รายงานการประเมนิ โครงการ พฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน ของขา้ ราชการครู โรงเรียนวัดสลักได นายฐถิ ศิ กั ด์ิ เพม่ิ พูน ผูอ้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั สลกั ได สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ค กิตติกรรมประกาศ รายงานการประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ านของ ขา้ ราชการครู โรงเรยี นวัดสลกั ได ฉบบั น้ี สาเรจ็ ไดด้ ้วยความชว่ ยเหลอื อย่างดยี ่งิ จาก ผูเ้ ชยี่ วชาญในการ ตรวจพจิ ารณาเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ โครงการ และไดก้ รุณาใหข้ ้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงแกไ้ ข แบบสอบถามและแบบประเมนิ ที่ใช้เป็นเคร่อื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในโครงการอยา่ งใกลช้ ดิ นบั ตัง้ แต่ เร่มิ ตน้ จนเสรจ็ สมบรู ณ์ ซ่งึ ประกอบด้วย ดร. ไพฑรู ย์ การเพียร รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2 นายภิญโญ กันหา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2 นายวิทยา จิตเงิน ผู้อานวยการโรงเรยี นอนบุ าลท่าช้างเฉลมิ พระ เกยี รติ นายสุนยั บรรจงรอด ผู้อานวยการโรงเรียนสมบรู ณ์วัฒนา นายประสิทธ์ิ เดชครอง ผอู้ านวยการโรงเรยี น ชุมชนวดั รวง ท่ีไดก้ รณุ าใหค้ าแนะนา ขา้ พเจ้ารสู้ กึ ซาบซง้ึ และขอบพระคุณในความกรณุ าของทา่ นเป็น อย่างยง่ิ อนง่ึ คุณค่าอนั พึงมขี องรายงานฉบบั นี้ ซึง่ อาจจะเป็นประโยชน์ ตอ่ วงการศึกษาอยบู่ ้าง ขา้ พเจ้าขอมอบให้ผู้สนใจการศกึ ษาทั้งมวล และขอมอบเป็นกตญั ญูกตเวทแี ดค่ ุณบิดา คุณมารดา และ บูรพาจารยท์ ุกทา่ นทไี่ ดอ้ บรมส่งั สอนข้าพเจ้ามา จนทาให้ข้าพเจา้ สามารถดารงตนและบรรลุผลสาเร็จได้ จนถงึ บัดนี้ ด้วยความสานกึ ในพระคณุ ของทา่ นเป็นอยา่ งสูงยิ่ง และผู้ทใ่ี ห้กาลงั ใจรว่ มแรงร่วมมอื ตลอดมา คือ คณะครูโรงเรียนวัดสลกั ได ขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่น้ีดว้ ย นายฐถิ ิศกั ดิ์ เพิ่มพนู
ก ชือ่ เรอ่ื ง รายงานการประเมินโครงการพัฒนาสมรรถนะเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ผรู้ ายงาน นายฐถิ ศิ กั ดิ์ เพิม่ พูน หนว่ ยงาน โรงเรียนวัดสลกั ได สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2 ปีท่ีประเมิน ปกี ารศกึ ษา 2563 บทคดั ยอ่ การประเมินโครงการครัง้ นีม้ ีวัตถุประสงค์ เพ่อื ประเมนิ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มทว่ั ไป ด้านปจั จัยเบอื้ งตน้ ด้านกระบวนการ และดา้ นผลผลติ ของโครงการ กล่มุ ตัวอย่างทใี่ ช้ในการประเมิน ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 9 คน คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 20 คน และครูผู้สอน โรงเรยี นวัดสลักได จานวน 3 คน เครอ่ื งมอื ที่ใช้ประเมนิ โครงการ ผรู้ ายงานได้สร้างและพฒั นาขน้ึ คือ แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า และแบบประเมนิ คุณภาพการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) แบบสอบถามมจี านวน 3 ฉบับ มีค่าความเชื่อม่นั ทั้งฉบับเท่ากับ 0.88, 0.90 และ 0.89 ตามลาดับ มคี า่ อานาจจาแนกตั้งแต่ 0.87 - 0.93, 0.84 - 0.93 และ 0.89- 0.95 ตามลาดบั และแบบประเมนิ มี 1 ฉบบั มีค่าความเชอ่ื มน่ั เทา่ กบั 0.96 มีค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.84 - 0.96 สถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะหข์ อ้ มลู ได้แก่ คา่ เฉล่ยี ค่ารอ้ ยละ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบคา่ ที ผลการประเมนิ พบวา่ 1. ผลการประเมินโครงการตามความคดิ เห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน และคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น สรปุ โดยภาพรวมมีความคดิ เหน็ อยู่ในระดับ มาก ( x = 4.15, S.D.=0.59) 2. ผลการประเมนิ ด้านสภาพแวดลอ้ มของโครงการ ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยใู่ นระดับ มาก ( x = 4.15, S.D.= 0.62) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคดิ เห็นอยใู่ นระดับ มาก ( x = 4.11, S.D.= 0.67) สว่ นคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น มคี วามคิดเห็นอยใู่ นระดับ มาก ( x = 4.18, S.D.= 0.57) 3. ผลการประเมนิ ดา้ นปจั จัยเบอ้ื งตน้ ของโครงการ ในภาพรวมมีความคิดเหน็ อยู่ในระดับ มาก ( x = 4.16, S.D.= 0.52) คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน มีความคิดเห็นอย่ใู นระดบั มาก ( x = 4.32, S.D.= 0.48) สว่ นคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น มีความคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก ( x = 3.98, S.D.= 0.56)
ข 4. ผลการประเมินดา้ นกระบวนการดาเนินโครงการ ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดบั มาก ( x = 4.14, S.D.= 0.63) คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มคี วามคิดเหน็ อยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.13, S.D.= 0.65) สว่ นคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น มีความเห็นอยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.14, S.D.=0.60) 5. ด้านผลผลติ ของโครงการ พบว่า 5.1 หลังดาเนินโครงการครผู ู้สอนโรงเรยี นวดั สลักได มปี ระสทิ ธิภาพการปฏบิ ัตงิ านอยู่ ในระดับ ดมี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 100 5.2 หลงั ดาเนินโครงการ ครูผู้สอนโรงเรยี นวัดสลกั ได มีคุณภาพการปฏบิ ัติงาน (สมรรถนะ) ทุกรายสมรรถนะ และทกุ ตัวบ่งช้ีอย่ใู นระดับ ดีมาก ( x = 3.52, S.D.= 0.29) 5.3 ผลการพัฒนาสมรรถนะของครูผ้สู อนกอ่ นและหลงั ดาเนินโครงการ มีความแตกต่างกัน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 เปน็ ไปตามเกณฑ์ประเมินท่ตี ง้ั ไว้
ง สารบัญ บทที่ หน้า บทคัดยอ่ ** ............................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ .................................................................................................................. ค สารบัญ ................................................................................................................................... ง สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ช สารบญั ภาพ ....................................................................... ..................................................... ซ บทท*่ี 1**บทนา ...................................................................................................................... 1 1 1.1 ท่ีมาและความสาคัญของปญั หา ....................................................................... 7 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ .......................................................................... 7 1.3 ขอบเขตของการประเมนิ ................................................................................. 8 1.4 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ............................................................................................. 10 1.5 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ ............................................................................... 11 1.6 กรอบแนวคดิ ในการประเมิน ............................................................................ 12 บทท*่ี 2**เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง ............................................................................... 12 2.1 สาระสาคญั ของโครงการทม่ี ุ่งประเมิน .............................................................. 18 2.2 แนวคิดเก่ยี วกับการประเมนิ โครงการ .............................................................. 23 2.3 แนวคดิ เกี่ยวกับการพัฒนาบคุ ลากร ................................................................. 26 2.4 แนวคิดเกย่ี วกบั สมรรถนะ ................................................................................ 35 2.5 โครงการ............................................................................................................ 38 2.6 ประสทิ ธภิ าพ..................................................................................................... 50 2.7 การพฒั นาสมรรถนะตามแนวทางของ ก.ค.ศ.................................................... 90 2.8 เอกสารและแนวปฏิบัติของ CIPP MODEL....................................................... 102 2.9 งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ..........................................................................................
จ สารบัญ (ตอ่ ) บทที่ หน้า บทท*ี่ 3**วธิ ีการประเมนิ โครงการ ........................................................................................... 111 3.1 รปู แบบการประเมินโครงการ ........................................................................... 111 3.2 วธิ กี ารประเมนิ โครงการ ................................................................................... 111 3.3 กลุ่มเปา้ หมาย .................................................................................................. 114 3.4 เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมิน ............................................................................ 114 3.5 วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ................................................................................. 118 3.6 สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู .......................................................................... 119 3.7 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ............................................................................................ 121 บทท*่ี 4**ผลการประเมินโครงการ .......................................................................................... 124 4.1 ผลการประเมินโครงการ .................................................................................. 124 4.2 ผลการประเมินดา้ นสภาพแวดลอ้ มของโครงการ ............................................. 125 4.3 ผลการประเมินดา้ นปจั จัยเบ้ืองต้นของโครงการ .............................................. 128 4.4 ผลการประเมินด้านกระบวนการในการดาเนนิ โครงการ .................................. 130 4.5 ผลการประเมินดา้ นผลผลิตของโครงการ ......................................................... 132 บทท*ี่ 5**ผลการประเมินโครงการ .......................................................................................... 140 5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ .......................................................................... 140 5.2 วธิ ดี าเนนิ การประเมนิ ...................................................................................... 140 5.3 สรุปผลการประเมิน ......................................................................................... 142 5.4 อภปิ รายผล ...................................................................................................... 143 5.5 ขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................... 150 บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 151 ภาคผนวก ก โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอื่ เพมิ่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของขา้ ราขการ 1 ครโู รงเรียนวัดสลักได ....................................................................................... 162 ข รายนามผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเครอื่ งมือทีใ่ ช้ประเมินโครงการ ......................... 169
ฉ สารบัญ (ต่อ) บทท่ี หน้า ค เครอื่ งมือท่ใี ช้ประเมินโครงการ ........................................................................ 172 ง ค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งของแบบสอบถาม .......................................................... 189 จ สาเนาหนงั สือขอความอนุเคราะหผ์ ูเ้ ชียวชาญ .................................................. 194 ฉ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ....................................................................... 205 ประวตั ิผู้รายงาน ......................................................................................................................... 233
ช สารบญั ตาราง หนา้ ตาราง 1.1 แสดงจานวนของกลุ่มเปา้ หมาย .......................................................................... 7 ตาราง 2.1 งบประมาณแหลง่ ที่มาของงบประมาณแยกตามหมวดรายจา่ ย .......................... 17 ตาราง 3.1 กรอบแนวทางการประเมินโครงการ ................................................................... 112 ตาราง 4.1 แสดงคา่ เฉล่ียและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานของระดบั ความเหมาะสมด้านสภาพ ..... - แวดล้อมของโครงการ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ….. ........ - ขั้นพน้ื ฐานและคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น จาแนกเป็นรายขอ้ ....................... 124 ตาราง 4.2 แสดงคา่ เฉล่ยี และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน ของระดบั ความเหมาะสมด้านปจั จยั ของ - โครงการ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและคณะ กรรมการบริหารโรงเรียน จาแนกเป็นรายข้อ ...................................................... 125 ตาราง 4.3 แสดงคา่ เฉลี่ย และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ของระดบั ความเหมาะสมดา้ น กระบวนการดาเนินโครงการ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน จาแนกเป็นรายข้อ .................... 128 ตาราง 4.4 สรุปผลการดาเนนิ โครงการพัฒนาสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติ งานของข้าราชการครูโรงเรียนวดั สลักได ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนโดยภาพรวมทง้ั 3 ด้าน คือ ด้านสภาพแวดลอ้ ม ปจั จยั เบอื้ งต้น และกระบวนการ ดาเนนิ โครงการ ......... 130 ตาราง 4.5 แสดงประเมินคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน (สมรรถนะ) ในการประเมนิ ตนเองของครู ผู้สอนจาแนกเป็นรายบคุ คล / กอ่ นและหลังดาเนินโครงการ ............................ . 133 ตาราง 4.6 แสดงค่าร้อยละของระดบั คุณภาพดา้ นผลผลติ ของโครงการประเมนิ ตนเอง ของครูผ้สู อน จาแนกตามระดับคุณภาพ / กอ่ นและหลงั ดาเนินโครงการ ........... 133 ตาราง 4.7 แสดงคา่ เฉลี่ย และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานของระดับคณุ ภาพด้านผลผลติ ของโครงการ ในการประเมนิ ตนเองของครผู ูส้ อนจาแนกเปน็ รายสมรรถนะ / ตวั บ่งช้ี .............. 134 ตาราง 4.8 แสดงการเปรยี บเทยี บระดับคุณภาพด้านผลผลติ ของโครงการ (ผลการพฒั นา สมรรถนะ) ในการประเมนิ ตนเองของครผู สู้ อน จาแนกเป็นก่อนดาเนนิ โครงการและหลงั ดาเนนิ โครงการ ................................................................................................... 138
ซ สารบญั ภาพ หนา้ ภาพ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ............................................................................................ 11 ภาพ 2 แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งการประเมินกบั การตดั สินใจในแบบจาลองซิป ................ 22 ภาพ 3 องคป์ ระกอบหลักของรปู แบบการประเมิน CIPP และความสมั พันธ์กับโครงการ ...... 99
บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย หมวด 16 มาตรา 258 จ. การปฏิรูปประเทศด้าน การศกึ ษา (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560) ไดบ้ ญั ญตั ไิ วอ้ ย่างชดั เจนเพอื่ นามาใชเ้ ปน็ แนวทางหลกั ในการขบั เคลอื่ นการปฏิรูปการศึกษาของชาตแิ ละในแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560 – 2579 จาเปน็ ตอ้ งมีแผนการศกึ ษาแห่งชาติระยะ 20 ปี เป็นหลักในการบริหารประเทศ เพ่ือสร้างความตอ่ เนอื่ งของนโยบายและยทุ ธศาสตร์การศกึ ษาชาตใิ นระยะยาว และไมเ่ ปลีย่ นแปลงไป ตามสถานการณท์ างการเมอื ง และเพื่อให้พน้ กับดักประเทศทมี่ ีคุณภาพการศึกษาทีม่ ีแนวโนม้ ไปใน ทางท่ีอยู่ในเกณฑ์ค่อนขา้ งต่าในทุกระดับ ดังนั้นหน่วยงานท้ังภาครฐั และภาคเอกชนทุกภาคส่วนที่ รับผดิ ชอบในการจัดการศกึ ษาจะต้องเร่งรดั ผลกั ดนั ปรับสภาพและพฒั นาเพ่ือขับเคล่ือนการศึกษา ของประเทศให้กา้ วไปสู่แนวหน้าของประเทศอาเซียนจึงจะเปน็ การช่วยยกระดับคุณภาพของ ประชาชนได้เชน่ เดยี วกบั ประเทศที่พัฒนาแล้ว (บุศรา เข็มทอง. 2560 : 4) ซงึ่ การศกึ ษาจะมีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากลได้นนั้ รฐั ตอ้ งดาเนินการพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพครู ซึง่ ในพระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติพุทธศกั ราช 2542 การจดั ระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศกึ ษามหี ลักการ ส่งเสรมิ พฒั นามาตรฐานวชิ าชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา บัญญัติในหมวด 7 มาตรา 52 กาหนด ใหก้ ระทรวงส่งเสรมิ ใหม้ รี ะบบกระบวนการผลติ การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มคี ุณภาพ และมาตรฐานทเ่ี หมาะสมกับการเป็นวิชาชีพช้ันสูง โดยการกากับและประสานให้สถาบันทท่ี าหน้าท่ี ผลติ และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีความพรอ้ ม และมีความเขม้ แขง็ ในการเตรยี ม บุคลากรใหมแ่ ละการพัฒนาบคุ ลากรประจาการอย่างต่อเนือ่ ง (พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาต.ิ 2542) และรัฐพงึ จดั สรรงบประมาณและจัดต้ังกองทุนพัฒนาครคู ณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศึกษา อยา่ งเพียงพอ (พทิ ยาภรณ์ บรรณาลยั . 2560 : 3) ตามมาตรา 54 แห่งพระราชบญั ญัติระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 บญั ญตั ิวา่ “การให้ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามวี ทิ ยฐานะใดและการเล่ือนเปน็ วทิ ยฐานะใด ตอ้ งเป็นไปตาม มาตรฐานวทิ ยฐานะตามมาตรา 42 ซ่งึ ผ่านการประเมิน ทง้ั น้ีให้คานึงถึง ความประพฤตดิ ้านวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี ประสบการณ์ คุณภาพการปฏิบัติ งาน ความชานาญ ความเชี่ยวชาญ ผลงานท่เี กิดจากการปฏิบตั หิ น้าที่ในด้านการเรียนการสอน ตาม หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด” ก.ค.ศ. จึงประกาศใชห้ ลกั เกณฑ์และวิธกี ารให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครูมีวิทยฐานะและเล่อื นวทิ ยฐานะ โดยมหี ลกั การและเหตผุ ล
2 ประการสาคญั เพอ่ื ใหเ้ กดิ คุณภาพการศึกษาและสามารถพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ภาพ มคี วามสามารถ และสมรรถนะท่ีเหมาะสม ประกอบกบั ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไดก้ าหนดให้มีการพฒั นา ทรพั ยากรบคุ คลให้มคี วามสามารถและสมรรถนะทีเ่ หมาะสมรองรับการพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยครูเปน็ กลไกสาคญั สูงย่งิ ในการเตรยี มผู้เรียนตามยทุ ธศาสตร์ดังกล่าว (สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน. 2560 : 5) ซงึ่ การประเมินคุณภาพการปฏิบตั ิงานของครูได้มีการกาหนด ขอบข่าย ขนั้ ตอนและกาหนดเวลาไวอ้ ย่างชัดเจน มตี ัวชว้ี ดั เกณฑก์ ารตัดสินในแต่ละดา้ นอยา่ งชดั เจน ซึ่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษาหรือผ้ปู ระเมินมบี ทบาทหน้าทใ่ี นการประเมนิ เพ่อื ใหค้ าแนะนาและพฒั นา ตรวจสอบกล่นั กรองขอ้ มลู รายงานและเสนอความเหน็ เพ่อื ประกอบการพิจารณาประเมินผลงาน ท่ีเกิดจากการปฏิบตั ิหน้าท่ีในแต่ละปีการศกึ ษา (สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา. 2560 : 5-14) กระทรวงศกึ ษาธิการมีการกาหนดประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและไดม้ กี ารกาหนดนโยบายเรือ่ ง การปฏริ ูประบบพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษา ในรูปแบบครบวงจรโดยสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา (สคบศ.) สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ไดก้ าหนด หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (สานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา. 2561) เพอ่ื ส่งเสริมสนับสนุนใหข้ ้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้แนวทางในการพฒั นาตนเองทง้ั ทางดา้ นความรู้ ทักษะ หรือแมก้ ระทงั่ การพัฒนา ตนเองเพอ่ื ความก้าวหนา้ ทางวิทยฐานะและเล่อื นวิทยฐานะ สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถม ศกึ ษานครราชสีมาเขต 2 จึงได้มีนโยบายการบริหารงานบคุ คลสาหรบั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา รวมทง้ั กาหนดจานวนและอตั ราตาแหน่งและเกลยี่ อตั รากาลงั ให้ สอดคลอ้ งกบั นโยบายการบริหารงานบุคคล ระเบียบ หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กาหนด (สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมาเขต 2. 2561 : 20) การท่จี ะพฒั นาผ้เู รยี นให้มคี ุณภาพตามวัตถปุ ระสงค์ ใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ มีความ พรอ้ มร่วมขบั เคล่อื นพัฒนาประเทศสคู่ วามม่ันคง มงั่ ค่ัง และยง่ั ยืน และเพ่อื เตรียมคนไทยสูศ่ ตวรรษ ที่ 21 ต้องอาศยั ครูหรือผสู้ อนทมี่ ีทกั ษะในการจดั การเรยี นรู้ โดยครตู อ้ งเปล่ยี นบทบาทในการสอนใหม่ เปน็ การสอนทีเ่ นน้ การเรยี นของนักเรยี น ให้ไปสกู่ ารพัฒนาทกั ษะเพอ่ื การดารงชวี ิตในยุคใหมใ่ น ศตวรรษท่ี 21 ครตู อ้ งเปลีย่ นเป้าหมายการเรียนรู้ของนกั เรียน ใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนจากการลงมือปฏบิ ตั ิ ของตนเป็นทีมร่วมกับเพื่อนนักเรยี น บทบาทของครูจึงเปลี่ยนจากครผู ู้สอนไปเป็นครผู ู้ฝกึ หรอื ผอู้ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ (วิจารณ์ พานิช. 2555 : 154) ครูควรใชก้ ารวดั ผล เพ่ือกระตนุ้ ให้ นกั เรียนใช้ความคิดหรือสตปิ ัญญา คน้ หาคาตอบและนาไปสู่การปฏบิ ตั ิซึ่งผลผลติ ของการศึกษาขัน้ สุดทา้ ยคอื การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม ความคดิ และสามารถปฏิบัตไิ ด้ (สมนึก ภัททิยธน.ี 2551 : 18)
3 การสง่ เสริมใหค้ รูมีทักษะทจ่ี ะเข้าถึงการจดั การเรยี นการสอน มสี มรรถนะให้เปน็ ครดู ีครูเก่งมีคณุ ภาพ จึงไดจ้ ดั โครงการพัฒนาครูท่เี น้นการสรา้ งความเขม้ แขง็ ของสมรรถนะ ด้านการจดั การเรยี นรู้ในบริบท ทหี่ ลากหลายของลักษณะและขนาดของโรงเรียน โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งระบบพเ่ี ล้ยี งและให้เปน็ ไป ตามความตอ้ งการจาเป็นของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาโดยให้ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาดาเนินการประสานกบั สถาบนั อุดมศึกษาเพื่อรว่ มเปน็ คพู่ ฒั นาซง่ึ ในการ พัฒนาใหใ้ ช้รูปแบบการสอนงานและการเปน็ พี่เลยี้ งโดยใหเ้ น้นการพัฒนาเพอ่ื เสริมสรา้ งจิตวิญญาณ และอุดมการณข์ องความเป็นครู การพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีความรคู้ วามสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ ด้านการคดิ คานวณ และความสามารถเชงิ เหตุผล ตามลาดับชั้น ควบรวมกับกระบวนการจัดการ เรยี นรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และแนวทางของการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 (สุจิตรา ธนานนท์. 2556 : 1) การประเมินคอื กระบวนการพจิ ารณาตัดสินคุณค่าของสงิ่ ทท่ี าอยา่ งเป็นระบบเพือ่ เพิ่ม ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล (สุธารัตน์ ศรีวาลยั . 2560 : 31) ในลักษณะของการประเมินกบั สง่ิ ที่ ไม่ใช่งานประจาตามปกติ และเปน็ กระบวนการดาเนนิ งานดา้ นการควบคมุ และติดตามความก้าวหนา้ หรอื ประเมินว่าภารกจิ สาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ท่กี าหนดไวห้ รอื ไม่ วธิ กี ารน้ถี ูกนามาใชใ้ นปัจจุบันซงึ่ เป็นยุคทม่ี กี ารปฏิรปู ระบบราชการ รวมถึงปฏิรปู การปฏิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (สมพิศ สขุ แสน. 2545 : 28) ลกั ษณะการประเมินรูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบมี (Stufflbeam) หรือซปิ โมเดล (CIPP Model) เปน็ การประเมินเพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลในดา้ นต่าง ๆ สาหรับประกอบการ ตดั สินใจ คือการประเมนิ ด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู ประกอบตัดสนิ ใจในการวางแผน ประเมินปจั จัยเบ้อื งตน้ เพ่ือให้ได้ขอ้ มูลประกอบการตัดสนิ ใจในการกาหนดโครงสร้างประเมนิ กระบวนการเพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลประกอบการตดั สนิ ใจในการนาโครงการไปปฏบิ ตั ิและประเมินผลลพั ธ์ เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลประกอบการตัดสนิ ใจวา่ ควรดาเนินการต่อไปหรอื ล้มเลกิ สตัฟเฟิลบีม ไดป้ รบั ขยาย รูปแบบการประเมิน CIPP เปน็ CIPPIEST โดยผวู้ จิ ยั ปรับขยายการประเมินผลผลิต (Product Evaluation) หรอื ” ผลลัพธ์ “(Outcomes) ออกเป็นการประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) การประเมนิ ประสิทธิผล (Effectiveness Evaluation) การประเมินความย่งั ยืน (Sustainability Evaluation) และการประเมินถ่ายทอดส่งต่อ (Transportability Evaluation) ของสงิ่ ท่ีไดร้ บั การ ประเมิน ซึง่ มักไดแ้ ก่ โครงการ แผนงาน หรือสิ่งแทรกแซงตา่ ง ๆ โดยทสี่ ว่ นขยายของมติ กิ ารประเมิน ท่ีเพมิ่ ขึ้นนีม้ ีความหมายครอบคลมุ รวมถงึ การประเมนิ ผลลัพธ์ท้ังนี้ความหมายของมิติการประเมนิ ท่ี เพ่ิมข้ึนพิจารณาได้จากการตงั้ คาถามการประเมนิ (Evaluation Questions) แต่ละมิติ (รัตนะ บัวสนธ.์ 2556 : 23) ซง่ึ รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตัฟเฟลิ บีม ถอื วา่ เป็นวธิ กี ารที่มีการ ยอมรบั กันมากในปจั จบุ ันเนือ่ งจากเป็นรูปแบบที่เน้นการแบง่ แยกบทบาทของการทางานระหวา่ งฝ่าย ประเมินกบั ฝา่ ยบริหารออกจากกนั อย่างเดน่ ชดั กลา่ วคือฝ่ายประเมนิ มหี นา้ ท่รี ะบุ จดั หา และนาเสนอ
4 สารสนเทศให้กบั ฝา่ ยบรหิ าร ส่วนฝ่ายบรหิ ารมีหน้าทเ่ี รียกหาขอ้ มูล และนาผลการประเมนิ ทีไ่ ดไ้ ปใช้ ประกอบการตัดสินใจ เพือ่ ดาเนนิ กิจการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี ทั้งนีเ้ พอ่ื ปอ้ งกันการมีอคติใน การประเมิน (บษุ กร สุขแสน. 2556 : 72) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ซง่ึ ตามหลกั ของการบริหารมีปจั จัยสาคัญท่เี รียกว่า “4Ms” ไดแ้ ก่ คน (Man) เงนิ (Money) วสั ดอุ ปุ กรณ์ (Material) และการจัดการ (Management) ซึง่ ปจั จัยแต่ละ อย่างมคี วามสาคญั ต่อการบริหารจัดการ จะขาดส่ิงใดส่ิงหนง่ึ ไมไ่ ด้ แต่ปจั จัยทางการบรหิ ารคอื คน (Man) ถอื วา่ มคี วามสาคัญมากที่สดุ การบริหารงานบคุ คล จึงเปน็ ภารกจิ ของผูบ้ ริหารทุกคนทีม่ ุง่ ปฏิบัติในกจิ กรรมท้ังปวงเกีย่ วกบั บคุ ลากร เพ่ือให้บุคคลขององคก์ รเป็นทรพั ยากรมนษุ ย์ทมี่ ี ประสทิ ธภิ าพสูงสุด สง่ ผลใหอ้ งค์กรประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย (พทิ ยาภรณ์ บรรณาลยั . 2560 : 4) คนเป็นปจั จัยสาคญั ยง่ิ ของการจัดการ หากคนไมม่ ีคณุ ภาพจะไม่สามารถจัดงานในองค์กรให้บรรลุ เปา้ หมายได้ การจะไดบ้ คุ คลท่ีดีมีคุณภาพเข้ามาทางาน ย่อมขึน้ อยกู่ ับการบรหิ ารงานบุคคล ซ่ึงนบั เปน็ ภารกจิ ทีย่ ่ิงใหญ่และย่งุ ยากของผูบ้ รหิ าร (สุทัศน์ แก้วคา และคณะ. 2556 : 17) บคุ ลากรไดร้ บั การพิจารณาให้เป็นปัจจยั สาคญั ทสี่ ุดในการบรหิ าร ท้งั น้ีเพราะบุคคลเปน็ ผู้จัดหาและใช้ทรพั ยากรอืน่ ไม่ว่าจะเป็นเงิน วัสดุอุปกรณ์และการจัดการ หน่วยงานใดก็ตาม ถา้ เร่มิ ด้วยการมีบคุ ลากรท่ีเกง่ กลา้ สามารถแลว้ ปจั จยั อนื่ ๆ กจ็ ะดตี ามมา (กาญจนา วัธนสุนทร. 2554 : 5-6) ทรัพยากรบุคคลมีความ สาคัญท่ีสดุ ในทรัพยากรทัง้ สี่ คือ คนหรอื ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) เพราะถึงแมว้ ่า องคก์ รจะมคี นมาก มีวัตถดุ บิ ทด่ี ี และมีราคาถกู กวา่ ผ้แู ขง่ ขัน มวี ิธกี ารผลิตและเทคโนโลยที ี่ทนั สมัย เพียงใด ถา้ องค์กรขาดบุคคลทมี่ ีความรู้ ทักษะ ความสามารถและทัศนคติเหมาะสม เข้ามาทาหน้าที่ เป็นผใู้ ชแ้ ละบริหารทรพั ยากรท่ีไมม่ ีประสทิ ธภิ าพแลว้ อาจสง่ ผลใหอ้ งค์กรขาดประสิทธภิ าพในการ ปฏบิ ัติงาน ขาดศักยภาพในการแข่งขันและพัฒนา ซ่งึ อาจจะส่งผลถงึ ความลม้ เหลวในการดาเนินงาน ขององคก์ รในระยะยาว (ชูเกียรติ จากใจชน. 2560 : 14) สถานศกึ ษาเป็นสถาบันทางการศกึ ษาที่สาคัญท่สี ุด สามารถนานโยบายทางการศกึ ษาไปสู่ การปฏบิ ตั ิ ความสาเร็จหรอื ความลม้ เหลว ในการจดั การศกึ ษาย่อมข้นึ อยู่กบั การบริหารงานบุคคลเป็น สาคญั เนอ่ื งจากความสาเร็จของงานอยทู่ ี่คน ดังท่ี ศิวพร วงศานันต์ (2561 : 101) ได้กล่าวไว้ว่า คน เปน็ ทรัพยากรที่สาคญั ท่ีสดุ ทจ่ี ะทาใหก้ ารงานของสาเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี การบริหารงานบุคคลจึงเป็นสิง่ สาคญั ทจ่ี ะสง่ ผลให้การบริหารการศกึ ษาประสบความสาเรจ็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ขา้ ราชการนนั้ เป็น ทรัพยากรมนษุ ย์ซง่ึ เป็นทรพั ยากรประเภทหนึ่ง ท่จี าเป็นต้องใช้ในการจัดการและเป็นทรัพยากรทีม่ ี คุณค่าทส่ี ุดเมื่อเทียบกับทรพั ยากรท้งั หมดท่จี าเปน็ (พิชญ์ณฏั ฐา งามมศี รี. 2552 : 5) ในการพัฒนาสู่ องค์กรชน้ั นานนั้ การลงทุนเก่ยี วกับบุคลากรยอ่ มหลกี เลย่ี งไม่ได้ เนอ่ื งจากบคุ ลากรเปน็ หัวใจของการ ทางาน งานทกุ อย่างจะตอ้ งมีคนเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ ง ดังนัน้ ผู้บริหารจึงตอ้ งพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะด้าน การทางาน มีความกระตอื รอื ร้น มคี วามภาคภมู ิใจในงานที่ทา มคี วามรับผิดชอบในการทางาน
5 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม ขณะเดียวกันตอ้ งสร้างบรรยากาศภายในองค์กรใหเ้ อือ้ อานวยต่อการพัฒนา ตนเองของบุคลากรโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เชน่ การให้ข้อมลู ข่าวสารเพอื่ กระตุ้นใหเ้ รยี นรู้และมคี วามคิด รเิ ริ่มสร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ ส่งเสริมการทางานเปน็ ทีมหรอื หมคู่ ณะ สรา้ งแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน จดั ฝกึ อบรมด้านวชิ าการและวิชาชพี รวมถงึ การไปศกึ ษาดงู าน และการนิเทศ กากับ ตดิ ตามและ ประเมินผลบคุ ลากรอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เปน็ ต้น ก็จะส่งผลให้การปฏิบัตงิ านของบคุ ลากรมปี ระสิทธภิ าพ สงู ขนึ้ โรงเรยี นวดั สลกั ได เป็นโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษานครราชสีมาเขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตั้งอยูห่ มูท่ ี่ 14 บา้ นสลักได ตาบลหนองงเู หลอื ม อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวัดนครราชสมี า จัด การศึกษาในระดับช้ันอนบุ าลถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ในปีการศึกษา 2563 มนี กั เรียน 55 คน ครูผสู้ อน 3 คน การขบั เคลอื่ นนโยบายตา่ ง ๆ โดยเฉพาะนโยบายปฏริ ูปครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ยงั ไม่บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายทต่ี ั้งไว้ ท้ังนเ้ี พราะขา้ ราชการครูส่วนใหญ่ไมไ่ ด้ รับการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การพฒั นาสมรรถนะหรือพัฒนาศักยภาพตนเองจึงเปน็ ไปไดช้ ้าโดยเฉพาะ ในสงั คมยุคข้อมูลข่าวสารไร้พรมแดนในปัจจบุ นั ประกอบกับมขี า้ ราชการครทู ่ีมอี ายุค่อนขา้ งมาก การ รับรูส้ ิ่งใหมใ่ นยคุ ศตวรรษท่ี 21 จึงคอ่ นข้างมนี ้อย การดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามโครงการจึงจาเป็น อยา่ งย่งิ ทตี่ อ้ งมีการประเมินคุณภาพหรอื ผลการปฏบิ ัติงานตามโครงการ หรอื การบรหิ ารโครงการ (Project Management) จากการสารวจสภาพปัญหาและความตอ้ งการของข้าราชการครูโรงเรยี น วดั สลกั ได พบวา่ ครูผู้สอนส่วนใหญข่ าดความรู้ ความเขา้ ใจในการนานโยบายปฏริ ปู การศกึ ษาไปสกู่ าร ปฏบิ ตั ิ ทั้งนโยบายปฏิรูปการเรยี นรู้ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั และนโยบายปฏิรปู ครูและบุคลากรทาง การศึกษา โดยเฉพาะขาดความรู้ความเขา้ ใจในพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 ตลอดจนกฎกระทรวง และระเบยี บท่ีเกี่ยวขอ้ ง เชน่ หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร ใหข้ ้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะครูชานาญการ ครชู านาญการพิเศษ ครู เชยี่ วชาญ และครูเชย่ี วชาญพิเศษ เป็นตน้ นอกจากน้ีการปฏิรูป ระบบราชการในช่วงระยะเวลา ดงั กลา่ ว มีการเปลีย่ นตาแหนง่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารบ่อยคร้ัง สง่ ผลให้นโยบายการ ปฏริ ปู การศกึ ษาไมช่ ดั เจน การขบั เคลอ่ื นนโยบายไปส่กู ารปฏบิ ตั ิไม่ต่อเนอื่ ง ทาให้ขา้ ราชการครสู ว่ น ใหญ่ปรบั ตัวไม่ทนั เกดิ ความไมแ่ นใ่ จและไมม่ ่ันใจในการปฏบิ ัติงานโดยเฉพาะงานในหน้าทร่ี ับผิดชอบ สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานไมม่ ีประสิทธิภาพเทา่ ที่ควร ซึง่ สอดคลอ้ งกบั รายงานการประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอกสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานรอบ 3 ของโรงเรยี นวัดสลักได โดยสานกั งานรบั รองมาตรฐานและ ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาได้ให้ข้อเสนอแนะด้านผู้เรียน ประกอบดว้ ย 1) สถานศึกษามอบหมายให้ ครูผู้สอน พัฒนากจิ กรรมที่มีผลโดยตรงกบั ผ้เู รยี นในแผนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั และให้มกี าร ประเมนิ ผลการพฒั นาในการเรียนรู้ 2) จดั ต้ังคณะกรรมการประเมนิ ผล ผ้บู ริหารและครนู าผลทไ่ี ดม้ า
6 ทาการวางแผนเพื่อผลสัมฤทธ์ิของงานในตวั บง่ ชที้ ่ีได้ระดับคุณภาพ และให้ข้อเสนอแนะดา้ นครูผู้สอน ประกอบด้วย 1) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทีม่ ีผลต่อการพฒั นาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ โดยแทรกในแผนการสอนทุกวชิ ากับครทู ุกคน 2) จดั ทาโครงการพัฒนาการเรียนโดย มงุ่ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ ใหเ้ กิดความอดทน รอบคอบในการทางาน สามารถทางานอยา่ งมคี วามสุข (โรงเรยี นวดั สลกั ได. 2556 : 30) ในการแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว จากการประชุมเพือ่ ระดมความคิดเหน็ ของครผู ูส้ อน คณะ กรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และผูม้ ีสว่ นเก่ียวข้องเห็นว่า ควรพัฒนาครใู ห้มีความร้แู ละทักษะ ทั้งด้านวิชาการและวชิ าชีพไปพร้อมกัน หลังจากพัฒนาแลว้ ครผู ู้สอนสามารถนาความรทู้ ักษะและ ประสบการณ์ที่ได้ ไปจัดทาเปน็ ผลงานในการเสนอขอรับการประเมนิ ให้มีหรือเลอ่ื นวทิ ยฐานะทีส่ งู ขึ้น ได้ และในขณะเดยี วกันจะเป็นการพัฒนานักเรยี นไปพร้อมกัน การนาหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ในการประเมนิ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือใหม้ หี รอื เลื่อนวทิ ยฐานะในด้าน ที่ 2 (1) การประเมินคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน (สมรรถนะ) ได้แก่ สมรรถนะหลักประกอบด้วย การมุ่ง ผลสมั ฤทธ์ิ การบรกิ ารท่ีดี การพฒั นาตนเอง การทางานเปน็ ทมี และสมรรถนะประจาสายงานสาหรบั สายงานการสอน ประกอบด้วย การออกแบบการเรยี นรู้ การพัฒนาผูเ้ รียน การบริหารจดั การช้นั เรียน มาพัฒนาครผู ู้สอนให้มสี มรรถนะดังกล่าวเพมิ่ สงู ข้ึน เชอื่ ว่าจะสง่ ผลให้ข้าราชการครทู กุ คนของ โรงเรียนวดั สลกั ได ปฏิบัติงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ ดังนนั้ โรงเรยี นวดั สลักได จึงไดจ้ ดั ทา โครงการพัฒนาสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของข้าราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได โดยมุ่งพัฒนาสมรรถนะข้าราชการครูให้มปี ระสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านและส่งผลต่อคุณภาพการ ปฏิบัติงานใหเ้ พ่ิมมากขึน้ การดาเนนิ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน ของข้าราชการ ครูโรงเรียนวดั สลักได นอกจากเป็นการพฒั นาครผู สู้ อนโดยตรงแลว้ ยังเป็นการพัฒนาคุณภาพการ ศกึ ษาหรอื พฒั นาผูเ้ รียนไปพร้อมกนั ท้ังนเี้ พราะครผู ้สู อนมหี น้าที่รบั ผิดชอบโดยตรงในการจัดการเรียน การสอน ให้มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล รวมท้ังมีหน้าทีใ่ นการประสานความร่วมมือกบั ผูป้ กครอง และผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายในการพฒั นาผู้เรยี น จึงมคี วามจาเปน็ ท่ีจะต้องมีขอ้ มูล เพ่ือเป็นแนวทาง ในการปรับปรุง และพัฒนาการดาเนนิ งานให้มีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน ผู้รายงานในฐานะเปน็ ผูอ้ านวยการ ซึ่งมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในการบริหารงานในทุกด้าน โดยเฉพาะการพฒั นาขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ซงึ่ เป็นหวั ใจสาคญั ของการบริหารงานดว้ ยตระหนักในภาระหน้าที่ ดังกล่าว จึงได้จดั ทาโครงการพฒั นาสมรรถนะเพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการ ครูโรงเรียนวัดสลักไดขน้ึ และเพ่ือให้ทราบถงึ การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ สภาพแวดลอ้ ม ท่วั ไปของโครงการมีความเหมาะสมหรือไม่ ความพร้อมด้านปจั จัยสนับสนนุ การดาเนินโครงการมีมาก น้อยเพยี งใด กระบวนการดาเนินงานตามโครงการ มีประสิทธิภาพเพยี งใด ผลผลิต หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ
7 ของโครงการประสบความสาเร็จเพียงใด ตลอดจนผลลพั ธ์ หรือผลกระทบตอ่ โครงการทีเ่ กดิ กบั ผู้เกีย่ วข้องเปน็ อย่างไรบา้ ง ซ่ึงการประเมนิ ครัง้ นผี้ รู้ ายงานได้เลือกรูปแบบของการประเมินแบบ “CIPP Model” เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั การเมนิ และสามารถช่วยส่งเสริมให้ข้าราชการครูมปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผลในการปฏบิ ัติงานส่งผลใหอ้ งค์กรประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย จึงไดร้ วบรวม ข้อมลู เพอื่ รายงานโครงการขึ้น วัตถปุ ระสงคข์ องกำรประเมนิ การประเมนิ โครงการมีวัตถุประสงค์เพอื่ ประเมินโครงการพัฒนาสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครูโรงเรียนวดั สลักได ในปีการศึกษา 2563 ดังน้ี 1. เพอ่ื ประเมนิ สภาพแวดล้อมของโครงการ 2. เพ่ือประเมินปจั จยั เบอื้ งตน้ ของโครงการ 3. เพื่อประเมนิ กระบวนการในการดาเนินโครงการ 4. เพอ่ื ประเมนิ ผลผลติ ของโครงการ ขอบเขตของกำรประเมิน 1. ขอบเขตของเน้อื หา ไดแ้ ก่ การประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพใน การปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลักได 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นสภาพแวดล้อมของโครงการ ด้านปจั จยั เบือ้ งตน้ ของโครงการ ด้านกระบวนการของโครงการ และด้านผลผลิตของโครงการ 2. กลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน คณะกรรมการ บรหิ ารโรงเรียน ในปกี ารศึกษา 2563 โดยจาแนกไดด้ ังน้ี ตาราง 1.1 แสดงจานวนของกลุม่ เป้าหมาย กลุม่ เปา้ หมาย/คน 1. ขา้ ราชการคร/ู ครูผู้สอน 3 2. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 9 3. คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 20 32 รวม
8 3. ตัวแปรที่มุ่งประเมนิ ในการประเมนิ คร้งั นี้ มปี ระเด็นการประเมนิ ดังนี้ 3.1 ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มของโครงการในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 3.1.1 สภาพแวดลอ้ มท่วั ไปของโครงการ 3.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.2 ประเมินปัจจยั เบอื้ งต้นของโครงการในประเด็นตอ่ ไปนี้ 3.2.1 บคุ ลากร 3.2.2 งบประมาณ 3.2.3 วัสดอุ ปุ กรณ์ 3.2.4 การบรหิ ารจัดการ 3.3 ประเมินกระบวนการดาเนนิ โครงการในประเด็นตอ่ ไปนี้ 3.3.1 การให้ขอ้ มลู ข่าวสาร 3.3.2 การสรา้ งทมี งานคณุ ภาพ 3.3.3 การสรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ัติงาน 3.3.4 การจัดฝึกอบรมครูในการใช้คอมพวิ เตอร์ 3.3.5 การจัดฝกึ อบรมครูในการออกแบบการเรียนรู้ 3.3.6 การจดั ฝกึ อบรมครูในการทาวจิ ยั ในชั้นเรียน 3.3.7 การศกึ ษาดูงาน 3.3.8 การประเมนิ หอ้ งเรียนมาตรฐาน 3.3.9 การประเมนิ ประสิทธภิ าพการปฏิบตั ิงาน 3.3.10 การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล 3.4 ประเมนิ ผลผลิตของโครงการในประเดน็ ต่อไปนี้ 3.4.1 การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 3.4.2 เปรยี บเทียบผลการพัฒนาสมรรถนะก่อนและหลงั ดาเนินโครงการ นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. การประเมนิ โครงการ หมายถงึ กระบวนการรวบรวม วเิ คราะห์ แปลผล และการใช้ขอ้ มลู เพื่อตัดสนิ ใจวา่ การดาเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของ ข้าราชการครูโรงเรียนวัดสลกั ได บรรลวุ ตั ถุประสงค์มากนอ้ ยเพียงใด ในการประเมนิ คร้ังนี้ผู้รายงานได้ ประเมนิ โครงการในดา้ นดงั ต่อไปน้ี 1.1 สภาพแวดล้อม เป็นการประเมินสภาพแวดลอ้ มท่ัวไปและวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ วา่ มคี วามเหมาะสมมากน้อยเพียงใด กอ่ นดาเนินโครงการ
9 1.2 ปัจจยั เบื้องต้น เปน็ การประเมินปจั จยั หรือทรพั ยากรสนับสนนุ การดาเนินงาน ตามโครงการ ประกอบด้วย บุคลากร งบประมาณ วัสดอุ ปุ กรณ์ และการจดั การวา่ มีความเหมาะสม มากนอ้ ยเพียงใด กอ่ นดาเนินโครงการ 1.3 กระบวนการ เป็นการประเมนิ การจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีกาหนดไวใ้ นโครงการเพ่ือ พฒั นาสมรรถนะครผู สู้ อน ประกอบดว้ ย การให้ขอ้ มลู ข่าวสาร การสร้างทีมงานคุณภาพ การสร้าง แรงจงู ใจในการ ปฏบิ ัติงาน การจดั ฝกึ อบรมด้านการใช้คอมพวิ เตอร์ การจดั ฝึกอบรมครูด้านการ ออกแบบการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ทักษะกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การจัดฝึกอบรมครดู ้านการทาวจิ ัยในชั้น เรยี น การศกึ ษาดูงาน การประเมินห้องเรียนมาตรฐาน การประเมินประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน และ การนิเทศ ตดิ ตามประเมนิ ผล ว่ามคี วามเหมาะสมหรือไม่ มากน้อยเพยี งใดในขณะการดาเนินโครงการ 1.4 ผลผลิต เป็นการประเมินคุณภาพการปฏิบตั ิงาน (สมรรถนะ) ตนเองของครูผู้สอน หลงั ดาเนินโครงการเกย่ี วกับ 1.4.1 การมปี ระสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน 1.4.2 การมีคุณภาพการปฏิบัตงิ าน (สมรรถนะ) 1.4.3 การเปรียบเทียบผลการพัฒนาสมรรถนะกอ่ นและหลงั ดาเนินโครงการ 2. โครงการ หมายถงึ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของ ขา้ ราชการครูโรงเรียนวดั สลักได ปีการศึกษา 2563 3. การพฒั นาสมรรถนะ หมายถึง การพฒั นาครผู สู้ อนใหม้ ีสมรรถนะสงู ขึ้นซ่ึงเป็นสมรรถนะ ทใ่ี ช้ประเมนิ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเพื่อให้มหี รอื เล่ือนวทิ ยฐานะเปน็ ครูชานาญการ ครูชานาญการพิเศษและครูเชย่ี วชาญ ตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารที่ ก.ค.ศ. กาหนด แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 3.1 การพัฒนาสมรรถนะหลกั คอื การพัฒนาคุณลักษณะร่วมของครผู ูส้ อนโรงเรยี น วัดสลักได เพอ่ื หลอ่ หลอมคา่ นยิ มและพฤติกรรมท่ีพึงประสงคร์ ่วมกนั ประกอบดว้ ย การมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ การบริการทด่ี ี การพัฒนาตนเอง และการทางานเป็นทีม 3.2 การพฒั นาสมรรถนะประจาสายงาน คือ การพฒั นาคุณลกั ษณะ เฉพาะของ ครูผู้สอนโรงเรยี นวดั สลักได ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมท่เี หมาะสมแก่หนา้ ทแ่ี ละปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในหนา้ ทไ่ี ด้ ดยี ิ่งขน้ึ ประกอบดว้ ย การออกแบบการเรยี นรู้ การพัฒนาผู้เรยี นและการบริหารจดั การช้นั เรียน 4. การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน หมายถงึ การเพิม่ ขดี ความสามารถหรือศกั ยภาพ ของข้าราชการครูโรงเรียนวดั สลักไดทุกคน ให้สามารถปฏิบตั ิงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และมคี ุณภาพ การปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ที่สูงขนึ้ หลังดาเนินโครงการ 5. ข้าราชการครู หมายถงึ ครูปฏบิ ัตหิ น้าทส่ี ายผู้สอน โรงเรียนวดั สลกั ไดทม่ี อี ยูจ่ รงิ ในปี การศึกษา 2563 ณ วันท่ี 18 พฤษภาคม 2563
10 6. คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน หมายถึง คณะกรรมการซึง่ แต่งตง้ั ข้ึนตามกฎ กระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารสรรหา การเลือกประธาน กรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหนง่ ของกรรมการใน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน จานวน 9 คน ประกอบดว้ ย 6.1 ผ้แู ทนองคก์ รชุมชน จานวน 1 คน 6.2 ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ จานวน 1 คน 6.3 ผู้แทนศษิ ยเ์ กา่ จานวน 1 คน 6.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2 คน 6.5 ผ้แู ทนครู จานวน 1 คน 6.6 ผู้แทนพระภิกษสุ งฆ์ จานวน 1 คน 6.7 ผแู้ ทนผปู้ กครอง จานวน 1 คน 6.8 ผอู้ านวยการ จานวน 1 คน 7. คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น หมายถึง คณะกรรมการซงึ่ แตง่ ตงั้ ขน้ึ ตามระเบยี บ โรงเรียนวัดสลกั ได ว่าด้วยการคัดเลอื กคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น พ.ศ. 2561 เพอ่ื เขา้ มามีส่วน รว่ มในการบริหารจัดการศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ จานวน 20 คน (โรงเรียนวดั สลกั ได. 2563 : 4) 8. ครูผู้สอน หมายถงึ ขา้ ราชการครูสายงานการสอนท่ปี ฏบิ ัติงานในโรงเรยี นวัดสลกั ได ท่ีมีตัว อย่จู ริงทเี่ ข้ารว่ มโครงการพัฒนาสมรรถนะเพอื่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของข้าราชการครู โรงเรยี นวัดสลกั ได ในปีการศึกษา 2563 9. รปู แบบการประเมนิ หมายถึง รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตัฟเฟลิ บมี 10. ประสทิ ธิภาพ หมายถงึ ความสามารถหรอื ศักยภาพของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวัดสลักได ทุกคนเพื่อให้สามารถปฏบิ ัตงิ านบรรลุเปา้ หมายตามระดบั ตวั ชวี้ ดั และมคี ุณภาพหลงั การปฏิบัติงาน ทสี่ ูงขนึ้ ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะได้รบั 1. ใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการตัดสินใจในการดาเนินโครงการพฒั นาสมรรถนะเพือ่ เพ่มิ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านของข้าราชการครูโรงเรยี นวดั สลกั ได ต่อไปหรอื ยตุ โิ ครงการ 2. นาผลการประเมินโครงการพฒั นาสมรรถนะเพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานของ ข้าราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ไปใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นาการดาเนนิ โครงการให้มีประสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ 3. ไดแ้ นวทางในการประเมนิ โครงการอน่ื ที่มลี ักษณะใกล้เคียงกนั
11 4. ครใู นโรงเรียนวัดสลกั ได มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงานและบังเกดิ ประสิทธิผล ต่อผเู้ รยี นและตอ่ องค์กร กรอบแนวคิดในกำรประเมนิ โครงกำรพฒั นำสมรรถนะเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ ำพในกำรปฏบิ ัตงิ ำน ของข้ำรำชกำรครูโรงเรยี นวดั สลักได การประเมนิ ด้าน การประเมินดา้ นปัจจัย กระประเมนิ ดา้ น การประเมนิ ดา้ นผลผลิต สภาพแวดล้อม (C) เบ้ืองต้น (I) กระบวนการ (P) (P) สภาพแวดลอ้ มท่ัวไป บุคลากร การให้ขอ้ มลู ข่าวสาร การบรรลุ ของโครงการ งบประมาณ การสร้างทมี งาน วตั ถปุ ระสงคข์ อง วัตถุประสงค์ของ วัสดอุ ุปกรณ์ คณุ ภาพ โครงการ โครงการ การบรหิ ารจดั การ การสร้างแรงจงู ใจใน เปรียบเทยี บผลการ การปฏิบตั ิงาน พฒั นาสมรรถนะกอ่ น การจดั ฝึกอบรมครใู น และหลงั ดาเนิน การใช้คอมพิวเตอร์ โครงการ การจัดฝกึ อบรมครใู น ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการประเมนิ การออกแบบการเรยี นรู้ การจัดฝกึ อบรมครใู น การทาวจิ ยั ในชั้นเรียน การศกึ ษาดงู าน การประเมินห้องเรียน มาตรฐาน การประเมนิ ประสิทธภิ าพการ ปฏิบัตงิ าน การนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง การประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครู โรงเรียนวัดสลักได ครั้งนี้ ผู้รายงานได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง นาเสนอ ตามลาดับ ดงั นี้ 1. สาระสาคญั ของโครงการทมี่ ่งุ ประเมนิ 2. แนวคิดเก่ียวกับการประเมนิ โครงการ 3. แนวคดิ เก่ียวกับการพฒั นาบุคลากร 4. แนวคิดเกยี่ วกับสมรรถนะ 5. ประสทิ ธภิ าพ 6. โครงการ 7. การพัฒนาสมรรถนะตามแนวทางของ ก.ค.ศ. 8. เอกสารและแนวปฏบิ ัติของ CIPP MODEL 9. งานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง สาระสาคญั ของโครงการที่มุ่งประเมิน 1. ความเป็นมาของโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะ เพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน ของข้าราชการครู โรงเรยี นวดั สลกั ได จดั ทาขนึ้ เพอ่ื สนองกลยทุ ธ์ที่ 4 การพฒั นาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะและ จรรยาบรรณวิชาชีพ ให้สามารถจดั การเรียนรู้ ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี งบประมาณ 2563 ของโรงเรียนวัดสลักได จากการสารวจสภาพปัจจุบัน และปัญหาพบวา่ ข้าราชการครโู รงเรยี นวัดสลักไดมปี ัญหา หลายประการ เชน่ ขาดความเข้าใจ ในพระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2547 ขาดความร้คู วามเขา้ ใจในการพัฒนาสมรรถนะ เพอื่ เสนอขอรบั การประเมนิ ใหม้ ี หรอื เลอื่ นวิทยฐานะทสี่ งู ขน้ึ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด เป็นตน้ ส่งผลใหก้ าร ปฏบิ ัติงานไม่มีประสิทธภิ าพเทา่ ที่ควร เพ่อื แกไ้ ขปญั หาดังกล่าว โรงเรียนวดั สลกั ได ไดจ้ ัดทาโครงการนี้ขึน้ เพือ่ พฒั นาครผู ้สู อน ใหม้ ีสมรรถนะด้านการมุ่งผลสัมฤทธ์ิ การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเปน็ ทีม
13 การออกแบบการเรยี นรู้ การพัฒนาผเู้ รยี น และการบริหารจดั การช้นั เรยี น ซ่งึ เป็นงานในหนา้ ท่ี รับผดิ ชอบโดยตรงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้นึ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 วตั ถปุ ระสงคท์ ั่วไป เพื่อพัฒนาสมรรถนะและเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครู โรงเรยี นวัดสลกั ได ตาบลหนองงเู หลอื ม อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศึกษานครราชสีมาเขต 2 2.2 วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ 2.1 เพ่ือให้การปฏบิ ัติงานของครผู ู้สอนตามสมรรถนะหลัก ซึง่ ประกอบด้วย การมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ การบริการท่ีดี การพฒั นาตนเอง และการทางานเปน็ ทมี มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ 2.2 เพือ่ ให้การปฏบิ ัตงิ านของครผู ู้สอนตามสมรรถนะประจาสายงาน ประกอบดว้ ย การออกแบบการเรยี นรู้ การพฒั นาผู้เรยี น และการบริหารจดั การช้ันเรยี น มีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ 3. เปา้ หมายของโครงการ 3.1 ด้านปรมิ าณ 3.1.1 พฒั นาสมรรถนะหลัก การม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง และการทางานเป็นทมี ในปีการศกึ ษา 2563 3.1.2 พัฒนาสมรรถนะประจาสายงาน การออกแบบการเรียนรู้ การพฒั นา ผเู้ รยี น และการบริหารจัดการช้ันเรียน ในปีการศึกษา 2563 3.1.3 ครูผู้สอนทเ่ี ข้าร่วมโครงการ จานวน 3 คน 3.2 ด้านคุณภาพ 3.2.1 ครูผู้สอนร้อยละ 80 มีผลการปฏิบัติงานอยใู่ นระดบั ดี 3.2.2 ครูผู้สอนทุกคนมคี ณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน (สมรรถนะ) อยู่ในระดบั ดี 3.2.3 ผลการพฒั นาสมรรถนะของครผู ู้สอนสูงข้ึนหลงั ดาเนนิ โครงการ 4. บุคลากรและผเู้ กย่ี วข้อง 4.1 คณะกรรมการทรี่ บั ผดิ ชอบโครงการ 4.2 คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 4.3 ครูผูส้ อน 4.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
14 5. วธิ ีดาเนนิ งาน 5.1 วางแผนการดาเนินงาน 5.2 แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน 5.3 ประชมุ ช้ีแจงผเู้ กี่ยวขอ้ งในการดาเนนิ โครงการ 5.4 ประสานงานและจัดหาวิทยากร 5.5 กาหนดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะ 5.6 ดาเนินงานตามโครงการ ในการดาเนินงานตามโครงการ หรอื กระบวนการดาเนนิ การโครงการ ผรู้ ายงานไดจ้ ดั กิจกรรมพฒั นาสมรรถนะ ตามที่กาหนดไวใ้ นโครงการ 10 กจิ กรรม ดงั นี้ 5.6.1 ให้บริการขอ้ มลู ข่าวสาร เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการพัฒนาตนเอง การมุง่ ผลสัมฤทธ์ิของครูผู้สอนเป็นหลัก การให้บรกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารแก่ครู เปน็ การพัฒนาบคุ ลากรวิธีหนงึ่ ท่ไี ด้ผลดี มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ ทกั ษะและเจตคตทิ ่ดี ีในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ เพราะ ความเจริญกา้ วหนา้ ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยอี ยา่ งรวดเร็ว ส่งผลให้องคก์ รต่าง ๆ ต้องมี การปรับตัวเพื่อเอาตวั รอด จึงตอ้ งมกี ารเตรยี มความพรอ้ ม ท่ีจะแขง่ ขนั กับองค์กรอ่ืน และก้าวทนั ตอ่ ความเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก 5.6.2 การสรา้ งทมี งานคณุ ภาพ เพอื่ พฒั นาสมรรถนะด้านการทางานเป็นทีมในการ บริหารจัดการศึกษา โรงเรียนยึดหลกั การบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และการบริหารแบบมีสว่ น รว่ ม ดังนน้ั ในการสร้างทมี งานหรอื การทางานเปน็ กลุ่ม จึงเปน็ สงิ่ จาเปน็ อย่างมาก การเปิดโอกาสใหผ้ ู้ มีส่วนเกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย มีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทาให้การจัดการศกึ ษามีประสิทธภิ าพ และมีคณุ ภาพสูงขนึ้ ชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมในรปู ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนบุคลากรภายในโรงเรยี นจะมสี ่วนร่วมในรูปของคณะกรรมการฝ่าย ตา่ ง ๆ เชน่ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ คณะกรรมการบริหารอาคารสถานท่ี คณะกรรมการดาเนินงานโครงการ ทีมงานกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ บริหารงานงบประมาณ บริหารงานบคุ คล และบรหิ ารงานทัว่ ไป เป็นตน้ 5.6.3 สร้างแรงจูงใจในการปฏบิ ัติงาน เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้ครผู ูส้ อน ได้พัฒนาทุกรายสมรรถนะใหส้ ูงยงิ่ ข้ึน โรงเรียนไดส้ รา้ งแรงจูงใจ ในการปฏบิ ัตงิ านใหแ้ กบ่ ุคลากร หลายประการ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับพระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 หมวด 5 การเสรมิ สรา้ งประสทิ ธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ มาตรา 76 กาหนดให้ สว่ นราชการ และหน่วยงานทางการศึกษา มีหนา้ ทจ่ี ดั สวสั ดกิ ารให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาม ความเหมาะสมกับฐานะทางสงั คมและวชิ าชพี เพื่อเสรมิ สร้างแรงจูงใจให้ปฏิบตั ิงานอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ โรงเรยี นได้สร้างแรงจงู ใจ ในการปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการครใู นสังกดั ดังนี้
15 (1) จัดสวสั ดิการสาหรบั บคุ ลากร เช่น จัดของขวัญเยี่ยมคนไข้ ในกรณี ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเจ็บป่วยเข้าพกั รักษาตัวทโ่ี รงพยาบาลหรือทบ่ี ้าน จัดสรร งบประมาณเพอื่ เปน็ คา่ เบยี้ เลยี้ ง ค่าพาหนะของครู ในการนานกั เรยี นไปประกวดแข่งขันทางวิชาการ ค่าเบ้ียเลี้ยง พาหนะและคา่ ลงทะเบยี นในการเข้าประชมุ อบรม สมั มนาและศกึ ษาดงู านท่ีจาเป็นตอ่ การพัฒนาวิชาการและวิชาชพี ของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เป็นต้น (2) ประกาศยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรทมี่ ีผลงานหรอื ปฏบิ ัติงานดเี ด่น มี ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ผลงานให้กับโรงเรยี นตลอดเวลา จนได้โล่ รางวลั ต่าง ๆ เพือ่ ให้บุคลากรร้สู ึก วา่ ตนมคี ุณค่า เป็นบุคคลสาคญั เปน็ ที่ยอมรับของหนว่ ยงานและเพ่ือนรว่ มงาน โดยการมอบโลร่ างวลั วุฒบิ ัตร และเกียรติบัตร ให้แก่ครแู ละบคุ ลากรในวาระและโอกาสตา่ ง ๆ จงึ มคี วามจาเปน็ ในการสร้าง แรงจูงใจหรอื เสริมสรา้ งขวญั และกาลังใจใหบ้ คุ ลากรตงั้ ใจทางานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ผู้นา ในการ คดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ผลงานใหก้ ับโรงเรยี นตลอดเวลา และสอดคลอ้ งกับพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 มาตรา 75 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาผู้ใดมคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ มผี ลงานดีเด่นเป็นที่ประจกั ษ์ ให้กระทรวงเจ้าสงั กดั สว่ นราชการ และหน่วยงานทางการศึกษาดาเนินการยกย่องเชิดชูเกยี รตติ ามควรแกก่ รณี 5.6.4 จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การใช้คอมพิวเตอร์ เนอ่ื งจากขา้ ราชการครู ร้อยละ 50 ไม่มีความรู้และทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ โรงเรียนจงึ ไดจ้ ดั อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ คอมพิวเตอรเ์ บ้อื งตน้ เพ่ือพฒั นาข้าราชการครูกลุ่มเป้าหมายดงั กล่าวเปน็ เวลา 3 วนั และมีการนิเทศ ติดตามผลอยา่ งต่อเนื่อง ทาให้ครูผูส้ อนมีความรู้ และทักษะการใชค้ อมพวิ เตอรค์ อ่ นขา้ งดี และ สามารถนาไปใช้ในการพัฒนางานใหม้ ีประสิทธิภาพสูงขนึ้ เป็นกิจกรรมทีส่ ามารถพฒั นาทกุ ราย สมรรถนะให้สงู ข้ึนกจิ กรรมหนงึ่ 5.6.5 จดั ฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการในการออกแบบการเรียนรู้ที่เนน้ ทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพอื่ พัฒนาสมรรถนะครผู ูส้ อนดา้ นการออกแบบการเรียนรู้ ให้สามารถ ออกแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะการจดั การเรยี นรู้ ท่เี น้นพฒั นาทักษะการคดิ ของผูเ้ รียน จากการประเมินคณุ ภาพภายนอก (สมศ.) ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน (อ.1-ป.6) มาตรฐานด้านผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 4 ผ้เู รยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สรา้ งสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสยั ทัศน์ ผลการประเมนิ เกณฑ์คณุ ภาพมาตรฐาน อยใู่ นระดับพอใช้ แสดงให้เหน็ ว่า ครูผู้สอนขาดความรู้และทักษะความสามารถด้านการออกแบบการเรียนรู้โดยเฉพาะดา้ น การจดั การเรียนร้ทู ่ีเน้นทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ ส่งผลใหผ้ ้เู รยี นขาดทักษะดังกล่าว 5.6.6 จัดฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การทาวจิ ยั ในช้ันเรียน เพ่อื พฒั นาสมรรถนะ ครูผู้สอนดา้ นการพัฒนาผู้เรียนเปน็ หลกั ตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 30 กาหนดให้สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้
16 ผสู้ อนสามารถใช้การวิจยั เป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม ครูผ้สู อนสว่ นใหญ่ ยงั ไม่ มกี ารนากระบวนการวจิ ยั ไปปรับปรุงและพฒั นาผ้เู รยี น ท้งั น้ีมสี าเหตุหลายประการ สาเหตทุ ี่สาคญั ประการหนึง่ คือ ครู ขาดความรแู้ ละทกั ษะในการทาวจิ ัย การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูผสู้ อนทาวิจยั ใน ชนั้ เรยี นโดยสรา้ งแรงจูงใจ ด้านความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี เพราะงานวจิ ัยใช้เปน็ ผลงานทางวชิ าการ เพอ่ื เลอ่ื นวทิ ยฐานะ เปน็ ตน้ ทาใหค้ รูผ้สู อนมีการทาวิจัยในช้นั เรียนอย่างต่อเนอื่ ง 5.6.7 ศกึ ษาดงู าน การศึกษาดูงาน เปน็ การเพ่ิมพนู ความร้แู ละประสบการณ์ เพิ่มเตมิ หลงั จากไปศึกษาดงู าน โรงเรียนจัดให้มีการประชุมสมั มนาทางวชิ าการ เพอ่ื นาประสบการณ์ หรอื ความร้ตู า่ ง ๆ แลกเปล่ียนเรียนรปู้ ระสบการณ์ซง่ึ กันและกนั และนาความรแู้ ละประสบการณท์ ไี่ ด้ มาประยุกต์ใชใ้ นโรงเรียนต่อไป เปน็ กจิ กรรมท่ชี ว่ ยพัฒนาทุกรายสมรรถนะอกี กจิ กรรมหนง่ึ ท่ีครูผสู้ อน มีความพงึ พอใจ 5.6.8 ประเมนิ ห้องเรียนมาตรฐาน เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครผู ูส้ อนดา้ นการบริหาร จดั การช้ันเรียน ให้เปน็ ไปตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 24 (5) การส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ูส้ อนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรยี น และอานวยความสะดวก เพื่อให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นร้แู ละมี ความรอบรู้ ทงั้ นผ้ี สู้ อนและผเู้ รยี นอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันจากสือ่ การเรยี นการสอนและแหล่งวิทยา การประเภทตา่ ง ๆ ดังนัน้ การประเมนิ หอ้ งเรียนมาตรฐาน จึงเป็นการสง่ เสริมสนบั สนุนให้ครผู ู้สอนได้ จดั ส่อื จัดบรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี น ให้เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น นอกจาก เป็นการพัฒนาสมรรถนะครผู สู้ อนแลว้ ยงั เป็นการพัฒนาผเู้ รยี นให้มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ ในหอ้ งเรยี นอกี ด้วย 5.6.9 ประเมนิ ประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ าน โดยมีวัตถปุ ระสงค์ทสี่ าคญั เพ่ือพัฒนา สมรรถนะของครูผสู้ อนด้านการมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือใหค้ รผู ู้สอนมีความม่งุ ม่นั ท่ีจะพัฒนาคุณภาพของ งานอยา่ งต่อเนอื่ ง ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อปัญหาและอุปสรรค การประเมินประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัติงาน จึงเป็น ข้อมูลสาคญั ของฝ่ายบรหิ าร เพ่ือนาไปประกอบการตัดสนิ ใจในการกาหนดภาระงานและมาตรฐาน ตาแหน่งใหบ้ คุ ลากร ใชใ้ นการเล่อื นขน้ั เลือ่ นตาแหน่ง ใช้ในการสบั เปลีย่ นหมนุ เวียนตาแหน่ง หรอื มอบหมายงานตรงตามความรู้ความสามารถ ซ่ึงจะสง่ ผลให้บุคลากรมีขวญั และกาลงั ใจในการ ปฏบิ ัติงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.6.10 การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การนเิ ทศงานนับเป็นส่วนหนึ่งของการ พฒั นาบุคลากร ผนู้ เิ ทศงานจงึ ต้องทาทกุ อยา่ ง เพ่ือปรับปรงุ คณุ ภาพของบคุ ลากรใหท้ างานดีข้นึ การ นเิ ทศงานจึงไมไ่ ด้มีความหมายแต่เพียงดูแล แนะนาให้ความชว่ ยเหลอื แก่บุคลากรในการปฏบิ ัติงาน เท่าน้นั แต่ครอบคลมุ ถึงการดาเนินงานทกุ อย่าง ทีม่ สี ่วนในการพฒั นาบคุ ลากรด้วย อนั จะมสี ่วนเสริม ให้การสอนของครูมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ หรอื มคี ุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ดมี ากขึ้น ในขณะ
17 ทาการนิเทศและหลังการนิเทศบุคลากร จะตอ้ งมีการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของผรู้ ับ การนเิ ทศเป็นระยะ เพือ่ ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั งิ านวา่ เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายท่ี กาหนดไวห้ รือไม่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานมีปญั หา และอปุ สรรคอย่างไร เพ่อื จะไดห้ าทางแก้ไขปรับปรงุ การทางานของบคุ ลากรใหม้ ีประสิทธภิ าพมากข้นึ 5.7 ประเมินผลโครงการ การประเมนิ เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ ตลอดจนการพิจารณาผลสมั ฤทธิ์ของโครงการนน้ั ๆ ว่ามีมากน้อยเพยี งใด การประเมินผลเป็น กระบวนการบ่งชีถ้ งึ คณุ ค่าของโครงการ กล่าวคือ โครงการท่ไี ด้ดาเนินไปแลว้ ได้ผลตามวตั ถปุ ระสงค์ ของโครงการหรอื ไมเ่ พียงใด สามารถทาไดท้ ้ังการประเมินกอ่ นเริ่มโครงการ การประเมินขณะดาเนิน โครงการ และประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ 5.8 สรปุ / รายงานการประเมินโครงการ 6. งบประมาณและแหล่งทรัพยากร 6.1 งบประมาณที่ใชร้ วมท้งั ส้นิ จานวน 17,000 บาท 6.2 แหล่งท่มี าของงบประมาณแยกตามหมวดรายจ่ายดงั แสดงในตาราง 2.1 ตาราง 2.1 งบประมาณแหล่งทม่ี าของงบประมาณแยกตามหมวดรายจา่ ย กจิ กรรม จานวนเงิน รวม หมายเหตุ อุดหนนุ บกศ. บริจาค 1. วางแผนการดาเนนิ งาน -- - - 2. ใหบ้ ริการข้อมูลขา่ วสาร --- - 3. สร้างทมี งานคณุ ภาพ 500 - - 500 4. สร้างแรงจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ าน - - 10,000 10,000 5. อบรมการใช้คอมพวิ เตอร์ 1,000 - - 1,000 6. อบรมการออกแบบการเรียนรู้ 1,000 - - 1,000 7. อบรมการวิจยั ในช้นั เรียน 1,000 - - 1,000 8. ศกึ ษาดงู านท่ีโรงเรยี นดีเดน่ - - 2,000 2,000 9. ประเมนิ ห้องเรียนมาตรฐาน 1,500 - - 1,500 10. ประเมนิ ประสิทธิภาพการปฏบิ ตั ิงาน - - - - 11. การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล -- - - 12. ประเมิน/รายงานการประเมนิ โครงการ - - - - รวม 5,000 - 12,000 17,000
18 7. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ผู้อานวยการ หัวหน้าโครงการ 7.1 นายฐถิ ิศักด์ิ เพม่ิ พูน ครู กรรมการ 7.2 นางธญั ลักษณ์ เทยี นงูเหลอื ม ครู กรรมการ 7.3 นางสมพร จันทร์พรม 8. การตดิ ตามประเมนิ โครงการ ผรู้ ายงานไดต้ ดิ ตามประเมนิ โครงการพัฒนาสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มประสทิ ธิภาพ ในการ ปฏบิ ัติงานของข้าราชการครู โรงเรยี นวดั สลักได แบ่งตามลาดับเวลาการประเมนิ ดังน้ี 8.1 ก่อนดาเนินโครงการ ประเมนิ ความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อมท่ัวไป ดา้ น ปัจจัยเบอ้ื งต้นของโครงการและประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน (สมรรถนะ) ของครผู ้สู อน 8.2 ขณะดาเนนิ โครงการ ประเมนิ ความเหมาะสมของกระบวนการในการดาเนิน โครงการ 8.3 หลงั ดาเนินโครงการ ประเมินดา้ นผลผลติ ของโครงการเก่ียวกับประสิทธิภาพ ในการปฏบิ ตั ิงานและคุณภาพในการปฏบิ ตั ิงาน (สมรรถนะ) ของครูผู้สอน แนวคดิ เกย่ี วกบั การประเมนิ โครงการ แนวคิดเก่ียวกับการประเมินโครงการ ผู้รายงานได้นาเสนอตามลาดบั หัวข้อ คือ ความหมาย ของการประเมินโครงการ ความหมายของรูปแบบการประเมิน ประโยชน์ของรูปแบบการประเมิน และประเภทของรูปแบบการประเมิน ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ความหมายของการประเมนิ การประเมินเปน็ การตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการหรือแผนงานตลอดจน การพจิ ารณาผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการหรือแผนงานนั้น ๆ ว่ามมี ากน้อยเพยี งใด ซง่ึ มนี ักวิชาการหลาย ๆ ทา่ นให้ความหมายไว้ ดังนี้ ชนัดดา บุบผามาศ (2557 : 5-6) กล่าววา่ การประเมนิ โครงการเปน็ กระบวนการ ในการกาหนดคุณค่าของโครงการ หรือกิจกรรมทกี่ าหนดข้นึ ในแผนงานเพือ่ นาไปสู่การตัดสินใจ เกีย่ วกบั โครงการน้ัน ๆ ว่าดีมปี ระสทิ ธภิ าพได้ผลเพียงใด นมิ ติ ร ธิยาม (2558 : 8) กลา่ ววา่ การประเมนิ หมายถงึ กระบวนการตดั สินคณุ ค่า ของสงิ่ หน่งึ สิง่ ใดโดยการนาสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ทก่ี าหนด กมลานันท์ บญุ กล้า (2559 : 11) กล่าววา่ การประเมนิ โครงการ เปน็ การประเมนิ ค่าหรอื การประเมินผล หมายถงึ การตดั สินคณุ ค่าของส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ ซ่งึ ถอื เป็นนยิ ามพื้นฐานในทางการ จดั การ นยิ มนยิ ามการประเมนิ ค่าหรอื การประเมินผลว่า เปน็ กระบวนการทกี่ ่อใหเ้ กดิ สารสนเทศ
19 เพือ่ การตัดสนิ ใจ การตดั สินใจเลอื กทางเลือกโดยอาศยั สารสนเทศที่ถูกตอ้ งเหมาะสม เม่ือผ่านการ สังเคราะห์ให้เปน็ องคค์ วามรู้ จะทาใหเ้ กิดปัญญาได้ ปยิ มาศ ฉายชวู งษ์ (2560 : 9) กล่าวว่า การประเมินโครงการเปน็ กระบวนการ พิจารณาตัดสินคณุ คา่ ของสง่ิ ใดสงิ่ หน่งึ ว่า มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนาสารสนเทศหรอื ผล จากการวัดมาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ท่ีกาหนดเพอ่ื ชว่ ยในการตัดสินใจ ตีค่าผลการดาเนนิ การนัน้ ๆ วา่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคห์ รือไม่ ใชเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการจัดการ ส่วนคาวา่ โครงการ หมายถงึ ส่วนยอ่ ยสว่ นหนง่ึ ของแผนงาน ซ่งึ ประกอบดว้ ย ชดุ ของกจิ กรรมท่จี ัดขนึ้ อยา่ งมรี ะบบ มีการกาหนด ทรพั ยากรในการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งานไวอ้ ย่างชัดเจน โดยออกแบบมาเพือ่ ใหบ้ รรลุ เป้าหมายตามตอ้ งการ พิทยาภรณ์ บรรณาลยั (2560 : 8-9) กลา่ วว่า การประเมินโครงการ เป็น กระบวนการของการตัดสนิ คุณค่าเกี่ยวกบั แผนงาน และการดาเนนิ งานของเรอื่ งใดเร่อื งหน่งึ โดยมี จุดมุ่งหมายเพอ่ื ปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงดาเนินตอ่ ไป หรอื ล้มเลิกโครงการ วันวสิ า ชนะวงศ์ (2561 : 10) กล่าวว่า การประเมนิ โครงการ เปน็ กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบและนาผลมาใช้ในการเพิ่มคณุ ภาพและประสิทธผิ ลของ การดาเนนิ โครงการ วรรณา เครอื บคนโท (2561 : 13) กล่าวว่า การประเมนิ โครงการ คือ กระบวนการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ขอ้ มูลอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาใชใ้ นการเพ่มิ คุณภาพและประสทิ ธผิ ล ของการดาเนินโครงการจากความหมายดังกลา่ ว สรปุ ได้ 2 ประการ คือ 1) การประเมนิ โครงการเปน็ กระบวนการที่จัดทาขึน้ มาอยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื ให้ไดม้ าซึง่ ขอ้ มูลความจรงิ (Fact) ทีเ่ ชอ่ื ถอื ได้ และ 2) การประเมนิ โครงการจุดประสงค์ท่ีสาคัญเพอ่ื เพิม่ ประสิทธภิ าพ (Efficiency) และประสิทธผิ ล (Effectiveness) ของโครงการ ศิวพร นววงศานันต์ (2561 : 29) กล่าววา่ การประเมิน (Evaluation) เป็น กระบวนการ ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดสารสนเทศ เพ่อื ชว่ ยใหผ้ ู้บริหารตดั สนิ ใจอยา่ งมีประสิทธภิ าพสูง กล่าวโดยสรุป การประเมินโครงการ เป็นกระบวนการกาหนดคุณค่าของโครงการ โดยอาศยั ข้อมูลสารสนเทศ เพือ่ ชว่ ยให้ผู้บริหารตัดสินใจ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ความหมายของรูปแบบประเมิน รปู แบบการประเมนิ คอื กรอบความคิดหรือแบบแผนในการประเมินทแี่ สดงให้เหน็ ถึงรายการที่ควรประเมิน หรอื กระบวนการของการประเมนิ ในการประเมนิ โครงการใดโครงการหนง่ึ นั้น เราควรพิจารณาเร่ืองใดบา้ ง (What) ในขณะเดียวกนั บางรูปแบบอาจจะมกี ารเสนอแนะด้วยวา่ ในการประเมนิ แต่ละรายการแต่ละเรอื่ ง ควรพจิ ารณาหรอื ตรวจสอบอย่างไร ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะ การเสนอแนะวธิ กี าร (How) รูปแบบการประเมนิ ส่วนใหญเ่ ริ่มต้นหรอื เกดิ ขึ้นในชน้ั เรยี น กล่าวคือ
20 เสนอรปู แบบการประเมินเพ่อื การประเมินการจัดการเรยี นการสอนในห้องเรยี น เปน็ สาคญั และต่อมา มกี ารประยกุ ตใ์ ชก้ รอบแนวความคิดเหลา่ นนั้ เพอื่ การประเมนิ งาน/โครงการ ในวงกว้างมากขนึ้ (ศักด์ิชัย ภู่เจรญิ . 2557 : 41) 3. ประโยชน์ของรูปแบบการประเมนิ รปู แบบการประเมนิ มปี ระโยชน์สาคัญ 4 ประการคือ 1. ช่วยให้เห็นแนวทางและกรอบความคดิ เห็นในการประเมินการเรียนรู้ เร่ืองรูปแบบ การประเมินทห่ี ลากหลาย ทาให้เกิดประสบการณ์ในการตัดสินใจเลือกใช้รูปแบบการประเมินได้อย่าง เหมาะสมกับสง่ิ ทมี่ ุง่ ประเมิน 2. ชว่ ยใหก้ ารกาหนดวัตถุประสงค์ ของการประเมินมีความคมชดั และครอบคลุม เน่อื งจากรปู แบบการประเมินแตล่ ะรูปแบบ มีกรอบความคิดเชงิ เหตุผล ดงั นั้นการเลอื กใช้หรอื ประยุกต์ใชร้ ูปแบบใดรปู แบบหนึง่ ก็มแี นวโน้มทีจ่ ะกาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องการประเมินให้สอดคล้อง กบั รปู แบบนัน้ ได้ 3. ชว่ ยใหก้ าหนดตัวแปรหรอื ประเดน็ สาคัญในการประเมินไดอ้ ย่างชัดเจน 4. ทาให้ผลงานการประเมนิ มีความเปน็ ระบบครอบคลมุ เปน็ ที่ยอมรับและส่อื ความหมายได้ชัดเจน 4. ประเภทของรปู แบบการประเมิน ศักด์ิชัย ภู่เจรญิ (2557 : 42) ได้กล่าวว่ารูปแบบการประเมิน เป็นกรอบหรือแนวความคิดที่ สาคัญ ท่ีแสดงให้เห็นถึงกระบวนการหรือรายงานการประเมิน ซ่ึงมีความแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับ ข้อตกลงเบ้ืองต้น ซึ่งนักวิชาการทางด้านการประเมิน ได้เสนอกรอบความคิด ในการประเมิน ไดเ้ ลือกใช้มีอย่หู ลายรูปแบบ รปู แบบการประเมินโดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเปน็ 3 กล่มุ คือ 1. รูปแบบการประเมินทเี่ นน้ จดุ มุ่งหมาย (Objective Based Model) เป็นรูปแบบที่ เนน้ การตรวจสอบผลทค่ี าดหวังได้เกิดขนึ้ หรอื ไม่หรือประเมนิ โดยตรวจสอบผลทรี่ ะบุไวใ้ นจุดมุ่ง หมาย เปน็ หลัก โดยดวู ่าผลทเ่ี กิดจากการปฏิบัตงิ านบรรลุจดุ มุง่ หมายทกี่ าหนดไวห้ รอื ไม่ ไดแ้ ก่ รปู แบบการ ประเมนิ ของไทเลอร์ (Ralph W. Tyler : 2018) ครอนบาค (Cronbach : 2018) และเครกิ แพตทริค (Kirkpatrick : 2018) 2. รูปแบบการประเมินทเ่ี น้นการตดั สนิ คุณคา่ (Judgemental Evaluation Model) เป็นรปู แบบการประเมินท่มี จี ดุ หมายเพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงข้อมลู ขา่ วสารสนเทศสาหรับกาหนดและวนิ จิ ฉัย คุณค่าและโครงการน้ันไดแ้ กร่ ปู แบบการประเมินของ สเตค (Stake : 2019) สครฟิ เวน่ (Scriven : 2019) และโพรวสั (Provus : 2019) 3. รูปแบบการประเมินท่ีเนน้ การตัดสินใจ (Decision-Oriented Evaluation Model) เปน็ รูปแบบการประเมินที่มีจุดมงุ่ หมายเพือ่ ให้ได้มาซ่งึ ขอ้ มลู และข่าวสารต่าง ๆ เพื่อชว่ ยผู้บรหิ าร
21 ในการตัดสนิ ใจเลอื กทางเลือกต่าง ๆ ได้อย่างถกู ต้อง ได้แกร่ ปู แบบการประเมนิ ของเวลซ์ (Welch : 2019) สตฟั เฟลิ บมี (Stufflebeam : 2017) อลั คิน (Alkin : 2019) 5. รูปแบบการประเมนิ ของสตฟั เฟมิ บีม (Stufflebeam) แดลเนยี ล แอล สตัฟเฟิลบมี และคณะ (Daneil L. Stufflebeam, 2017) ไดเ้ สนอ แนวคดิ เกีย่ วกับรปู แบบการประเมิน เรยี กวา่ ซปิ โมเดล (CIPP Model) เป็นการประเมินทีเ่ ป็น กระบวนการตอ่ เนื่อง โดยมจี ุดเนน้ ทีส่ าคญั คอื ใช้ควบคกู่ ับการบริหารโครงการ เพื่อหาขอ้ มูลประกอบ การตัดสินใจอย่างตอ่ เน่อื งตลอดเวลา วตั ถุประสงค์การประเมนิ คือ การให้สารสนเทศเพอื่ การ ตดั สนิ ใจ คาวา่ CIPP เป็นคายอ่ มาจากคาว่า Context, Input, Process และ Product สตฟั เฟิลบีม ได้ใหค้ วามหมายว่า การประเมนิ เป็นกระบวนการของการบรรยาย การเก็บขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ ้อมูล ขา่ วสาร เพ่อื นาข้อมูลไปใช้ประโยชนใ์ นการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสม ซึง่ การประเมินเพื่อให้ ไดส้ ารสนเทศท่สี าคัญ ม่งุ ประเมนิ 4 ด้าน คือ การประเมนิ สภาพแวดลอ้ ม (Context Evaluation) การประเมินปจั จัยเบื้องต้น (Input Evaluation) การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) และการประเมินผลผลิต (Product Evaluation) ประเภทการประเมินและลักษณะการตัดสินใจ ตามกรอบความคิดของรูปแบบ การประเมนิ ซปิ โมเดล ดังแสดงในภาพประกอบ 2 ดังนี้
22 ประเภทของการประเมิน ลกั ษณะการตัดสนิ ใจ เลือก / ปรบั วัตถุประสงค์ การประเมินสภาพแวดลอ้ ม (Context Evaluation) การประเมนิ ปัจจัยเบื้องต้น เลอื กแบบ / กิจกรรม / (Input Evaluation) ปรับเปลย่ี นปัจจัยเบอื้ งตน้ การประเมินกระบวนการ ปรบั ปรงุ แผนงานหรือ (Process Evaluation) กระบวนการทางาน การประเมนิ ผลผลิต ปรับปรุง / ขยาย / ล้มเลิก / (Product Evaluation) ยตุ ิโครงการ ภาพประกอบ 2 แสดงความความสมั พนั ธร์ ะหว่างการประเมินกับการตดั สนิ ใจในแบบจาลองซปิ (รตั นะ บวั สนธ.์ 2556 : 17) แนวทางการประเมนิ ในด้านต่างๆ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. การประเมนิ สภาพแวดล้อม (Context Evaluation :C) เปน็ การประเมนิ เพ่อื ให้ได้ ขอ้ มูลสาคญั เพ่ือช่วยในการกาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ความเป็นไปไดข้ องโครงการเปน็ การ ตรวจสอบคาถามต่าง ๆ เชน่ 1.1 เปน็ โครงการที่สนองปญั หาหรอื ความตอ้ งการจาเป็นทแ่ี ท้จรงิ หรอื ไม่ 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกบั นโยบายขององคก์ ร หรือนโยบายหน่วยเหนอื หรอื ไม่ 1.3 เป็นโครงการทเ่ี ป็นไปได้ในแง่ของโอกาส ทีจ่ ะได้รับการสนับสนุนจากองค์กร ต่าง ๆ หรือไม่ เปน็ ตน้ 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation : 1) เป็นการประเมินเพ่ือใช้ข้อมูล ตัดสินใจปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับโครงการว่าเหมาะสมหรือไม่โดยดูว่าปัจจัยที่ใช้จะมีส่วนช่วยให้ บรรลุจุดมุ่งหมายของโครงการหรอื ไม่ เปน็ การตรวจสอบเพื่อตอบคาถามทสี่ าคัญ เช่น 2.1 ปัจจยั ทกี่ าหนดไว้ในโครงการ มคี วามเหมาะสมเพียงพอหรือไม่
23 2.2 กิจกรรม / แบบ / ทางเลอื กท่ีไดเ้ ลอื กสรรแลว้ ทก่ี าหนดไว้ในโครงการมีความเป็นไปได้ และเหมาะสมเพยี งใด เปน็ ต้น 3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation :P) เป็นการประเมินระหว่างการดาเนิน โครงการ เพ่อื หาขอ้ ดีและขอ้ บกพร่องของการดาเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ทีก่ าหนดไว้ และเป็นการ รายงานผลการปฏิบัตงิ านของโครงการน้ันดว้ ย ซึ่งเปน็ การตรวจสอบเพื่อตอบคาถามท่สี าคัญ เชน่ 3.1 การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้หรือไม่ กิจกรรมใดทาได้หรือทาไม่ได้ เพราะเหตใุ ด 3.2 เกิดปญั หา อุปสรรคอะไรบา้ ง 3.3 มกี ารแกไ้ ขปัญหาอย่างไร เปน็ ต้น 4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินเพ่ือดูว่าผลที่เกดิ ข้ึน เม่ือสิ้นสุดโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ หรือตามที่คาดหวังไว้หรือไม่ โดยอาศัยข้อมูลจากการ รายงานผลที่ได้จากการประเมินสภาพแวดล้อมปัจจัยเบ้ืองต้น และกระบวนการร่วมด้วยซ่ึงเป็นการ ตรวจสอบเพ่ือตอบคาถามที่สาคญั ๆ เช่น 4.1 เกิดผล / ไดผ้ ลลัพธ์ตามวัตถุประสงคข์ องโครงการหรอื ไม่ 4.2 คณุ ภาพของผลลัพธ์เป็นอย่างไร 4.3 เกดิ ผลกระทบอื่นใดบา้ งหรือไม่ เป็นต้น แนวคดิ เกยี่ วกบั การพัฒนาบุคลากร แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร ผรู้ ายงานได้นาเสนอตามลาดบั หัวข้อ คือ ความหมาย ของการพฒั นาบุคลากรและกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากร ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. ความหมายของการพัฒนาบคุ ลากร การพัฒนาบุคลากร เป็นหัวใจสาคญั และเปน็ ขั้นตอนหน่ึงของการบรหิ ารงานบคุ คล ซึ่งมีนักวิชาการให้ความหมายไวห้ ลายท่าน ดังน้ี อุเทน นวสธุ ารตั น์ (2560 : 24) กล่าววา่ การพฒั นาขา้ ราชการครเู ปน็ กระบวนการ เพม่ิ และเสริมความรู้ความสามารถของขา้ ราชการครใู หป้ ฏบิ ัติหนา้ ทีม่ ีประสิทธภิ าพย่งิ ข้ึนเสมอ ๆ วทญั ญู วฒุ ิวรรณ์ (2560 : 78) กลา่ ววา่ การพฒั นาบุคลากรเปน็ กระบวนการหรอื กรรมวธิ ตี า่ ง ๆ ทม่ี ุ่งจะเพิ่มพนู ความรู้ ความชานาญ ประสบการณใ์ หก้ ับบุคคลในองค์กร ตลอดจน พัฒนาทัศนคตขิ องผู้ปฏิบตั ิงาน ใหเ้ ป็นไปในทางท่ีดี มคี วามรบั ผิดชอบ อันจะทาใหง้ านมีประสิทธิภาพ ย่งิ ขึ้น สวุ พิชญ์ คณุ วิสิฐสิริ (2560 : 24) กลา่ ววา่ การดาเนนิ การเกีย่ วกับการส่งเสรมิ ให้ บุคลากรมีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการทางานดีข้นึ ตลอดจนมีทัศนคตทิ ่ีดใี นการทางานอันจะ
24 เป็นผลใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานมปี ระสิทธิภาพยงิ่ ขึ้นหรอื อีกนัยหน่ึงการพฒั นาบุคลากรเปน็ กระบวนการ ที่จะสง่ เสรมิ และเปลี่ยนแปลงผู้ปฏบิ ตั ิงานในดา้ นต่าง ๆ เช่น ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ อปุ นสิ ยั ทัศนคติ และวิธีการในการทางานอันจะนาไปสูป่ ระสิทธิภาพในการทางาน กลา่ วโดยสรปุ การพฒั นาบคุ ลากร เป็นการส่งเสริมและเปลยี่ นแปลงบุคลากรให้มี ความรคู้ วามสามารถ มีทักษะชานาญการและมที ัศนคตทิ ่ีดีในการทางานซึง่ จะส่งผลให้การปฏิบัติงาน มปี ระสทิ ธิภาพสงู ยิ่งข้นึ 2. กิจกรรมในการพฒั นาบุคลากร ราไพ แสงนกิ ุล (2560 : 198) ไดก้ ล่าววา่ การดาเนินการพฒั นาบคุ ลากร เปน็ การ รวบรวม เอากจิ กรรมต่าง ๆ ในแผนการพัฒนาบุคลากร เพื่อดาเนินการใหบ้ รรลุจุดมุง่ หมายต่าง ๆ ทต่ี งั้ ไว้ และใหเ้ ป็นไปตามนโยบายที่ไดร้ บั มอบหมายการดาเนนิ การจะเกีย่ วข้องกบั การตัดสินใจเฉพาะ อยา่ ง เช่น การตัดสนิ ใจเลอื กกจิ กรรมช่วงระยะเวลาสาหรบั ดาเนนิ กจิ กรรม บุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง เงินท่ี จะใช้จา่ ย สิ่งอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการ กจิ กรรมชนดิ ตา่ ง ๆ ท่อี าจเลือกใชใ้ นการพัฒนาบุคลากรได้ เช่น การบรรยาย การ ประชุม การสัมมนา การอภิปราย การจัดการฝึกงาน การหมนุ เวียนตาแหนง่ การทดลองปฏิบตั ิงาน การใช้ครผู ู้ช่วย การประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การศกึ ษาพเิ ศษ การระดมความคิด การสอนแบบสาเรจ็ รูป การประชมุ ย่อย การมอบหมายงานพเิ ศษ เอกสารพิมพแ์ จก จัดรายวิชาให้เข้าเรียน การศึกษาเฉพาะ กรณี ภาพยนตร์ โครงการวิจยั โปรแกรมการแลกเปลีย่ น การแสดงบทบาทสมมติ การจัดทัศนศกึ ษา เทปบนั ทึกเสียง โทรทศั น์ การเล่นเกม การเลียนแบบ การฝกึ อบรม การสอนโดยครูพิเศษ การสาธิต การเยยี่ มชมกจิ กรรม กจิ กรรมรายบคุ คล การฝึกหัดแก้ปญั หา การฝกึ การประสานงาน เป็นต้น จากข้อความดังกล่าวข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า กิจกรรมการพัฒนาบุคลากรที่ สถานศึกษานิยมจัดและได้ผลดีได้แก่ การฝึกอบรม การสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ การศึกษา ตอ่ การศึกษาดงู าน และการมสี ว่ นในการบริหารโรงเรยี น ในแต่ละกจิ กรรมสามารถสรุปได้ ดังน้ี 2.1 การฝึกอบรม (training) การฝึกอบรม คือ กิจกรรมเรียนรู้เฉพาะอยา่ งบุคคลเพ่ือปรบั ปรงุ และเพ่มิ พนู ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ หรือ ความชานาญการและทัศนคติ อนั เหมาะสมจนสามารถก่อให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงในพฤติกรรม และทัศนคติ เพือ่ ยกมาตรฐานการปฏิบตั งิ านให้อยใู่ นระดบั สูงขนึ้ และทาให้บคุ ลากรมคี วามเจริญก้าวหน้าในงาน การฝกึ อบรมโดยท่ัวไปมีจุดม่งุ หมายเพื่อ 2.1.1 พฒั นาและเพิม่ ความรู้ (Knowledge) 2.1.2 พฒั นาทกั ษะ (Skill) 2.1.3 พฒั นาทศั นคติ (Attitude) ไปในทางท่พี งึ ปรารถนา
25 ความจาเปน็ ในการฝกึ อบรม ส่วนใหญ่เกิดจากปัญหาขอ้ ขดั ข้องและอปุ สรรคทีไ่ มพ่ งึ ปรารถนาในองค์กร การวเิ คราะหค์ วามจาเป็นในการฝกึ อบรมจะทาการวเิ คราะห์ 3 ดา้ นใหญ่ ๆ คือ ด้านองค์กร ด้านหนา้ ทภ่ี ารกจิ และดา้ นพนกั งาน กระบวนการฝึกอบรมท่นี ่าสนใจและง่ายต่อการเข้าใจมี 4 ข้นั ตอน คือ 1. การหาความตอ้ งการในการฝึกอบรม 2. การเลอื กสรรการฝึกอบรมทเี่ หมาะสม 3. การวางแผนดาเนนิ การฝกึ อบรมโดยผู้ชานาญการ 4. การประเมนิ และตดิ ตามผล การฝึกอบรมเป็นกลไกสาคญั ในการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ และการบริหารองคกร อยา่ งแท้จริง เนอื่ งจากการฝึกอบรมเป็นวธิ กี ารอันดบั หน่งึ ทจี่ ะนามาใช้เพอื่ ขจัด หรอื บรรเทาปัญหา รวมท้งั เพิม่ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลให้บังเกิดขน้ึ กบั บุคลากรและองคก์ รไดใ้ นทสี่ ุด ทั้งนมี้ ี ขอ้ จากัดอยู่ทว่ี ่า การฝกึ อบรมที่จัดขึน้ น้นั จะตอ้ งสนองหรือตรงตามความต้องการขององค์กร ภาระหนา้ ทแี่ ละบคุ คล มิเชน่ น้นั การฝึกอบรมกจ็ ะเปน็ การเสียเปล่า ท้งั เวลาและค่าใช้จา่ ยทั้งยงั ก่อใหเ้ กดิ การเบ่ือหน่าย และตอ่ ตา้ นจากผเู้ ข้ารับการอบรมอีกดว้ ย 2.2 การสัมมนา (Seminar) การสมั มนามีลกั ษณะเหมือนการประชุม กลา่ วคือเปน็ การประชมุ รว่ มกันเพอ่ื ศกึ ษา ค้นคว้าเรื่องราวต่าง ๆ ซึง่ อาจจะแบง่ กล่มุ ศึกษาเร่ืองทีก่ าหนดไว้ แล้วนาผลการศึกษาเสนอต่อ ทปี่ ระชุมใหญ่ เพื่อหาข้อสรปุ มาพิจารณาปรบั ปรงุ การปฏิบตั งิ าน การประชมุ และสมั มนา จึงเป็นการ พฒั นาบุคลากรอย่างหนง่ึ ทท่ี าใหผ้ ู้เขา้ ร่วมประชุมสมั มนาได้รบั ความร้แู ละประสบการณ์ทีแ่ ปลกใหม่ การสัมมนาทางวชิ าการ เป็นการร่วมประชมุ เพอื่ ศึกษาค้นคว้าเกยี่ วกับเรื่องใด เรอื่ งหนึ่งทกี่ าหนดไว้ โดยผรู้ ว่ มประชมุ ไดม้ ีโอกาสแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และประสบการณ์ความรู้ ในปัญหาตา่ ง ๆ มากกวา่ มุ่งด้านทฤษฎี หรอื หลักการศกึ ษาโดยตรงก่อนแบ่งกลุม่ ศึกษาเร่ืองท่ีกาหนด ไว้ จะมวี ทิ ยากรมาใหค้ วามร้พู ื้นฐานท่ีได้ศกึ ษาค้นควา้ มาอย่างดี ดังน้นั การสัมมนาจึงเปน็ ประโยชน์ ตอ่ การพัฒนาบคุ ลากรอย่างดียิ่งวธิ หี นึ่ง 2.3 การประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ (Workshop) การประชมุ เชิงปฏิบัติการ เปน็ การประชมุ ปรึกษาหารอื เพอื่ แกป้ ญั หาในระหว่างผมู้ ี ประสบการณ์ในงานน้ันมาแลว้ และมคี วามสนใจท่ีจะแก้ปัญหานัน้ ร่วมกัน โดยก่อนจะมีกจิ กรรม ดงั กลา่ ว ผู้เข้าร่วมประชมุ จะเขา้ รบั ฟงั การบรรยายโดยวิทยากรผ้ทู รงคณุ วุฒทิ ี่มีความรู้และ ประสบการณ์ในเรือ่ งนัน้ ๆ มาก่อน การประชุมเชิงปฏบิ ัติการจึงเปน็ การประชุม หรอื การอบรมเข้ม โดยจะเน้นใหผ้ ูเ้ ข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะในดา้ นวชิ าการและดา้ นปฏิบัติอยา่ ง แท้จริง จงึ ถือว่าเป็นวธิ ีการพฒั นาบคุ คลทมี่ ีประโยชนอ์ ย่างย่งิ อกี วิธหี น่งึ
26 2.4 การศึกษาต่อ (Upgrading) การศึกษาต่อ จัดไดว้ า่ เปน็ การพฒั นาบคุ ลากรอีกรปู แบบหน่ึง โดยผู้ศกึ ษาตอ่ มโี อกาสได้เพ่มิ พนู ความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการศกึ ษา ทาให้มคี วามมัน่ ใจในการปฏบิ ัติมาก ขนึ้ นอกจากนั้นยงั เปน็ การเพมิ่ วฒุ แิ ละสร้างขวัญกาลงั ใจให้แกบ่ คุ ลากรอีกด้วย ดงั น้ันหากมโี อกาส และไม่ขดั กับระเบียบปฏิบตั ิของทางราชการแลว้ ผู้บรหิ ารโรงเรียนควรสนับสนนุ และส่งเสริมให้ บุคลากรในโรงเรยี นไดศ้ กึ ษาตอ่ ในปัจจุบนั มหี ลายรปู แบบ เช่น การเรียนการสอนโดยระบบทางไกล โครงการอบรมบุคลากรประจาการ การลาศึกษาต่อ เป็นตน้ 2.5 การศึกษาดูงาน (Field Trips) การศกึ ษาดูงาน เป็นการพาบคุ ลากรในหน่วยงานไปดูกจิ กรรม หรอื การปฏบิ ัติงาน ของหนว่ ยงานอนื่ ท่เี หน็ วา่ เป็นแบบอยา่ งที่ดี และเป็นประโยชนต์ ่อหนว่ ยงานของตนเอง การพา บคุ ลากรไปศึกษาดงู าน จะช่วยให้บุคลากรได้รับความรูแ้ ละประสบการณ์ในการทางานเทคนิคใหม่ ๆ เกิดแนวคดิ ที่จะนามาใช้ปรับปรุงงานในหน้าทขี่ องตนใหด้ หี รอื พัฒนายงิ่ ข้นึ เปน็ การพฒั นา และสรา้ ง ขวัญกาลงั ใจให้แกบ่ ุคลากรอกี ทางหนึง่ การศกึ ษาดงู านนอกจากจะใชว้ ิธกี ารพาบคุ ลากรไปดกู ิจกรรม หรอื การปฏบิ ัตงิ านหน่วยงานอนื่ แล้ว การที่บคุ ลากรไปศกึ ษาดูงานในตา่ งประเทศและการให้บุคลากร ไปฝกึ งาน ก็จัดว่าเป็นการศึกษาดูงานเช่นเดียวกัน 2.6 การมีสว่ นร่วมในการบริหารโรงเรยี น (Participation) การที่ผบู้ ริหารโรงเรียนมอบความไว้วางใจใหบ้ คุ ลากรมสี ว่ นร่วมในการบริหาร โรงเรียนลกั ษณะใดลกั ษณะหนึ่งซงึ่ เป็นเจ้าหนา้ ท่ี หรอื งานพิเศษนอกเหนอื จากการสอนตามปกติ กน็ บั ได้ว่าเปน็ การพัฒนาบคุ ลากรอีกลักษณะหนง่ึ นอกจากนน้ั ยงั เปน็ การเสรมิ สรา้ งขวญั และกาลงั ใจ ใหแ้ ก่บคุ ลากรอกี ด้วย เชน่ แตง่ ตั้งใหเ้ ป็นคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน แตง่ ตั้งใหเ้ ปน็ เจ้าหนา้ ท่ี แผนงานโรงเรยี น หรอื แตง่ ต้ังใหเ้ ป็นหวั หนา้ งานใดงานหน่ึงในโรงเรียน เป็นตน้ ท้ังนเ้ี พอ่ื ใหบ้ คุ ลากรท่ี ได้รบั มอบหมายหนา้ ที่ดงั กลา่ วได้มโี อกาสฝกึ การทางาน ไดร้ ับความรแู้ ละประสบการณ์ในการทางาน นอกจากน้ัน ถา้ ปฏิบตั งิ านดงั กลา่ วไดด้ ีก็จะเปน็ ส่วนประกอบส่วนหนงึ่ ในการพิจารณาความดี ความชอบประจาปีด้วย แนวคดิ เกีย่ วกบั สมรรถนะ แนวคดิ เกยี่ วกบั สมรรถนะ ผรู้ ายงานได้นาเสนอตามลาดับหวั ข้อ คอื ความหมายเกย่ี วกับ สมรรถนะ ประเภทสมรรถนะ โครงสรา้ งรูปแบบสมรรถนะ สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาสาย งาน ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
27 1. ความหมายเกีย่ วกบั สมรรถนะ สมรรถนะหรอื ในบางครง้ั ใชแ้ ทนดว้ ยคาวา่ สมรรถภาพ ซ่ึงมคี วามหมายตรงกบั คา ในภาษาองั กฤษวา่ Competency เป็นคาที่มีความหมายค่อนข้างกวา้ ง เพราะรวมถงึ ความสามารถ ในการนาทักษะ ความรู้ ที่ไดจ้ ากการศึกษาไปใช้ในสถานการณ์ใหมใ่ นขอบขา่ ยอาชีพของตน ท้ังใน ด้านการจดั องค์กร การวางแผนงาน การเปลย่ี นแปลง และการแกไ้ ขปัญหาทีม่ ใิ ช่ทักษะหรอื รปู แบบที่ เคยทาอยู่เป็นประจา ฯลฯ อีกท้งั เป็นความสามารถของบคุ คลที่จะประสานสมั พันธห์ รอื ปฏิบัติงาน รว่ มกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซ่งึ มนี ักวิชาการให้ความหมายไว้ ดังน้ี ราชบณั ฑิตยสถาน (2542 : 758) ได้ให้ความหมายของสมรรถนะว่า หมายถึง ความสามารถซ่ึงคาว่าสามารถมคี วามหมายว่า มคี ุณสมบัติเหมาะแกก่ ารจัดทาส่งิ ใดสง่ิ หน่ึงได้ สกุ ันต์ แสงโชติ (2560 : 145) กลา่ วว่า สมรรถนะ หมายถึง ความรู้ ทักษะ และ ความสามารถ หรือสมรรถภาพ ท่ีบคุ คลใดบุคคลหน่ึงพงึ มีและสามารถแสดงออกมาให้เหน็ พฤตกิ รรม ทางความรู้ เจตคติ และการกระทาทด่ี ี และการกระทานถ้ี ูกกาหนดเป็นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นดว้ ย ไท พานนนท์ (2560 : 22-23) กล่าวถึงสมรรถภาพของผบู้ ริหาร วา่ เป็นดัชนีบ่งช้ี ความสาเรจ็ ของการบรหิ าร การทผี่ ู้บรหิ ารไดม้ คี วามเข้าใจในบทบาทหน้าท่ี ของการบริหารสถานศึกษา จะเปน็ สิ่งท่ชี ่วยให้การจัดการศกึ ษาลุลว่ งไปด้วยดี ผู้บรหิ ารเป็นเสาหลักท่มี ีความสาคัญอยา่ งยงิ่ ตอ่ หนว่ ยงาน ต่อผ้ใู ต้บงั คบั บัญชา และตอ่ ผลงานอนั เปน็ สว่ นรวม คณุ ภาพและบทบาทของผู้บรหิ าร มีความสมั พันธอ์ ย่างใกลช้ ิดกบั คณุ ภาพของสถานศึกษา รวมทงั้ มีผลสะทอ้ นต่อผลงานและวธิ ี ปฏบิ ตั ิงานของสถานศกึ ษาเป็นอนั มาก ลอื ชัย ชนู าคา (2560 : 7) ได้ให้ความหมาย ของสมรรถนะ (competency) ไว้ว่า เป็นคุณลักษณะภายใน ท่ีสง่ ผลให้บคุ คลมีผลการปฏิบัติงานแตกตา่ งกนั มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการคือความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และความสามารถ (Ability) โรบินสัน และบาร์เบอริส-แรม (Robinson and Barberis-Ryam 1995 : 63 อ้างถึง ใน ขนิษฐา ปานผา. 2560 : 29) กล่าวว่า สมรรถนะ หมายถึงความสามารถท่ีจะประยุกต์นาเอา ประสบการณ์ต่าง ๆ สามารถตัดสินใจได้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ และสามารถจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถตัดสินใจในสถานการณ์ใหม่ ๆ และสามารถจัดการกับสถานการณ์ที่ยุ่งยากเหล่าน้ีได้ ด้วยการ ตดั สินใจอย่างรอบคอบ และมีเหตุผล มีการกาหนดเป้าหมายของความสาเร็จไว้ลว่ งหน้าได้ และเปน็ ผู้ ทม่ี ีความใฝร่ ้ทู างการศกึ ษาอยตู่ ลอดเวลา พีระวัตร จนั ทกลู (2560 : 27) กลา่ ววา่ สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถหรือ สมรรถนะของผู้ดารงตาแหน่งทีง่ านนั้น ๆ ต้องการ คาว่า Competency น้ไี ม่ไดห้ มายถงึ เฉพาะ พฤตกิ รรมแต่จะมองลึกไปถึงความเชื่อทศั นคติ อุปนิสยั ส่วนลกึ ของตนดว้ ย
28 ศริ พิ ร ศรีปัญญา (2560 : 61) กล่าววา่ สมรรถนะ หมายถึง คุณลกั ษณะของ บคุ คล ซึง่ ได้แก่ ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคณุ สมบัติตา่ ง ๆ อันไดแ้ ก่ ค่านิยม จรยิ ธรรม บคุ ลิกภาพ คุณลกั ษณะทางกายภาพและอน่ื ๆ ซึง่ จาเป็นและสอดคลอ้ งกบั ความเหมาะสมกับองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งตอ้ งสามารถจาแนกไดว้ า่ ผู้ทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ ในการทางานได้ต้องมี คณุ ลกั ษณะเด่น ๆ อะไร หรอื ลกั ษณะสาคัญ ๆ อะไรบา้ ง หรอื กลา่ วอกี นัยหนง่ึ คอื สาเหตทุ ่ีทางานแลว้ ไมป่ ระสบความสาเรจ็ เพราะขาดคณุ ลักษณะบางประการคอื อะไร เป็นต้น จากข้อความดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความรู้ ทักษะและคุณลกั ษณะท่ีจาเปน็ ของบุคคลในการทางานให้ประสบผลสาเรจ็ สูงกว่ามาตรฐาน ทว่ั ไป ซงึ่ มีองคป์ ระกอบหลกั 3 ประการ คือ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ สว่ นบคุ คล (Attributes) 2. ประเภทของสมรรถนะ ศริ ิพร ศรีปัญญา (2560 : 259) ได้แบง่ ประเภทของสมรรถนะ (Competencies) ตามแหลง่ ที่มาออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. Personal Competencies เป็นความสามารถท่มี ีเฉพาะตัวบุคคล หรือกลมุ่ บุคคลเท่านน้ั เช่น ความสามารถในด้านการวาดภาพของศิลปิน การแสดงกายกรรมของนักกีฬาบางคน นกั ประดิษฐ์ คิดค้นสิง่ ตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี ถอื เป็นความสามารถเฉพาะตัว ท่ยี ากต่อการเรียนร้หู รอื ลอกเลยี นแบบได้ 2. Job Competencies เป็นความสามารถเฉพาะบคุ คล ทต่ี าแหนง่ หรือบทบาทนนั้ ๆ ตอ้ งการเพื่อทา ใหง้ านบรรลุความสาเรจ็ ตามทีก่ าหนดไว้ เช่น ความสามารถในการเป็นผู้นาทมี งาน ของผู้บริหาร ตาแหน่งหัวหนา้ กล่มุ งาน ความสามารถในการวิเคราะห์ วจิ ยั ในตาแหนง่ งานทางดา้ นวชิ าการ เปน็ ความสามารถทสี่ ามารถฝกึ ฝนและพัฒนาได้ 3. Organization Competencies เป็นความสามารถท่ีเปน็ ลกั ษณะเฉพาะขององคก์ ร ท่มี สี ว่ นทาให้องคก์ รนน้ั ไปสู่ความสาเร็จและเปน็ ผ้นู าในดา้ นนนั้ ๆ ได้ จากข้อความดงั กลา่ วข้างตน้ สามารถสรุปได้ว่า สมรรถนะเป็นความสามารถ เฉพาะบคุ คลท่มี สี ว่ นทาใหอ้ งค์กรนน้ั ไปสคู่ วามสาเร็จและเป็นผู้นาในดา้ นนั้น ๆ ได้ 3. โครงสรา้ งของรูปแบบสมรรถนะ พรี ะวตั ร จันทกูล (2560 : 12-13) ได้กล่าวถงึ โครงสรา้ งของรูปแบบสมรรถนะ (Competency Model) ประกอบดว้ ยกลุ่มสมรรถนะ ชื่อสมรรถนะ นยิ ามสมรรถนะ พฤตกิ รรมหลัก (Key Behavior) และระดบั สมรรถนะ
29 ระดับสมรรถนะ ถือเป็นการกาหนดระดับพฤติกรรมของบุคคลท่ีแสดงถงึ ความสามารถหรอื ประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านของบคุ คลตามตาแหน่งบทบาทและความรับผิดชอบ เพ่อื ใชเ้ ปน็ มาตรฐาน สาหรบั การปฏิบัตงิ านในตาแหน่งตา่ ง ๆ ขององค์กรในการจาแนกระดบั สมรรถนะนี้ สามารถกาหนดได้หลายรูปแบบดว้ ยกัน เชน่ 1. รูปแบบที่ 1 กาหนดระดับสมรรถนะเป็น 3 ระดับ คือ 1.1 ระดับฝึกหัด (Basic) หมายถึง พฤติกรรมในระดับที่แสดงถึงการเรียนรู้ ส่งิ ตา่ ง ๆ ในระดบั เร่ิมต้น สามารถปฏบิ ตั ิงานได้ภายในขอบเขตหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบ 1.2 ระดับสูง (Advance) หมายถงึ พฤตกิ รรมในระดบั ทมี่ ีความชานาญสามารถ ปฏิบัติงานท่มี ีความยากและซบั ซอ้ นได้ 1.3 ระดับเช่ยี วชาญ (Expert) หมายถงึ พฤตกิ รรมในระดับทมี่ ีความเช่ียวชาญ สามารถปฏิบตั ิงานท่ียากและซับซอ้ นมาก รวมทง้ั สามารถคิดคน้ หาวธิ ีการใหมๆ่ มาใชใ้ นการ ปฏิบตั ิงานได้ ประเมินผลงานผอู้ ืน่ ไดเ้ ทย่ี งตรงและแม่นยา 4. สมรรถนะหลัก สมรรถนะหลักเปน็ คณุ ลักษณะเชิงพฤติกรรมทท่ี าใหบ้ ุคลากรในองค์กรปฏบิ ัติงาน ไดผ้ ลและแสดงคุณลักษณะพฤตกิ รรมไดเ้ ด่นชดั เป็นรูปธรรม โดยเป็นคุณลกั ษณะทหี่ ลอ่ หลอมค่านยิ ม และพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคร์ ว่ มกัน สมรรถนะหลกั ท่ที กุ คนตอ้ งมแี ละไดร้ ับการพฒั นาให้สูงขนึ้ มี 4 รายสมรรถนะ ดงั น้ี 4.1 การมุ่งผลสมั ฤทธิ์ ผลผลิต หมายถึง งาน บริการ หรือกจิ กรรมที่เจ้าหน้าท่ีทาเสร็จสมบรู ณ์พร้อมสง่ มอบใหป้ ระชาชนผู้รบั บริการ ผลผลติ เป็นผลงานทีเ่ กดิ จากการดาเนินกิจกรรมของส่วนราชการ โดยตรง เช่น ผลผลิตของเทศบาล ได้แก่ ถนนทีซ่ ่อมได้ 5 กิโลเมตร หรือปรมิ าณขยะทจ่ี ัดเกบ็ ได้ 5 ตนั เปน็ ตน้ ผลลพั ธ์ หมายถึง ผลที่เกิดข้ึนตดิ ตามมา ผลกระทบ หรือเง่อื นไขท่ีเกิดจากผลผลติ ผลลัพธ์ มีความสัมพันธโ์ ดยตรงกับประชาชน ผูร้ ับบรกิ ารและสาธารณชน ตวั อย่างเช่น การท่ีประชาชน เดนิ ทางไปอาเภอได้สะดวกเป็นผลลัพธ์ พฤติกรรมการมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ 4.1.1 มาทางานแตเ่ ช้า กลับค่า 4.1.2 มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทางาน 4.1.3 ขยันขนั แข็งตั้งใจทางานอย่างจรงิ จงั มีความอดทน 4.1.4 ทางานท่มุ เทอย่างเต็มท่ี 4.1.5 เสนอแนะขั้นตอนการทางานทีร่ วดเรว็
30 4.1.6 งานเสรจ็ ตามกาหนดเวลา หรอื กอ่ นเวลา 4.1.7 วางแผนการทางานอย่างเป็นระเบียบ รอบคอบ รัดกุม 4.1.8 รบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา 4.1.9 ทางานอย่างละเอยี ดรอบคอบ ตรวจสอบงานเพ่ือความถูกต้อง 4.1.10 เสยี สละเวลาใหร้ าชการ มาทางานก่อนเวลาและกลับหลังเวลาเลิกงาน 4.1.11 ตัง้ ใจทาภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้สาเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี 4.1.12 มุ่งมนั่ ในการทางาน 4.1.13 เอาใจใสง่ านอยา่ งสมา่ เสมอ 4.1.14 ทางานในหน้าทอี่ ยา่ งสร้างสรรคใ์ หง้ านมคี ุณค่าเกดิ ประโยชนม์ ากกวา่ เดิม 4.1.15 ทางานได้ผลงานทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ 4.1.16 ทางานในหน้าที่อยา่ งไม่บกพรอ่ ง และเต็มกาลงั ความสามารถ 4.1.17 ทาตามกฎระเบยี บของท่ีทางาน 4.1.18 เมอ่ื ไดร้ ับคาส่ังทบทวนทาความเขา้ ใจ แล้วดาเนนิ การทนั ที 4.1.19 ดูแลเอาใจใสห่ น่วยงาน เชน่ ชว่ ยประหยัดตามนโยบาย 4.1.20 พฒั นางานให้มคี ณุ ภาพดกี ว่าเดิม 4.1.21 ยนิ ดีชว่ ยงานที่นอกเหนอื จากหน้าที่ 4.2 การบรกิ ารทีด่ ี การบรกิ ารท่ดี ี ปจั จยั ท่ีสาคัญท่ีสุดท่ีทาใหก้ ารบริการประสบความสาเร็จได้ คอื การมบี ุคคลทีม่ ีจิตสานกึ ในการให้บรกิ ารและปรารถนาทจ่ี ะปรบั ปรุงการบริการ ทั้งน้เี นอ่ื งจาก การบรกิ าร เป็นกระบวนการ ของกจิ กรรมในการสง่ มอบบริการ จากผู้ให้บริการไปยังผู้รบั บริการไมใ่ ช่ สง่ิ ท่ีจับตอ้ งได้ชัดเจน แตอ่ อกมาในรูปของเวลา สถานท่ี รปู แบบ และท่ีสาคัญ เป็นส่ิงเออ้ื อานวยทาง จิตวทิ ยาให้เกิดความพงึ พอใจ ดังนัน้ จติ สานึกในการใหบ้ รกิ าร จึงเป็นกญุ แจสาคัญในการปรบั ปรุงการ บรกิ าร คาว่า “บรกิ าร” อาจนยิ ามได้ ดังน้ี “บริการ” คือ สิ่งทจ่ี บั สมั ผัส แตะต้องไดย้ าก และเส่ือมสญู สภาพไปไดง้ า่ ยบริการจะทาขนึ้ ทนั ที และส่งมอบใหผ้ ้รู บั บรกิ ารทนั ที หรอื เกอื บจะทันที การบรกิ าร ที่ตอ้ งทาทนั ที และตอ้ งเอือ้ อานวยทางจิตวทิ ยาให้เกดิ ความพงึ พอใจเช่นนี้ ผู้ใหบ้ ริการย่อมต้องมี จิตสานกึ ในการให้บรกิ ารอยตู่ ลอดเวลา พฤติกรรมการบรกิ ารท่ดี ี 4.2.1 เปน็ มิตร 4.2.2 จรงิ ใจ 4.2.3 เอื้อเฟอ้ื เอือ้ อาทรผมู้ ารบั บรกิ าร
31 4.2.4 ซือ่ สตั ย์ สะอาด โปรง่ ใส 4.2.5 รอบรู้ เชยี่ วชาญ 4.2.6 ใหเ้ กียรติผอู้ นื่ 4.2.7 สภุ าพ 4.2.8 กระฉบั กระเฉง คล่องแคลว่ 4.2.9 เอาใจเขามาใส่ใจเรา 4.2.10 ไม่เลอื กปฏิบัติ 4.2.11 รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ 4.2.12 พรอ้ มที่จะรบั การตรวจสอบ 4.2.13 ยุตธิ รรม เสมอภาค 4.2.14 คงเสน้ คงวา 4.2.15 ไม่ทุจริต ไม่ใช้อานาจในทางท่ีผดิ 4.3 การพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเอง หมายถงึ การสรา้ งสรรค์ความเจรญิ กา้ วหน้า จนเกิดการ เปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดขี ้ึน องคป์ ระกอบของการพฒั นาตนเองมี ดงั นี้ 4.3.1 ด้านพฤตกิ รรม (ภายใน) หมายถงึ การพฒั นาจติ ใจ เพือ่ ให้บุคคล มคี วามเจรญิ ศีล สมาธิ และปญั ญา จะไดน้ าปญั ญาไปใชใ้ นการพฒั นาส่ิงแวดล้อมด้านอนื่ ๆ ต่อไปอยา่ ง ถูกตอ้ ง เหมาะสม และเป็นธรรม 4.3.2 ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม (ภายนอก) หมายถึง การพฒั นาด้านทักษะความ สมั พนั ธ์กบั ภายนอก เช่น การทางานเป็นทีม ภาวะผ้นู า การประสานงาน การมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ และ การสร้างแรงจูงใจ วิธีการพัฒนาตนเอง ด้วยวิธีทางการเรียนรู้มีข้ันตอนดังน้ี ตรวจสอบเจตนารมณ์ ของตนเองท่มี ีตอ่ การเรียนรู้ว่าเป็นไปทางลบหรือทางบวก 1) ถ้าผลการตรวจสอบเป็นไปในทางลบ ต้องรีบเปล่ียนแปลงเจตนารมณ์ ของตนเองโดยเรว็ ทส่ี ุด 2) บอกกับตัวเองว่ายังสามารถท่ีจะเรยี นรู้เทคนคิ ใหม่ ๆ ได้ และยังเปิดใจ ยอมรับแนวคิดใหม่ ๆ นนั้ 3) วเิ คราะหห์ าจดุ อ่อนเกย่ี วกับการศึกษาหาความรู้ของตนเอง เชน่ (1) จุดอ่อนอยู่ทีก่ ารอ่านหรือการเขยี น (2) จุดอ่อนทางดา้ นคณิตศาสตร์หรอื ไม่ (3) จุดอ่อนในการเรียนรูเ้ ทคนคิ ต่าง ๆ หรอื ไม่
32 (4) จุดออ่ นในดา้ นการวางแผนระบบงานหรือไม่ พึงระลึกอยู่เสมอว่า ในการวางแผนเพื่อพัฒนาตนเองนั้น จะต้องมุ่งประเด็น ท่ีจะแก้ไขจุดอ่อนของตัวเอง โดยจะต้องรู้จักการวางแผนท่ีดีอย่างเป็นขั้นตอนและท่ีสาคัญ คือ จะต้องมีการตรวจสอบตวั เองอยูเ่ สมอวา่ ตวั เองกา้ วหน้าไปไดม้ ากน้อยแค่ไหน 4.4 การทางานเปน็ ทีม การทางานเปน็ ทีม คือ การท่ีบุคคลหลายคนกระทากิจกรรมร่วมกัน เพ่ือให้บรรลุ ผลสาเร็จ มีการแบ่งหน้าท่ีและความรับผิดชอบร่วมกัน มีความสัมพันธ์กัน และมีจุดประสงค์ หรือความคาดหวงั ร่วมกัน การทางานเป็นทีม เป็นวิธีท่ีดีในการดึงขีดความสามารถของบุคคล มาใช้ทีมที่มี สมรรถนะการทางานสูง ต้องมีความเชื่อถือ ไว้วางใจซึ่งกันและกันในระหว่างสมาชิกของทีม โดยมอี งค์ประกอบพ้ืนฐาน ของแนวความคิดเก่ยี วกบั ความไว้วางใจ 5 ประการ ดังนี้ 4.4.1 ความซอ่ื สตั ย์ (Integrity) : ความซอ่ื สัตย์และความจรงิ ใจ 4.4.2 ความสามารถ (Competence) : ความรแู้ ละทกั ษะทางเทคนคิ และ การส่ือสารระหว่างบคุ คล 4.4.3 ความคงเสน้ คงวา (Consistency) : ความไวว้ างใจได้ ความสามารถ คาดคะเนได้ ความสามารถในการใชว้ ิจารณญาณที่ดีในสถานการณ์ต่าง ๆ 4.4.4 ความจงรักภักดี (Loyalty) : ความเต็มใจท่ีจะปกปอ้ งและชว่ ยเหลือ บคุ คลใดบุคคลหนึง่ 4.4.5 ความเป็นคนเปิดเผย (Openness) : ความเตม็ ใจท่จี ะแลกเปลย่ี น ความคดิ และข่าวสารข้อมูลอยา่ งเต็มท่ี ทศั นะ 5 ประการน้ี มีการจดั ลาดับสาคญั โดย (1) ความซ่ือสัตย์จะมี ความสาคัญมากกว่าความสามารถ (2) ความสามารถจะมคี วามสาคัญมากกว่าความจงรักภกั ดี (3) ความจงรักภักดจี ะมีความสาคญั มากกวา่ ความคงเสน้ คงวา (4) ความคงเส้นคงวามีความสาคัญ มากกวา่ ความเป็นคนเปิดเผย ความซื่อสัตย์และความสามารถเป็น สิง่ สาคัญทส่ี ดุ ในการตดั สินใจเลอื ก บคุ คลที่มีความเชือ่ ถือไวว้ างใจใครคนใดคนหนึ่ง ความซอ่ื สัตย์ดูเหมอื นถกู ให้คะแนนสงู สุด เพราะวา่ คนท่ีปราศจากการรับรูใ้ นระบบคุณธรรมและไมม่ ีพื้นฐานแห่งความซ่อื สตั ย์แล้วก็จะไมเ่ กดิ ความเชอ่ื ถอื หรอื ไวว้ างใจตอ่ กนั 5. สมรรถนะประจาสายงาน สมรรถนะประจาสายงาน เปน็ คุณลักษณะเชิงพฤตกิ รรมที่ทาให้บคุ ลากรในองค์กร ปฏิบัติงานไดผ้ ลและแสดงคุณลกั ษณะพฤติกรรมไดเ้ ดน่ ชัดเปน็ รูปธรรม โดยคุณลักษณะเฉพาะสาหรับ สายงาน สมรรถนะประจาสายงาน ทส่ี ายงานการสอนตอ้ งมีและได้รับการพฒั นาให้สูงข้ึน
33 กรณวี ทิ ยฐานะครูชานาญการและวทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ มี 3 รายสมรรถนะ ดงั นี้ 5.1 การออกแบบการเรยี นรู้ ในการออกแบบการเรยี นรูค้ วรจะทาตามลาดับขั้นตอน ตั้งแตก่ ารกาหนดสาระการ เรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง การจัดทาคาอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียน แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหนว่ ย ทกุ ขั้นตอนของการดาเนนิ การควรกาหนดเปา้ หมายคุณภาพผู้เรยี น ท่ีเน้นการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประยุกต์ ริเร่ิม แลว้ ร่วมกบั ผูเ้ รียน คดั สรรกระบวนการ กิจกรรมการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลายสอดคลอ้ งกับ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั และสาระการเรียนรู้ และธรรมชาตขิ องผู้เรียน ทั้งนี้ ในการออกแบบกจิ กรรม ควรเน้นให้ผู้เรยี นได้เรียนร้จู ากประสบการณจ์ ริงเพ่อื สะทอ้ นถงึ ความสาเรจ็ และพัฒนาการที่แท้จรงิ ของผเู้ รียน รวมท้งั มกี ารประเมินปรับปรุงและพฒั นาการออกแบบการเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง จนกระทัง่ ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ตามท่ีคาดหวังโดยมเี อกสาร หลกั ฐานประกอบการปฏบิ ตั ิงาน เชน่ หลกั สูตร คาอธิบายรายวชิ า หนว่ ยการเรยี น แผนการจดั การเรียนรู้ เครือ่ งมอื วัดและประเมินผล ขอ้ มลู การ บันทกึ หลังการสอน ตัวอย่างผลงานนกั เรยี น เป็นต้น การจดั การเรียนร้โู ดยให้ผ้เู รยี นแสวงหา และค้นพบความรดู้ ว้ ยตนเองเปน็ รปู แบบ ของการจัดการเรียนร้ทู ี่มงุ่ เน้นใหผ้ ู้เรียนใช้กระบวนการสรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง โดยมีข้ันตอน การจัดการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน คอื ขน้ั นา ขน้ั ท่ี 1 จดุ ประกายความสนใจสร้างความรสู้ ึกอยากรูอ้ ยากเรียน ขนั้ สอน ขัน้ ท่ี 2 วางแผนกาหนดขอบเขตแนวทางการเรียนรู้ ขน้ั ที่ 3 ลงมือเรียนร้ตู ามแผน ขนั้ สรุป ขนั้ ท่ี 4 นาเสนอข้อมูลการเรียนรู้ สรปุ ความรู้ ข้นั ที่ 5 จดั ทาชน้ิ งานเพือ่ รายงานผลการเรยี นรู้ การนารปู แบบ “การจดั การเรยี นรโู้ ดยให้ผเู้ รยี นแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วย ตนเอง” ไปใช้ ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนร้โู ดยเลือกกระบวนการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้องสมั พนั ธ์ กับจุดประสงค์เนื้อหาสาระการเรยี นรู้ แลว้ ทาตามขั้นตอนใหค้ รบทกุ ขัน้ ตอน 5.2 การพฒั นาผเู้ รียน หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดใหม้ ี กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนซง่ึ เปน็ กิจกรรมท่ีจดั ใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ ประกอบด้วยกจิ กรรมแนะแนว และกิจกรรมนกั เรยี น
34 การพฒั นาผูเ้ รียน ตอ้ งมงุ่ พฒั นาองคร์ วมความเป็นมนษุ ย์ ของผเู้ รียนใหค้ รบทกุ ด้าน ทงั้ ร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์และสงั คม ให้เปน็ ผมู้ ีศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บวนิ ยั และมี คณุ ภาพ การพฒั นาผู้เรียน ครผู ู้สอนจะตอ้ งปลกู ฝังและสรา้ งจิตสานกึ อยา่ งมเี ปา้ หมาย มีรูปแบบและ วธิ กี าร ที่เหมาะสม ดงั น้ี 5.2.1 การปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แกผ่ เู้ รยี น การปลูกฝงั คุณธรรมให้เกิดในจิตใจของผู้เรยี น มใิ ช่สอนเนื้อหาเพือ่ รหู้ รือให้ อา่ นหรือทอ่ งจาเทา่ นน้ั แต่วา่ ผู้สอนจะต้องปลูกฝังคณุ ธรรมทัง้ หลายให้แกผ่ ู้เรียน โดยเน้นให้เหน็ ความ ดงี าม ทจี่ ะปฏิบัติและให้มีการปฏิบัติจริงอยา่ งสม่าเสมอ จนปฏบิ ัตไิ ด้เป็นนิสยั การสอดแทรกคุณธรรมในกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถทาไดท้ กุ กลุ่มสาระ การเรียนรแู้ ละทกุ สถานการณ์ สว่ นการฝึกฝนอบรมใหเ้ กดิ ลักษณะนิสยั และคุณธรรม ทตี่ ้องเนน้ การปฏิบัติ การติดตาม ชี้แนะ แกไ้ ข ปรับปรงุ อยู่ตลอดเวลา รวมทัง้ ใชว้ ิธีการหลาย ๆ อย่าง 5.2.2 การพฒั นาทักษะชีวติ สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ของผเู้ รยี น ในการจัดการเรยี นรูน้ อกจากจะใหค้ วามสาคัญตอ่ การพัฒนาดา้ นวิชาการ แลว้ ครผู ู้สอนต้องให้ความสาคัญในด้านการพัฒนาทักษะชวี ิต สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตของผู้เรียน ควบคกู่ นั ไปดว้ ย เพราะจะทาให้ผู้เรยี นมีบคุ ลิกภาพในการปรับตัวและแก้ปญั หาได้ สง่ ผลให้ผู้เรยี นเกดิ ความมัน่ ใจในตนเอง การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิตของผู้เรียนนั้นจาเป็นอย่างย่ิง ท่ีครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในตัวผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับเพศ และวยั รวมท้ังช่วยเสริมสรา้ งสขุ ภาพจติ ท่ดี ี 5.2.3 การปลูกฝังการเป็นประชาธิปไตย และความภาคภูมิใจในความเป็นไทยให้กับ ผเู้ รยี น กล่าวกนั วา่ ทกุ วนั นี้คนไทยมีการถดถอยในการเป็นประชาธิปไตย และขาดความ ภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย สภาพของคน และภาวะของสงั คม อยใู่ นวงั วนของความสับสนวุ่นวาย วถิ ี ชีวติ ประชาธิปไตย ท่ีเคยเพียบพรอ้ มดว้ ยปัญญาธรรม คารวะธรรม และสามคั คีธรรม ถูกกลบกลืนโดย กระแสโลกาภวิ ตั น์ ท่เี ออ่ ล้นดว้ ยวัตถุนยิ มและบรโิ ภคนิยม วิกฤติดงั กล่าวข้างต้นมีทางออก คอื การปลูกฝงั การเป็นประชาธิปไตย และความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทยใหก้ ับผูเ้ รยี นโดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1) ให้ความรู้ความถูกตอ้ งแกผ่ ู้เรียนในเรอื่ งสทิ ธแิ ละหน้าท่ี รวมทง้ั การสร้าง จิตสานกึ ความเปน็ ประชาธปิ ไตยและความเปน็ ไทย 2) จัดกิจกรรมและนานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาประชาธิปไตย และเสริมสรา้ งความเปน็ ไทย
35 5.3 การบรหิ ารจดั การชนั้ เรียน ในการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนใหม้ ีคุณภาพและได้มาตรฐาน ครูควรพฒั นาระบบ การบรหิ ารจัดการ และดาเนนิ การให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพในการ จัดการชั้นเรียนมี 3 ขอ้ สาคัญ ดงั น้ี 5.3.1 การจัดบรรยากาศการจดั การเรียนการสอน ครผู ูส้ อนควรจัดบรรยากาศ การเรียนการสอนให้มคี วามยดื หย่นุ ในห้องเรียน ควรมปี ้ายนเิ ทศ สือ่ การเรยี นการสอน มุมวิชาการ เพอื่ ใช้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นช่วยเหลือเก้อื กูลกนั เน้นการมปี ฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ีระหว่างครูกบั ผ้เู รยี น เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นและมคี วามสขุ 5.3.2 การจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศและเอกสารประจาช้ันเรียน / ประจาวชิ า ข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจาชั้นเรียน/ประจาวิชา มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้รับผิดชอบจะต้อง ดาเนินการ โดยจาแนกข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นและเอกสารประจาชนั้ เรียนประจาวิชา จัดทาระบบข้อมูลและ เอกสารประจาช้ันเรียน ประจาวิชา อย่างเป็นระบบให้มีความถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน และ สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ 5.3.3 การกากบั ดแู ล ชัน้ เรยี น / ประจาวิชา ชนั้ เรียนต่าง ๆ ควรมีการสร้าง ข้อตกลงในการอย่รู ว่ มกนั เพือ่ ให้ผเู้ รียน ได้เรียนรอู้ ย่างมศี ักยภาพ ครตู อ้ งกากับ ดแู ล การปฏิบัติของ ผเู้ รยี น ใหเ้ ป็นไปตามข้อตกลง และปรบั พฤตกิ รรมผเู้ รียน ใหเ้ รยี นรว่ มกนั ได้อยา่ งราบรืน่ และเปน็ สขุ จากข้อความดงั กล่าวขา้ งตน้ สามารถสรุปไดว้ า่ สมรรถนะประจาสายงาน เป็นคุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมที่ทาให้บคุ ลากรในองคก์ รปฏิบตั ิงานไดผ้ ล และแสดงคณุ ลกั ษณะ พฤติกรรมได้เด่นชดั เป็นรปู ธรรม ทจ่ี ะตอ้ งทาตามข้ันตอนต้งั แต่การออกแบบการเรยี นรู้ การพัฒนา ผู้เรียน การบริหารการจัดการช้ันเรียน โครงการ โครงการ เปน็ คาทไ่ี ดย้ ินและรจู้ ักของบุคคลทัว่ ไป หน่วยงานทางราชการ และหนว่ ยงานทาง ธุรกจิ โครงการเปรยี บเสมือนแผนท่ีการเดินทางทเ่ี ดินไปส่เู ปา้ หมายในเวลาทีร่ วดเร็ว และเหมาะสม ผูป้ ระเมินโครงการ นอกจากจะมคี วามรเู้ กีย่ วกับหลกั การและวิธีการประเมนิ แลว้ ต้องมคี วามรู้ รู้จกั และร้รู ายละเอยี ดของโครงการทป่ี ระเมนิ ด้วย จะทาให้การประเมินนั้นไดส้ ารสนเทศทถี่ กู ต้องและเกิด ประโยชนส์ งู สดุ ความหมายของโครงการ ความหมายของโครงการ (Project) ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑติ ยสถาน. 2546 : 270) โครงการ หมายถึง แผนหรอื เค้าโครงทีก่ าหนด สุพกั ตร์ พิบูลย์
36 และกานดา นาคะเวช (2545 : 117) ได้ให้ความหมายของโครงการว่า เป็นกล่มุ กิจกรรมท่ีเห็นว่าเป็น ทางเลือกในการยกระดบั คุณภาพ ท่ไี ด้รบั การคดั สรรแลว้ เหมาะสมและเกิดประโยชนส์ ูงสุด กลา่ วโดยสรุป โครงการ หมายถึง กลุ่มกิจกรรมที่กาหนดไว้ล่วงหน้าอยา่ งเปน็ ระบบ เม่อื นาไปสงู่ การปฏบิ ัติแล้ว น่าจะเกดิ เปน็ ประโยชน์สงู สดุ ลักษณะของโครงการ เยาวดี รางชยั กุล (2546 : 80 - 81) ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะโครงการวา่ โครงการมี องค์ประกอบทส่ี าคญั 4 ประการคือ โครงการต้องกาหนดระยะเวลาส้ินสดุ มีกจิ กรรมที่ซบั ซอ้ น สนองนโยบายหรือวัตถุประสงคโ์ ครงการ เมือ่ สิ้นสุดแลว้ จะไม่มี การทากจิ กรรมซา้ อีก สว่ น ณรงค์ นันทวรรธนะ (2547 : 132 – 133) ไดก้ ลา่ วถึงลักษณะโครงการทด่ี ี ควรมีลักษณะ 8 ประการดังน้ี 1. สนองตอบความต้องการของประชาชนหรอื ผูร้ ับบรกิ าร 2. สามารถแกป้ ัญหา พัฒนาองค์กรหรือหนว่ ยงานได้ 3. มีรายละเอียดของวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายชัดเจน และมีความเปน็ ไปได้สูง 4. สาระของโครงการมคี วามเก่ยี วเนือ่ งสัมพนั ธ์กนั เช่น วัตถุประสงคส์ อดคลอ้ งกบั ปญั หา กจิ กรรมหรือวิธีการดาเนนิ งานสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ เป็นต้น 5. มรี ายละเอยี ดโครงการเพยี งพอ เขา้ ใจง่าย และสามารถนาโครงการส่กู ารปฏบิ ัตไิ ด้ สะดวก 6. มรี ะยะเวลาแนน่ อนในการดาเนนิ งานทง้ั เริ่มตน้ และสิ้นสุด 7. ไดร้ บั การสนบั สนุนจากฝ่ายบรหิ าร 8. สามารถตดิ ตามประเมนิ ผลได้ จากที่กล่าวมาสรุปได้วา่ ลักษณะโครงการทดี่ จี ะต้องจดั ทาข้นึ จากข้อมูลความเป็น จรงิ ซงึ่ ผ่านการวิเคราะห์แลว้ และสนองความตอ้ งการของประชาชนได้ มรี ายละเอียดวตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายทชี่ ัดเจน มคี วามเชื่อมโยงกันสมั พันธ์กนั ของวตั ถุประสงค์กับกจิ กรรม และไดร้ บั การ สนับสนุนจาก ผู้บรหิ ารของหน่วยงานรวมท้งั มีทรพั ยากรท่ีเหมาะสมและเพยี งพอ ขนั้ ตอนการจัดทาโครงการ มยรุ ี อนุมานราชธน (2546 : 24-26) ได้สรปุ ขนั้ ตอนการจัดทาโครงการไว้ 4 ขัน้ ตอน คอื 1. ขนั้ การศึกษาความเป็นไปไดใ้ นเบือ้ งตน้ และศึกษาความเป็นไปได้ ซ่ึงจะศึกษาเกีย่ วกับ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความพร้อมทรัพยากร แหล่งทุนต่าง ๆ ท่ีจะใช้ในโครงการและ วิเคราะห์ ความเป็นไปได้ทั้ง 6 ด้าน ตั้งแต่ด้านการตลาด จนกระท่ังด้านส่ิงแวดล้อม เพื่อตัดสินว่า โครงการมีความเปน็ ไปได้ในการนาสู่การปฏิบตั เิ พียงใด 2. ข้นั ออกแบบโครงการ เม่อื ผลท่เี สนอการศึกษาความเป็นไปไดแ้ ละตดั สนิ ใจให้ดาเนนิ โครงการแล้ว ก็จะนาขอ้ เสนอมากาหนดรายละเอียดตา่ ง ๆ ของโครงการ เชน่ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
37 ขอบเขต วิธดี าเนนิ การ งบประมาณ พน้ื ทีร่ ะยะเวลา ฯลฯ ตามองค์ประกอบของโครงการทก่ี ลา่ วมา ข้างต้น 3. ขั้นการจัดทาเปน็ การดาเนนิ งานตามที่ไดอ้ อกแบบโครงการไว้ ซึ่งอาจมกี ารปรับ เปลี่ยนให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ โดยมรี ะบบบริหารตามสายงานตา่ ง ๆ หรอื จัดตั้งองค์กรท่ี รับผิดชอบเฉพาะ เพ่อื กากับควบคมุ ติดตาม จดั ทาโครงการใหเ้ ป็นไปตามแผนหรอื การออกแบบ โครงการ 4. ขนั้ ยตุ ิโครงการหรือรเิ ร่ิมโครงการใหม่ เป็นขั้นตอนที่ครบระยะเวลาตามกาหนด โครงการ ซ่งึ การยุติหรอื เริม่ โครงการใหม่หรอื ไมข่ นึ้ อยกู่ บั ผลการประเมนิ โครงการนนั่ เอง โดยผู้บริหาร ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการที่มอี านาจตดั สนิ ใจนาสารสนเทศ จากการประเมนิ ตดั สินใจว่าจะยุตหิ รือเร่มิ โครงการใหม่ หรือปรบั เปลีย่ นใหเ้ หมาะสมอย่างไร ดงั นั้นในขนั้ ตอนนี้จงึ มักจะเรียกวา่ การประเมนิ ผล โครงการ องคป์ ระกอบของโครงการ พิษณุ ฟองศรี (2549 : 161 - 162) ไดก้ ลา่ วถึงองคป์ ระกอบของโครงการไวด้ งั น้ี 1. ชื่อโครงการ ตอ้ งเขียนชดั เจนวา่ ตอ้ งการทาอะไร แกใ่ คร ทไ่ี หน เชน่ “โครงการ ฝกึ อบรมซอ่ มคอมพิวเตอรแ์ กน่ ักศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ...” “โครงการประเมินเชิงปฏบิ ัติการการเขยี นเคา้ โครงการวิจัยชั้นเรียนสาหรับคร.ู ..” เป็นตน้ 2. หน่วยงาน / ผู้รับผิดชอบ ต้องระบไุ ว้ชดั เจน เพอื่ สะดวกในการตดิ ต่อประสาน ถ้าเป็นกลุ่มควรระบหุ ัวหนา้ โครงการและผรู้ ่วมโครงการด้วย 3. ระยะเวลาดาเนินโครงการ ตอ้ งระบุเวลาเริ่มต้นและสน้ิ สุด 4. หลักการและเหตุผล ควรกล่าวถงึ ความเป็นมาและความจาเป็นทีต่ อ้ งดาเนนิ โครงการ ถ้าไมด่ าเนนิ โครงการจะสง่ ผลเสียหายหรือทาใหก้ ารพฒั นาหยดุ ชะงักไดอ้ ยา่ งไร 5. วัตถปุ ระสงค์ ตอ้ งเขยี นผลทไ่ี ดอ้ ย่างชดั เจน ทีส่ าคัญคือต้องสามารถวัดได้ รวมทงั้ สอดคลอ้ งกบั กิจกรรม เปา้ หมาย และชือ่ โครงการดว้ ย 6. เปา้ หมาย ต้องระบอุ ย่างเปน็ รปู ธรรม และถ้าเป็นเชิงปรมิ าณไดจ้ ะยิ่งดี รวมทง้ั ต้องสอดคล้องกบั วัตถุประสงคแ์ ละกจิ กรรม 7. สถานท่ีดาเนนิ งาน ระบสุ ถานท่ีดาเนนิ โครงการจากเล็กไปหาใหญ่ เช่น จาก โรงเรยี น หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวดั เปน็ ตน้ 8. วธิ ีดาเนนิ งาน ในสว่ นน้ีอาจเรียกวา่ แผนการดาเนนิ งานซ่ึงมกั จะเขยี นในรูปตาราง ดังที่เห็นกันทั่วไป โดยมีสาระสาคัญๆ ดังนี้ 8.1 วธิ กี ารเขยี นให้เหน็ กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงานอยา่ งเปน็ ลาดบั ระบุ แนวทางและวธิ ีการโดยละเอียด โดยสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์และกจิ กรรม
38 8.2 ระยะเวลา เปน็ ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรมยอ่ ย 8.3 สถานท่ี เปน็ สถานท่ีของแต่ละกิจกรรมยอ่ ย 8.4 ผู้เกีย่ วขอ้ ง ระบผุ ู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายตามกิจกรรมย่อย 9. งบประมาณ ระบุงบประมาณทั้งหมดและแหลง่ ท่ีมา รวมท้ังแบง่ เป็นหมวดๆ ตาม เกณฑท์ ่ีหน่วยงานหรือตน้ สังกดั กาหนด 10. การติดตามประเมนิ ผล ควรระบปุ ระเดน็ ท่สี าคัญๆ เชน่ ประเมนิ ประเด็นสาคญั อะไรบา้ ง ประเมินโดยใคร ใชร้ ปู แบบหรอื แนวทางอยา่ งไร เครือ่ งมอื เกบ็ ขอ้ มูลเปน็ แบบใด เปน็ ต้น 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ต้องระบใุ หช้ ดั วา่ เม่ือถงึ เวลาที่กาหนดจะเกดิ ประโยชน์ อะไรบา้ ง ทง้ั ประโยชน์หรอื ผลทไี่ ด้โดยตรงและโดยออ้ ม 12. ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของโครงการ โครงการในปัจจุบันหนว่ ยงานหรือตน้ สงั กดั มักจะกาหนดใหผ้ รู้ บั ผิดชอบโครงการระบุตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ โดยอาจระบุตวั ชี้วดั ใน ลกั ษณะผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ หรือระบุในลักษณะงบประมาณ เวลาผลท่ไี ด้ เป็นตน้ 13. อื่น ๆ นอกจากองคป์ ระกอบทัง้ 12 ขอ้ ดงั ทก่ี ลา่ วแลว้ บางหน่วยงานอาจ กาหนดให้มีองคป์ ระกอบอ่นื ๆ ไดด้ ว้ ย เชน่ โครงการอยใู่ นแผนงานใด เปน็ โครงการใหมห่ รอื ต่อเนื่อง เปน็ โครงการอิสระหรือตอ้ งประสานกับโครงการใด หนว่ ยงานใดบา้ ง เปน็ ต้น ซึ่งจะใหร้ ายละเอยี ดแก่ ผู้วเิ คราะห์ได้มากข้นึ ประสทิ ธภิ าพ แนวคิดเกย่ี วกบั ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน แนวคดิ เกยี่ วกบั ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน ผู้รายงานไดน้ าเสนอตามลาดบั หัวข้อ คอื ความหมายของประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านและปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่อประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน นกั วชิ าการได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพไว้มากมาย แต่สามารถสรปุ ได้เป็น 2 มติ ิ คอื ความหมายเชงิ เศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซ่ึงมรี ายละเอียด ดงั นี้ 1.1 ความหมายเชงิ เศรษฐศาสตร์ กษริ า วงศส์ วุ รรณ (2560 : 198) กลา่ วว่า ประสิทธิภาพ หมายถงึ ความสามารถ ในการใชท้ รพั ยากรใหบ้ รรลเุ ป้าหมายที่ต้องการ โดยพิจารณาจากความสามารถ ในการแปรรูปปจั จัย นาเขา้ (Inputs) ใหเ้ ปน็ ผลลัพธ์ในปริมาณท่ีต้องการ ซงึ่ มักจะพิจารณาเปรียบเทียบเปน็ รอ้ ยละ โดยนา ร้อยไปคณู กบั อัตราสว่ นระหวา่ งผลลพั ธท์ เี่ กิดขึ้น ต่อปจั จยั นาเข้าที่ใช้ไป ซงึ่ สามารถแสดงได้ดงั สมการ ตอ่ ไปนี้
39 ประสทิ ธภิ าพ = (ผลลพั ธ์ / ปัจจยั นาเข้า) x 100 เปอรเ์ ซ็นต์ เอลมอร์ ปีเตอร์สนั และอี กลอสวนี อร์ พลอแมน (Elmore Petreson and E. Grosvenor Plawman) 1953 : 433 อ้างถงึ ใน นาซฟี ะ เจะ๊ มูดอ. 2560 : 10) กล่าวว่า ประสทิ ธภิ าพ หมายถงึ ความสามารถ ในการผลิตสินค้าหรือบริการในปรมิ าณและคุณภาพท่เี หมาะสมและต้นทนุ น้อยท่สี ุด โดยคานึงถงึ องคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ ต้นทุน คณุ ภาพ (Quality) ปริมาณ (Quantity) เวลา (time) วิธีการ (method) ในการผลติ กล่าวโดยสรุป แนวคิดในเรื่องประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐศาสตร์ หมายถงึ การผลติ สินคา้ หรอื บริการใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ โดยใชต้ น้ ทุนน้อยทส่ี ุดประหยดั เวลามากทีส่ ดุ 1.2 ความหมายเชงิ สังคมศาสตร์ สุธารัตน์ ศรีวาลัย (2560 : 198) กล่าวว่าประสิทธิภาพ หมายถึง กิจกรรม ทางด้านการบริหารบุคคลที่เก่ียวข้องกับวิธีการ ซ่ึงหน่วยงานพยายามท่ีจะกาหนดให้ทราบแน่ชัดว่า พนักงานของตนสามารถปฏบิ ัตงิ านไดม้ ีประสทิ ธิภาพมากนอ้ ยเพียงใด นิรุสณา เจะ๊ บู (2560 : 86) กล่าวว่า ประสิทธภิ าพการบริหารงาน จะเป็น เคร่ืองช้วี ัดความเจริญกา้ วหนา้ หรือความลม้ เหลวขององคก์ ร ผูบ้ รหิ ารท่เี ชี่ยวชาญ จะเลือกการ บริหารที่เหมาะสมกับองคก์ รของตน และนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ กล่าวโดยสรุป แนวคิดในเร่ืองประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ในเชงิ สงั คมศาสตร์ หมายถึง กจิ กรรมการบรหิ ารบุคคลท่พี ิจารณาถงึ ความพยายาม ความพรอ้ ม ความสามารถ ความคล่องแคล่วในการปฏบิ ตั ิงานใหส้ าเรจ็ และผลสุดทา้ ยคอื ความพึงพอใจของ ผรู้ บั บริการหรือการบรรลวุ ัตถุประสงค์ทต่ี ้งั ไว้ 2. ปัจจัยท่ีมอี ทิ ธิพลต่อประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน ดบู ริน และไอรแ์ ลนด์ (Dubrin and Ireland, 1993 อ้างถึงใน เสาวนีย์ ตาดา (2560 : 200) กล่าววา่ ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการปฏิบตั ิงานที่ไม่ดี (Factors Contributing to Performance) สามารถ แยกพจิ ารณาเปน็ 2 กลุม่ 2.1 ปัจจัยด้านบุคคล (Individual Factors) เป็นปัญหาท่เี กิดขึ้นจากความบกพร่อง ของบุคคล ซ่ึงประกอบด้วยปัจจยั ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ 2.1.1 ความสามารถทางสมองจากัด ถ้าบุคคลมีความสามารถทางสมองต่า จะทา ให้การพฒั นาความสามารถในการปฏิบัตงิ านที่ใช้ความคดิ ยาก ดังนนั้ นอกจากการฝึกอบรม ทกั ษะการ ปฏิบัติงานตามปกติแล้ว แต่ละองค์กร ยังตอ้ งส่งเสรมิ ให้บคุ คลพฒั นาทักษะทางคณติ ศาสตร์ ทาง ภาษา และการอา่ น เพ่ือให้พนกั งานพฒั นาสมองอย่างตอ่ เนื่อง
40 2.1.2 ขาดความรู้ในงาน ซ่ึงเกิดจากขาดความรู้พ้ืนฐาน ท่ีจะนามาใช้ในการปฏิบัติงาน การฝกึ อบรมที่ไม่เพยี งพอ และการขาดประสบการณ์ 2.1.3 การจงู ใจหรอื จรยิ ธรรมในงานต่า ทาใหพ้ นกั งานขาดความสนใจ และไมใ่ ช้ ความพยายามในการปฏิบัติงาน ผลคือ คุณภาพและมาตรฐานของผลงานไม่เป็นไปตามกาหนด 2.1.4 ความเครียดในงาน อาจเกิดจากสาเหตตุ ่าง ๆ เช่น ประเภทของงาน ปริมาณงาน ความมนั่ คงในงาน หรอื สภาพแวดลอ้ มในการทางาน ซ่ึงความเครยี ดท่ีสูงตอ่ เนอ่ื งจะมอี ันตรายต่อ สขุ ภาพทง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจ 2.1.5 การหมดไฟในการทางาน เกดิ จากความเหนื่อยล้าท้งั ทางกายภาพและจิตใจ เนื่องจากการทางาน เปน็ ระยะเวลานาน 2.1.6 ความล้าสมัย เน่อื งจากการเปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ ของเทคโนโลยี และเศรษฐกจิ ทาให้ความรู้ทกั ษะและประสบการณ์ในอดตี ของพนกั งานขาดความเหมาะสม 2.1.7 ขอ้ จากัดทางกายภาพ เชน่ การมองเหน็ การไดย้ ิน การพิการทางร่างกาย และ โรคตดิ ตอ่ บางประเภท สง่ ผลต่อความสามารถในการปฏิบัตงิ านของบคุ คล 2.1.8 การตดิ สรุ าหรือยาเสพติด การดมื่ สุราและการใชย้ าเสพตดิ ส่งผลให้บุคคลขาด ความตง้ั ใจในการทางาน ตดั สินใจผดิ เกิดอุบัตเิ หตุและขาดงาน 2.1.9 การติดบุหร่ี กอ่ ให้เกิดตน้ ทนุ เรือ่ งการจดั สถานท่ี การสูญเสยี เวลางาน ตลอดจนสรา้ งความราคาญและรบกวนบคุ คลอื่น 2.1.10 การมปี ญั หาทางอารมณ์และบคุ ลกิ ภาพแปรปรวน เกิดจากความเครยี ด และความขัดแย้งภายในจติ ใจของบุคคล ซง่ึ ทาให้เกิดอาการตา่ ง ๆ เชน่ จิตหลอน ความกลัดกล้มุ ความกงั วล ความซมึ เศรา้ และความกา้ วร้าว เป็นต้น 2.1.11 บคุ คลท่ีเขา้ ใจยาก เป็นลักษณะของบุคคลบางคน ทไ่ี ม่ไดม้ ีปัญหาทางจิตใจใน ระดับที่รุนแรงเพยี งแต่ มบี ุคลกิ ภาพท่ีแตกต่าง เพื่อเรยี กร้องความสนใจ ซึ่งอาจจะสร้างความราคาญ หรือปญั หาในการทางานรว่ มกนั 2.1.12 ปญั หาสว่ นบคุ คลและปญั หาครอบครัว อิทธิพลโดยตรงตอ่ การปฏบิ ัติงานของ บุคคล การทางาน กิจกรรมทางสังคม และการใช้ชีวติ ส่วนตัว ซ่งึ แยกกนั ไมไ่ ด้เด็ดขาด ดังนน้ั เม่ือส่วน ใดสว่ นหน่ึงของชีวิต เกดิ ปัญหาก็สง่ ผลกระทบตอ่ สว่ นอืน่ ของชวี ติ เช่นกนั 2.1.13 ความเฉอ่ื ยชาอาจเกิดจากความไม่พอใจในงาน ความเครียด ตดิ การพนนั หรอื ยาเสพติด 2.1.14 ความสัมพนั ธ์ชู้สาวระหวา่ งเพื่อนร่วมงานเชน่ ผจู้ ัดการกบั ลูกน้อง อาจส่งผล ต่อการปฏิบตั ิงานรว่ มกบั พนักงานคนอนื่ การใชเ้ วลาในท่ีทางาน คุณธรรมในการประเมินผลงาน และ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244