Pocket E-book จดั ทำโดย นำงสำวภทั รภร บญุ รอด รหสั 6117701001056 เลขที่ 28 ห้อง 1 รำยวชิ ำ กำรพยำบำลผ้ใู หญ่ 2
แนวคดิ ทฤษฎี การพยาบาลผู้ป่ วยเฉียบพลนั วกิ ฤติ ➢ การพยาบาลผู้ป่ วยวกิ ฤติ หมายถึง การพยาบาลผปู้ ่ วยที่มีการเจบ็ ป่ วยเกิดข้ึนกะทนั หนั จนถึงข้นั อนั ตรายต่อ ชีวติ เพ่ือใหผ้ ปู้ ่ วยปลอดภยั และไม่มีภาวะแทรกซอ้ น รวมท้งั ดูแลการตอบสนองของครอบครัวของผปู้ ่ วย ➢ววิ ฒั นาการของการดูแลผู้ป่ วยภาวะวกิ ฤติ เฉียบพลนั • ในอดีต ผปู้ ่ วยภาวะเฉียบพลนั วกิ ฤติ จะถูกจดั ใหร้ ักษาในหน่วยพเิ ศษ คือ ICU จดั ต้งั คร้ังแรกใน สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1950 โดยมีการนาอุปกรณ์ข้นั สูงมาใชใ้ นการเฝ้าระวงั อาการและการรักษา มีการใชย้ านอนหลบั ยาแกป้ วด ทาใหม้ ีภาวะแทรกซอ้ น ผรู้ ับบริการประทบั ใจนอ้ ย • ในปัจจุบนั เป็นการดูแลแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยใหม้ ีความปลอดภยั และมีอนั ตรายนอ้ ยท่ีสุด พฒั นาการ ติดต่อส่ือสารกบั ผปู้ ่ วยและญาติ เนน้ การทางานเป็นทีมกบั สหสาขาวชิ าชีพ
➢ หลกั การสาคญั ของการพยาบาลผู้ป่ วย • คานึงถึงความปลอดภยั ต่อชีวติ ความเจบ็ ปวด ท้งั ร่างกาย จิตใจ จิตวญิ ญาณของผปู้ ่ วยและครอบครัว • ยอมรับความเป็นบุคคลท้งั คนของผปู้ ่ วย ยอมรับเกียรติศกั ด์ิศรี ความมีคุณค่าของคนท้งั คน ➢ประเดน็ ปัญหาทเ่ี กย่ี วข้องเกย่ี วกบั การดูแลผู้ป่ วยภาวะการเจบ็ ป่ วยเฉียบพลนั วกิ ฤต • มีความซบั ซอ้ น ตอ้ งไดร้ ับการดูแลใกลช้ ิด ตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ข้นั สูง • ผปู้ ่ วยวกิ ฤตมีจานวนมากข้ึน ไม่ใช่เฉพาะไอซียู แต่กระจายอยตู่ ามหอผปู้ ่ วยต่าง ๆ • ปัญหาอุบตั ิการณ์ที่พบบ่อยท่ีสุด คือ ปัญหาท่ี 1 การจดั การทางเดินหายใจ ปัญหาที่ 2 การดูแลสายยางท่ี สอดใส่เขา้ ไปในร่างกายเพ่อื การตรวจรักษา หรือเฝ้าระวงั การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ปัญหาท่ี 3 ปัญหา ในการใหย้ า
• มีโรคติดเช้ืออุบตั ิซ้าและติดเช้ืออุบตั ิใหม่ • มีการระบาดโรคไขห้ วดั ใหญ่สายพนั ธุ์ใหม่ 2009 ท่ีรุนแรงกวา้ งข้ึน • ผสู้ ูงอายเุ พ่มิ ข้ึน ทาใหเ้ ส่ียงอนั ตรายและภาวะแทรกซอ้ นมากข้ึน และรุนแรงกวา่ กลุ่มอื่น ๆ • มีการบาดเจบ็ เพิม่ ข้ึน ท้งั การบาดเจบ็ จากจราจร อุบตั ิภยั และความรุนแรงจากการถูกทาร้ายร่างกาย • มีการใชเ้ ทคโนโลยขี ้นั สูงมากข้ึน เกิด ICU delirium เพม่ิ มากข้ึน เกิดประเดน็ ปัญหาทางจริยธรรม ค่าใชจ้ ่ายสูงข้ึน ยา และเทคโนโลยตี ่าง ๆ ตอ้ งนาเขา้ จากต่างประเทศ ส่งผลต่อเศรษฐกิจของครอบครัวผปู้ ่ วยและต่อประเทศ • ประชาชนเขา้ ถึงบริการมากข้ึน + กบั การเจบ็ ป่ วยท้งั โรคติดเช้ือและไม่ติดเช้ือมากข้ึน • ประเทศต่างๆขาดแคลนผมู้ ีความรู้ความสามารถสาขาการพยาบาลผปู้ ่ วยวิกฤต • เกิด ICU delirium ในผสู้ ูงอายุ พบมากในผปู้ ่ วยที่ใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ • ทุกประเทศทวั่ โลก พบวา่ โรคหวั ใจเป็นสาเหตุการตายอนั ดบั 1
➢ การดูแลผู้ป่ วยทม่ี ภี าวะการเจบ็ ป่ วยเฉียบพลนั วกิ ฤตในปัจจุบัน • ใชเ้ ทคโนโลยขี ้นั สูงทางการแพทย์ การช่วยใหร้ ่างกายผปู้ ่ วยไดเ้ คลื่อนไหวเร็วท่ีสุด เพ่ือลดภาวะแทรกซอ้ น ป้องกนั การเกิด ICU delirum ลดระยะเวลาอยใู่ นไอซียู ลดเวลาอยโู่ รงพยาบาล • อนุญาตใหม้ ีการเยยี่ มของญาติ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระยะสุดทา้ ยของชีวติ • ทีมสหสาขาวชิ าชีพมีการทางานร่วมกนั ในการตรวจเยย่ี มผปู้ ่ วยร่วมกนั ทุกวนั ทุกคร้ัง ที่จาเป็น • เช้ือด้ือยาเพิ่มมากข้ึน เนน้ การป้องกนั การมีมาตรการป้องกนั การติดเช้ือในโรงพยาบาล (nosocomial infection)
➢ ความท้าทายของพยาบาลในการดูแลผู้ป่ วยภาวะการเจบ็ ป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต • การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ตอ้ งพฒั นาดา้ นภาษาองั กฤษ และคานึงถึงความแตกจ่างของ • วฒั นธรรมของกลุ่มสมาชิก ประชาคมอาเซียน • ความตอ้ งการบุคลากรสุขภาพ ตอ้ งพฒั นาความรู้ทางวชิ าการ คุณภาพการพยาบาล • ผปู้ ่ วย เฉียบพลนั วิกฤต • มีโรคติดเช้ือด้ือยา โรคจากเช้ืออุบตั ิเก่า และอุบตั ิใหม่เพิม่ ข้ึน • มีภยั พบิ ตั ิท้งั ทางธรรมชาติและสาธารณภยั อุบตั ิเหตุ ความรุนแรงในสงั คม การก่อการร้ายในประเทศมากข้ึน • ตอ้ งสามารถดูแลผปู้ ่ วยที่มีการใชเ้ ทคโนโลยขี ้นั สูงทางการแพทย์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม • มีประชากรสูงอายมุ ากข้ึน ผปู้ ่ วยวกิ ฤตส่วนมากมีความซบั ซอ้ น • ตอ้ งมีหนา้ ที่ส่งเสริมการบริการที่มีคุณภาพ ใหผ้ ปู้ ่ วยฟ้ื นสภาพเร็วกลบั บา้ นไดเ้ ร็วข้ึน
➢ สมรรถนะของพยาบาลทดี่ ูแลผู้ป่ วยภาวะการเจบ็ ป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต • การประเมินสภาพ และวนิ ิจฉยั การพยาบาล • วางแผนใหก้ ารพยาบาลร่วมกบั สหสาขาวชิ าชีพ • ปฏิบตั ิการพยาบาล • ดูแลผปู้ ่ วยทางดา้ นร่างกาย จิตสงั คม • ประเมินผลการพยาบาล • มีจริยธรรม และใหก้ ารดูแลอยา่ งเท่าเทียม • รายงานอุบตั ิการณ์ ท่ีเกิดข้ึนในการพยาบาลผปู้ ่ วย เช่น การแพย้ า • มีทกั ษะในการส่ือสาร ทีมงาน ผปู้ ่ วย และญาติ • สามารถปฏิบตั ิหนา้ ที่ในการทางานเป็นทีม • จดั สภาพแวดลอ้ มใหผ้ ปู้ ่ วยมีความปลอดภยั • จดั การเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพทางการพยาบาล • มีการศึกษา อบรม ต่อเนื่องเพ่อื พฒั นาตนเองอยตู่ ลอดเวลา
➢ การประเมนิ ความรุนแรงของผู้ป่ วยภาวการณ์เจบ็ ป่ วยวกิ ฤต • ที่นิยมใชแ้ พร่หลาย ท้งั ทางคลินิกและการวจิ ยั ทางการพยาบาล เช่น Acute Physiology and Critical Health Evaluation II : APACHE II Score เป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมินและจดั แบ่งกลุ่มผปู้ ่ วยตามความ รุนแรงของโรค • ใชใ้ นการประเมินโอกาสท่ีจะเสียชีวติ และเพ่ือดูวา่ จาเป็นตอ้ งไดร้ ับการดูแลใกลช้ ิดมากนอ้ ยเพียงใด • โดยทวั่ ไปแลว้ APACHE II จะใชใ้ นเฉพาะในผปู้ ่ วยท่ีเป็นผใู้ หญ่ (มากกวา่ 15 ปี ) เท่าน้นั
• แนวคดิ การพยาบาลผู้ป่ วยภาวะการเจ็บป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต FAST HUGS BID - Feeding : เร่ิม feed ใหเ้ ร็วท่ีสุด - Analgesia : ประเมินความปวดใหไ้ ดแ้ ละควบคุมใหไ้ ด้ - Sedation : การใหย้ าระงบั ประสาท - Thromboembolic prevention : การป้องกนั การเกิดล่ิมเลือดในหลอดเลือดดา - Head of the bed evaluation : การปรับเตียงใหห้ วั สูง - Stress ulcer prophylaxis : การใหย้ าป้องกนั เลือดออกในกระเพาะอาหาร - Glucose control : ควบคุมระดบั น้าตาลในเลือดใหอ้ ยใู่ นช่วง 80-200 mg% - Bowels address ; ดูแลเรื่องการขบั ถ่ายเพื่อลดของเสียคงั่
- Increased daily activity : ส่งเสริมการเคลื่อนไหว - Night time rest : ดูแลเรื่องการนอนหลบั - Disability prevention and discharge planning : การป้องกนั โรคแทรกซอ้ นและการวางแผนจาหน่าย - Aggressive alveolar maintenance : การปกคลุมถุงลมในปอด - Infection prevention : การป้องกนั การติดเช้ือ - Delirium assessment and treatment : การประเมินและการจดั การภาวะสบั สนเฉียบพลนั - Skin and spiritual care : การดูแลผวิ หนงั และการดูแลมิติจิตวญิ ญาณ
• แนวปฏบิ ตั ทิ างการพยาบาลผู้ป่ วยภาวะการเจ็บป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต A = Awakening trials ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ่ วยต่ืนตวั เร็ว ลดการใหย้ านอนหลบั B = Breathing trials(Spontaneous) ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ่ วยหยา่ เคร่ืองหายใจ และหายใจเอง C = Co ordination ประสานงานกนั ในทีม D = Delirium ประเมินภาวะสบั สน ระวงั เร่ืองการใหย้ านอนหลบั หยา่ เครื่องช่วยหาใจไดเ้ ร็วข้ึน และ ป้องกนั ICU delirium E = Early mobilization and ambulation ส่งเสริมใหม้ ีการเคลื่อนไหวร่างกาย และป้องกนั ICU delirium
การพยาบาลผู้ป่ วยระยะท้ายของชีวติ ในภาวะวกิ ฤติ 1. การพยาบาลผู้ป่ วยระยะท้ายของชีวติ ในภาวะวกิ ฤติ ➢ บริบทของผู้ป่ วยระยะท้ายในหอผู้ป่ วยไอซียู • การใหบ้ ริการแก่ผปู้ ่ วยวกิ ฤติท่ีมีความเจบ็ ป่ วยรุนแรง มีภาวะคุกคามต่อชีวติ และมีการใชเ้ ทคโนโลยที ่ี ทนั สมยั ในการทาหตั ถกรรมและการติดตามอาการ • พิจารณารับเฉพาะผปู้ ่ วยหนกั ท่ีมีโอกาสหายสูง ➢ ลกั ษณะของผู้ป่ วยระยะท้ายในไอซียู • ผปู้ ่ วยที่มีโอกาสรอดนอ้ ยและมีแนวโนม้ ไม่สามารถช่วยชีวติ ได้ • ผปู้ ่ วยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของอาการและอาการแสดงไปในทางท่ีแยล่ ง
➢ แนวทางการดูแลผู้ป่ วยระยะท้ายในไอซียู • การดูแลผปู้ ่ วยระยะทา้ ยแบบองคร์ วมและมาตรฐานวิชาชีพโดยเฉพาะดา้ นจิตวิญญาณ • การดูแลญาติอยา่ งบุคคลสาคญั ท่ีสุดของผปู้ ่ วยระยะทา้ ย โดยใหญ้ าติซกั ถามขอ้ สงสยั เพ่ือลดความวิตก กงั วล • การดูแลจิตใจของพยาบาลขณะใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยระยะทา้ ยและญาติใหพ้ ร้อมเตม็ ที่ในการดูแลผปู้ ่ วยและ ญาติ
2. การพยาบาลผู้ป่ วยระยะท้ายของชีวติ ในผู้ป่ วยเรื้อรัง ➢ ผปู้ ่ วยเร้ือรังระยะทา้ ยไม่สามารถรักษาใหห้ ายขาด อยใู่ นภาวะพ่ึงพิง และดูแลตนเองได้ • มีปัญหาที่ซบั ซอ้ นและมีอาการท่ียากต่อการควบคุม มกั มีอาการในทางที่แยล่ ง • ความสามารถในการทาหนา้ ที่ของร่างกายลดลงนาไปสู่การมีความทุกขท์ รมาน • มีความวติ กกงั วล ทอ้ แท้ ซึมเศร้า หมดหวงั และกลวั ตายอยา่ งโดดเด่ียว
➢ แนวทางการดูแลผู้ป่ วยเรื้อรังระยะท้าย • การดูแลและใหค้ าแนะนาแก่ผปู้ ่ วยและญาติในการตอบสนองความตอ้ งการดา้ นร่างกาย • การดูแลและใหค้ าแนะนาแก่ผปู้ ่ วยและญาติในการจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสม • การดูแลเพือ่ ตอบสนองดา้ นจิตใจและอารมณ์ของผปู้ ่ วยและญาติ • การเป็นผฟู้ ังท่ีดี โดยมีความไวต่อความรู้สึกของผปู้ ่ วย อดทน และสงั เกตผปู้ ่ วยดว้ ยความระมดั ระวงั • เปิ ดโอกาสและใหค้ วามร่วมมือกบั ผใู้ กลช้ ิดของผปู้ ่ วย และครอบครัวในการดูแลผปู้ ่ วย • ใหก้ าลงั ใจแก่ครอบครัวและญาติของผปู้ ่ วยในการดาเนินชีวติ แมผ้ ปู้ ่ วยจะเสียชีวติ ไปแลว้
➢ หลกั การดูแลผู้ป่ วยเรื้อรังระยะท้ายในมติ จิ ติ วญิ ญาณ • ใหค้ วามรัก ความเห็นอกเห็นใจ โดยความรักและกาลงั ใจจากญาติช่วยลดความกลวั ของผปู้ ่ วย • การช่วยใหผ้ ปู้ ่ วยยอมรับความตายที่จะมาถึง มีเวลาในการเตรียมตวั เตรียมใจ • การใหข้ อ้ มูลที่เป็นจริงและเป็นไปในทิศทางเดียวกบั เจา้ หนา้ ที่ทุกคน • ช่วยใหจ้ ิตใจจดจ่อกบั ส่ิงดีงาม ทาใหผ้ ปู้ ่ วยเกิดความสงบสามารถเผชิญกบั ความเจบ็ ปวดไดด้ ีข้ึน • ช่วยปลดเปล้ืองสิ่งคา้ งคาใจ ปล่อยวางส่ิงต่างๆใหม้ ากท่ีสุด • การประเมินความเจบ็ ปวด และใหย้ าแกป้ วดตามแผนการรักษา • สร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อความสงบ และการกล่าวอาลาช่วยใหผ้ ปู้ ่ วยไดน้ อ้ มจิตสู่สิ่งดีงาม
3. การพยาบาลผู้ป่ วยด้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์ ➢ ความสาคญั ของจติ วญิ ญาณในการดูแลแบบประคบั ประคอง • จิตวญิ ญาณมีความซบั ซอ้ นและเป็นส่ิงที่มีคุณค่าสูงสุดต่อมนุษย์ อยบู่ นพ้ืนฐานความเช่ือที่เก่ียวกบั ศาสนา การใหค้ ุณค่าและความหมายแก่ชีวติ • การตระหนกั รู้ของบุคคลต่อประสบการณ์ชีวติ ที่ผา่ นมา เกิดความรู้สึกดา้ นบวกและเกิดความปรารถนา ต่อบุคคลรอบขา้ ง • การเป็นภาวะสุขภาพของบุคคล หากมีจิตวญิ ญาณดีจะเกิดการมองโลกแง่บวก เขา้ ใจในความเจบ็ ปวด และความทุกขม์ รมานของผปู้ ่ วย
➢ ความสาคญั ของการดูแลผู้ป่ วยด้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์ • การมีจิตบริการดว้ ยการใหบ้ ริการดุจญาติมิตรและเท่าเทียมกนั • การดูแลท้งั ร่างกายและจิตใจเพื่อคงไวซ้ ่ึงศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ • การมีเมตตากรุณา การดูแลอยา่ งเอ้ืออาทร และการเอาใจเขามาใส่ใจเรา และเอาใจใส่ในคุณค่าของ ความเป็ นมนุษย์ • การใหผ้ บู้ ริการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง
➢ ลกั ษณะของการเป็ นผู้ดูแลผู้ป่ วยระยะท้ายด้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์ • การมีความรู้สึกเมตตา สงสาร เขา้ ใจและเห็นใจต่อผปู้ ่ วย • การมีจิตใจอยากช่วยเหลือโดยแสดงออกทางกาย และวาจาที่คนใกลต้ ายสมั ผสั และรับรู้ได้ • การรู้เขา รู้เรา คือ การรู้จกั ผปู้ ่ วย และการรู้จกั ความสามารถของตนเอง • การเอาใจเขามาใส่ใจเรา จะทาใหพ้ ยาบาลเขา้ ใจผปู้ ่ วยไดด้ ียงิ่ ข้ึน • การตระหนกั ถึงความสาคญั ของการตอบสนองดา้ นจิตวิญญาณ
• มีความรู้ความเขา้ ใจในธรรมชาติของบุคคลท้งั ร่างกาย จิตสงั คมและจิตวญิ ญาณ • การเขา้ ใจวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา และศาสนาที่ผปู้ ่ วยนบั ถือ • ความเคารพในความเป็นบุคคลของผปู้ ่ วย และมีการปฏิบตั ิท่ีดีต่อผปู้ ่ วย • การใหอ้ ภยั มีความอดทนอดกล้นั และการใหอ้ ภยั ต่อผปู้ ่ วยและครอบครัว • การมีทกั ษะสื่อสาร ตอ้ งฟังและสงั เกตผรู้ ับบริการอยา่ งระมดั ระวงั • การทางานเป็นทีม และใหค้ วามร่วมมือร่วมใจในการดูแลผปู้ ่ วยโดยยดึ ผปู้ ่ วยเป็นศูนยก์ ลาง
4. การพยาบาลแบบประคบั ประคอง • เป็นรูปแบบหน่ึงของการดูแลผปู้ ่ วยระยะทา้ ยที่ครอบคลุมทุกมิติสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิต วญิ ญาณ • เป็นศาสตร์การดูแลที่เนน้ การป้องกนั และบรรเทาความทุกขท์ รมานต่าง ๆใหแ้ ก่ผปู้ ่ วยระยะทา้ ยและ ครอบครัว • เป็นการดูแลแบบองคร์ วมต้งั แต่ระยะแรกของโรคจนกระทงั่ ภายหลงั การจาหน่าย หรือเสียชีวติ
5. แนวปฏบิ ัตกิ ารดูแลผู้ป่ วยเรื้อรังทค่ี ุกคามชีวติ แบบประคบั ประคอง ➢ ด้านการจดั สิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ่ วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการเตรียมอุปกรณ์เครื่องใชท้ ี่ผปู้ ่ วยคุน้ เคยมาใชใ้ นหอ้ ง/ บริเวณเตียงของผปู้ ่ วย • จดั หอ้ งแยกหรือสถานท่ีเป็นสดั ส่วนและสงบ โดยใหผ้ ปู้ ่ วยและญาติไดก้ ล่าวลาต่อกนั ➢ ด้านการจดั ทมี สหวชิ าชีพ • เปิ ดโอกาสใหว้ ชิ าชีพอ่ืนมีส่วนร่วมโดยข้ึนกบั ปัญหาของผปู้ ่ วย • ส่งเสริมใหบ้ ุคคลภายนอกท่ีสนใจเป็นอาสาสมคั รดูแลผปู้ ่ วยระยะประคบั ประคองเขา้ รับการอบรมเพ่อื สมาชิกในทีมสหวชิ าชีพ
➢ ด้านการดูแลผู้ป่ วยแบบองค์รวม สอดคล้องกบั วฒั นธรรมของผู้ป่ วยและครอบครัว • กาหนดการดูแลโดยยดึ ผปู้ ่ วยเป็นศูนยก์ ลาง โดยใชก้ ระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือในการดูแล ประกอบดว้ ย การประเมินปัญหา การวินิจฉยั การวางแผนการพยาบาล การปฏิบตั ิการพยาบาล และการ ประเมินผลการพยาบาล • จดั ใหม้ ีกิจกรรมบาบดั ท่ีช่วยใหจ้ ิตใจผอ่ นคลาย โดยการประยกุ ตศ์ ิลปะ ดนตรี ธรรมะ สตั วเ์ ล้ียง และการ พาผปู้ ่ วยไปสมั ผสั กบั บริบทของสิ่งแวดลอ้ มภายนอกหอผปู้ ่ วยท่ีเป็นธรรมชาติ • เปิ ดโอกาสใหผ้ ปู้ ่ วยและครอบครัวปฏิบตั ิกิจกรรมทางศาสนา สนบั สนุนใหค้ รอบครัวสามารถเผชิญกบั การเจบ็ ป่ วย ภาวะเศร้าโศกภายหลงั การเสียชีวิต
➢ ด้านการจัดการความปวดด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยา • กาหนดแนวปฏิบตั ิที่เป็นมาตรฐานดา้ นการใชย้ า และการบรรเทาโดยวธิ ีการท่ีไม่ใชย้ าร่วมกบั การใชย้ า เช่น เทคนิคการผอ่ นคลาย การกดจุด เป็นตน้ • ประเมินและติดตามระดบั ความรู้สึกตวั ของผปู้ ่ วยท้งั ก่อน ขณะ และหลงั ไดร้ ับยาบรรเทาปวด รวมไปถึงการติดตาม/ควบคุมภาวะแทรกซอ้ น
➢ ด้านการวางแผนจาหน่ายและการส่งต่อผู้ป่ วย • ประเมินความพร้อมในการส่งต่อผปู้ ่ วยไปโรงพยาบาลใกลบ้ า้ น/กลบั ไปพกั ที่บา้ น และ ประเมินความพร้อมของญาติในการดูแลที่บา้ น • จดั ใหม้ ีบริการใหค้ าปรึกษาทางโทรศพั ทเ์ พื่อเปิ ดโอกาสใหค้ รอบครัว / เครือข่ายผดู้ ูแล ขอคาปรึกษาเม่ือมีปัญหาในการดูแลท่ีบา้ น
➢ ด้านการติดต่อสื่อสาร และการประสานงานกบั ทมี สหวชิ าชีพ • จดั ระบบการส่ือสารและใหค้ วามรู้แก่ผปู้ ่ วยและครอบครัวตง่ั แต่รับผปู้ ่ วยเขา้ รักษาจนกระทงั่ จาหน่ายออกจากหอผปู้ ่ วยหรือเสียชีวติ และการประสานส่งต่อ • กาหนดแนวปฏิบตั ิร่วมกบั ทีมสหวชิ าชีพ โดยการตรวจเยยี่ มผปู้ ่ วยพร้อมกนั อยา่ งสม่าเสมอ และ ประชุมปรึกษาเพื่อหาแนวทางในการดูแลผปู้ ่ วยร่วมกนั
➢ ด้านกฎหมายและจริยธรรมในการดูแลผู้ป่ วย • กาหนดขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหวา่ งผปู้ ่ วย ครอบครัว และทีมสหวชิ าชีพ ในการเคารพต่อการ ตดั สินใจของผปู้ ่ วยและญาติท่ีจะใส่/ไม่ใส่ ท่อช่วยหายใจ • ดาเนินการใหผ้ ปู้ ่ วยมีส่วนร่วมและตดั สินใจดว้ ยตนเองเกี่ยวกบั แผนการรักษาในช่วงวาระสุดทา้ ย ของชีวติ และการใหค้ รอบครัวมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ
➢ ด้านการเพม่ิ สมรรถนะให้แก่บุคลากรและผู้บริบาล • สนบั สนุนใหม้ ีการศึกษาวิจยั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษใ์ นเร่ืองการดูแลแบบประคบั ประคอง ตลอดจนส่งเสริมใหน้ าวทิ ยาการและทกั ษะมาใชใ้ นการพยาบาล • กาหนดขอ้ ตกลงร่วมกบั เจา้ หนา้ ที่ของหน่วยบริการสุขภาพระดบั ปฐมภูมิใหเ้ ขา้ อบรมกบั บุคลากรทางการแพทยข์ องโรงพยาบาลระดบั ตติยภูมิ
➢ ด้านการจัดการค่าใช้จ่าย • สนบั สนุนดา้ นค่าใชจ้ ่ายและระยะเวลาที่มีความเหมาะสมของการนอนโรงพยาบาลใหแ้ ก่ผปู้ ่ วยระยะ สุดทา้ ย โดยสอดคลอ้ งตามสิทธิประโยชน์ • สนบั สนุนใหม้ ีระบบการหมุนเวยี นเคร่ืองมือทางการแพทยท์ ่ีโรงพยาบาลไดจ้ ากการบริจาค และ สนบั สนุนใหจ้ ดั ต้งั กองทุนเพอ่ื ช่วยเหลือเร่ืองค่าใชจ้ ่าย
การพยาบาลผู้ป่ วยทมี่ ภี าวะวกิ ฤตระบบหายใจ ➢ สาเหตุทที่ าให้เกดิ โรคของระบบประสาททางเดนิ หายใจ • การสูบบุหร่ี • มลภาวะทางอากาศ เช่น PM2.5 • การติดเช้ือของทางเดินหายใจ • การแพ้ เช่น แพน้ ้าหอม เกสรดอกไม้
➢ การประเมนิ ภาวะสุขภาพของผู้ป่ วยของการหายใจ 1.ประวตั ิ (Historical Assessment) • ประวตั ิเกี่ยวกบั สุขภาพของบุคคลในครอบครัว • ประวตั ิการใชย้ า • ประวตั ิการแพ้ และประวตั ิเก่ียวกบั การสูบบุหร่ี • ประวตั ิเก่ียวกบั อาชีพ
➢ ประวตั ิเกย่ี วกบั อาการและอาการแสดงท่สี าคญั ได้แก่ อาการไอ เช่น ไอแห้งๆ ไอมเี สมหะ ไอมเี ลือดปน • อาการเจบ็ หนา้ อก • อาการหายใจลาบาก เช่น ทางเดินหายใจถูกอุดตนั มีส่ิงกีดขวาง การขยายตวั ของปอด • หายใจมีเสียง เช่น wheezing , Hoarseness of Voice, Stridor, Crepitation • อาการเขียวคล้า (Cyanosis) • ปลายนิ้วปุ้ม (Clubbing of the Fingers and Toes)
การดูหน้าอก 1. ดูลกั ษณะทว่ั ๆ ไป เช่น ขนาดของรูปร่าง ท่าทาง ระดบั ความสูง การพดู สีผวิ หนงั ลกั ษณะการ หายใจ ความตึงตวั ของผวิ หนงั รูปร่างกลา้ มเน้ือหนา้ อก และหนา้ อกท้งั สองขา้ งเท่ากนั หรือไม่ 2. ดูรูปร่างของทรวงอก ลกั ษณะของทรวงอกผดิ ปกติ เช่น • อกนูนหรืออกไก่ (Pigeon Chest) • อกบุ๋ม (Funnel Chest) • อกถงั เบียร์ (Barrel Chest) • หลงั โกง (Kyphosis) • หลงั แอ่น (Lordosis) หลงั คด (Scoliosis)
การคลาช่องอก 1. คลาตรวจสอบบริเวณท่ีกดเจบ็ (Tenderness) 2. คลาหากอ้ น คลาต่อมน้าเหลือง 3. คลาผิวหนงั คน้ หาลมใตผ้ วิ หนงั 4. คลาหาความกวา้ งหรือแคบของซ่ีโครง 5. คลาหาการเคล่ือนไหวของทรวงอกขณะหายใจ (Respiratory Excurtion) 6. คลาเสียงสน่ั สะเทือนของทรวงอก (Vocal Fremitus หรือ Tactile Fremitus)
การเคาะช่องอก การเคาะจะเคาะท้งั ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นหลงั แต่ปกติเริ่มเคาะดา้ นหลงั ก่อน แลว้ เคาะดา้ นขา้ ง และ ดา้ นหนา้ ตามลาดบั การฟังช่องอก เสียงหายใจ (Breath Sound) 1. เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญ่ (Bronchial, Tracheal หรือ Tubular Breath Sound) เกิดขณะหายใจมีลมผา่ น ทาใหเ้ กิดการสน่ั สะเทือนที่สายเสียง และเสียงประกอบต่างๆ ในช่องคอส่วน จมูก และหลอดลมคอ 2. เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญ่ (Broncho Vesicular Sound) ฟังไดท้ ่ีบริเวณช่องซ่ีโครงท่ีสองดา้ นหนา้ หรือ บริเวณกระดูกไหปลาร้า ดา้ นขวา หรือรอยต่อกระดูกหนา้ อกส่วนตน้ 3.เสียงลมผา่ นหลอดลมเลก็ (Vesicular Breath Sound) เกิดจากขณะหายใจลมจะผา่ นท่อหลอดลมฝอย และ วนเวยี นอยใู่ นถุงลมปอด ฟังไดท้ วั่ ไปท่ีบริเวณปอดท้งั 2 ขา้ ง
ลกั ษณะเสียงผดิ ปกติ 1. เสียงที่ดงั ต่อเนื่องกนั (Continuous Sound หรือ Dry Sound) แบ่งเป็น 4 ชนิด • เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญ่เป็นเสียงต่า ทุม้ (Low- pitched Sound) เรียกวา่ Rhonchi หรือ Sonorous Rhonchi) เกิดจากลมหายใจผา่ น หลอดลมใหญ่ที่มีมูก หรือเยอ่ื บุ หลอดลมบวม • เสียงลมผา่ นหลอดลมเลก็ ๆ หรือหลอดลมที่ตีบแคบ ฟังไดเ้ สียงสูง เรียกวา่ wheezing หรือ musical sound • เสียงเสียดสีของเยอื่ หุม้ ปอดท่ีอกั เสบ ลกั ษณะเสียง คลา้ ยถูนิ้วมือขา้ งหูจะฟังไดย้ นิ ท้งั หายใจเขา้ – ออก เรียกวา่ Pleural Friction • เสียงที่เกิดจากการอุดตนั ของหลอดลมใหญ่ขณะหายใจเขา้ จะไดย้ นิ ต่อเนื่องกนั ขณะหายใจเขา้ เรียกวา่ Stridor
2. เสียงท่ีดงั ไม่ต่อเน่ืองกนั (Noncontinuous Sound หรือ Moist Sound) • เสียงคลา้ ยฟองอากาศแตก (Rales Coarse Crakles หรือ Coarse Crepitation) ฟังไดท้ ่ีหลอดลมใหญ่ฟังได้ ยนิ เมื่อเริ่มหายใจเขา้ จนถึง ช่วงกลางของการหายใจเขา้ • เสียงลมหายใจผา่ นนา้ มูกในหลอดลมฝอย (Fine Crackles หรือ Fine Crepitation) จะฟังไดเ้ มื่อเกือบสิ้นสุด ระยะหายใจเขา้
โรคหวดั (Common cold or Acute coryza) เป็นโรคท่ีติดต่อกนั ไดร้ วดเร็ว โดยเฉพาะในชุมชนหนาแน่น ผปู้ ่ วยจะปรากฏอาการหลงั ไดร้ ับเช้ือไวรัส ประมาณ 2 วนั สาเหตุ • เกิดจากเช้ือไวรัสหลายชนิด ซ่ึงเรียกวา่ Coryza Viruses • ในผใู้ หญ่โรคหวดั เกิดจากเช้ือไรโนไวรัส (Rhinovirus)
ลกั ษณะทางคลนิ ิกและพยาธิสรีรของหวดั เริ่มดว้ ยคดั จมูก จาม คอแหง้ มีน้ามูกใสๆ ไหลออกมา มีน้าตาคลอ กลวั แสง รู้สึกไม่สบาย ปวดมึนศีรษะ ความรู้สึกในการรับกลิ่นเสื่อมลง บางรายมี อาการปวดหู ไอ และอาจมีอาการอ่อนเพลีย โรคมกั ไม่เป็นนาน เกิน 2 – 5 วนั แต่อาจมี อาการอยถู่ ึง 5 – 14 วนั ถา้ > 14 วนั และมี ไข้ เป็น Acute Upper Respiratory Infection = URI)
การรักษา ไม่มีการรักษาเฉพาะเป็นการรักษา ตามอาการคือใหพ้ กั ผอ่ น และใหย้ าตามอาการ การวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล 1. ผปู้ ่ วยขาดความสุขสบายเนื่องจากคดั จมูกน้ามูกไหลปวดศีรษะครั่นเน้ือครั่นตวั 2. มีการติดเช้ือซ้าเติมไดง้ ่ายเน่ืองจากภูมิตา้ นทานของร่างกายลดลง
โรคหลอดลมอกั เสบแบบเฉียบพลนั (Acute Bronchitis or Tracheobronchitis) อุบตั ิการณ์และระบาดวทิ ยา โรคหลอดลมอกั เสบเฉียบพลนั เป็นโรคที่พบ ไดบ้ ่อยในประเทศไทยอีกโรคหน่ึง เน่ืองจากสาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดโรค มีไดท้ ้งั จากการติดเช้ือ แบคทีเรีย ไวรัส ไมโคพลาสมา พยาธิ และการ ระคายเคืองโดยเฉพาะสาเหตจุ ากการระคาย เคือง เช่น อากาศเยน็ ฝ่ นุ ละอองต่าง ๆ การสูบบุหร่ี เป็นตน้
การรักษา • เป้าหมายของการรักษาเป็นการประคบั ประคองไม่ใหโ้ รคลุกลามและป้องกนั การติดเช้ือซ้าเติม • ยาบรรเทาอาการไอ • ยาขยายหลอดลม • ยาปฏิชีวนะ • ยาแกป้ วดลดไข้
การวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล • การหายใจไม่เพยี งพอเนื่องจากหลอดลมหดเกร็งตวั • มีความบกพร่องในการแลกเปล่ียนแกส๊ เน่ืองจากอตั ราส่วนของการระบายอากาศกบั การซึมซาบไม่สมดุลกนั • อ่อนเพลียเนื่องจากขาดออกซิเจนและการหายใจลาบาก • กลไกทาใหท้ างเดินหายใจสะอาดโล่งไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการติดเช้ือและเสมหะเหนียว • แนวโนม้ ติดเช้ือแบคทีเรียซ้าเติมไดง้ ่ายเน่ืองจากขาดขอ้ มูลและการช่วยเหลือ • การดูแลตนเองบกพร่องเน่ืองจากขาดความรู้
โรคปอดอกั เสบ (Pneumonia) การตดิ ต่อ เช้ือโรคที่เป็นสาเหตุมกั จะอยใู่ นน้าลายและ เสมหะของผปู้ ่ วยและสามารถแพร่กระจายโดย การ ไอ จาม หรือหายใจรดกนั การสาลกั เอาสารเคมี หรือเศษอาหารเขา้ ไปในปอด การแพร่กระจายไป ตามกระแสเลือด เช่น การฉีดยา การใหน้ ้าเกลือ การอกั เสบในอวยั วะส่วนอื่น เป็นตน้
สาเหตุของโรค เกดิ จาก 1.เช้ือแบคทีเรีย พบบ่อย ไดแ้ ก่ เช้ือ Pneumococcus และท่ีพบนอ้ ย แต่ร้ายแรง ไดแ้ ก่ Staphylococcus และ Klebsiella 2.เช้ือไวรัส เช่น ไขห้ วดั ใหญ่ หดั สุกใส เช้ือไวรัสซาร์ส (SARS virus) 3.เช้ือไมโคพลาสมา ทาใหเ้ กิดปอดอกั เสบชนิดที่เรียกวา่ Atypical pneumonia เพราะมกั จะไม่มีอาการหอบอยา่ ง ชดั เจน 4.อื่นๆ เช่น สารเคมี, เช้ือ Pneumocystis carinii เป็นสาเหตขุ อง โรคปอดอกั เสบในผปู้ ่ วยเอดส์, เช้ือรา พบนอ้ ย แต่ รุนแรง เป็นตน้
พยาธิสภาพ แบ่งไดเ้ ป็น 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะที่ 1 ระยะเลือดคง่ั พบใน 12-24 ชว่ั โมงแรก มีปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายเกิดข้ึนโดยมีเลือดคง่ั ใน บริเวณท่ีมีการอกั เสบและมี Cellular Exudate เขา้ ไปในถุงลม (Exudate ประกอบดว้ ย เมด็ เลือดแดง เมด็ เลือดขาว แบคทีเรีย และไฟบริน) ระยะน้ีอาจมีเช้ือแบคทีเรียเขา้ สู่กระแสเลือด (Bacteremia)
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตวั (Hepatization) เกิดข้ึนในวนั ท่ี 2-3 ของโรค ซ่ึงหลอดเลือดฝอยของ ปอดท่ีผนังถุงลมจะขยายตวั ออกมาก ทาให้เน้ือปอดมีสีแดงจดั เรียกว่า Red Hepatization ในรายที่ มี การอกั เสบอยา่ งรุนแรงจะมีการอกั เสบมากข้ึน หลอดเลือดฝอยของปอดที่ผนงั ถุงลมมีขนาดเลก็ ลง ทาใหเ้ น้ือปอดเปล่ียนเป็นสีเทา เรียกวา่ Gray Hepatization ซ่ึงจะตรงกบั วนั ที่ 4-5 ของโรค ระยะน้ีกิน เวลาประมาณ 3-5 วนั
ระยะท่ี 3 ระยะฟ้ื นตวั (Resolution) ในวนั ที่ 7-10 ของโรค การอกั เสบที่เยื่อหุ้มปอดจะ ห า ย ไ ป ห รื อ มี พั ง ผื ด เ กิ ด ข้ึ น แ ท น พ ย า ธิ ส ภ า พ ข อ ง ป อ ด อั ก เ ส บ ติ ด เ ช้ื อ จาก Diplococus pneumonia มกั จะกลบั คืนเป็นปกติได้ นอกจากในรายที่มีการทาลายเน้ือเยอื่ ต่าง ๆ อยา่ งมาก จะทาใหเ้ กิดพงั ผดื ข้ึนในส่วนท่ีเคยมีการอกั เสบน้นั
ฝี ในปอด (lung abscess) เป็นการอกั เสบท่ีมีเน้ือปอดตาย และมีหนองท่ีบริเวณที่เป็นฝีมีขอบเขตชดั เจน เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ซ่ึงโรคน้ีเป็น การติดเช้ือที่สาคญั มีความรุนแรงก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อสุขภาพ ตอ้ งใชเ้ วลารักษา และพกั ฟ้ื นเป็นเวลานาน อบุ ตั กิ ารณ์และระบาดวทิ ยา โรคฝีในปอดเป็นโรคที่พบไดบ้ ่อยในประเทศไทย แต่ไม่ทราบสถิติการเกิดโรคที่แน่นอน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185