เครือ่ งจองจำ�ประเภทนี้ มีความเหนียวแน่นม่นั คงเป็นอยา่ งย่ิง แม้จะผูกหย่อนๆ หลวมๆ เหมือนไม่ได้ถูกจองจำ� แต่ก็หลุด ออกไปได้โดยยาก เพราะผู้ท่ีถูกจองจำ�มีความพอใจเจือปนอยู่ ดว้ ย ความพอใจนัน้ เองทเี่ ปน็ เหยื่อคอยหลอกลอ่ ใหห้ ลงติดอยู่ ในเครอ่ื งจองจำ�ประเภทน้ี พนั ธนสูตร : พระสุตตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค, มมร. เลม่ ๒๔ หนา้ ๔๔๘ www.webkal.org
166 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ดังที่ พระบรมศาสดาตรัสไว้ใน พนั ธนสูตร วา่ นักปราชญท์ ้ังหลาย ไม่ได้กลา่ วถึงเคร่ืองจองจำ� ทที่ �ำ ด้วยเหลก็ ทำ�ด้วยไม้ และทำ�ด้วยหญ้า ว่าเปน็ เคร่ืองจองจ�ำ ทีม่ ัน่ คง แต่กลา่ วถงึ ความกำ�หนัดยนิ ดี ในเครอื่ งประดบั แกว้ มณี และความอาลยั ในบุตรและภรรยาทั้งหลาย วา่ เป็นเครื่องจองจำ�ทม่ี ่นั คง นักปราชญท์ ้ังหลายกล่าวถึงเครอ่ื งจองจ�ำ ท่มี คี วามกำ�หนัดยนิ ดีในเครื่องประดับแก้วมณี เปน็ ตน้ น้ัน วา่ เปน็ เครอื่ งจองจำ�ทมี่ ั่นคง พาใหต้ กต�ำ่ แมห้ ย่อนๆ แตแ่ ก้ไดย้ าก ผมู้ ปี ัญญาตดั เคร่ืองจองจำ�แม้เชน่ นน้ั ไดแ้ ล้วออกบวช เป็นผไู้ ม่มคี วามอาลยั ละกามสุขเสียได้ แลว้ ทรงนำ�เรอ่ื งราวของพระโพธสิ ัตว์ในอดตี มาเล่าว่า ในอดีตกาล ในเมืองพาราณสี พระโพธิสัตว์เกิดใน ตระกูลคหบดีผู้ตกยากตระกูลหนึ่ง เมื่อเจริญวัยข้ึนบิดาก็ได้ ถงึ แกก่ รรมลง มารดาจงึ ไดน้ ำ�หญงิ คนหนง่ึ มาใหเ้ พอ่ื เปน็ ภรรยา ของพระโพธสิ ตั ว์ ฝา่ ยพระโพธสิ ตั วแ์ มไ้ มอ่ ยากมภี รรยา แตก่ ไ็ ม่ สามารถขดั ใจมารดาได้ เรือนจ�ำ : พระสุตตันตปฎิ ก อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๓ หน้า ๒๙๓ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 167 ต่อมามารดาของพระโพธิสัตว์ได้ถึงแก่กรรมลง พระ- โพธสิ ัตว์จึงอยากออกบวช พอดีตอนน้ันภรรยาของเขาได้ตั้ง ครรภ์ นางจึงบอกแก่เขาว่า “ขอใหน้ างคลอดลูกเสียกอ่ นแลว้ จงึ ออกบวช” เขากค็ อยจนนางคลอดลกู หลงั จากนน้ั จงึ อ�ำ ลานาง เพ่ือออกบวชอกี แต่นางบอกวา่ “ขอใหล้ กู หย่านมเสียก่อน” แต่พอลกู หย่านม นางกต็ ้งั ครรภล์ ูกคนใหม่ พระโพธิสัตว์คิดว่า “คอยอยู่อย่างน้ี ไม่มีทางได้ ออกบวช” คราวนี้จึงไม่ได้บอกภรรยา แอบลุกขึ้นกลางดึก แล้วหนีออกจากบ้าน เดินทางเข้าสู่ป่าหิมพานต์บวชเป็นฤๅษี หลังจากนั้นไม่นานก็ทำ�ฌานอภิญญาให้เกิดขึ้น แล้วได้เปล่ง อทุ านข้นึ ว่า “เครื่องผูก คอื บุตรภรรยา เคร่อื งผูก คือ กเิ ลส ซงึ่ บุคคลตัดไดย้ าก เราตัดไดแ้ ลว้ ” โลกใบน้ี เต็มไปด้วยเคร่ืองพันธนาการท่ีจองจ�ำ ผู้คนไว้ ถ้าอยากหลุดพ้นก็ต้องเริ่มที่ใจตนเองก่อน ต้องฝึกปล่อยวาง ตดั ความพอใจในทรพั ยส์ มบตั ิ ชอ่ื เสยี ง และครอบครวั แสวงหา ความวเิ วก หลกี เรน้ ออกจากความสบั สนวนุ่ วาย เพอื่ จะไดห้ ลดุ พ้นจากพันธนาการแห่งชีวติ www.webkal.org
www.webkal.org
ยง่ิ สูงสง่ ย่งิ อ่อนนอ้ ม บคุ คลผยู้ ง่ิ ใหญท่ ปี่ ระสบความส�ำ เรจ็ ทง้ั ทางโลกและทาง ธรรม จะมีคุณธรรมอยา่ งหนึง่ ทเี่ หมือนกนั นนั่ กค็ อื ... “ความ อ่อนน้อมถ่อมตน” ถ้าขาดคุณธรรมข้อน้ีแล้ว แม้จะได้รับยศ ตำ�แหน่งสูงส่งมากเพียงใดก็จะอยู่ได้ไม่นาน ในทางตรงกัน ข้ามหากมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ทำ�ตนเหมือนภาชนะเปล่า ทพี่ รอ้ มจะรองรบั ความดอี น่ื ๆ แมจ้ ะมคี ณุ ธรรมเปน็ เลศิ อยแู่ ลว้ กพ็ รอ้ มจะรองรบั ความรจู้ ากผอู้ น่ื ตลอดเวลา เหมอื นมหาสมทุ ร ที่สามารถรองรับนำ�้ จากแม่นำ�้ ทุกสาย ถ้าทำ�ได้อย่างนยี้ ่อมเปน็ ทางมาแห่งความเจริญรุ่งเรอื งและความสำ�เร็จในชีวติ ดงั เรอื่ งราวของ พระสารบี ตุ รเถระ อคั รสาวกเบอื้ งขวา มใี จความโดยสรุปดังน.้ี .. พระสารีบุตรเถระผู้เป็นอัครสาวกเบ้ืองขวา เป็นพระ ธรรมเสนาบดี สนองงานพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้บริหาร หมู่สงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างไกล แม้ท่านจะมี ตำ�แหน่งสูงส่งถึงเพียงน้ัน ท่านก็ยังมีความอ่อนน้อมถ่อมตน พระสารบี ตุ รเถระ : พระสุตตันตปฎิ ก อรรถกถาขุททกนิกาย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๑ หน้า ๓๘๔ www.webkal.org
170 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ไมถ่ อื ตวั มคี วามเสมอตน้ เสมอปลาย ใหค้ วามเปน็ กนั เองกบั ภกิ ษุ สามเณรทกุ รปู ท�ำ ใหท้ า่ นเป็นทเี่ คารพรกั ของภิกษสุ งฆ์ อกี ทงั้ ญาติโยมก็เลื่อมใสศรทั ธาในตวั ท่านมาก ครงั้ หนง่ึ ทา่ นถกู พระภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ใสค่ วามวา่ “ทา่ นเปน็ ถงึ อคั รสาวก แตแ่ กลง้ มาเดนิ กระทบตน” พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ ตรสั ถามพระสารบี ตุ รในทป่ี ระชมุ สงฆว์ า่ “เปน็ อยา่ งนน้ั จรงิ หรอื ?” พระสารีบุตรกราบทูลว่า “ข้าพระพุทธเจ้ามี สตสิ มั ปชญั ญะอยเู่ สมอ คอยระมดั ระวงั ตน ประคองสตอิ นั เปน็ ไปในกาย เสมอื นบรุ ษุ ประคองถาดซง่ึ บรรจนุ ้ำ�มนั อยเู่ ตม็ เปยี่ ม และมคี นเงอ้ื ดาบอยู่เบื้องหลงั พรอ้ มขู่ว่า “ถ้าท�ำ น�้ำ มนั หกจะ ประหารเสยี ” ข้าพระองคป์ ระพฤตติ น เสมอื นผา้ เก่าสำ�หรบั เชด็ เทา้ เสมอื นโคทม่ี เี ขาขาด เสมอื นเดก็ จณั ฑาลทพ่ี ลดั หลงถนิ่ ยอ่ มไมม่ อี ำ�นาจทจี่ ะแกล้วกล้าอาจหาญประการใด” เมื่อพระสารีบุตร กล่าวเช่นนั้นในท่ามกลางสงฆ์ แผ่นดินท่ีแม้ไม่มีจิตยังเกิดอาการหวั่นไหว เป็นการอนุโมทนา ในคณุ ธรรมอันสูงส่งของท่าน ภิกษุรูปนั้น เมื่อได้ฟังก็เกิดอาการเร่าร้อนในสรีระ เหมือนมีไฟมาเผาไหม้ตัว อดรนทนอยู่ไม่ได้ต้องลุกขึ้น ขอขมาโทษพระสารบี ตุ รและยอมรบั สารภาพตอ่ หนา้ หมสู่ งฆว์ า่ ไดก้ ลา่ วตู่ใสค่ วามพระสารีบุตร www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 171 พระสมั มาสมั พุทธเจ้าจึงตรสั สรรเสริญวา่ “สารบี ตุ รมี จิตมั่นคงด่ังขุนเขา หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน เป็นผู้ไม่แสดง อาการยินดียินร้าย เป็นผู้คงท่ีและมีวัตรดี เป็นผู้มีใจสะอาด เหมือนนำ้�ท่ีไม่มีฝุ่นหรือโคลนตม สังสารวัฏย่อมไม่มีแก่ พระสารีบุตร” จากน้ันพระพุทธองคท์ รงรับส่ังใหพ้ ระสารีบุตร อดโทษแก่ภิกษุผู้กล่าวตู่ มิเช่นน้ันแล้ว ศีรษะของภิกษุรูปนั้น จะแตกเป็น ๗ เสยี่ ง พระสารบี ตุ รยอมอดโทษใหท้ กุ อย่าง เพราะทา่ นไม่เคย มีความคิดประทุษร้ายใคร อีกท้ังมีความถ่อมตน และยังได้ ปวารณาตัวอีกว่า “หากตัวท่านเองได้ประพฤติผิดพลาดล่วง เกิน ทง้ั ทม่ี เี จตนา หรอื ไม่มีเจตนากด็ ี ขอให้เพอ่ื นสหธรรมิก ไดโ้ ปรดให้อภยั งดโทษนัน้ ดว้ ย” จากเรื่องนีจ้ ะเหน็ ได้ว่า ผ้ยู ิ่งใหญท่ แ่ี ท้จรงิ นัน้ จะตอ้ ง ใหญด่ ว้ ยคณุ ธรรมภายในเปน็ พน้ื ฐาน ยงิ่ สงู สง่ ยงิ่ ตอ้ งออ่ นนอ้ ม ถ่อมตน จึงจะเป็นที่ยอมรับนับถือจากทุกคนอย่างจริงใจ นอกจากนี้ ความอ่อนน้อมถ่อมตนจะทำ�ให้ทิฏฐิมานะภายใน ลดลง เมื่อถึงคราวปฏิบัตธิ รรมจะสามารถปล่อยทุกอยา่ ง วาง ทุกสงิ่ แลว้ ด่ิงเขา้ สธู่ รรมะภายในโดยง่ายโดยเร็วพลัน www.webkal.org
www.webkal.org
ความสุขของคนดี มิอาจปฏิเสธได้ว่า สิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการคือ “ความสุข” แต่การตีค่าความสุขน้ันอาจมีบรรทัดฐานท่ีแตก ต่างกนั บ้างก็วดั ด้วยทรพั ยส์ มบัติ บ้างก็วดั ดว้ ยอำ�นาจวาสนา บ้างก็วัดด้วยยศฐาบรรดาศักด์ิ แต่ส่ิงเหล่าน้ันพอได้มาแล้วก็ มไิ ดม้ ีความสุขลว้ นๆ อย่างทีป่ รารถนา เพราะอนั ท่จี ริงความ สุขท่ีมนุษย์ปรารถนาน้ันคือ “สุขที่ใจ” มิใช่สุขด้วยวัตถุใดๆ แล้วอะไรเล่า คือสิ่งที่จะเติมความสุขใจล้วนๆ ให้กับเรา ไดท้ ุกวันคนื ค�ำ ตอบหาไดจ้ ากเร่ืองต่อไปนี้ สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ พระเชตวนั อารามของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี เขตกรงุ สาวตั ถี ตรสั สอนพระภกิ ษุ เรอ่ื ง ภูมขิ องคนพาล และบณั ฑติ ในความตอนหนงึ่ ไดก้ ล่าว ถงึ ความสขุ ใจทีค่ นท�ำ ความดจี ะไดร้ บั ในปจั จุบัน ๓ ประการ โดยสรปุ คือ ๑. เม่อื ไปในที่ตา่ งๆ ได้ยนิ ผู้คนกล่าวถงึ เรื่องความดี ใดๆ กไ็ ดร้ ะลกึ ถึงความดีของตนเอง เกิดความปล้ืมใจ พาลปัณฑิตสตู ร : พระสตุ ตันตปฎิ ก มัชฌมิ นกิ าย อุปรปิ ัณณาสก์, มมร. เลม่ ๒๓ หนา้ ๑๔๗ www.webkal.org
174 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ๒. เมอื่ เหน็ ผปู้ ระพฤตผิ ดิ ศลี ธรรมโดนลงโทษ กเ็ กดิ ความ สบายใจว่าเราเปน็ ผ้มู ศี ีล จะไม่ถกู ลงโทษเชน่ นั้น ๓. เกดิ ความมน่ั ใจวา่ ความดที ท่ี �ำ ไวย้ อ่ มคมุ้ ครองปอ้ งกนั จากภัยทัง้ หลาย แมต้ ายไปก็ย่อมไปสสู่ ุคตโิ ลกสวรรค์ มีเนอ้ื ความดงั นี้ “ภิกษุทั้งหลาย ถ้าบัณฑิตน่ังในสภาก็ดี ในตรอกก็ดี รมิ ทางสามแพรง่ กด็ ี ถา้ ชนในทนี่ นั้ พดู ถอ้ ยคำ�ทสี่ มควรแกธ่ รรม นั้นแก่เขา ถ้าบัณฑิตเป็นผู้เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ เสพของมึนเมาคือสุราและเมรัย อันเป็นเหตุแห่งความประมาท ในเรอื่ งนน้ั บณั ฑติ จะมีความ รสู้ กึ อยา่ งนวี้ า่ “ขอ้ ทชี่ นพดู ถอ้ ยค�ำ ทส่ี มควรแกธ่ รรมนน้ั ธรรม เหล่านน้ั มอี ยใู่ นเรา และเรากป็ รากฏในธรรมเหล่านนั้ ” ภิกษุทั้งหลาย บณั ฑิตยอ่ มเสวยสุขโสมนัสประการที่ ๑ นใี้ นปจั จุบนั อกี ประการหน่ึง บัณฑติ เหน็ พระราชาทง้ั หลายรบั สงั่ ให้ จบั โจรผปู้ ระพฤตผิ ดิ มาลงอาญาดว้ ยประการตา่ งๆ คอื ใหเ้ ฆย่ี น ดว้ ยแสบ้ า้ ง ด้วยหวายบา้ ง ให้ตดี ว้ ยไม้พลองบ้าง ตดั มอื บ้าง ตัดเท้าบ้าง ตัดทั้งมือและเท้าบ้าง ตัดใบหูบ้าง ตัดจมูกบ้าง ตดั ท้ังใบหูและจมกู บ้าง วางก้อนเหลก็ แดงบนศรี ษะบา้ ง ถลก www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 175 หนงั ศรี ษะแลว้ ขดั ใหข้ าวเหมอื นสงั ขบ์ า้ ง เอาไฟยดั ปากจนเลอื ด ไหลเหมือนปากราหูบ้าง เอาผา้ พนั ตัวราดนำ้�มนั แล้วจดุ ไฟเผา บ้าง พันมือแลว้ จดุ ไฟตา่ งคบบา้ ง ถลกหนังตัง้ แตค่ อถงึ ขอ้ เทา้ ใหล้ กุ เดนิ เหยยี บหนงั จนลม้ ลงบา้ ง ถลกหนงั ตงั้ แตค่ อถงึ บนั้ เอว ท�ำ ใหม้ องดเู หมอื นนงุ่ ผา้ คากรองบา้ ง สวมปลอกเหลก็ ทขี่ อ้ ศอก และเข่าแลว้ เสียบหลาวทั้ง ๕ ทิศ เอาไฟเผาบ้าง ใชเ้ บ็ดเกย่ี ว หนงั เนอ้ื เอ็นออกมาบ้าง เฉือนเนือ้ ออกเปน็ แว่นๆ เหมือน เหรยี ญกษาปณบ์ า้ ง เฉอื นหนงั เนอ้ื เอน็ ออกเหลอื ไวแ้ ตก่ ระดกู บา้ ง ใชห้ ลาวแทงชอ่ งหใู หท้ ะลุถึงกันบ้าง เสยี บให้ติดดินแล้ว จับเขาหมุนได้รอบบ้าง ทุบกระดูกให้แหลกแล้วถลกหนังออก เหลอื ไวแ้ ตก่ องเนอื้ เหมอื นตง่ั ใบไมบ้ า้ ง รดตวั ดว้ ยน้ำ�มนั ทกี่ ำ�ลงั เดอื ดพลา่ นบา้ ง ให้สุนขั กดั กนิ จนเหลอื แต่กระดกู บ้าง ให้นอน บนหลาวท้งั เป็นบา้ ง ตดั ศีรษะออกด้วยดาบบ้าง ในขณะท่ีเห็นนั้น บัณฑิตจะมีความรู้สึกอย่างน้ีว่า “เพราะเหตแุ หง่ บาปกรรมเชน่ ไร พระราชาทงั้ หลายจงึ รบั สง่ั ให้ จบั โจรผปู้ ระพฤตผิ ดิ มาแลว้ ลงอาญาดว้ ยประการตา่ งๆ ฯลฯ ก็ ธรรมเหล่านั้นไม่มีในเรา และเรากไ็ ม่ปรากฏในธรรมเหลา่ น้ัน” ภกิ ษทุ ้งั หลาย บณั ฑิตยอ่ มเสวยสุขโสมนสั ประการที่ ๒ น้ีในปจั จบุ ัน อีกประการหน่ึง ในสมัยนั้น กรรมดีที่บัณฑิตทำ� www.webkal.org
176 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก คอื การประพฤตกิ ายสุจรติ วจีสุจรติ มโนสจุ รติ ไว้ในกาลกอ่ น ย่อมคมุ้ ครอง ปอ้ งกนั บณั ฑิตผู้อยบู่ นตั่ง บนเตยี ง หรือนอนบน พนื้ เปรยี บเหมอื นเงาของยอดภเู ขาใหญ่ ยอ่ มบดบงั ครอบคลมุ แผ่นดนิ ใหญ่ในเวลาเย็น แม้ฉนั น้ัน ในเร่ืองนั้น บัณฑิตมีความคิดอย่างนี้ว่า “เราไม่ได้ ทำ�ความชั่วไว้หนอ ไม่ได้ทำ�กรรมหยาบช้าไว้ ไม่ได้ทำ�กรรม เศร้าหมองไว้ เราท�ำ แต่ความดี ทำ�แต่กศุ ล ทำ�แต่ท่ปี ้องกันสง่ิ น่ากลัวไว้ เราตายแลว้ จะไปสสู่ ุคติ ฯลฯ” เขาย่อมไมเ่ ศรา้ โศก ไมล่ ำ�บากใจ ไม่ร�ำ่ ไร ไมท่ ุบอกคร่�ำ ครวญ ไม่ถึงความหลงใหล ภิกษุทัง้ หลาย บัณฑติ ย่อมเสวยสุขโสมนัสประการท่ี ๓ นใ้ี นปจั จุบนั จากนน้ั ตรสั ถงึ ความสขุ ในปรโลกของคนดี คอื ไปสสู่ คุ ติ โลกสวรรค์ และเมอ่ื กลับมาเกิดเปน็ มนุษย์ยอ่ มบริบูรณ์ด้วยรปู สมบตั ิ ทรพั ย์สมบตั ิ และคุณสมบตั ิ จงึ ได้โอกาสสร้างความดี ต่อไปอีก ตายไปกไ็ ปสูส่ คุ ติอีก นบั ครั้งไมถ่ ้วน โดยตรสั สรรเสรญิ ความสขุ ของสวรรค์ วา่ “เปน็ สถานท่ี นา่ ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจโดยสว่ นเดียว” วา่ “ภิกษุท้ังหลาย แม้การเปรียบเทียบว่าสวรรค์ เป็นสุขก็ไม่ใช่ทำ�ได้ง่าย” แล้วทรงยกเทียบกับความสุขของ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 177 พระเจา้ จักรพรรดผิ สู้ มบรู ณ์ดว้ ยรตั นะ ๗ ประการ และฤทธิ์ ๔ ประการ ดงั น้ี พระผู้มีพระภาคทรงหยิบก้อนหินขนาดย่อมๆ เท่าฝ่า พระหัตถ์ข้ึนมาแล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเข้าใจความข้อน้ันว่าอย่างไร คือ ก้อนหินขนาด ยอ่ มๆ เท่าฝ่ามือที่เราถืออยู่นี้ กับขุนเขาหมิ พานต์ อย่างไหน ใหญก่ ว่ากนั ” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก้อนหินขนาดย่อมๆ เท่าฝ่า พระหตั ถท์ พ่ี ระองคท์ รงถอื อยนู่ ้ี มปี ระมาณนอ้ ยนกั เปรยี บเทยี บ กับขุนเขาหมิ พานต์แลว้ ไมถ่ งึ การนับ ไม่ถึงแม้ส่วนแหง่ เสี้ยว ไมถ่ งึ แม้การเทยี บกันได้เลย พระพทุ ธเจา้ ขา้ ” “ภิกษทุ งั้ หลาย ฉนั นั้นเหมอื นกัน สุขโสมนัสทพ่ี ระเจ้า จกั รพรรดทิ รงเปน็ ผู้สมบรู ณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ และฤทธ์ิ ๔ ประการ ทรงเสวยสุขโสมนัสอันมีความสมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการและฤทธ์ิ ๔ ประการนนั้ เป็นเหตุ เปรียบเทยี บกับสุขที่ เป็นทิพยแ์ ล้ว ไมถ่ งึ การนบั ไมถ่ งึ แม้สว่ นแห่งเสย้ี ว ไม่ถึงแม้ การเทียบกนั ไดเ้ ลย บณั ฑิตน้ัน เพราะเวลาลว่ งเลยมานาน ในบางครงั้ บาง คราว ถา้ มาเกดิ เปน็ มนุษย์ ก็จะเกดิ ในตระกูลสงู คอื ตระกลู www.webkal.org
178 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ขตั ติยมหาศาล ตระกลู พราหมณ์มหาศาล หรอื ตระกูลคหบดี มหาศาล เห็นปานนั้น อันเป็นตระกูลมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเคร่ืองใช้ที่น่าปล้ืมใจมาก มีทรัพย์และธัญชาติมาก และบัณฑิตนั้นเป็นผู้มีรูปงาม นา่ เลือ่ มใส มผี วิ พรรณผดุ ผอ่ งยง่ิ นกั มปี กตไิ ดข้ า้ ว นำ้� ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลบู ไล้ ท่ีนอน ทีพ่ ัก และเครือ่ งประทีป เขาจงึ ประพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ หลงั จากตายแลว้ จึงไปเกดิ ในสคุ ติโลกสวรรคอ์ กี ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนนักเลงพนัน ได้รับโภค สมบัติมากมาย ความชนะของนักเลงการพนันผู้ได้รับโภค สมบตั มิ าก เพราะการชนะพนนั นนั้ เปน็ เพยี งเลก็ นอ้ ย โดยทแี่ ท้ ความชนะของบณั ฑติ ผปู้ ระพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ หลังจากตายแล้ว จะไปเกิดในสคุ ติโลกสวรรค์ เปน็ ความชนะ ทยี่ ง่ิ ใหญก่ วา่ นน้ั นเ้ี ปน็ ภมู ขิ องบณั ฑติ ทบ่ี ณั ฑติ บ�ำ เพญ็ ไวท้ ง้ั สนิ้ ” คนดีมีศีลธรรมน้ัน ย่อมเป็นผู้ชนะในโลกทั้งสอง คือ ในปัจจุบันชาติก็มีความสุขทั้งกายและใจ เป็นผู้สมบูรณ์ด้วย โภคทรพั ยส์ มบตั ิ ความแขง็ แรง และความสขุ ใจ จาก ทาน ศลี ภาวนา ที่ได้ทำ�อย่างตอ่ เนอ่ื ง และในปรโลกชวี ิตหลงั ความตาย ย่อมได้เสวยทิพยสมบัติอันย่ิงใหญ่ในโลกสวรรค์ แม้เมื่อหมด www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 179 อายุ หมดบญุ ในภพสวรรคม์ าเกิดเปน็ มนุษย์ ก็ได้เกดิ มาพร้อม ดว้ ยรปู สมบตั ิ ทรพั ยส์ มบตั ิ คณุ สมบตั ิ ท�ำ ใหม้ โี อกาสสรา้ งความ ดีต่อๆ ไปอีกในชาตนิ นั้ ๆ จึงได้เป็นผเู้ วยี นว่ายอยใู่ นภพทัง้ สอง คอื มนษุ ยโลก และเทวโลก จนกว่าจะถึงทส่ี ุดแหง่ ธรรม www.webkal.org
www.webkal.org
ทำ�ไมตอ้ ง “บวชแตห่ นุ่ม” ประเพณีบวชแต่หนุ่ม เม่ืออายุครบบวช คือ ๒๐ ปี เป็นรากฐานที่มั่นคง ของพระพุทธศาสนาในเมืองไทยมานับ พนั ปี ท�ำ ใหส้ งั คมไทยเขม้ แขง็ ดว้ ยศลี ธรรม ประชาชนอยรู่ ม่ เยน็ เป็นสุข แต่ปัจจุบันส่ิงนี้เริ่มเลือนหายไป พร้อมกับความสุข และรอยย้ิมของชาวสยาม ดงั น้นั การฟื้นฟปู ระเพณี “บวชแต่ หนุ่ม” กลับมา เปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ ส�ำ หรบั สังคมไทย จำ�เป็นส�ำ หรบั ครอบครัว และจ�ำ เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับตัวผู้บวชเอง หากถาม ว่า ท�ำ ไมต้องบวชแตห่ นุ่ม หาค�ำ ตอบไดจ้ ากเร่ืองราวของพระ รัฐบาลเถระ ดงั นี้ พระรัฐบาลเถระ ผู้เปน็ เอตทัคคะเปน็ เลศิ ทางออกบวช ด้วยศรัทธา เปน็ ชาวแคว้นกุรุ พร่งั พรอ้ มดว้ ยสมบัติ ญาตมิ ติ ร และบรวิ ารมากมาย แตก่ อ็ อกบวชตัง้ แต่ยงั หนุ่ม ครนั้ ออกบวช แล้ว ต้ังใจบำ�เพ็ญสมณธรรม จนสำ�เร็จเป็นพระอรหันต์ ในเวลาตอ่ มา ไดเ้ ดนิ ทางกลับไปแคว้นกุรเุ พอื่ โปรดบิดามารดา พกั อยใู่ นพระราชอทุ ยานของพเจา้ โกรพั ยะ ฝา่ ยพระเจา้ โกรพั ยะ คร้ันทราบข่าวจึงเสด็จไปสนทนาธรรม ความตอนหน่ึงได้ถาม รัฏฐปาลสูตร : พระสุตตันตปฎิ ก มชั ฌิมนกิ าย มัชฌิมปัณณาสก์, มมร. เลม่ ๒๑ หนา้ ๒๔ www.webkal.org
182 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ถึงเหตุแห่งการบวชแต่ยังหนุ่มของท่านพระรัฐบาล พระเถระ จึงแสดงธมั มุทเทส ๔ ดงั นี้ “มหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงธัมมุท เทส ๔ ขอ้ ท่ีอาตมภาพรู้เหน็ และไดฟ้ งั แลว้ จึงออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชติ ธัมมุทเทส ๔ ขอ้ เปน็ ไฉน คือ ธัมมุทเทส ขอ้ ทห่ี นงึ่ ว่า โลกอันชราน�ำ เขา้ ไปไมย่ ง่ั ยืน ธมั มุทเทส ขอ้ ท่ีสองวา่ โลกไม่มีผู้ต้านทาน ไมเ่ ปน็ ใหญ่ เฉพาะตน ธมั มทุ เทส ขอ้ ทส่ี ามวา่ โลกไมม่ อี ะไรเปน็ ของตน จ�ำ ตอ้ งละ สง่ิ ท้งั ปวงไป ธมั มทุ เทส ขอ้ ทสี่ วี่ า่ โลกบกพรอ่ งอยเู่ ปน็ นติ ย์ ไมร่ จู้ กั อมิ่ เป็นทาสแหง่ ตัณหา ดูก่อนมหาบพิตร ธัมมุทเทส ส่ีข้อน้ีแล ที่อาตมภาพ รู้เห็นและไดฟ้ งั แลว้ จึงออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชติ ” (๑) “โลกอนั ชราน�ำ เข้าไป ไม่ยั่งยนื ” ท่านรัฐปาละกล่าวว่า “โลกอันชรานำ�ไป ไม่ย่ังยืน” ก็เนื้อความแห่งภาษติ นี้จะพงึ เหน็ ได้อยา่ งไร? www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 183 “ดูก่อนมหาบพิตร มหาบพิตรจะทรงเข้าพระทัยความ ข้อน้นั เปน็ ไฉน มหาบพติ รเม่ือมีพระชนมายุ ๒๐ ปีกด็ ี ๒๕ ปี กด็ ี ในเรอื่ งชา้ งกด็ ี เรอ่ื งมา้ กด็ ี เรอื่ งรถกด็ ี เรอ่ื งธนกู ด็ ี เรอื่ งอาวธุ ก็ดี ทรงศึกษาอย่างคล่องแคล่ว ทรงมีกำ�ลังพระเพลา มกี ำ�ลังพระพาหา มพี ระวรกายสามารถ เคยทรงเขา้ สงคราม มาแลว้ มใิ ชห่ รือ?” “ทา่ นรฐั ปาละ ข้าพเจา้ เมือ่ มีอายุ ๒๐ ปีก็ดี ๒๕ ปกี ็ดี ในเร่ืองชา้ งกด็ ี เร่ืองมา้ กด็ ี เรอ่ื งรถกด็ ี เรอื่ งธนูกด็ ี เรื่องอาวธุ ก็ดี ได้ศึกษาอย่างคล่องแคล่ว มีกำ�ลังขา มีกำ�ลังแขน มตี นสามารถ เคยเข้าสงครามมาแล้ว บางคร้ังขา้ พเจ้าสำ�คญั ว่ามีฤทธิ์ ไม่เหน็ ใครจะเสมอด้วยกำ�ลังของตน” “ดูก่อนมหาบพิตร แม้เด๋ียวน้ี มหาบพิตรก็ยังมีกำ�ลัง พระเพลา มกี �ำ ลงั พระพาหา มพี ระวรกายสามารถเขา้ สงคราม เหมือนอยา่ งเดิมไดห้ รอื ?” “ท่านรัฐปาละ ข้อนี้หามิได้ เดี๋ยวนี้ ข้าพเจ้าแก่แล้ว เจริญวัยแล้ว เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยมาโดยลำ�ดับแล้ว วัยของข้าพเจ้าล่วงเข้า ๘๐ บางคร้ังข้าพเจ้าคิดว่า “จักย่าง เท้าไปทางน ี้ ก็ไพลย่ ่างไปทางอืน่ เสยี ” “ดูก่อนมหาบพิตร เนื้อความน้ีแล ที่พระผู้มีพระภาค www.webkal.org
184 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก พระองคน์ น้ั ผู้ทรงรู้ ทรงเหน็ เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพทุ ธ เจ้า ทรงหมายถึง ตรัสธัมมุทเทสข้อท่ีหนึ่งว่า “โลกอันชรา น�ำ เขา้ ไป ไมย่ ง่ั ยนื ” ท่อี าตมภาพรู้เหน็ และได้ฟงั แลว้ จงึ ออก จากเรือนบวชเป็นบรรพชติ ” (๒) “โลกไมม่ ีผู้ต้านทาน ไมเ่ ป็นใหญเ่ ฉพาะตน” “ในราชตระกลู นี้ มหี มพู่ ลชา้ ง หมพู่ ลมา้ หมพู่ ลรถ และ หมู่พลเดินเท้า ท่ีจักป้องกันอันตรายของเราได้ ท่านรัฐปาละ กลับกล่าวว่า “โลกไม่มีผู้ต้านทาน ไม่เป็นใหญ่เฉพาะตน” หมายความวา่ อย่างไร” “ดูก่อนมหาบพิตร มหาบพิตรจะทรงเข้าพระทัยความ ข้อนน้ั เป็นไฉน มหาบพติ รเคยทรงประชวรหนกั บา้ งหรือไม่” “ทา่ นรฐั ปาละ ขา้ พเจา้ เคยเจบ็ หนกั อยู่ บางครงั้ บรรดา มติ ร อำ�มาตย์ ญาตสิ าโลหติ แวดลอ้ มขา้ พเจา้ อยู่ ดว้ ยสำ�คญั วา่ พระเจ้าโกรพั ยะจกั สวรรคต บดั น้ี พระเจ้าโกรัพยะจักสวรรคต บดั น้”ี “ดกู อ่ นมหาบพติ ร พระองคไ์ ดม้ ติ ร อ�ำ มาตย์ ญาตสิ าโลหติ (ทจ่ี ะขอรอ้ ง) วา่ “มติ รอำ�มาตย์ ญาตสิ าโลหติ ผเู้ จรญิ ของเราที่ มอี ยทู่ ง้ั หมด จงมาชว่ ยแบง่ เวทนานไ้ี ป โดยใหเ้ ราไดเ้ สวยเวทนา เบาลง” หรอื ว่า มหาบพติ รต้องเสวยเวทนาแต่พระองค์เดยี ว” www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 185 “ทา่ นรฐั ปาละ ขา้ พเจา้ จะไดม้ ติ ร อ�ำ มาตย์ ญาตสิ าโลหติ (ที่ข้าพเจา้ จะขอร้อง) วา่ “มิตร อำ�มาตย์ ญาตสิ าโลหติ ท่มี ีอยู่ ทงั้ หมด จงมาชว่ ยแบง่ เวทนานไี้ ป โดยใหเ้ ราไดเ้ สวยเวทนาเบา ลงไป” หามิได้ ท่ีแท้ ขา้ พเจา้ ตอ้ งเสวยเวทนาน้นั แต่ผเู้ ดยี ว” “ดูก่อนมหาบพิตร เน้ือความน้ีแล ที่พระผู้มีพระภาค พระองคน์ นั้ ผทู้ รงรู้ ทรงเหน็ เปน็ พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงหมายถงึ ตรสั ธัมมทุ เทส ข้อทสี่ องว่า “โลกไม่มีผตู้ ้านทาน ไมเ่ ปน็ ใหญเ่ ฉพาะตน” ทอี่ าตมภาพรเู้ หน็ และไดฟ้ งั แลว้ จงึ ออก จากเรือนบวชเป็นบรรพชิต” (๓) “โลกไมม่ ีอะไรเปน็ ของตน จ�ำ ต้องทิ้งสง่ิ ท้ังปวงไป” “ในราชตระกูลนี้ มีเงินและทองอยู่ท่ีพ้ืนดินและใน อากาศมากมาย ท่านรฐั ปาละกลบั กล่าววา่ “โลกไมม่ ีอะไรเปน็ ของตน จำ�ตอ้ งท้ิงสงิ่ ทั้งปวงไป” หมายความวา่ อยา่ งไร” “ดกู อ่ นมหาบพติ ร มหาบพติ รจะทรงเขา้ พระทยั ความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน เดย๋ี วน้ี มหาบพติ รเอบิ อมิ่ พรงั่ พรอ้ มดว้ ยกามคณุ ๕ บำ�เรอพระองค์อยู่ ฉันใด มหาบพิตรจกั ไดส้ มพระราชประสงค์ วา่ แมใ้ นโลกหนา้ เราจกั เปน็ ผเู้ อบิ อมิ่ พรง่ั พรอ้ มดว้ ยกามคณุ ๕ บำ�เรอตนอยู่ ฉันน้นั หรอื วา่ ชนเหลา่ อน่ื จกั ปกครองโภคสมบัติ นี้ สว่ นมหาบพิตรกจ็ กั เสด็จไปตามยถากรรม” www.webkal.org
186 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก “ท่านรัฐปาละ เดี๋ยวนี้ ข้าพเจ้าเอิบอ่ิม พรั่งพร้อม ด้วยกามคุณ ๕ บำ�เรอตนอยู่ ฉันใด ข้าพเจ้าจักไม่ได้ตาม ความประสงคว์ ่า แม้ในโลกหนา้ เราจะเป็นผเู้ อบิ อ่ิมพร่งั พรอ้ ม ด้วยกามคุณ ๕ บำ�เรอตนอยู่ ฉันน้ัน ที่แท้ ชนเหล่าอ่ืนจัก ปกครองโภคสมบัตินี้ สว่ นขา้ พเจา้ ก็จักไปตามยถากรรม” “ดกู อ่ นมหาบพติ ร เนอ้ื ความนแี้ ล อนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์นนั้ ผทู้ รงร้ทู รงเหน็ เปน็ พระอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจ้า ทรงหมายถงึ ตรสั ธมั มทุ เทสขอ้ ทสี่ ามวา่ “โลกไม่มอี ะไรเปน็ ของ ตน จ�ำ ตอ้ งละทงิ้ สงิ่ ทงั้ ปวงไป “ทอี่ าตมภาพรเู้ หน็ และไดฟ้ งั แลว้ จึงออกจากเรอื นบวชเปน็ บรรพชิต” (๔) “โลกพร่องอยู่เป็นนิตย์ ไม่รู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่ง ตัณหา” “ท่านรัฐปาละกล่าววา่ “โลกพร่องอย่เู ป็นนติ ย์ ไม่รู้จกั อ่มิ เปน็ ทาสแห่งตณั หา “หมายความวา่ อย่างไร” “ดูก่อนมหาบพิตร มหาบพิตรจะเข้าพระทัยความข้อ นั้นเป็นไฉน มหาบพิตรทรงครอบครองกุรุรัฐอันอุดมสมบูรณ์ อยหู่ รอื ” “อย่างนั้น ทา่ นรัฐปาละ ขา้ พเจา้ ครอบครองกรุ ุรฐั อนั อุดมสมบูรณอ์ ย”ู่ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 187 “มหาบพติ รจกั เขา้ พระทยั ความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน ราชบรุ ษุ ของมหาบพติ รทก่ี รุ รุ ฐั นี้ เปน็ ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ เปน็ คนมเี หตผุ ล พงึ มา จากทศิ บรู พา... จากทศิ ปจั จมิ ... จากทศิ อดุ ร... จากทศิ ทกั ษณิ ... จาก สมทุ รฟากโนน้ เขาเขา้ มาเฝา้ มหาบพติ รแลว้ กราบทลู อยา่ งนว้ี า่ “ขอเดชะมหาราชเจ้า พระองค์พึงทรงทราบว่า ขา้ พระพทุ ธเจา้ มาจากทศิ บรู พา... จากทศิ ปจั จมิ ... จากทศิ อดุ ร... จากทิศทักษิณ... จากสมุทรฟากโนน้ ในทศิ นั้น ขา้ พระพุทธเจา้ ได้เห็นชนบทใหญ่ ม่ังค่ังและอุดมสมบูรณ์ มีประชากรมาก มีพลเมืองหนาแน่น ในชนบทนั้น มีพลช้าง พลม้า พลรถ พลเดนิ เท้ามาก มสี ัตว์ที่มเี ขี้ยวงามาก มเี งินและทองทัง้ ท่ยี ังไม่ ไดห้ ลอม ทงั้ ทห่ี ลอมแลว้ กม็ าก ในชนบทนนั้ สตรเี ปน็ ผปู้ กครอง พระองค์อาจจะรบชนะได้ด้วยกำ�ลังพลประมาณเท่านั้น ขอ พระองค์ จงไปรบเอาเถดิ มหาราชเจา้ ” มหาบพติ รจะทรงทำ� อยา่ งไรกะชนบทนน้ั ” “ท่านรัฐปาละ พวกเราก็ไปรบเอาชนบทนั้นมา ครอบครองเสยี น่ะซิ” “ดูกอ่ น มหาบพิตร เนอ้ื ความน้แี ล อันพระผู้มีพระภาค พระองคน์ น้ั ผู้ ทรงรทู้ รงเหน็ เปน็ พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงหมายถึงตรสั ธัมมทุ เทสข้อท่สี ่ี ว่า www.webkal.org
188 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก “โลกพรอ่ งอยเู่ ปน็ นติ ย์ ไมร่ จู้ กั อม่ิ เปน็ ทาสแหง่ ตณั หา” ที่อาตมภาพรู้เห็นและได้ฟังแล้วจึงออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชติ ” หากไมร่ บี บวชแตห่ นมุ่ ปลอ่ ยใหค้ วามชรา โรคภยั วบิ าก กรรม หรอื ตณั หาเข้าครอบง�ำ เสยี แล้ว กจ็ ะหมดโอกาสท่จี ะได้ บวชฝกึ อบรมกายใจดว้ ยพระธรรมวนิ ยั อนั เปน็ “วชิ าชวี ติ ” ซงึ่ สำ�คัญยิง่ กวา่ “วิชาชีพ” ทีเ่ ราศกึ ษาจากสถาบนั การศกึ ษาเป็น ไหนๆ เพราะวชิ าชวี ติ นจี้ ะชว่ ยใหเ้ ราด�ำ เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี วาม สุขท้ังภพชาตนิ ี้ และชาติตอ่ ๆ ไปจนถงึ ทสี่ ุดแห่งธรรม www.webkal.org
สรา้ งบุญอะไรดกี ว่า ส�ำ หรบั ผรู้ กั การสรา้ งบญุ มกั มคี �ำ ถามบอ่ ยๆ วา่ ท�ำ อะไร ไดบ้ ุญมากกวา่ กัน ครั้นพอรวู้ ่า ความดนี ้ันได้บญุ มากกว่าความ ดีนี้ บางท่านจึงกีดกันตนเองจากความดีประการที่เข้าใจว่าได้ บุญน้อยกวา่ เช่น ไม่ท�ำ ทานด้วยเหตุผลว่า สกู้ ารรักษาศลี ไม่ ได้ หรอื บอกว่า ท�ำ ไมตอ้ งไปวดั เราอยู่ท่ีบ้านก็เจริญภาวนาได้ ซ่ึงอันทีจ่ รงิ ความดีใดๆ ก็ดีทงั้ ส้ิน หากเราทำ�ไปทุกๆ บญุ กจ็ ะ เกือ้ หนนุ ส่งเสรมิ กนั ไปใหถ้ ึงฝงั่ ได้ เปรยี บเหมอื น การเดินเรอื ข้ามฝัง่ น�้ำ หากมีแต่เพียงเรือ ไม่มพี าย กไ็ ปไม่ได้ แมม้ พี าย แต่ไม่มเี รยี่ วแรงพาย กไ็ ปไม่ถึงฝ่ังตรงข้าม พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เมอื่ ครงั้ ทย่ี งั ทรงเปน็ พระโพธสิ ตั ว์ สร้างบารมีอยู่กท็ รงมคี วามสงสยั เช่นเดยี วกนั นี้ แตเ่ พราะทรง ได้กลั ยาณมติ รจึงทรงได้แนวทางปฏบิ ัตทิ ่ถี กู ตอ้ ง เมื่อครั้งเสวยพระชาติเป็นพระเจ้าเนมิราช วันหนึ่ง ทรงรักษาอุโบสถศีล ประทับนั่งขัดสมาธิอยู่บนปราสาท ในปัจฉิมยาม ทรงเกิดความสงสัยขึ้นว่า ทานประเสริฐ เนมริ าชชาดก : พระสุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก, มมร. เลม่ ๖๓ หนา้ ๒๑๓ www.webkal.org
190 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก หรือพรหมจรรย์ประเสริฐกว่า พระโพธิสัตว์ไม่สามารถ ตัดความสงสัยของพระองค์ได้ ในขณะนั้น ภพของท้าวสักกะเกิดร้อนขึ้นมา ทา้ วสกั กะทรงร�ำ ลกึ ถงึ กท็ ราบเหตุ ทรงเหน็ พระโพธสิ ตั วท์ รงวติ ก อยอู่ ยา่ งนน้ั จงึ ทรงด�ำ รวิ า่ เราจะตดั ความสงสยั ของพระโพธสิ ตั ว์ จงึ เสดจ็ มาประทบั อยขู่ ้างหน้า พระโพธสิ ตั วท์ อดพระเนตรเห็น ดงั นั้น จงึ ตรัสถามว่า “ทา่ นเปน็ ใคร?” จงึ ทรงบอกว่า พระองค์ เปน็ เทวราช แล้วตรสั ถามวา่ “มหาราช พระองคท์ รงดำ�ริถงึ อะไร?” พระโพธสิ ัตวจ์ งึ ตรัสบอกความสงสยั นั้น ท้าวสักกะเมื่อจะทรงแสดงให้เห็นว่า พรหมจรรย์น่ัน แหละประเสรฐิ ท่สี ดุ จึงตรสั ชแี้ จงวา่ บคุ คลเกดิ ในตระกลู กษตั รยิ ์ กเ็ พราะประพฤตพิ รหมจรรย์ อยา่ งต�่ำ เกดิ เปน็ เทวดา กเ็ พราะประพฤตพิ รหมจรรยป์ านกลาง บคุ คลบรสิ ทุ ธ์ไิ ด้ กเ็ พราะประพฤติพรหมจรรย์อย่างสงู เพราะพรหมจรรยเ์ หลา่ นมี้ ใิ ชจ่ ะปฏบิ ตั ไิ ดง้ า่ ยๆ ดว้ ยการ ประกอบพธิ วี ิงวอนขอรอ้ งอะไรๆ บคุ คลผู้ท่ีเกิดในหมู่พรหมได้ ต้องออกบวชบ�ำ เพญ็ ตบะ (อธิบายว่า เมื่อพระภิกษุผู้มีศีลบริสุทธ์ิ ปรารถนา เกิดในหมู่เทพอย่างใดอย่างหน่ึง ชื่อว่าพรหมจรรย์อย่างตำ่� www.webkal.org
พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 191 ดว้ ยพรหมจรรยอ์ ยา่ งต่ำ�นน้ั บคุ คลยอ่ มเกดิ ในเทวโลกตามทตี่ น ปรารถนา การท่ีผู้มีศีลบริสุทธ์ิยังฌานสมาบัติ ๘ ใหเ้ กดิ ชอ่ื วา่ พรหมจรรย์ปานกลาง ด้วยพรหมจรรย์ปานกลางน้ันบุคคล ยอ่ มเกดิ ในพรหมโลก ส่วนผมู้ ศี ีลบริสทุ ธิ์เจริญวปิ ัสสนาแลว้ บรรลพุ ระอรหตั ชื่อว่าพรหมจรรย์อย่างสูง บุคคลย่อมบริสุทธ์ิด้วยพรหมจรรย์ สงู สุดนน้ั ) สุดท้าย ท้าวสักกะได้ตรสั ว่า “มหาราช การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์น้ันแหละ มผี ลมากกวา่ ทานรอ้ ยเทา่ พนั เทา่ แสนเทา่ แตถ่ งึ แมพ้ รหมจรรย์ จะมีผลมากกว่าทานก็จริง ถงึ กระนน้ั พระมหาบรุ ุษกค็ วรทำ�ท้ัง สองอย่าง จงเป็นผู้ไม่ประมาทในทานและพรหมจรรย์ท้ังสอง จงให้ทานและจงรักษาศลี เถดิ ” ตรัสดังน้ี แลว้ ก็เสดจ็ กลบั เทวโลก เมอื่ เรารอู้ ย่างน้ีแลว้ กค็ วรท�ำ ทง้ั สองอย่าง ทำ�อย่างเต็ม ก�ำ ลงั ทง้ั สองอยา่ งนนั่ แล ถา้ กำ�ลงั ใจเขม้ แขง็ กร็ กั ษาพรหมจรรย์ ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ไปจนตลอดชีวิต ถ้าไม่ได้ดังน้ัน ก็รักษาให้ www.webkal.org
192 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก บริสุทธิ์เป็นช่วงๆ อย่างน้อยก็จะได้เป็นวาสนาบารมีติดตัวไป ในภพชาติเบ้ืองหน้า ส่วนทานก็ต้องทำ�อย่างเต็มกำ�ลัง ไม่ใช่ ทำ�ตามกำ�ลัง เพราะถ้าทำ�ตามกำ�ลังภพชาติต่อไป เวลารวย ก็รวยตามก�ำ ลัง คือ รวยแบบขยกั ขยอ่ น เดี๋ยวรวย เดี๋ยวจน จะสรา้ งทานบารมตี อ่ กข็ ดั สน จะประพฤตพิ รหมจรรยก์ ไ็ มส่ ะดวก มันติดขดั ไปหมด สู้ท�ำ ใหเ้ ต็มที่จนตดิ เป็นอัธยาศยั ทงั้ สองอยา่ ง เสยี ตั้งแตช่ าตนิ ี้ ชาตติ อ่ ไปจะได้สะดวกสบาย อะไรๆ ทีด่ เู ปน็ เรอื่ งยาก มาถงึ เราจะไดก้ ลายเป็นเรอ่ื งง่ายๆ สบายๆ www.webkal.org
คู่บญุ “พรหมลขิ ติ บนั ดาลชกั พา ดลใหม้ าพบกนั ทนั ใด ก่อนนีอ้ ย่ไู กลแสนไกล พรหมลิขิตดลจิตใจ ฉันจึงไดม้ าใกล้กบั เธอ เออชะรอยจะเปน็ เน้อื คู.่ ..” แว่วเสียงเพลงดังมา พาให้นึกถึงธรรมะว่าด้วยเหตุ แห่งการเป็น “เนื้อคู่” สำ�หรับผู้ที่ยังมีความรักยังปรารถนา การครองเรอื นรว่ มกนั ในภพชาตติ อ่ ๆ ไป พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กท็ รงมีค�ำ แนะน�ำ หลักปฏิบตั ิ เพอ่ื บรรลุความปรารถนาน้นั ดงั ใน สมชวี ิสูตร ว่า สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ท่ีเภสกฬา มฤคทายวัน เขตกรุงสุงสุมารคีระ แคว้นภัคคะ ในเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวรเสด็จ เขา้ ไปยงั นเิ วศนข์ องนกลุ ปติ าคหบดี ประทบั นง่ั บนพทุ ธอาสนท์ ี่ ปลู าดไวแ้ ลว้ ล�ำ ดบั นน้ั นกลุ ปติ าคหบดแี ละนกลุ มาตาคหปตานี พากนั เขา้ ไปเฝ้าพระผมู้ พี ระภาคถงึ ทป่ี ระทับ ถวายอภิวาทแล้ว น่ัง ณ ทสี่ มควร ได้กราบทลู พระผมู้ พี ระภาคดงั น้วี า่ ปฐมสมชวี สิ ตู ร : พระสุตตนั ตปิฎก องั คตุ ตรนิกาย จตกุ กนิบาต, มมร. เลม่ ๓๕ หนา้ ๑๘๙ www.webkal.org
194 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นับแต่เวลาท่ีข้าพระองค์นำ� นกุลมารดามา ข้าพระองค์ไม่เคยคิดที่จะประพฤตินอกใจ นกุลมารดา ไหนเลยจะประพฤตินอกใจด้วยกายเล่า พวกข้า พระองคป์ รารถนาที่จะพบกนั ทงั้ ในชาตนิ ีแ้ ละชาตหิ นา้ ” ส่วนนกุลมารดา ก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ ว่า “ข้าแต่พระองคผ์ ู้เจรญิ นบั แต่เวลาทน่ี กุลบิดาเม่อื ยงั หนมุ่ นำ�หม่อมฉันผู้ยังเป็นสาวมา หม่อมฉันไม่เคยคิดที่จะประพฤติ นอกใจนกลุ บิดา ไหนเลยจะประพฤตนิ อกใจดว้ ยกายเล่า พวก ข้าพระองค์ปรารถนาทจ่ี ะพบกนั ทัง้ ในชาตนิ ้แี ละชาติหน้า” พระผูม้ ีพระภาคตรสั วา่ “คหบดแี ละคหปตานี ถ้าสามี และภรรยาทั้งสองฝ่ายหวังจะพบกันทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ท้ังสองฝา่ ยพงึ มีศรทั ธาเสมอกนั มีศีลเสมอกัน มีจาคะ (การ สละ) เสมอกัน มีปัญญาเสมอกนั สามีและภรรยาท้ังสองฝา่ ย น้ันยอ่ มไดพ้ บกันทั้งในชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา้ ” สามีและภรรยาท้ังสองฝ่าย เป็นผู้มศี รัทธา รู้ความประสงคข์ องผูข้ อ ส�ำ รวมระวงั ดำ�เนินชีวิตโดยธรรม เจรจาค�ำ ไพเราะออ่ นหวานตอ่ กนั มคี วามเจริญรุ่งเรอื ง มีความผาสกุ www.webkal.org
พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 195 มีความประพฤติเสมอกนั ทั้งสองฝา่ ย รกั ใคร่ ไม่คิดร้ายต่อกนั ทง้ั สองฝ่ายประพฤตธิ รรมในโลกนี้ มีศลี และวตั รเสมอกัน เสวยอารมณ์ท่นี า่ ใคร่ ย่อมเพลิดเพลินบนั เทิงใจในเทวโลก ดังนั้น แทจ้ ริง เหตุแห่งการเปน็ “เนื้อค่”ู มิใช่ “พรหม ลขิ ิต” แตเ่ ปน็ “กรรมลขิ ติ ” คอื มกี ารประพฤตธิ รรมที่เสมอกนั ด้วยศรัทธา ด้วยศีล ด้วยจาคะ และด้วยปัญญา จึงนำ�พา ใหท้ งั้ สองมาพบกัน หากทง้ั สองเป็นคนพรอ่ งศรัทธา พรอ่ งศีล พรอ่ งจาคะ พรอ่ งปญั ญา เสมอกนั มาพบเจอกนั กก็ ลายเปน็ “คเู่ วรคกู่ รรม” แตห่ ากทงั้ คสู่ มบรู ณด์ ว้ ยศรัทธา สมบูรณด์ ว้ ยศลี สมบูรณ์ด้วย จาคะ สมบรู ณป์ ญั ญา น�ำ พากนั สรา้ งบญุ กศุ ล เมอ่ื ไดม้ าพบเจอกนั ในชาตไิ หนๆ กไ็ ด้เป็น “คู่บญุ ” ที่จะประคบั ประคองกนั สรา้ ง บญุ บารมไี ปตลอดชีวติ www.webkal.org
www.webkal.org
www.webkal.org
www.webkal.org
กจิ ที่ส�ำ คัญทสี่ ุด ทา่ นเคยคดิ ไหมวา่ หากเราทราบแนน่ อนวา่ จะมชี วี ติ อยู่ ถงึ ๑๐๐ ปี เราจะวางแผนชวี ติ อยา่ งไร หรอื รแู้ นว่ า่ จะมชี วี ติ อกี เพยี ง ๑ วนั เราจะท�ำ อะไรกอ่ นหลงั แผนของคนสว่ นใหญก่ เ็ ปน็ ทค่ี าดไดว้ า่ แผน ๑๐๐ ปี กบั แผน ๑ วนั คงจะตา่ งกนั มากทเี ดยี ว แต่สำ�หรบั พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ไม่วา่ จะมชี วี ติ อยู่นานแคไ่ หน “กจิ ทสี่ �ำ คญั ทส่ี ดุ ” ของชวี ติ กย็ งั คงเปน็ เชน่ เดมิ คอื การปฏบิ ตั ธิ รรม ใหเ้ ขา้ ถงึ พระธรรมกาย เพอ่ื ท�ำ พระนพิ พานใหแ้ จง้ ดงั ทพ่ี ระองค์ ตรัสไวใ้ น เจลสตู ร และ สตั ตสิ ตสตู ร วา่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามภิกษุท้ังหลายว่า “ดูก่อน ภกิ ษทุ ้งั หลาย เมอื่ ผา้ หรอื ศีรษะถูกไฟไหม้แลว้ เธอควรกระทำ� อย่างไร” ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เม่ือผ้าหรือศีรษะถูกไฟไหม้แล้ว ควรจะกระทำ�ความพอใจ ความพยายาม ความอตุ สาหะ ความไมย่ น่ ยอ่ ความไมท่ อ้ ถอย สติ และสัมปชญั ญะอย่างแรงกล้า เพ่ือดบั ไฟบนผ้าหรอื ศรี ษะน้นั ” เจลสูตร-สตั ตสิ ตสูตร : พระสุตตนั ตปฎิ ก สังยตุ ตนิกาย มหาวารวรรค, มมร.เลม่ ๓๑ หนา้ ๔๕๓ www.webkal.org
200 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก พ. “ดกู ่อนภิกษทุ ้งั หลาย พวกเธอควรวางเฉย ไมใ่ ส่ใจ ถึงผ้าหรือศีรษะที่ถูกไฟไหม้ แล้วพึงกระทำ�ความพอใจ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความไมย่ น่ ย่อ ความไมท่ ้อถอย สตแิ ละสมั ปชญั ญะอยา่ งแรงกลา้ เพอื่ ปฏบิ ตั ใิ หร้ แู้ จง้ อรยิ สจั ๔ ท่ียังไมร่ แู้ จง้ ตามความเป็นจรงิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนใครๆ พึงกล่าวกับ บรุ ษุ ผมู้ อี ายุ ๑๐๐ ปี มชี วี ติ อยู่ ๑๐๐ ปวี า่ “มาเถดิ พอ่ มหาจ�ำ เรญิ ชนทง้ั หลายจกั เอาหอกครง้ั ละ ๑๐๐ เลม่ ทม่ิ แทงทา่ น ในเวลาเชา้ ... ในเวลาเทยี่ ง... ในเวลาเยน็ ทา่ นนน้ั ถกู เขาเอาหอก ๓๐๐ เลม่ ทม่ิ แทงอยทู่ กุ วนั ๆ ตลอดอายุ ๑๐๐ ปี มชี วี ติ อยู่ ๑๐๐ ปี เมอ่ื ลว่ งไป ๑๐๐ ปี จกั รแู้ จ้งอรยิ สัจ ๔ ทีย่ งั ไมไ่ ด้รู้แจ้ง กลุ บตุ รผเู้ หน็ ประโยชนค์ วรจะรบั เอาขอ้ เสนอนนั้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตไุ ร เพราะวา่ สงสารนี้ มเี บอ้ื งตน้ และทส่ี ดุ ก�ำ หนดรไู้ มไ่ ด้ เบอื้ ง ตน้ และท่สี ดุ แห่งการประหารด้วยหอก ดาบ หลาว และขวาน ย่อมไมป่ รากฏ ฉันใด ก็ขอ้ นพ้ี งึ มไี ด้ ฉนั นัน้ วา่ ก็เราไม่กลา่ ววา่ การรแู้ จง้ อรยิ สจั ๔ เปน็ ไปดว้ ยทกุ ข์ โทมนสั แตเ่ รากลา่ ววา่ การ รแู้ จ้งอริยสจั ๔ เป็นไปพร้อมด้วยสุข โสมนสั เท่านั้น www.webkal.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264