Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-61พนัสนิคม

SAR-61พนัสนิคม

Published by 420st0000051, 2021-02-26 11:53:32

Description: SAR-61พนัสนิคม

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) ปงี บประมาณ 2561 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นิคม สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดชลบุรี สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับ สถานศึกษาที่จดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่อี าศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซึ่งกำหนดให้ สถานศึกษาต้องดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด 2) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี 3) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี 4) จดั ให้มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา 5) จัดใหม้ กี ารประเมินคุณภาพ ภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี 7) เสนอรายงานการ ประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน 8) นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและภาคีเครอื ข่าย 9) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ10) ยึดหลักการมี ส่วนร่วมของสถานศกึ ษา บคุ ลากรทกุ คนในสถานศกึ ษา ภาคีเครือข่าย และผรู้ บั บรกิ าร ในการนี้ เพื่อเป็นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม จึงได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม โดยคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัตกิ าร ประจำปรี ว่ มกบั ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และสอบทานขอ้ มูลจากผปู้ ฏิบตั ิงาน คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และร่วมกันกำหนดแนวทางการพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาตอ่ ไป (นางณัชธกัญ หม่ืนสา) ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม 18 ตลุ าคม 2561

ข คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2560 ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ถึงวันที่ 18 ตุลาคม 2561 และจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ 2561 เสร็จสน้ิ เรยี บรอ้ ยแล้ว ลงชอื่ ............................................................ประธานคณะกรรมการ (นางณัชธกญั หมน่ื สา) ลงชอื่ .............................................................กรรมการ (นางสาวณฐั วรรณ เลอื ดสงคราม) ลงชอ่ื ............................................................กรรมการ (นายธีรพงศ์ เขยี วหวาน) ลงช่อื ...........................................................กรรมการ (นางสาวณัฏฐา เนาว์อุดม) ลงชื่อ...........................................................กรรมการ (นางสาวนติ ยา น้ำฟา้ ) ลงชอื่ ...........................................................กรรมการ (นางสาวชลติ ดา ใจพรหม) ลงช่ือ...........................................................เลขานุการ (นางสาวมุทกิ า การงานดี)

ค ทง้ั นี้ คณะกรรมการสถานศึกษาไดร้ ับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปน็ ท่ีเรยี บร้อยแลว้ และหวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ สถานศึกษาจะนำข้อมูลผลการประเมนิ นีไ้ ปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาต่อไป ลงชื่อ..........................................ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายสมดุลย์ ทำเนาว์) วนั ท่ี 18 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2561

สารบญั ง คำนำ หนา้ สารบัญ บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร และข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา ก บทที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ค บทท่ี 2 ทิศทางและผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ง บทท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเอง 1 35 ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน 51 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน/ผรู้ ับบรกิ าร มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ รกิ าร 51 มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา 100 บทที่ 4 สรุปผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 121 การสรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 128 สรุปผลการวิเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพ่อื การพฒั นา 128 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 129 ภาคผนวก 131

จ ง บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนิคม 18/1 หมู่ที่ 1 ตำบลบา้ นช้าง อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ชลบุรี สังกัดสำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ซ่งึ จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน การศึกษาต่อเนือ่ ง และการศึกษาตาม อัธยาศยั โดยมีบคุ ลากรจำนวน 33 คน มผี ้เู รียนนักศึกษาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 จำนวน 1,265 คน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 จำนวน 1,173 คน ผู้เรียนการศึกษาตอ่ เน่ือง จำนวน 4,716 คน ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาได้ดำเนินการประเมินคณุ ภาพการจดั การศึกษา ของสถานศึกษา ต้งั แต่วันท่ี 30 เดอื น สงิ หาคม ถงึ วันที่ 18 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2561 ซึง่ จากการประเมิน คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมิน ไดด้ ังน้ี ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เทา่ กับ 74.50 คะแนน ซง่ึ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี และเม่ือพิจารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน/ผูร้ ับบรกิ าร มคี ะแนนรวม เทา่ กับ 25.00 คะแนน ซ่งึ อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ 34.00 คะแนน ซึ่งอยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การการศึกษา มคี ะแนนรวม เท่ากบั 15.50 คะแนน ซ่งึ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี ตามรายละเอยี ด ดงั นี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี น้ำหนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1คณุ ภาพของผู้เรียน/ผูร้ บั บริการ 35 25.00 ดี การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ตวั บง่ ช้ที ี่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมีคุณธรรม 5 4.00 ดี ตวั บ่งชีท้ ่ี 1.2 ผ้เู รียนการศึกษาข้นั พื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการ แสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการ ดำรงชวี ิต 5 3.50 ดี ตัวบ่งชที้ ี่ 1.3 ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานมีความรพู้ นื้ ฐาน 5 3.00 พอใช้ การศกึ ษาต่อเนอื่ ง

ฉ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนท่ีได้ ระดบั ตวั บ่งช้ที ่ี 1.4 ผเู้ รยี นหรือผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะ ในการประกอบอาชีพ 5 คณุ ภาพ ตวั บ่งชท้ี ี่ 1.5 ผูเ้ รยี นหรือผ้เู ขา้ รับการอบรมปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 5 4.00 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผเู้ รียนหรือผูเ้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ ง 5 เหมาะสม 4.00 ดี 5 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 45 3.00 พอใช้ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.7 ผู้รบั บริการได้รับความร้แู ละ/หรือประสบการณจ์ ากการเขา้ ร่วม กิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5 3.50 ดี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ รกิ าร 5 34.00 ดี การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 5 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.1 คณุ ภาพครูการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 5 4.00 ดี ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา 3.50 ดี ตวั บ่งชที้ ี่ 2.3 คณุ ภาพสอื่ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 5 3.50 ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.4 คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา 5 4.00 ดี การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 5 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.5 คณุ ภาพวทิ ยากรการศึกษาต่อเนอ่ื ง 4.00 ดี ตวั บ่งชีท้ ่ี 2.6 คณุ ภาพหลักสตู รและสอื่ การศกึ ษาต่อเนื่อง 5 3.50 ดี ตวั บ่งชีท้ ่ี 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตอ่ เนือ่ ง 5 4.00 ดี การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 20 ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.8 คุณภาพผ้จู ดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4.00 ดี ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 5 3.50 ดี มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหารจดั การการศกึ ษา 5 15.50 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 และหลกั ธรรมาภบิ าล 4.00 ดี ตัวบ่งช้ที ่ี 3.2 การสง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศึกษาของภาคเี ครือข่าย 4.00 ดี ตัวบ่งชท้ี 3่ี .3 การมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา 4.00 ดี

ช มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ นำ้ หนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา คะแนนท่ีได้ ระดับ รวม คุณภาพ 5 3.50 ดี 100 74.50 ดี ทงั้ นี้ จากการวิเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่อื การพฒั นาการศึกษาสามารถสรุปจุดเด่น จุดท่คี วรพฒั นา และวิธปี ฏิบัติท่ดี ี หรือนวตั กรรมหรือตัวอย่างที่ดี หรือตน้ แบบของสถานศกึ ษา ได้ดงั น้ี สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพอื่ การพฒั นา จุดเดน่ 1. สถานศึกษาได้จดั กระบวนการเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนทห่ี ลากหลาย โดยสอดแทรก กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกดิ คณุ ธรรมในเรือ่ งความสามัคคี ความซ่ือสตั ย์ ความมนี ้ำใจ ความกตัญญูกตเวที ขยนั มีวินยั ความสะอาด สุภาพ ประหยัด เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนอยู่ในครอบครัว ชมุ ชน สังคม ได้อยา่ งมีความสขุ และ มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี 2. สถานศกึ ษาจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ารจัดกระบวนการเรยี นรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึง่ เป็น กระบวนการ จัดการเรยี นรู้ ทจ่ี ัดข้ึนอยา่ งเป็นระบบ ตามปรัชญา “คิดเปน็ ” ม่งุ พัฒนาผู้เรยี นสู่ความเปน็ คน “คิดเป็น” โดยเนน้ พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้และสร้างองคค์ วามรู้ สำหรบั ตนเอง และชุมชน 3. สถานศึกษาได้เชญิ วทิ ยากรตรงตามสาขาวิชามาสอนปรบั พืน้ ฐานผเู้ รียนในชว่ งตน้ ภาคเรยี น และสอนเสริม ใหผ้ เู้ รยี นในชว่ งปลายภาคเรียน เพือ่ เพ่มิ ผลสัมฤทธท์ิ างการศกึ ษาของผเู้ รยี น 4. สถานศึกษาจัดการศึกษาต่อเนอื่ งท่หี ลากหลายสอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รยี น/ ผ้รู ับบรกิ าร และ ชุมชน จดั กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ทำใหผ้ ู้เรียน/ผรู้ ับบรกิ าร นำความรู้ ไปใช้ประโยชนใ์ น ชีวิตประจำวัน ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรอื ประกอบอาชพี หรือพัฒนาต่อ ยอดอาชีพ หรอื เพ่ิม มลู คา่ ของสนิ ค้า หรือบริการ 5. สถานศึกษา ไดด้ ำเนนิ การจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั โดยหอ้ งสมดุ ประชาชน“เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ให้บริการต่าง ๆ หลากหลายกจิ กรรม ท้ังภายใน ภายนอกหอ้ งสมดุ ร่วมกบั กศน.ตำบล ใหบ้ ริการในชุมชน ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ี กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน บ้านหนังสือชมุ ชน เพอ่ื สง่ เสริมการ อ่านของประชาชน อันจะนำไปสกู่ ารอ่านเพอ่ื การเรยี นรู้ 6. ครูการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั มงุ่ ให้ผูเ้ รยี น/ผู้รบั บรกิ ารมีทักษะการคิด การตดั สนิ ใจ เรียนรู้ จากการฝกึ ปฏิบัติ สามารถ นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั หรือนำไปประกอบอาชีพไดจ้ ริง โดยใชก้ ารจัด กระบวนการเรยี นรู้แบบ ONIE MODEL พร้อมทั้งนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ซ จุดทีค่ วร 7. วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเน่อื งหรอื ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ มีความรู้ ความสามารถ มที ักษะการถ่ายทอด การจัด พัฒนา กระบวนการเรียนการสอนให้แก่ผูเ้ รยี น/ผู้รบั บรกิ ารอยา่ งมีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั และ นำไปประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพได้จรงิ มีการใช้สือ่ และเทคโนโลยมี าจัด กระบวนการเรยี นการสอนทำให้ วธิ ปี ฏิบัติ ผูเ้ รยี น เกิดการเรียนรู้ ได้หลายช่องทางรวมท้ังสรา้ งบรรยากาศเพื่อแลกเปลย่ี นเรียนรภู้ ายในกลุ่ม 8. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยนอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ในการบริหารสถานศกึ ษา 9. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาสง่ เสริมใหค้ รูและบคุ ลากรทกุ คนมีความรกั ความสามัคคี มีการทำงานร่วมกนั เป็นทีม ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นซงึ่ กันและกนั มีความรับผิดชอบ ความซือ่ สัตยส์ ุจรติ มงุ่ การปฏบิ ัติงานเพื่อนำไปสู่ ความสำเร็จร่วมกันอย่างถูกต้องโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 10. สถานศึกษามีการสง่ เสริม สนบั สนุนความร่วมมอื กบั ภาคีเครือขา่ ยในการจดั การหรือร่วมกนั จดั การศึกษา นอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั และการศึกษาตลอดชีวติ ตั้งแต่รว่ มวางแผน ร่วมปฏบิ ัติ รว่ มตรวจสอบ และรว่ มประเมนิ ผล สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือการพัฒนา 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 2. การตดิ ตามผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ หลงั จบหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ ผเู้ รยี น/ ผรู้ ับบรกิ าร นำความรู้ ทกั ษะทีไ่ ด้รบั ไปใชใ้ นการเพ่มิ รายได้ หรอื ประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรอื เพ่ิมมลู คา่ ของสินคา้ 3. ครูการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน บางคนยังขาดความรูใ้ นการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ผเู้ รยี น/ผู้รับบริการ 4. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง บางคนขาดทกั ษะกระบวนการออกแบบ และการจัดกระบวนการ เรียนรู้ให้กับ ผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ 5. สถานศึกษา มรี ะบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลวิทยากรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง แต่ยงั ไม่เป็นระบบ สารสนเทศ 6. สถานศกึ ษาควรมีการทบทวนหรือประเมนิ ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีสง่ ผลต่อคณุ ภาพผู้เรียน อยา่ ง ต่อเน่ือง 7. สถานศึกษามีการประชุม ตดิ ตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจให้กับครแู ละบุคลากรทุกคนเหน็ ความสำคญั ของการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา วธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีดี หรือนวตั กรรม 1. สถานศึกษาใช้ส่ือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในยคุ ดิจิทลั โดยนำนวตั กรรม Google Classroom และ Google form มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เรยี นสามารถเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเองทกุ ที่ ทุกเวลา

ฌ ทด่ี ี หรอื 2. สถานศกึ ษามีโครงสรา้ งการปฏิบัตงิ านทีช่ ดั เจน ทำใหก้ ระบวนการทำงานมปี ระสิทธิภาพ เนอ่ื งจากบุคลากร นวัตกรรม ทกุ คนของสถานศึกษารับทราบและปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าทขี่ องตนเอง หรือ 3. สถานศกึ ษาจดั การศึกษาส่งเสริมสนบั สนนุ ใหภ้ าคเี ครือข่ายที่มศี ักยภาพ จดั หรอื รว่ มจัด การศกึ ษา ในทุก ตัวอย่าง กิจกรรม และทกุ ขนั้ ตอน ที่ดี หรอื 4. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ติดตาม การจัด การศึกษาของ ตน้ แบบ สถานศึกษา ตัวอย่างทด่ี ี 1. สถานศึกษามีผเู้ รยี นที่เปน็ ตวั อย่างที่ดีด้านคณุ ธรรม จำนวน 48 คน โดยพจิ ารณาจากการประเมินคุณธรรม รายบุคคล การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้เรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับ ผเู้ รยี น โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม ระหวา่ งการจัดกิจกรรม 2. สถานศกึ ษามีผเู้ รยี นการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ทเ่ี ป็นตวั อย่างทด่ี ี ด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต จำนวน 48 คน โดยการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย มงุ่ เน้นให้ผู้เรียนคดิ เปน็ มีทักษะในการแสวงหาความรู้และสรา้ งองค์ความร้สู ำหรบั ตนเอง ชุมชน และสังคม 3. สถานศึกษามีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ด้านความรู้พื้นฐาน จำนวน 46 คน โดย สถานศึกษาจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั และมกี ารสอนเสรมิ ในรายวชิ าหลกั ให้กับผู้เรยี น 4. สถานศึกษามีผู้เรียน หรือผู้เขา้ รับการอบรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดที ีม่ ีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ประกอบอาชีพ จำนวน 115 คน โดยผู้เรียนได้นำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ประกอบอาชีพ พฒั นาต่อยอดอาชพี เพ่ิมมลู ค่าสนิ คา้ หรือบรกิ าร วิธีปฏิบัติ สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพ่อื การพฒั นา ที่ดี หรอื 5. สถานศึกษามีผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ นวัตกรรม เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 77 คน ซึ่งผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจหลักของปรัชญา หรือ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตัวอย่าง 6. สถานศึกษามีผ้เู รยี น หรอื ผู้เข้ารับการอบรม ทีเ่ ป็นตัวอยา่ งท่ีดีทสี่ ามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ที่ดี หรอื จำนวน 47 คน ซงึ่ ผู้เรยี น หรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมนำเทคโนโลยีมาใช้ในการแก้ปัญหาและการดำเนินชวี ติ ตน้ แบบ 7. สถานศกึ ษามีผูร้ ับบริการ ทไี่ ดร้ ับความรู้ หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศกึ ษา ตามอัธยาศัย ทีเ่ ป็นตัวอยา่ งท่ีดีจำนวน 116 คน โดยสถานศกึ ษาจัดกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ทีห่ ลากหลาย ทำใหม้ ีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน และในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ได้

ญ จากจุดเด่น จดุ ท่คี วรพฒั นา และวธิ ปี ฏิบัตทิ ี่ดี หรอื นวัตกรรม หรอื ตวั อยา่ งที่ดี หรือตน้ แบบของ สถานศึกษา เหน็ ควรให้สถานศกึ ษาจดั โครงการ/กจิ กรรมเพื่อการปรบั ปรงุ หรือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดย กำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ดงั นี้ 1. โครงการพัฒนาผู้เรยี นดา้ นวชิ าการ 2. โครงการอบรมและพฒั นาบุคลากรครู ด้านออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ 3. โครงการพัฒนาสือ่ การเรียนการสอน 4. โครงการพัฒนาวิทยากรต่อเนื่อง ในการจดั กระบวนการเรยี นการสอน 5. โครงการประชมุ ตดิ ตามทบทวน ระบบงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

บทที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ชอ่ื สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนิคม ทอี่ ยู่ 18/1 หมู่ 1 ตำบลบา้ นช้าง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20140 โทรศพั ท์ 038-474970 โทรสาร 038-474970 E - mail phanatnichom.nfe@gmail.com Website http://chon.nfe.go.th/panus/ สงั กดั สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดชลบุรี สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศกึ ษา ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอพนัสนคิ ม ประกาศจัดตัง้ เม่ือวันที่ 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2536 ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง จัดตัง้ ศูนยบ์ ริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ สถานภาพเปน็ สถานศึกษาในราชการสว่ นกลาง สงั กดั ศนู ย์การศกึ ษานอกโรงเรียนจงั หวัดชลบุรี กรมการศึกษา นอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธกิ าร ทำการเดิมตั้งอยู่ที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอพนัสนิคม ถนนเมืองเก่า อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2539 มคี วามจำเปน็ ตอ้ งรอื้ อาคารห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพนัสนิคม เพ่อื เป็นสถานที่ก่อสร้าง ที่ว่าการอำเภอพนัสนิคมหลังใหม่ จึงเช่าอาคารเลขที่ 56/39 หมู่ 6 ถนนสุขประยูร ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี เป็นที่ทำการช่ัวคราว วนั ท่ี 1 กันยายน 2542 ได้ย้ายจากทท่ี ำการชว่ั คราวมายังทที่ ำการหลังใหม่ เลขท่ี 18/1 หมู่ 1 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ด้านหลังสำนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี (สาขาพนัสนิคม) ซึ่งไดร้ ับบริจาคท่ีดนิ จากนายศิริพงศ์ ชลดารัตน์ จำนวน 468 ตารางวา โฉนดเลขท่ี 2598 และดำเนินการก่อสร้าง ด้วยเงินงบประมาณจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน ส่วนห้องสมุดประชาชนด้านล่างได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติม จาก นายประเสรฐิ ศิวทัศน์ ปจั จุบนั ศนู ย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอพนสั นคิ ม ได้เปล่ียนชื่อมาเปน็ ศูนยก์ ารศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดชลบุรี สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน

2 ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง บญั ชรี ายชือ่ สถานศึกษา ในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการที่มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษาตามพระราชบัญญั ติส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 ลงวนั ท่ี 10 มีนาคม 2551 ทำเนียบผบู้ รหิ ารศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ลำดับ ช่อื – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาที่ ที่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม ดำรงตำแหน่ง 1 นายภชุ งค์ ฉมิ พาลี พ.ศ. 2536 - 2548 พ.ศ. 2548 – 2553 2 นายธีรยล แสงอำนาจเจริญ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม พ.ศ. 2553 – 2554 3 นางสาวพวงสุวรรณ์ พนั ธม์ุ ะม่วง รกั ษาการตำแหน่ง ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2554 – 2554 พ.ศ. 2554 – 2558 กศน.อำเภอพนัสนคิ ม พ.ศ. 2558 - 2560 พ.ศ. 2560 – ปจั จุบัน 4 นายทองพลู เพิ่มดี ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม 5 นายทศพล ทิพยไพฑรู ย์ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม 6 นางรจุ มิ า ปรัชญาโณทัย ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม 7 นางณัชธกญั หมน่ื สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สภาพของชุมชน(สภาพทั่วไปและสภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม) 1. สภาพท่ัวไป เนอื้ ทแ่ี ละลกั ษณะภูมปิ ระเทศ อำเภอพนัสนคิ ม ตัง้ อยู่ทางทิศตะวนั ออกของจังหวัดชลบรุ ี มีเนื้อท่ี 451 ตารางกโิ ลเมตร ท่วี ่าการอำเภอพนสั นิคมอยู่ในเขตเทศบาลเมอื งพนสั นคิ ม หา่ งจากจังหวัดชลบรุ ี ประมาณ 22 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสขุ ประยรู (ทางหลวงหมายเลข 315) อาณาเขต ตดิ ต่อกับ อำเภอบ้านโพธ์ิ และอำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ อำเภอบ่อทอง และอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ อำเภอบ่อทอง และอำเภอเกาะจันทร์ จงั หวดั ชลบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี และอำเภอบ้านโพธิ์ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ทศิ ตะวนั ตก ลักษณะภมู ิประเทศ

3 สภาพพนื้ ท่ี เป็นท่ีราบสูงและราบลมุ่ ทางทิศตะวนั ออกเป็นปา่ ไร่ออ้ ย ไรม่ นั สำปะหลงั ทางทศิ เหนือและ ทิศตะวนั ออกเฉยี งใต้ พื้นท่สี ่วนใหญร่ าบลุม่ ทำนา บางสว่ นเลย้ี งกงุ้ ปลา บางสว่ นเป็นภเู ขาไม่มีแม่น้ำไหลผา่ น จะมบี ้างเฉพาะลำคลอง เช่น คลองหลวง ซึง่ ไหลมาจากอำเภอบอ่ ทอง และคลองสาลกิ าไหลมาจากอำเภอ บา้ นบงึ ไปลงที่อำเภอพานทองและคลองชลประทาน พนื้ ท่ีและการใชป้ ระโยชน์ พื้นที่ทางการเกษตร 193,589 ไร่ การถือครองทดี่ ินอำเภอพนสั นิคม การออกเอกสารสิทธใิ ห้แก่ราษฎร มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. โฉนดทดี่ นิ จำนวน 48,555 แปลง 2. หนงั สือรับรองการใชป้ ระโยชน์ (น.ส. 3 ก.) จำนวน 1,923 แปลง 3. หนงั สอื รบั รองการทำประโยชน์ (น.ส.3) จำนวน 1,398 แปลง 4. หนงั สอื สำคัญสำหรบั ท่หี ลวง (น.ส.ล.) จำนวน 77 แปลง 5. ใบจอง จำนวน 136 แปลง 6. ตราจอง จำนวน 208 แปลง 7. แบบแจ้งการครอบครองท่ดี ิน จำนวน 1,431 แปลง ลักษณะภมู ิอากาศ ลักษณะภมู ิอากาศเป็นแบบมรสมุ 1. ฤดรู อ้ น เริม่ ตง้ั แต่เดือนมนี าคม – พฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดอื นเมษายน 2. ฤดูฝน เริ่มตงั้ แตเ่ ดือนมิถุนายน – ตุลาคม มีฝนตกหนักในเดอื นตลุ าคม บางปตี ่อถึงเดือน พฤศจิกายน 3. ฤดูหนาว เร่ิมตงั้ แต่เดอื นพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อากาศค่อนข้างเย็นในเดอื นธนั วาคม อากาศไม่แหง้ แล้งมากนัก แตจ่ ะไปแลง้ มากเดอื นมกราคม – กมุ ภาพนั ธ์ ลกั ษณะการเมืองการปกครอง - แบง่ เขตการปกครองตาม พรบ. มีลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. 2475 ประกอบดว้ ย 16 ตำบล 185 หมู่บ้าน คือ ตำบลหนา้ พระธาตุ ตำบลไร่หลกั ทอง ตำบลวดั หลวง ตำบลวดั โบสถ์ ตำบลโคกเพลาะ ตำบล ทา่ ข้าม ตำบลสระสี่เหลีย่ ม ตำบลหนองปรือ ตำบลนาวังหิน ตำบลนาเรกิ ตำบลบา้ นช้าง ตำบลนามะตูม ตำบล ทุง่ ขวาง ตำบลหนองเหียง ตำบลหนองขยาด และตำบลบ้านเซิด - เทศบาล จำนวน 4 แหง่ คอื เทศบาลเมืองพนัสนิคม เทศบาลตำบลหมอนนาง เทศบาลตำบลกฎุ โงง้ และเทศบาลตำบลหวั ถนน

4 ศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม 1. การศาสนา ประชากรสว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพุทธประมาณร้อยละ 97 ศาสนาอ่นื ๆ ประมาณ ร้อยละ 3 มสี ถาบนั หรือองค์กรทางศาสนา 1.1 วดั , ทพ่ี ักสงฆ์ จำนวน 74 แห่ง 1.2 มัสยดิ จำนวน 8 แหง่ 1.3 ศาลเจ้า จำนวน 6 แห่ง 2. ศลิ ปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ งานบุญกลางบ้าน,งานสงกรานต์, การทายโจก๊ , เทศกาลวันไหว้พระจนั ทร์ และงานกองข้าว การสาธารณสุข 1. การใหบ้ ริการด้านสาธารณสุข โดยมสี ถานบริการ ดังน้ี 1.1 โรงพยาบาล ขนาด 120 เตียง จำนวน 1 แห่ง 1.2 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 1 แหง่ 1.3 สถานีอนามัยประจำตำบล / หมบู่ ้าน จำนวน 21 แห่ง 1.4 สถานพยาบาลเอกชน จำนวน 19 แหง่ 1.5 รา้ นขายยาแผนปจั จบุ นั จำนวน 17 แหง่ 2. บคุ ลากรทางดา้ นสาธารณสขุ 2.1 แพทย์ จำนวน 11 คน 2.2 ทันตแพทย์ จำนวน 4 คน 2.3 เภสชั กร จำนวน 8 คน 2.4 พยาบาล จำนวน 84 คน 2.5 เจา้ หน้าทีอ่ นื่ ๆ จำนวน 58 คน 2.6 ลกู จา้ ง จำนวน 140 คน ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ มีสถานตี ำรวจภูธร จำนวน 1 แห่ง คือ สถานตี ำรวจภธู รพนสั นิคม การคมนาคมและสาธารณปู โภค 1. การคมนาคม ตดิ ต่อระหว่างอำเภอและจังหวดั รวมทัง้ การคมนาคมภายในตำบลและหมู่บา้ น มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ทางหลวงแผ่นดิน สาย 315 (ถนนสุขประยูร) จังหวดั ชลบรุ ี – จงั หวัดฉะเชงิ เทรา 1.2 ทางหลวงแผน่ ดิน สาย 331 นครราชสมี า – ฉะเชงิ เทรา – สัตหบี 1.3 ทางหลวงแผน่ ดิน สายอำเภอพนัสนิคม –บา้ นหนองชาก 1.4 ทางหลวงแผน่ ดนิ สายอำเภอพนสั นคิ ม – หนองเสมด็

5 1.5 ทางหลวงแผ่นดิน สายอำเภอพนัสนิคม – ทา่ บญุ มี –เกาะจันทร์ 1.6 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนัสนคิ ม – สระสี่เหลย่ี ม 1.7 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนัสนิคม –วัดกลางคลองหลวง 1.8 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนัสนิคม – พานทอง 1.9 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนสั นคิ ม –ทา่ ข้าม 1.10 เสน้ ทางเชื่อมต่อระหว่างตำบลและหม่บู ้าน เปน็ สภาพถนนลูกรงั จำนวน 210 สาย 2. การโทรคมตดิ ตอ่ ส่อื สาร 2.1 ที่ทำการไปรษณยี ์โทรเลข จำนวน 1 แห่ง 2.2 การใหบ้ รกิ ารติดต่อสอ่ื สารทางโทรศัพท์ โดยมจี ำนวนค่สู าย 4,650 คู่สาย 2.3 หนว่ ยบรกิ ารผใู้ ชไ้ ฟฟ้า สังกดั ไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคจงั หวัด จำนวน 1 แห่ง คอื การไฟฟ้า ส่วนภมู ิภาคอำเภอพนสั นิคม 3. การสาธารณูปโภค 3.1 การประปาระดับอำเภอและตำบล หมู่บ้าน มีดังนี้ 3.1.1 การประปาส่วนภูมิภาค จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ ประปาพนัสนิคม 3.1.2 การประปาหมูบ่ า้ น จำนวน 25 แห่ง 3.2 แหลง่ นำ้ กนิ –นำ้ ใช้ ประเภทอน่ื ๆ มีดังน้ี 3.2.1 บ่อนำ้ บาดาล จำนวน 124 แหง่ 3.2.2 บ่อน้ำต้ืน จำนวน 6,054 แห่ง 3.2.3 ถังเกบ็ น้ำ จำนวน 152 แห่ง 3.2.4 โอ่งนำ้ ขนาดใหญ่ จำนวน 38,893 แห่ง ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรดนิ สภาพดนิ ของอำเภอพนสั นิคม มีลักษณะเปน็ ดนิ ร่วนปนทราย และบางสว่ นเปน็ พนื้ ท่ี ราบลุ่มลกั ษณะดินเปร้ยี ว 2. ทรพั ยากรนำ้ สภาพทวั่ ไปไม่มีแมน่ ำ้ ไหลผ่านตวั อำเภอ มเี ฉพาะลำคลองไหลผ่าน เชน่ คลองหลวง คลองสาลิกา 3. ทรัพยากรป่าไม้ อำเภอพนัสนคิ มไมม่ ีพน้ื ท่ที เี่ ปน็ ป่าไมส้ ำคัญ

6 สภาพทางสังคม – ประชากร สภาพชุมชนอำเภอพนสั นิคม ประชากร ประชากรทั้งส้ิน 100,974 คน ชาย 48,402 คน หญงิ 52,572 คน ท่ี ตำบล ชาย หญงิ รวม 1 ตำบลไรห่ ลกั ทอง 1,110 1,236 2,346 2 ตำบลบ้านชา้ ง 2,982 3,368 6,350 3 ตำบลหนองปรือ 1,850 2,681 4,531 4 ตำบลบา้ นเซิด 2,712 2,922 5,643 5 ตำบลนาเริก 3,973 4,123 8,096 6 ตำบลกฎุ โงง้ 3,067 3,415 6,482 7 ตำบลหน้าพระธาตุ 2,186 2,341 4,527 8 ตำบลหนองเหยี ง 6,708 6,897 13,605 9 ตำบลโคกเพลาะ 1,088 1,229 2,317 10 ตำบลท่าขา้ ม 1,494 1,593 3,087 11 ตำบลวดั โบสถ์ 1,501 1,622 3,123 12 ตำบลวดั หลวง 906 1,082 1,988 13 ตำบลหนองขยาด 2,051 2,092 4,143 14 ตำบลหมอนนาง 4,985 5,335 10,320 15 ตำบลทงุ่ ขวาง 2,132 2,296 4,428 16 ตำบลนามะตูม 1,274 1,432 2,706 17 ตำบลนาวงั หนิ 2,511 2,713 5,224 18 ตำบลสระสีเ่ หล่ียม 3,421 3,522 6,943 19 ตำบลหวั ถนน 2,451 2,664 5,115 48,402 52,572 100,974 รวม

7 ข้อมูลด้านการศึกษา จำนวน (คน) หมายเหตุ ระดับการศกึ ษา 2,560 8,335 1. ผู้ไม่รู้หนงั สือ 33,116 2. กอ่ นประถมศึกษา (อ่านออกเขยี นได้) 19,903 3. ประถมศึกษา 16,605 4. มธั ยมศึกษาตอนตน้ 20,455 5. มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 6. สงู กว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลาย 100,974 รวม สภาพทางเศรษฐกิจ ดา้ นเศรษฐกจิ 1. การเกษตรกรรม อำเภอพนสั นคิ มมีพนื้ ท่ีการเกษตรท้งั สิ้น 239,369 ไร่ ครอบครัวเกษตรกร จำนวน 9,399 ครอบครวั 2. การปศุสัตว์ สว่ นใหญ่เกษตรกรทำการปศสุ ัตว์ โค,กระบือ,สกุ ร 3. การอุตสาหกรรม มีราษฎรประกอบอตุ สาหกรรมอยู่หลายรปู แบบ เชน่ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น อตุ สาหกรรมขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ มอี ย่ปู ระมาณ 130 แหง่ 4 . การพาณิชย์ 4.1 สถานบรกิ ารนำ้ มนั เชื้อเพลิงขนาดใหญ่ จำนวน 18 แห่ง 4.2 ธนาคาร จำนวน 9 แห่ง ไดแ้ ก่ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงเทพฯ ธนาคารกรงุ ไทย ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทย ธนาคารออมสนิ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ และธนาคารอาคารสงเคราะห์ 4.3 สหกรณ์ จำนวน 5 แห่ง 5. การบริการ มีโรงแรม จำนวน 3 แห่ง 6. การทอ่ งเท่ียว มีสถานทีท่ ่องเทย่ี วท่ีสำคญั ไดแ้ ก่ โบราณสถานโบราณวตั ถุต่าง ๆ เช่น หอพระพนสั บดี หอไตรวดั ใตต้ ้นลาน ตลาดจักสานเมืองพนัสนิคม เป็นตน้ ดา้ นการประกอบอาชพี 1. รับจ้าง 2. เกษตรกรรม การเพาะปลกู เลี้ยงสัตว์ 3. อตุ สาหกรรม

8 4. คา้ ขาย ข้อมลู ปญั หาและความตอ้ งการทางการศกึ ษา (จำแนกกลมุ่ เป้าหมาย) จำนวนกลุ่มเปา้ หมายแยกตามอายุอำเภอพนสั นคิ ม ที่ ตำบล ต่ำกว่า 15 ปี 15 - 59 ปี 60 ปีข้ึนไป รวม 1 ตำบลไร่หลักทอง 265 1,118 963 2,346 2 ตำบลบ้านชา้ ง 1,127 4,305 918 6,350 3 ตำบลหนองปรือ 705 3,048 778 4,531 4 ตำบลบา้ นเซดิ 758 3,798 1,087 5,643 5 ตำบลนาเริก 1,202 5,634 1,260 8,096 6 ตำบลกฎุ โงง้ 1,010 4,239 1,233 6,482 7 ตำบลหนา้ พระธาตุ 582 3,301 644 4,527 8 ตำบลหนองเหียง 3,963 8,350 1,292 13,605 9 ตำบลโคกเพลาะ 333 1,489 495 2,317 10 ตำบลทา่ ขา้ ม 547 1,603 937 3,087 11 ตำบลวดั โบสถ์ 468 1,631 1,024 3,123 12 ตำบลวดั หลวง 168 781 1,039 1,988 13 ตำบลหนองขยาด 552 2,800 791 4,143 14 ตำบลหมอนนาง 1,337 7,078 1,905 10,320 15 ตำบลทงุ่ ขวาง 217 1,092 3,119 4,428 16 ตำบลนามะตูม 577 1659 470 2,706 17 ตำบลนาวงั หิน 680 3,621 923 5,224 18 ตำบลสระสี่เหลยี่ ม 1,172 4,287 1,484 6,943 19 ตำบลหวั ถนน 712 3,316 1,087 5,115 16,375 63,150 21,449 100,974 รวม

9 จำนวนข้อมลู ทางการศึกษารายตำบล ท่ี ตำบล ผ้ไู ม่รู้ กอ่ น ประถม ม.ต้น ม.ปลาย สูงกว่า รวม หนังสอื ประถม ม.ปลาย 2,346 1 ตำบลไร่หลักทอง 33 153 690 306 453 711 6,350 4,531 2 ตำบลบา้ นช้าง 441 312 2,127 1,005 934 1,531 5,643 8,096 3 ตำบลหนองปรือ 71 330 2,171 886 594 479 6,482 4,527 4 ตำบลบ้านเซดิ 47 557 1,651 1,125 1,034 1,229 13,605 2,317 5 ตำบลนาเรกิ 85 628 3,529 1,826 970 1,058 3,087 3,123 6 ตำบลกุฎโงง้ 45 389 756 925 1,804 2,563 1,988 4,143 7 ตำบลหน้าพระธาตุ 119 324 1,771 793 560 960 10,320 4,428 8 ตำบลหนองเหียง 136 1,752 2,520 3,066 2,571 3,560 2,706 5,224 9 ตำบลโคกเพลาะ 97 140 1,024 334 272 450 6,943 5,115 10 ตำบลท่าขา้ ม 63 262 290 1,014 803 655 100,974 11 ตำบลวัดโบสถ์ 18 108 311 872 1,064 750 12 ตำบลวัดหลวง 28 95 783 302 309 471 13 ตำบลหนองขยาด 72 186 1,618 1,075 739 453 14 ตำบลหมอนนาง 404 897 3,568 2,036 1,537 1,878 15 ตำบลทุ่งขวาง 157 396 2,112 726 469 568 16 ตำบลนามะตูม 41 190 862 402 465 746 17 ตำบลนาวังหิน 142 400 2,555 882 578 667 18 ตำบลสระส่ีเหล่ยี ม 459 759 2,333 1,482 930 980 19 ตำบลหวั ถนน 102 457 2,445 846 519 746 รวม 2,560 8,335 33,116 19,903 16,605 20,455 ปญั หาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชน สภาพปญั หาของชุมชน 1.ประชากรมีหนี้สนิ ทั้งในระบบและนอกระบบ 2 ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรมผลผลิตการเกษตรราคาไม่แน่นอน ต้นทนุ การผลิตสงู 3.อัตราคา่ ครองชีพสงู รายได้ไม่เพยี งพอต่อรายจ่าย 4 ปัญหาแหลง่ น้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บรโิ ภค 5. การอพยพแรงงานต่างด้าวผดิ กฎหมายเขา้ มาในพื้นท่ี แรงงานแฝง

10 6. การขาดแคลนแรงงานด้านการเกษตร 7. ประชาชนขาดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 8. พ้นื ที่อำเภอพนัสนิคม มปี ญั หาน้ำท่วมในชว่ งนำ้ หลาก 9. ประชากรวยั แรงงานสว่ นใหญ่ไปทำงานตา่ งถน่ิ ในชุมชนมแี ต่ผสู้ ูงอายจุ ำนวนมาก ความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชน 1. ต้องการยกระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานเพ่ือนำวฒุ ิการศกึ ษาไปศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชพี 2. ต้องการฝึกอาชีพระยะส้ันเพ่อื นำไปพฒั นาอาชีพและประกอบอาชีพเสริม 3. ต้องการใหค้ วามรูก้ ารศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมชุมชนเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิต 4. ตอ้ งการทำกจิ กรรมเกย่ี วกับการพัฒนาสังคมและชุมชน 5. ต้องการการส่งเสรมิ การดำเนนิ ชวี ติ ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. ตอ้ งการการส่งเสริมการอา่ นในชุมชน 7. ตอ้ งการการใหบ้ ริการอินเตอร์เนต็ ในชุมชน

11 โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนิคม ผู้อำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กล่มุ อำนวยการ กล่มุ จัดการศกึ ษานอกระบบและ กลุ่มภาคเี ครือข่าย การศึกษาตามอธั ยาศัย และกจิ การพิเศษ - งานธุรการและสารบรรณ - งานสง่ เสริมการรูห้ นงั สอื - งานส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคี - งานการเงนิ และบญั ชี - งานการศึกษาพ้นื ฐานนอกระบบ เครอื ข่าย - งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร - งานการศึกษาต่อเนอื่ ง - งานกิจการพิเศษ - งานพสั ดุ - งานบคุ ลากร - งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี - งานโครงการอัน - งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ - งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ เนือ่ งมาจาก พระราชดำริ - งานแผนงานและโครงการ - งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและ - งานประชาสมั พันธ์ ชุมชน - งานปอ้ งกนั แกไ้ ข - งานขอ้ มลู สารสนเทศและการรายงาน ปัญหายาเสพติด/ โรคเอดส์ - ศูนย์ราชการใสสะอาด ฯลฯ - งานควบคุมภายใน - งานการศึกษาตามอัธยาศัย - งานสง่ เสริมกิจกรรม - งานนิเทศภายใน ติดตามและ ประชาธิปไตย ประเมินผล - งานจดั และพฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละ - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน - งานสนบั สนุน ส่งเสริม สถานศกึ ษา นโยบายจังหวัด/อำเภอ ฯลฯ - งานประกันคณุ ภาพภายใน - งานจัดและพัฒนาศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน สถานศกึ ษา - งานการศกึ ษาเคลอ่ื นท่ี - งานกจิ การลกู เสอื และ - งานการศึกษาทางสือ่ สารมวลชน ยุวกาชาด ฯลฯ - งานพัฒนาหลกั สูตร ส่ือ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา - งานทะเบยี นและวดั ผล - งานศนู ยบ์ ริการให้คำปรกึ ษาแนะนำ - งานกิจการนกั ศกึ ษา

12 จำนวนผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม /ผูร้ บั บริการ และจำนวนคร/ู วทิ ยากร/ผจู้ ัดกิจกรรม (ปีปจั จุบัน) หลักสูตร/ประเภท จำนวนผ้เู รียน (คน) รวม จำนวนครู/วิทยากร/ผ้จู ดั ชาย หญงิ กจิ กรรม (คน) การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ภาคเรียนที่ 2/2560 - ผ้ไู มร่ หู้ นงั สือ 61 7 ขา้ ราชการครู 1 คน - ระดับประถมศึกษา 29 22 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 350 186 51 ครูอาสาสมคั รฯ 3 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 376 402 436 ครู กศน.ตำบล 18 คน 778 ครู ศรช. 2 คน รวม 655 610 การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ภาคเรยี นที่ 1/2561 ครปู ระจำกลุ่ม 1 คน - ผู้ไม่รหู้ นงั สอื 7- - ระดับประถมศกึ ษา 22 24 1,265 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 197 162 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 389 379 7 ขา้ ราชการครู 1 คน 46 ครูอาสาสมคั รฯ 3 คน รวม 608 565 359 ครู กศน.ตำบล 18 คน การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 768 ครู ศรช. 2 คน - โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน 1,124 1,356 - หน่งึ อำเภอหน่ึงอาชพี 1 95 ครปู ระจำกล่มุ 1 คน - โครงการการศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต 488 558 - โครงการการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 323 398 1,173 - โครงการจัดการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของ 142 213 เศรษฐกิจพอเพยี ง 2,498 วิทยากร 100 คน 2,078 2,620 96 วทิ ยากร 3 คน รวมทง้ั สนิ้ 1,046 วิทยากร 38 คน การจดั กจิ กรรมตามนโยบาย 16 74 721 วิทยากร 13 คน 1.โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สารด้านอาชพี 122 228 355 วทิ ยากร 7 คน 2.โครงการ Smart ONIE เพื่อสรา้ ง Smart Farmer ประจําปงี บประมาณ 2561 234 428 4,716 3.โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทลั 137 329 4.โครงการบริหารขยะมูลฝอย 90 วิทยากร 3 คน 350 วิทยากร 8 คน 662 วทิ ยากร 19 คน 466 วิทยากร 10 คน

13 รวมทัง้ สิ้น 509 1,059 1,568 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1. การสง่ เสรมิ การอ่านในหอ้ งสมุดประชาชน 515 584 1099 ผู้จัดกิจกรรม 20 คน 2. บา้ นหนงั สือชุมชน 2,116 3,289 5,405 ผู้จัดกจิ กรรม 19 คน 3. อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน 24 47 71 ผู้จัดกจิ กรรม 19 คน 2,655 3,920 6,575 รวมทัง้ สิ้น ตำ่ กว่า ป.ตรี จำนวน (คน) รวมจำนวน จำนวนบคุ ลากร (ปปี จั จบุ นั ) ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1 2 1 ประเภท/ตำแหน่ง 1 1 3 1 2 ผู้บริหาร 5 1 21 ขา้ ราชการครู 2 บุคลากรทางการศึกษา 20 1 2 ลูกจา้ งประจำ 2 3 พนกั งานราชการ 2 33 ครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน บรรณารกั ษ์อัตราจา้ ง 26 2 พนักงานบริการ/ยาม รวมท้ังสนิ้ งบประมาณ (ปปี ัจจุบนั ) งบประมาณท่ีใช้ ประเภทงบประมาณ งบประมาณทไี่ ดร้ ับ จำนวน(บาท) คดิ เป็นร้อยละ เงินงบประมาณ 6,183,295 5,776,466 93.42 เงนิ นอกงบประมาณ 117,404.46 6,300,699.46 2,500 2.13 รวม 5,778,966 91.88

14 แหล่งเรียนรแู้ ละภาคเี ครือข่าย กศน.ตำบล ท่ตี ง้ั ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวจนั ทกานต์ ทำเนาว์ ไร่หลักทอง 8/2 หมทู่ 6ี่ ตำบลไร่หลกั ทอง อำเภอพนสั นิคม นางสาวเบญจมาศ น้อยประเสริฐ นางสาวนฤมล อนิ ทศร จงั หวดั ชลบรุ ี นางสาวสุนทรี เพชรประเสริฐ บา้ นช้าง 222 หมู่ที่1 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนัสนคิ ม นายธรี พงศ์ เขียวหวาน จังหวดั ชลบรุ ี นางสาวอุมาพร ฤกษ์งาม หนองปรือ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยที างการเกษตร นางสาวพจนยี ์ ประทุมทอง นางสาวณฐั วรรณ เลือดสงคราม หมทู่ ่ี 3 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนัสนิคม นางสาวเนตรณภิษ พยงุ วงษ์ นางสาวนิตยา นำ้ ฟา้ จงั หวัดชลบุรี นางสาวชัญญานุช พทิ กั ษ์เมฆา นางสาวศรยิ า พุทธมาลี บา้ นเซิด ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ตำบลบา้ นเซดิ นางสาววภิ า หนูรอง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี กุฎโงง้ อาคารอเนกประสงค์เทศบาลตำบลกฎุ โงง้ หมู่ท่ี 6 ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี นาเริก หมทู่ ่ี 10 อาคารวิทยชุ มุ ชน(องคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตำบลนาเริก) ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี หนา้ พระธาตุ ศูนยอ์ ปพร. หมู่ท3ี่ ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี หนองเหยี ง 125 หมทู่ ่ี 6 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี โคกเพลาะ โรงเรยี นวัดเนินตามาก หมู่ท่ี 7 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี ทงุ่ ขวาง 4 หมู่ท่ี 9 ตำบลทงุ่ ขวาง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี หมอนนาง 111 หมทู่ ่ี 6 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี สระสเ่ี หล่ยี ม 131 หมู่ที่ 7 ตำบลสระสี่เหลีย่ ม อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี วัดโบสถ์ อาคารโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นวัดโบสถ์ ตำบลวดั โบสถ์ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี

15 ท่าขา้ ม 1/1 หมู่ที่ 1 ตำบลทา่ ขา้ ม อำเภอพนสั นคิ ม นางสาวณฏั ฐา เนาว์อุดม จังหวดั ชลบรุ ี หวั ถนน 333 หมทู่ ่ี 9 ตำบลหัวถนน อำเภอพนัสนิคม นางสาวทวีพร เคนรำ จงั หวัดชลบรุ ี นาวงั หิน 49 หม่ทู ่ี 9 ตำบลนาวังหนิ อำเภอพนสั นคิ ม นายไพรชั ขวญั คีรี จังหวดั ชลบุรี กศน.ตำบล ผูร้ บั ผิดชอบ นามะตูม ทต่ี ั้ง นางสาววภิ าษณยี ์ เนื่องจำนงค์ หมทู่ ่ี 4 ตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนคิ ม วดั หลวง จงั หวัดชลบุรี นางสาวชลติ ดา ใจพรหม หมู่ท่ี 7 ตำบลวัดหลวง อำเภอพนัสนคิ ม หนองขยาด จังหวัดชลบุรี นางสาวนฤมล เอมเปยี หมู่ที่ 7 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนัสนิคม ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน จังหวดั ชลบรุ ี ผู้รับผิดชอบ ศรช.บา้ นหนองพลับ นางสาวกนกกร ฮกโก้ ทตี่ ั้ง แหลง่ เรยี นรอู้ นื่ หมทู่ ี่1 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนสั นิคม ทต่ี ั้ง วัดเนินสังข์ จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 1 ตำบลไรห่ ลักทอง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี ประเภทแหลง่ เรียนรู้ หมู่ท่ี 2 ตำบลไรห่ ลกั ทอง แหลง่ เรียนรู้ประเภทสง่ิ ที่มนุษย์สร้างขึน้ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 6 ตำบลไร่หลกั ทอง วดั ไร่หลักทอง แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทส่ิงที่มนุษยส์ ร้างขึน้ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 9 ตำบลไรห่ ลักทอง วัดเกาะแกว้ คลองหลวง แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทสิ่งท่ีมนษุ ย์สรา้ งขึ้น อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 9 ตำบลไร่หลักทอง วัดใตต้ น้ ลาน แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสงิ่ ที่มนษุ ยส์ ร้างขนึ้ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี 36 หมูท่ ่ี 6 ตำบลไร่หลักทอง วดั กลางคลองหลวง แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทส่งิ ที่มนุษย์สรา้ งขน้ึ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี 21 หมทู่ ี่ 1 ตำบลไรห่ ลักทอง ศนู ยเ์ รยี นรสู้ รรพส่ิงเศรษฐกจิ แหลง่ เรียนร้ปู ระเภทบคุ คล อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี พอเพยี ง แหล่งเรียนร้ปู ระเภทบุคคล ศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน

กลุ่มจักสาน “บา้ นป่าไร”่ แหลง่ เรียนรู้ประเภทส่งิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ 16 วัดหนองปรอื แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสงิ่ ที่มนุษย์สรา้ งขน้ึ หมทู่ ี่ 5 ตำบลบา้ นช้าง วัดทรงธรรม แหลง่ เรยี นร้ปู ระเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ ร้างขน้ึ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่ท่ี 1 ตำบลหนองปรือ วดั ทรายมูล แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทสง่ิ ท่ีมนษุ ย์สร้างขนึ้ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 2 ตำบลหนองปรือ วัดหนองไผ่ แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสงิ่ ท่ีมนษุ ย์สร้างข้นึ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 9 ตำบลหนองปรือ ศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงตาม แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทส่ิงที่มนษุ ย์สร้างขึน้ อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 7 ตำบลหนองปรือ รอยพ่อ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมู่ที่ 8 ตำบลหนองปรือ แหลง่ เรยี นรู้อน่ื ประเภทแหลง่ เรียนรู้ อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี ศนู ย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล ที่ต้งั หมู่ท่ี 10 ตำบลหนองปรือ บ้านหนองเซง่ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 1 ตำบลหนองปรือ สหกรณอ์ อมทรัพย์ - เงนิ ออม แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบคุ คล อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 3 ตำบลหนองปรือ ทรัพย์ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี 1 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเซิด ขา้ ว การแปรรูปข้าว โรงสขี า้ ว แหล่งเรียนรปู้ ระเภทบคุ คล อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 1 ตำบลกุฎโงง้ การปลกู มะนาวจากบ่อซเี มนต์ แหล่งเรยี นรู้ประเภทส่ิงที่มนุษย์สรา้ งข้ึน อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 4 ตำบลกุฎโง้ง วดั บา้ นชา้ ง แหล่งเรียนรู้ประเภทสง่ิ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งขน้ึ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ท่ี 5 ตำบลกุฎโงง้ วัดไตรรตั นว์ นาราม แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทสง่ิ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขน้ึ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 19/2 หมทู่ ี่ 3 ตำบลกฎุ โงง้ วัดกฎุ โงง้ ปทุมคงคา แหลง่ เรยี นรู้ประเภทส่ิงท่ีมนษุ ย์สร้างข้นึ อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี ศูนย์เรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง แหล่งเรยี นรูป้ ระเภทบุคคล บ้านเนินพลับ

แหลง่ เรียนร้บู า้ นคณุ อไุ ร กนั ทะ แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล 17 คำ แหล่งเรียนรู้ประเภทบคุ คล กลุ่มแม่บา้ นเกษตรหนองโมกข์ แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบคุ คล 31 หมทู่ ่ี 7 ตำบลนาเริก พัฒนา แหล่งเรียนรปู้ ระเภทส่งิ ที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี ศูนยเ์ มล็ดพันธ์ุข้าวอำเภอ 83/5 หมูท่ ่ี 13 ตำบลนาเรกิ พนสั นิคม อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี กลมุ่ จักสาน “บ้านป่าไร่” หมทู่ ่ี 10 ตำบลนาเริก อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วดั หน้าพระธาตุ แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทสิ่งท่ีมนุษย์สรา้ งขน้ึ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านชา้ ง อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี เจดยี เ์ นินธาตุ แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสิ่งท่ีมนุษยส์ รา้ งขึ้น ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี วัดบา้ นใหม่ แหลง่ เรียนรู้ประเภทสิ่งที่มนุษยส์ ร้างขน้ึ ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วัดใหมเ่ ชงิ เนนิ แหลง่ เรียนร้ปู ระเภทส่งิ ท่ีมนุษย์สรา้ งขึ้น ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี วดั บ้านกลาง แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสิ่งที่มนษุ ย์สร้างขึ้น ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี ศูนยเ์ รยี นรูช้ มุ ชนเศรษฐกิจ แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างขนึ้ ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม พอเพียงบ้านหนองอดุ ม จังหวดั ชลบุรี ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ 214/1 หมู่ท่ี 8 ตำบลหนองเหียง แหล่งเรยี นร้อู ื่น แหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทสงิ่ ที่มนษุ ย์สรา้ งข้นึ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี วัดเนินตามาก ที่ตัง้ วัดโคกเพลาะ แหลง่ เรียนรู้ประเภทสง่ิ ที่มนุษย์สรา้ งข้นึ หมู่ที่ 7 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี วัดท่ากระดาน แหลง่ เรียนรู้ประเภทสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ หมทู่ ี่ 2 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี ศนู ยถ์ า่ ยทอด แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้น หมู่ท่ี 4 ตำบลโคกเพลาะ เทคโนโลยกี ารเกษตร แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทสง่ิ ที่มนษุ ย์สร้างข้ึน อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี โรงสขี ้าวชุมชน หมู่ท่ี 5 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี หมทู่ ่ี 7 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี

แหล่งเรียนรแู้ พทย์แผนไทย แหล่งเรยี นรู้ประเภทสิ่งที่มนุษยส์ ร้างขึ้น 18 ยาสมุนไพร บา้ นหนองกุมภณั ฑ์ หมู่ที่ 5 แหล่งเรียนร้เู กษตรอนิ ทรีย์ แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ ตาบลทุง่ ขวาง อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี วดั หนองไทร แหล่งเรียนร้ปู ระเภทสงิ่ ที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ 49 หมู่ท่ี 6 ตาบลทุ่งขวาง อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี วดั ทุง่ เหยี ง แหลง่ เรียนรู้ประเภทสิง่ ที่มนุษย์สรา้ งขน้ึ หมทู่ ่ี 2 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี วัดหมอนนาง แหลง่ เรียนรู้ประเภทสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งขึ้น หมทู่ ี่ 4 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วัดชุมแสง แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทสง่ิ ท่ีมนุษย์สร้างขึ้น หมทู่ ่ี 9 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี ถ้ำนางสบิ สอง แหล่งเรยี นรูป้ ระเภทส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึน หมทู่ ่ี 10 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี แหลง่ เรียนรู้ การทำเกษตร แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสิ่งท่ีมนษุ ย์สร้างขึ้น หม่ทู ี่ 12 ตำบลหมอนนาง อนิ ทรีย์ แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสงิ่ ที่มนุษยส์ ร้างขนึ้ อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ศูนย์เรียนรเู้ กษตรทฤษฎใี หม่ตาม หมทู่ ่ี 6 ตำบลหมอนนาง หลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ แหล่งเรยี นรู้ประเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ ร้างข้นึ อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี พอเพยี งตำบลหมอนนาง หมูท่ ่ี 4 ตำบลหมอนนาง สระสีเหล่ยี ม อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง แหล่งเรียนรู้ประเภทสง่ิ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งขึ้น หมู่ที่ 6 บา้ นตม ตำบลสระส่เี หล่ียม อำเภอพนัสนิคม แหล่งเรยี นร้อู ืน่ ประเภทแหล่งเรียนรู้ จังหวดั ชลบรุ ี วัดบ้านในบน แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ ร้างขึ้น หมู่ที่ 4 บ้านเนนิ แพง ตำบลสระสี่เหล่ียม อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ที่ตงั้ หมู่ที่ 10 บา้ นในบน ตำบลสระสเี่ หลยี่ ม อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี

วัดแก้วศลิ าราม แหล่งเรียนรู้ประเภทสง่ิ ท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้ 19 วัดแหลมประดู่ แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทส่งิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ หมู่ท่ี 4 บ้านเนนิ แพง วดั เขาดินวังตาสี แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสิ่งที่มนุษยส์ ร้างขึน้ ตำบลสระสเ่ี หลี่ยม อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี โรงเรียนวัดแก้วศิลาราม แหล่งเรียนรู้ประเภทสง่ิ ท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน หมู่ท่ี 2 บา้ นนอก ตำบลสระส่ีเหลี่ยม อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี โรงเรียนบา้ นสระสเ่ี หลยี่ ม แหลง่ เรียนรู้ประเภทสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งขึ้น หมู่ที่ 11 บา้ นเขาดนิ วังตาสี โรงเรยี นบ้านเขาดนิ วังตาสี แหล่งเรียนร้ปู ระเภทสงิ่ ท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ตำบลสระสเี่ หลยี่ ม อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ แหล่งเรียนรู้ประเภทสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ หมู่ท่ี 4 บ้านเนินแพง ตำบลสระสเี่ หลียม แหล่งเรียนรู้ประเภทสงิ่ ที่มนษุ ยส์ ร้างข้นึ ตำบลสระสเ่ี หลย่ี ม อำเภอพนัสนคิ ม ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก จังหวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 9 บ้านโคก ตำบลสระสีเ่ หลี่ยม กลมุ่ การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ แหล่งเรยี นรู้ประเภทสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งขึ้น อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี สมนุ ไพรบ้านตม หมู่ท่ี 11 บา้ นเขาดินวงั ตาสี ตำบลสระสเี่ หลีย่ ม อำเภอพนัสนิคม กลุ่มการสานตะกรา้ ทางมะพร้าว แหล่งเรยี นรู้ประเภทสง่ิ ที่มนษุ ย์สร้างข้ึน จงั หวดั ชลบุรี หมู่ที่ 9 บา้ นโคก ตำบลสระสี่เหลีย่ ม วดั โบสถ์ แหล่งเรียนรู้ประเภทสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ท่ี 9 บา้ นโคก ตำบลสระสี่เหล่ียม แหลง่ เรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง แหล่งเรยี นรู้ประเภทส่ิงที่มนุษยส์ ร้างขึน้ อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี ตำบลท่าข้าม 46/4 หมู่ที่ 6 บา้ นตม ตำบลสระสีเ่ หล่ยี ม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 1 บา้ นในและหมู่ที่ 9 บ้านโคก ตำบลสระสี่เหล่ยี ม อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 6 ตำบลวดั โบสถ์ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู่ ี่ 3 ตำบลท่าข้าม อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี

แหลง่ เรียนร้วู ิสาหกิจชมุ ชน แหลง่ เรียนรู้ประเภทสงิ่ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขนึ้ 20 ตำบลทา่ ขา้ ม ทที่ ำการผู้ใหญบ่ า้ น หมทู่ ่ี 6 แหลง่ เรียนรอู้ ่นื ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ตำบลทา่ ข้าม อำเภอพนัสนคิ ม การทำปุ๋ยอินทรีย์ (นางวิไล บรู ณ แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบคุ คล จังหวัดชลบรุ ี เจริญกิจ) วดั ใหม่นาวังหนิ แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสงิ่ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้นึ ท่ตี งั้ 20/1 หมูท่ ี่2 ตำบลหัวถนน วัดอมั พวนาราม แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสง่ิ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขนึ้ อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมทู่ ่ี 7 ตำบลนาวงั หิน วดั ตระพงั ทอง แหลง่ เรียนรู้ประเภทส่งิ ท่ีมนษุ ย์สร้างขนึ้ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี หมทู่ ี่ 8 ตำบลนาวังหนิ สถาบันการเงนิ ชุมชนบ้านสระนา แหลง่ เรียนรู้ประเภทสง่ิ ที่มนษุ ย์สรา้ งขึ้น อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี หมทู่ ี่ 5 ตำบลนาวังหิน วัดนามะตูม แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสิ่งที่มนษุ ย์สร้างขนึ้ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู่ ่ี 5 ตำบลนาวงั หนิ รร.วดั ใหม่ทา่ โพธ์ิ แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสง่ิ ท่ีมนุษยส์ รา้ งข้ึน อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หมูท่ ี่ 3 ตำบลนามะตูม กลุม่ สตรกี ารทำขนมไทย แหลง่ เรยี นร้ปู ระเภทส่ิงท่ีมนุษยส์ รา้ งขน้ึ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมู่ที่ 2ตำบลนามะตูม ศูนย์เศรษฐกจิ พอพียง แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสิ่งที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หมทู่ ี่ 2 ตำบลนามะตูม วดั หลวงพรหมาวาส แหล่งเรียนร้ปู ระเภทส่ิงที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมทู่ ่ี 3 ตำบลนามะตมู วัดแกว้ น้อย แหล่งเรียนรู้ประเภทสงิ่ ที่มนษุ ย์สร้างข้นึ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ท่ี 7 ตำบลวดั หลวง สวนสมุนไพร แหล่งเรียนรู้ประเภทบคุ คล อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 7 ตำบลวัดหลวง ศนู ย์เศรษฐกิจพอเพยี ง แหล่งเรยี นรู้ประเภทสิ่งที่มนุษย์สรา้ งขึ้น อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 7 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี 13 หมูท่ ี่ 8 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี

ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ความรู้ความสามารถ 21 นางบญุ ธรรม วเิ ชยี ร การจกั สานไม้ไผ่ ที่อยู่ นางสาวจารพุ รรณ์ อารยิ วัฒน์ ศลิ ปหตั ถกรรม หมทู่ ่ี 10 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี นางณัฐณกิ า คำสิงห์ ศิลปหตั ถกรรมและการจักสาน หมู่ที่ 10 ตำบลนาวงั หิน อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี นางสมนึก สจุ ติ ธรรมรัตนะ การจกั สานไมไ้ ผ่ หมทู่ ่ี 4 ตำบลนาวงั หนิ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นางรัชนีกร มะมี จักสานไม้ไผ่ หมทู่ ่ี 8 ตำบลนาวงั หิน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ความรู้ความสามารถ 21 หมทู่ ี่ 1ตำบลไรห่ ลกั ทอง อำเภอ นางจรินทร์ จันทนา การทำปลารา้ พนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี นายสันติ หมวกสีปาน เกษตรผสมผสาน ทอี่ ยู่ 9 หม่ทู ่ี 9 ตำบลไรห่ ลกั ทอง นายสมรกั คำวงษ์ เกษตรผสมผสาน อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี 35 หมูท่ ี่ 7 ตำบลไร่หลกั ทอง นางสาวรำไพ ตันวฒั นกลุ การจกั สานไมไ้ ผ่ อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี 36 หมทู่ ี่ 6 ตำบลไรห่ ลกั ทอง นางวชั รีย์ภรณ์ มานเู จริญ เศรษฐกิจพอเพยี ง อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี 87 หมทู่ ่ี 5 ตำบลบ้านช้าง นางรชั ภร วุฒิทรงยศ การเกษตรกรรม อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี นายวชิ ยั กา้ นบัว การพฒั นาดนิ / ปุ๋ยชีวภาพ 24/1 หมทู่ ่7ี ตำบลบา้ นช้าง นายเสาวภา สวัสดี ด้านสุขภาพอนามยั อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี นานชิ าภา อำภัยบุญ ด้านศลิ ปหัตถกรรม หมู่ที่ 8 ตำบลหนองปรืออำเภอพนสั นางรกั เหรยี ญทอง ดา้ นศิลปหัตถกรรม – กองทุนออมทรัพย์ นิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 10 ตำบลหนองปรอื อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 7 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 6 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี หมู่ท่ี 1 ตำบลหนองปรือ

นางเพ็ญภกั ดิ์ แกว้ สุข ศลิ ปะหตั ถกรรม – จกั รสาน 22 นายดิลก พวงภู่ ขา้ ว การแปรรูปข้าว โรงสขี า้ ว อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นางน่มิ นวล ทรงจิตรัตน์ ดอกไม้จากผา้ ใยบัว หมู่ที่ 9 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นายบุญเจตน์ ภูมะโครต เกษตรผสมผสาน หม่ทู ่ี 3 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี นางเสาว์ วชิรวิทยากร จกั สาน 47/17 หมู่ที่ 1 ตำบลกุฎโงง้ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี นายอำพล พงศ์พัชราพนั ธุ์ เกษตรผสมผสาน 32/1 หมู่ที่ 6 ตำบลกฎุ โงง้ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นายสมภพ เจรญิ วุฒิวนพนั ธ์ ตรวจวิเคราะห์ดิน ปุ๋ย 83/5 หมูท่ ่ี 13 ตำบลนาเรกิ อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี นางประไพ สรุ ินทร์ ดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 77 หมทู่ ี่ 3 ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ความรคู้ วามสามารถ 218 หมู่ที่ 11 ตำบลนาเรกิ นางอุดม เบา้ ภาระ การจักสาน อาหาร อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี นางสาวชตุ ิมา เบ้าภาระ การจกั สาน หมูท่ ี่ 11 ตำบลหนา้ พระธาตุ นางวันเพ็ญ มิษเกตุ การจักสาน อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี นายทำนนท์ แซล่ ี้ เกษตรอนิ ทรยี ์ นางสมศรี ทองแพง การแปรรูปสมุนไพร ที่อยู่ นางลดั ดา พลาชีวะ หัตถกรรม หมทู่ ่ี 10 ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 10 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 11 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี 214/1 หมู่ที่ 8 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี 56/1 หมู่ท่ี 8 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี 20 หมทู่ ่ี 15 ตำบลหนองเหยี ง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี

23 นางสาวอญั ชลี ทองนพคุณ เกษตรอนิ ทรยี ์ 43/2 หมู่ท่ี 7 ตำบลโคกเพลาะ นางละมัย จนั ทนา การทำหม่ีกรอบ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี นางนพ เอมเปีย การทำจกั สาน (ตะกร้าไก่) 30 หมูท่ ่ี 4 ตำบลโคกเพลาะ นางประไพ หนา่ ยคอน การทำขนมหวาน อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นายสามารถ กระจ่าง แพทย์แผนไทย ยาสมุนไพร 14 หม่ทู ี่ 7 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี นางปภาดา มหงิ ษาเดช หตั ถกรรม เชน่ การถักเสือ้ กระเปา๋ จากโครเชต์ 34 หม่ทู 4ี่ ตำบลโคกเพลาะ นายสันต์ ขานอ้ ย การทำไมก้ วาดทางมะพร้าว การทำหน่อไม้ดอง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี นางบหุ งา ถน่ิ สิรพิ ัฒนกิจ การทำนำ้ มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ บา้ นหนองกุมภัณฑ์ หมู่ที่ 5 นางอุดม แซ่เอ๊ียว เกษตรอนิ ทรยี ์ ตาบลท่งุ ขวาง อาเภอพนสั นิคม นายอนันต์ หาชติ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ จงั หวัดชลบุรี นางปรานอม พงษ์เผ่ือน การทำเกษตรอนิ ทรีย์ 22/2 หมทู่ ี่ 6 ตาบลทุง่ ขวาง นางสาวมารศรี ดาศิริ การแปรรูปอาหาร อาเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี 42 หมู่ท่ี 6 ตาบลทุ่งขวาง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความร้คู วามสามารถ อาเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี นางกนั ยา นทั ธี การตดั เยบ็ เสื้อผ้า 3/3 หมูท่ ่ี 6 ตาบลทุ่งขวาง นางสาวจุฑารัตน์ เพ็ชรหนู เสริมสวย อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี นายวรี ะพนั ธ์ จนั ทรนภิ า การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ 49 หมู่ที่ 6 ตาบลทุ่งขวาง อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี หมทู่ ี่ 4 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ท6ี่ ตำบลหมอนนาง อาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ท่ี 12 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ทอี่ ยู่ หมูท่ ี่ 11 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 6 ตำบลหมอนนาง อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมทู่ ่ี 10 ตำบลหมอนนาง

นายเจรญิ มีดนิ ดำ การทำเกษตรอินทรยี ์ 24 นายไพบูลย์ หาทรัพย์ ด้านการทำเกษตรผสมผสาน อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมทู่ ี่ 4 ตำบลหมอนนาง นางเสาวลกั ษณ์ แตงโสภา ดา้ นการแปรรปู อาหาร อาเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมู่ 1 บา้ นใน ตำบลสระสเ่ี หลี่ยม นางบญั จรตั น์ รอ่ งแก้ว หมอดิน อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมู่ 7 บา้ นไร่ ตำบลสระส่ีเหลี่ยม นางสาวสมพร หม่ืนยุทธ การสานตะกร้าทางมะพรา้ ว อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่ 6 บ้านตม ตำบลสระสีเ่ หล่ียม นายประวงิ ทองมา การสานตะกรา้ ทางมะพร้าว อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมู่ 1 บา้ นใน ตำบลสระสีเ่ หล่ียม นางสาวสมพร หม่ืนยุทธ การทำขนมไทย อาเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมู่ 9 บ้านโคก ตำบลสระสเี่ หลย่ี ม ดา้ นการเพน้ ผ้าบาติก เพ้นผ้าบาติก อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี หมู่ 1 บา้ นใน ตำบลสระสี่เหลี่ยม ดา้ นการสานตะกร้าไหมฟาง สานตะกรา้ ไหมฟาง อาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี 32 หมู่ท่ี 6 ตำบลท่าขา้ ม การสานสมุ่ ไกไ่ ผส่ สี ขุ (นายมานะ การสานสุ่มไม้ไผ่ อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูท่ ่ี 1 ตำบลทา่ ขา้ ม รอดเงิน) อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี 72/2 หม่ทู ี่ 3 ตำบลหัวถนน นางบญุ ชู มณีศรี การแปรรปู อาหาร/หตั กรรม อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู่ ่ี 1 ตำบลนามะตูม นางสาคร จำรัส สานตะกรา้ พลาสตกิ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 2 ตำบลนามะตมู นางระเบยี บ นาคทิพย์ ขนมไทย อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หมูท่ ่ี 2 ตำบลนามะตมู นางสาวละเมยี ด อฐิ งาม การดูแลผู้สงู อายุ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี 6 หมู่ท่ี 4 ตำบลวัดหลวง นางพรรณี หมีเฟ่ือง วฒั นธรรมประเพณี อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี 24 หมู่ที่ 4 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี

25 ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ความร้คู วามสามารถ ทอ่ี ยู่ นายสุธน ลบแท่น การทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเยน็ การทำยาหม่อง 13 หมทู่ 8ี่ ตำบลหนองขยาด นางศศินันท์ เกียรติธนิ นั ต์ สมนุ ไพร การทำเตาชวี มวล เกษตรผสมผสาน อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี นางอำพร แซต่ น๊ั แปรรูปสมุนไพร นางสาวชตุ มิ า เบ้าภาระ การทำน้ำสมุนไพร การทำขนมไทย 23 หมู่ท่ี7 ตำบลหนองขยาด นางวนั เพ็ญ มิษเกตุ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี ภาคเี ครือข่าย องค์การบรหิ ารส่วนตำบลตำบล การทำขนมไทย แปรรูปสมุนไพร ตดั เยบ็ เส้อื ผา้ 13 หมู่ที่8 ตำบลหนองขยาด ไรห่ ลกั ทอง โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี ประจำตำบลไรห่ ลักทอง โรงเรยี นวัดกลางคลองหลวง การจกั สาน ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านชา้ ง จงั หวัดชลบุรี องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบ้าน ช้าง การจักสาน ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ ตำบลหนองปรือ จังหวดั ชลบุรี องค์การบริหารสว่ นตำบล หนองปรือ ท่อี ยู/่ ท่ีตง้ั เทศบาลตำบลกุฎโงง้ โรงพยาบาลพนัสนิคม หมู่ท่ี 9ตำบลไรห่ ลักทอง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี โรงเรียนพนัสพิทยาคาร องค์การบริหารสว่ นตำบลนาเริก หมทู่ ี่ 4ตำบลไรห่ ลักทอง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่ท่ี 9ตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี หมู่ที่ 6 ตำบลบา้ นช้าง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี 222 หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หม่ทู ่ี 7 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี หมทู่ ่ี 3 ตำบลหนองปรือ อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี หมู่ที่ 5 ตำบลกฎุ โงง้ อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมู่ที่ 6 ตำบลกฎุ โง้ง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่ที่ 6 ตำบลกุฎโงง้ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี หมู่ที่ 10 ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี

26 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ หมู่ท่ี 3 ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ตำบลนาเริก โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล หมู่ท1ี่ 0 ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี นาเริก (บ้านเนนิ แร่) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ หมทู่ ี่ 6 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี ตำบลหน้าพระธาตุ องค์การบริหารสว่ นตำบล หมทู่ 1ี่ 1 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี ภาคเี ครือขา่ ย ท่ีอยู่/ทต่ี ง้ั อาสาสมัครสง่ เสริมสุขภาพตำบล ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล หมู่ที่ 11 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หนองเหียง (บ้านหนองข่า) โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล หมู่ที่ 13 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี หนองเหียง (บ้านไร่เส่ธ์) องค์การบรหิ ารส่วนตำบล หมู่ที่ 12 ตำบลหนองเหยี ง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หนองเหียง โรงเรยี นวัดเนินตามาก หมู่ท่ี 7 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี โรงเรยี นวัดโคกเพลาะ หมู่ที่ 2 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล หมทู่ ี่ 5 ตำบลโคกเพลาะ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี โคกเพลาะ องค์การบริหารส่วนตำบล หมทู่ 7่ี ตำบลโคกเพลาะอำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี โคกเพลาะ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล 95 หมู่ 9 ตำบลทงุ่ ขวาง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี ท่งุ ขวาง องค์การบริหารสว่ นตำบล 43 หมู่ 3 ตำบลทงุ่ ขวาง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี ทุ่งขวาง ชมรมกำนนั -ผู้ใหญ่บา้ นตำบล ตำบลทงุ่ ขวาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ทุ่งขวาง เทศบาลตำบลหมอนนาง 111 หมทู่ ี่ 6 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล หมู่ท่ี 2 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี หมอนนาง(บา้ นหนองไทร)

27 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หมทู่ ี่ 4 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หมอนนาง(บา้ นท่งุ เหยี ง) โรงเรียนทุ่งเพยี งพทิ ยาคม หมทู่ ่ี 4 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี โรงเรียนบา้ นตลาดทุง่ เหยี ง หมู่ท่ี 4 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี โรงเรยี นบา้ นหนองพรหม หมู่ท่ี 2 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี องค์การบริหารสว่ นตำบล เลขท่ี 99 หมู่ 6 บ้านตม ตำบลสระสเ่ี หลี่ยม อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี สระสี่เหล่ียม โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล หมู่ 9 บา้ นโคก ตำบลสระสีเ่ หล่ยี ม อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี สระสี่เหลยี ม องค์การบริหารส่วนตำบลตำบล ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี วัดโบสถ์ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล ตำบลวดั โบสถ์ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี วดั โบสถ์ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลทา่ ขา้ ม หมทู่ ่ี 1 ตำบลทา่ ข้าม อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี ภาคีเครอื ข่าย ทอ่ี ยู่/ทต่ี งั้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ หมู่ที่ 1 ตำบลทา่ ข้าม อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี ตำบลท่าข้าม ชมรมสงู อายตุ ำบลทา่ ข้าม หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขา้ ม อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี เทศบาลตำบลหวั ถนน หมู่ที่ 9 ตำบลหัวถนน อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ อาคารรพสตำบลหัวถนน หมู่ท่ี 1 ตำบลหัวถนน อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี ตำบลหวั ถนน ชมรมผูส้ งู อายตุ ำบลหัวถนน อาคารรพสตำบลหัวถนน หมู่ท่ี 1 ตำบลหวั ถนน อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี กลุม่ สตรีตำบลหัวถนน เทศบาลตำบลหวั ถนน หมทู่ ี่ 9 ตำบลหัวถนน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล หมทู่ ่ี 10 ตำบลนาวงั หิน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี นาวงั หิน องค์การบริหารสว่ นตำบล หมทู่ ่ี 9 ตำบลนาวงั หิน อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี นาวงั หนิ องค์การบรหิ ารส่วนตำบล หมู่ที่ 4 ตำบลนามะตูม อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี นามะตูม โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ หมู่ที่ 4 ตำบลนามะตูม อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี ตำบลนามะตูม

28 เจา้ หนา้ ทเ่ี กษตรตำบลนามะตูม หมทู่ ี่ 4 ตำบลนามะตมู อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี องค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 1 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี วัดหลวง วดั หลวงพรหมาวาส หมู่ที่ 7 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล หมู่ท่ี 7 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี วัดหลวง องค์การบรหิ ารส่วนตำบล หมู่ทที่ ่ี 5 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หนองขยาด โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล หมู่ท่ี 4 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี หนองขยาด วดั หนองขยาด หม่ทู ่ี 7 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี วัดหนองม่วงใหม่ หมู่ที่ 6 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี หมายเหตุ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ สามารถจำแนกได้เป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย 1. แหล่งเรยี นรู้ประเภทบุคคล 2. แหล่งเรยี นรู้ประเภทส่ิงทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ 3. แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภททรพั ยากรธรรมชาติ 4. แหลง่ เรียนรู้ประเภทกิจกรรมทางสงั คม รางวลั เกยี รตบิ ตั ร เกยี รตยิ ศ และผลงานดีเด่นของสถานศึกษา (ปีปัจจบุ นั ) 1. ได้รับเกียรติบัตร ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ พนัสนิคม เป็นกำลังสำคัญในการสนับสนุนและขับเคลื่อนภารกิจ ศส.ปชต.(ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหวา่ งสำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งกับสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2557) โครงการสร้างจิตสำนึกพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมชุมนุมเสวนาและการ ประกวด ศส.ปชต.ดีเดน่ ระดบั จังหวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 2. ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ในการร่วมดำเนินโครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด” ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2561 3. บ้านหนังสือชุมชนบ้านหนองโมกข์ กศน.ตำบลนาเริก อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ได้รบั รางวลั บา้ นหนังสือชุมชนต้นแบบ พุทธศกั ราช 2560 ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 6 สิงหาคม 2561

29 4. กศน.ตำบลนาเรกิ ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศอนั ดับท่ี 1 ของจังหวัดชลบรุ ี โครงการสร้างจติ สำนึกพลเมือง ดวี ิถีประชาธิปไตย กิจกรรมชุมนมุ เสวนาและการประกวด ศส.ปชต.ดเี ดน่ ระดับจังหวัดชลบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 20 มถิ ุนายน 2561

30 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ท่ีผ่านมา 1. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณท่ผี ่านมา ตัวบ่งช้ี นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา คะแนน คา่ เฉล่ยี ระดบั คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ ตัวบง่ ช้ี 1.1 ผ้เู รียนมีสุขภาพกายสขุ ภาพจติ ทด่ี ี 3 2.89 ดมี าก 2.98 ตวั บง่ ช้ี 1.2 ผ้เู รยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดมี าก คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 3 2.90 ดมี าก ตวั บ่งช้ี 1.3 ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ยา่ ง ตอ่ เน่ือง 3 ตัวบง่ ชี้ 1.4 ผู้เรียน คิดเป็น ทำเป็น 3 2.70 ดีมาก 6.68 พอใช้ ตวั บง่ ช้ี 1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 10 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ 1.6 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผเู้ รียน 5 4.98 ดีมาก การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ตวั บ่งช้ี 1.7 ผเู้ รยี นมีงานทำหรอื รายได้เสริม มีทักษะ ในการทำงานสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนไดแ้ ละ 5 4.50 ดีมาก มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชีพสจุ รติ ตัวบง่ ช้ี 1.8 ความพงึ พอใจต่อการให้บรกิ ารการศึกษา 3 2.95 ดีมาก ตามอธั ยาศัย 30.58 ดี ภาพรวมมาตรฐานท่ี 1 35 มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/ การให้บรกิ าร ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพของหลกั สูตร 4 3.70 ดมี าก 3.51 ดีมาก ตัวบง่ ช้ี 2.2 คุณภาพครู 4 3.62 ดมี าก 2.82 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ 2.3 คุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของครู 4 และผู้สอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ 2.73 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ 2.4 คุณภาพผู้สอน/วิทยากรการศึกษา 3 ต่อเนอื่ ง ตวั บ่งช้ี 2.5 คุณภาพสื่อท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของ 3 ผู้เรียนและผ้รู บั บริการ

ตัวบ่งช้ี 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 4 3.80 31 ตวั บง่ ชี้ 2.7 การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ 3 2.75 25 22.93 ดีมาก ภาพรวมมาตรฐานที่ 2 ดีมาก ดมี าก ตวั บ่งช้ี นำ้ หนกั ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา คะแนน ค่าเฉลย่ี ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 3 การบรหิ ารการศึกษา ตวั บ่งชี้ 3.1 คุณภาพของการบรหิ ารสถานศึกษา 2 1.93 ดมี าก 1.85 ดมี าก ตวั บง่ ช้ี 3.2 ระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ 2 1.77 ดี ตัวบง่ ช้ี 3.3 ผลการบริหารความเส่ยี ง 2 1.93 ดีมาก ตัวบ่งช้ี 3.4 ผลการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องผู้บรหิ าร 2 สถานศึกษา ตัวบง่ ชี้ 3.5 ผลการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่ของ 2 1.97 ดมี าก กรรมการสถานศึกษา 9.45 ดีมาก ภาพรวมมาตรฐานท่ี 3 10 มาตรฐานท่ี 4 การประกนั คุณภาพการศึกษา ตัวบง่ ช้ี 4.1 การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 5 4.64 ดีมาก 4.18 ดี ตวั บ่งช้ี 4.2 การประเมินคุณภาพภายในตน้ สังกัด 5 8.82 ดี ภาพรวมมาตรฐานท่ี 4 10 มาตรฐานท่ี 5 อตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา ตวั บ่งชี้ 5.1 ผลการพัฒนาให้บรรลเุ ปา้ หมายตาม ปรัชญา พันธกจิ และวัตถุประสงคก์ ารจดั ตัง้ 5 4.80 ดมี าก สถานศกึ ษา 4.75 ดมี าก 9.55 ดมี าก ตวั บ่งช้ี 5.2 ผลการพฒั นาตามจัดเนน้ และจุดเดน่ ที่ 5 สะทอ้ นเอกลักษณข์ องสถานศึกษา 4.80 ดีมาก ภาพรวมมาตรฐานที่ 5 10 มาตรฐานท่ี 6 มาตรการสเ่ สรมิ ตัวบง่ ชี้ 6.1 ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพอ่ื 5 ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพฒั นาสู่ความ

32 ย่งั ยืน เพ่ือให้สอดคล้องกันนโยบายทางการศึกษาของ 5 4.85 ดีมาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 10 9.65 ดีมาก ตวั บ่งช้ี 6.2 ผลท่เี กิดจากการส่งเสริมการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใน ชุมชน ภาพรวมมาตรฐานท่ี 6  ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาจากผลการประเมนิ ตนเอง 1. สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้เรียน โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและการทำงานให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและครอบคลุมอย่างมีคุณภาพ โดยการบูรณาการ แผนการสอน และเพ่มิ ทางเลือกใหเ้ ขา้ ถึงการศึกษาให้มากขัน้ พัฒนาให้ผเู้ รียนมีความใฝเ่ รยี นรู้และกลา้ แสดงความ คิดเห็นในที่สาธารณะ ฝึกการยอมรับความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและการอยู่ ร่วมกันในสังคมชุมชน นอกจากนี้การปรับพื้นฐานการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ผู้เรียน คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์และตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ โดยการนำขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง สังคม และวิชาการ มาใช้อย่างถกู ต้องและสามารถปรับตวั ให้อยู่ในสังคมได้ 2. สถานศึกษาควรพัฒนาครูให้มคี ุณภาพอย่างตอ่ เนือ่ ง โดยส่งเสริมความสามารถในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบในการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม อัธยาศัย ได้แก่ กิจกรรมการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน การบันทึก หลังสอน การวิจัยในชั้นเรียน การสำรวจติดตามผู้เรียน กศน. เป็นต้น สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและสถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูได้รับการศึกษาต่อ เพื่อให้ได้รับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครูเพมิ่ เติม 3. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ กศน.อำเภอ และกศน.ตำบลอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาการบริหารความเสี่ยง การมีส่วนร่วม เพื่อการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 4. สถานศึกษาควรมีการติดตามผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาไปแล้วเพิ่มเติม เพื่อให้ทราบว่าผลผลิตของ สถานศึกษามีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนดขึ้นมาเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของชุมชน 5. สถานศึกษาควรมีการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมการเครือขา่ ย ในการยกระดับมาตรฐานการศึกษา สู่การพัฒนายั่งยืน ในการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แบบมีส่วนร่วม ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การ วางแผนงาน การดำเนินงาน การวัดผลและประเมินผล การติดตามผล เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายและ การสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรูท้ ย่ี งั่ ยนื ตอ่ ไป

33 2. ผลการประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษาโดยตน้ สังกดั ครง้ั ลา่ สุด ตวั บง่ ช้ี น้ำหนกั ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา คะแนน ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร ตวั บง่ ชี้ 1.1 ผู้เรยี นมสี ุขภาพกายสขุ ภาพจิตท่ีดี 3 2.60 ดี ตวั บ่งช้ี 1.2 ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ 3 2.91 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ 1.3 ผ้เู รยี นมคี วามใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ย่าง ต่อเน่อื ง 3 2.66 ดี 2.46 ดี ตัวบ่งชี้ 1.4 ผเู้ รยี น คดิ เปน็ ทำเป็น 3 6.55 พอใช้ ตวั บ่งช้ี 1.5 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รยี น 10 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ตัวบง่ ชี้ 1.6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 5 5.00 ดีมาก การศึกษาต่อเนอ่ื ง ตวั บ่งชี้ 1.7 ผู้เรยี นมงี านทำหรือรายไดเ้ สรมิ มที กั ษะ ในการทำงานสามารถทำงานร่วมกับผอู้ ่นื ไดแ้ ละ 5 4.29 ดี มีเจตคตทิ ีด่ ีต่ออาชพี สจุ รติ ตัวบง่ ช้ี 1.8 ความพึงพอใจต่อการใหบ้ รกิ ารการศึกษา 3 2.62 ดีมาก ตามอธั ยาศัย 29.09 ดี ภาพรวมมาตรฐานที่ 1 35 มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/ การให้บรกิ าร ตัวบ่งช้ี 2.1 คุณภาพของหลกั สูตร 4 3.20 ดี 3.20 ดี ตวั บง่ ช้ี 2.2 คุณภาพครู 4 3.20 ดี 2.40 ดี ตวั บ่งชี้ 2.3 คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครู 4 และผูส้ อนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 2.40 ดี 3.20 ดี ตวั บ่งช้ี 2.4 คุณภาพผู้สอน/วิทยากรการศึกษา 3 ตอ่ เน่ือง ตวั บ่งชี้ 2.5 คณุ ภาพส่ือท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของ 3 ผู้เรยี นและผู้รับบริการ ตวั บง่ ช้ี 2.6 คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 4

ตัวบ่งช้ี 2.7 การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 3 2.40 34 ภาพรวมมาตรฐานท่ี 2 25 20.00 ดี ดี ตวั บ่งช้ี น้ำหนัก ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา คะแนน ค่าเฉลีย่ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 3 การบรหิ ารการศึกษา ตัวบ่งชี้ 3.1 คุณภาพของการบริหารสถานศกึ ษา 2 2.00 ดมี าก 1.60 ดี ตัวบง่ ชี้ 3.2 ระบบฐานข้อมูลเพอ่ื การบริหารจัดการ 2 1.60 ดี ตวั บง่ ชี้ 3.3 ผลการบรหิ ารความเสยี่ ง 2 2.00 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ 3.4 ผลการปฏบิ ตั ิหน้าที่ของผู้บรหิ าร 2 สถานศึกษา ตัวบ่งช้ี 3.5 ผลการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ีของ 2 1.60 ดี กรรมการสถานศกึ ษา 8.80 ดี ภาพรวมมาตรฐานที่ 3 10 มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ 4.1 การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 5 4.00 ดี 4.89 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 4.2 การประเมินคุณภาพภายในตน้ สงั กัด 5 8.89 ดี ภาพรวมมาตรฐานท่ี 4 10 มาตรฐานท่ี 5 อตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ 5.1 ผลการพฒั นาให้บรรลเุ ปา้ หมายตาม ปรัชญา พนั ธกิจ และวตั ถุประสงคก์ ารจัดตง้ั 5 4.00 ดี สถานศึกษา 4.00 ดี 8.00 ดี ตัวบง่ ช้ี 5.2 ผลการพัฒนาตามจัดเนน้ และจุดเดน่ ท่ี 5 สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ภาพรวมมาตรฐานที่ 5 10 มาตรฐานที่ 6 มาตรการสเ่ สรมิ ตวั บ่งช้ี 6.1 ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและพัฒนาส่คู วาม 5 4.00 ดี ยัง่ ยืน เพอื่ ให้สอดคล้องกนั นโยบายทางการศึกษาของ กระทรวงศกึ ษาธิการ

35 ตัวบ่งชี้ 6.2 ผลท่ีเกดิ จากการสง่ เสริมการจัด 5 5.00 ดีมาก การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใน 10 9.00 ดีมาก ชมุ ชน ภาพรวมมาตรฐานท่ี 6 ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนาจากผลการประเมนิ สถานศึกษาโดยตน้ สงั กดั 1. สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนคิดเป็น ทำเป็น มากยิ่งขนึ้ 2. สถานศึกษาควรพฒั นาการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่อื ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผ้เู รียน สูงขึ้น และจัดให้มีการสอนเสรมิ ในรายวิชาคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย 3. สถานศกึ ษาควรจดั เกบ็ เอกสารให้เป็นระบบและครบถ้วนเพอ่ื ความสะดวกในการตรวจสอบเอกสาร 4. สถานศึกษาควรประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมทกุ กจิ กรรม และนเิ ทศ ติดตามผลการจดั กิจกรรม เพ่ือนำ ผลมาพฒั นา/ปรบั ปรงุ งานให้ดีข้นึ 5. สถานศกึ ษาควรนำผลจากการประเมินการปฏบิ ตั งิ านมาเปน็ ขอ้ มูลในการปรับปรงุ และพัฒนางานใหด้ ี ขึน้ โดยเนน้ กระบวนการ PDCA 6. สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ให้ครูจดั ทำบนั ทึกหลงั สอนใหส้ ามารถสะทอ้ นผลการจัดการเรียนการสอนและ นำไปสู่การวจิ ัยในชั้นเรียนให้มีคุณภาพ 7. สถานศึกษาควรมกี ารพัฒนาครู ผสู้ อน/วทิ ยากร และบคุ ลากรทัง้ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษา ตอ่ เนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างต่อเน่ือง 8. สถานศกึ ษาควรพฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การ พฒั นามาตรฐาน ตัวบ่งช้ี เพื่อนำไปสู่การปฏบิ ัติอยา่ งมีคณุ ภาพ 9. สถานศกึ ษาควรกำหนดเอกลักษณ์ และอตั ลกั ษณ์ ไม่ให้หลากหลายโดยใหเ้ น้นจดุ เดน่ ทช่ี ัดเจน ประเมนิ ได้ และเนน้ การจัดกจิ กรรมให้บรรลุอัตลกั ษณ์ของสถานศึกษา 10. สถานศึกษาควรส่งเสรมิ ใหโ้ อกาส ครู ผู้เรียน บคุ ลากร ชมุ ชน รวบรวมส่งผลงานเด่น ๆ ของ สถานศกึ ษา เข้าประกวดในระดบั ท้องถน่ิ จังหวดั ภาค และระดบั ประเทศ เพื่อการประชาสมั พันธ์เผยแพรก่ าร ดำเนนิ งาน 11. สถานศึกษาควรจัดประชุมเครือขา่ ย เพื่อรับฟงั และแลกเปลีย่ นข้อมูลร่วมกันอยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือการ ปรับปรงุ และพฒั นากจิ กรรม กศน.

36 3. ผลการปะเมินคณุ ภาพภายนอก (ครัง้ ล่าสดุ ) ตวั บ่งช้ี น้ำหนกั ค่า ระดับ (คะแนน) คะแนน คุณภาพ กลุ่มตัวบง่ ชพี้ น้ื ฐาน 9.66 ดมี าก 9.05 ดมี าก 1. ผู้เรยี นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี 10.00 8.35 2. ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ 10.00 8.28 ดี 3. ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง 10.00 16.64 ดี 4. ผูเ้ รยี นคดิ เป็น ทำเปน็ 10.00 8.00 ดมี าก 5. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรียน 20.00 4.80 ดี 6. ประสิทธิผลของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ 10.00 3.49 ดมี าก 7. ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 68.27 พอใช้ 8. พฒั นาการของประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้ สังกัด 5.00 ดี 80.00 5.00 ผลรวมคะแนนการประเมินของตวั บง่ ช้พี ้นื ฐาน ดีมาก 5.00 กลมุ่ ตวั บ่งชอ้ี ตั ลักษณ์ ดมี าก 10.00 9. ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปญธิ าน พนั ธกจิ และ 5.00 ดีมาก วัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศกึ ษา 5.00 ดมี าก 10. ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่นทีส่ ่งผลสะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณ์ 5.00 5.00 ของสถานศกึ ษา ดีมาก 10.00 ผลรวมคะแนนการประเมินของตวั บ่งชี้อัตลกั ษณ์ 10.00 88.27 ดมี าก ดี กลมุ่ ตัวบง่ ช้มี าตรการส่งเสริม 11. ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาทของ 5.00 สถานศึกษา 12. ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดบั มาตรฐาน รักษา 5.00 มาตรฐาน และพฒั นาส่คู วามเป็นเลิศ ท่สี อดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ูปการศึกษา ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตวั บง่ ชม้ี าตรการสง่ เสริม 10.00 ผลรวมคะแนนการประเมินของทุกตัวบ่งช้ี 100.00

37 สรุปผลการประเมินตามกลุ่มตวั บ่งชีข้ อง สมศ. ตัวบง่ ชี้ คะแนน คะแนน เต็ม กล่มุ ประเภทตัวบ่งชี้ 1-8 80.00 68.27 9 - 10 10.00 10.00 ผลรวมคะแนนตัวบง่ ชีพ้ ้นื ฐาน 11 - 12 10.00 10.00 ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ 100.00 88.27 ผลรวมคะแนนตัวบ่งช้ีมาตรการสง่ เสริม ตัวบง่ ช้ี คะแนน คะแนน ภาพรวม เต็ม ระดับคุณภาพ ดี 1 - 5 และ 9 - 11 4.60 ดมี าก สรุปผลการประเมนิ ตามมาตรฐานกฎกระทรวง 7 และ 12 4.90 ดีมาก 6 4.00 มาตรฐานกฎกระทรวง 8 3.49 ดี พอใช้ ผลการจัดการศึกษา การบริหารจดั การศึกษา การจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การประกนั คณุ ภาพภายใน  ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาจากผลการประเมนิ คุณภาพนอก 1. ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ควรใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม โดยให้กล่มุ เป้าหมายได้ฝึก คดิ ทำ จำ แกป้ ญั หา พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง และควรมีการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการ เหมาะสมกบั วัยวฒุ ิ โดยครู กศน.ตำบลทุกตำบล ทำการศึกษาวเิ คราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคลอยา่ งจริงจัง แล้วนำ ข้อมลู ท่ีไดม้ าใช้ในการวางแผน การออกแบบการเรียนรู้ จัดการเรยี นรทู้ ีท่ า้ ยทายความสามารถของผูเ้ รียน ตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพื่อนำผเู้ รียนไปสู่เป้าหมาย 2. ควรพัฒนารูปแบบและวิธีการเรียนรู้การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้มคี วามหลากหลายเพ่ือกระต้นุ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวติ และสนบั สนนุ ใหฝ้ ึกทักษะฝีมือใหเ้ กดิ ความชำนาญในการผลติ สินค้า และบริการ และมีการตรวจสอบคุณภาพสนิ ค้ากอ่ นออกจำหน่าย 3. ผูเ้ รียนควรได้รับการส่งเสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ แก้ปัญหา และคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ ดว้ ยกจิ กรรมหลากหลาย ที่ครูอาจจดั แหล่งเรียนร้เู พ่อื สง่ เสริมให้ผ้เู รียนได้พฒั นาความสามารถของตนเองจัด กระบวนการเรยี นรู้แบบโครงการ/โครงงาน ทีเ่ กดิ จากความอยากรขู้ องผูเ้ รียน นำภูมปิ ญั ญาในท้องถิ่นมาใชจ้ ัดการ

38 เรียนร้ใู หค้ ุ้มคา่ ให้ผู้เรียนได้มีส่วนรว่ มมาก ๆ ใชค้ ำถามทเี่ ป็นเหตุเปน็ ผล 4. ครคู วรเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลการเรียนการสอนทั้งระหวา่ งภาค เรยี นและปลายภารเรยี น จดั ระบบสอนซ่อมเสริมใหไ้ ด้มาตรฐาน มกี ารนำผลการประเมนิ มาใหใ้ นการปรบั การเรียน เปลย่ี นการสอน เพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นให้เต็มตามศกั ยภาพ 5. หากสถานศึกษาประสงค์จะใหม้ ีการดำเนนิ การท่ตี ่อเนอ่ื ง เชื่อมโยง และสอดรับกบั หลักการประกนั คณุ ภาพทวี่ ่า “ต้องทำอย่างต่อเน่อื ง ทำทุกวัน ทำทุกคน” ดังนั้น เม่อื ได้รบั เล่มร่างรายงาน ควรดำเนินการวเิ คราะห์ ปัญหา/อุปสรรค ตลอดจนข้อเสนอแนะทีส่ ามารถดำเนินการได้ เพ่ือนำไปเปน็ ส่วนหนึง่ ในการวางแผนจัดทำ แผนปฏิบัติการในปตี ่อไป 6. สถานศึกษาควรติดตามสง่ เสริมการพฒั นาตอ่ ยอดกิจกรรมท่มี ีอยู่แล้ว ให้เขา้ สู่มสตรฐานสากล และ เพ่มิ เติมกจิ กรรมใหม่ ๆ ให้กับชุมชนตามความต้องการและความสนใจของชุมชน

39 บทที่ 2 ทิศทางและผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นิคม ได้กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏบิ ัติการประจำปี โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ทศิ ทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา ปรชั ญา ยกระดับการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง วสิ ัยทัศน์ กศน.อำเภอพนัสนิคม จดั และส่งเสริม สนบั สนนุ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับ ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายอำเภอพนัสนคิ มได้อย่างมีคุณภาพด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อตั ลักษณ์สถานศึกษา ใฝเ่ รยี นรู้ เอกลกั ษณส์ ถานศึกษา ทมี งานเข้มแข็ง พันธกจิ ของสถานศกึ ษา 1. จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทมี่ ีคุณภาพ เพอื่ ยกระดับ การศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรียนร้ขู องประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการ เปลยี่ นแปลงบริบททางสังคมและสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวติ 2. สง่ เสริมสนบั สนนุ และประสานการมีสว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยและชุมชน ในการจดั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของชุมชนรวมทั้งการดาํ เนนิ กจิ กรรมของศูนย์ การเรยี น และแหล่งการเรยี นรู้ในรูปแบบต่างๆ 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาการนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาใชใ้ ห้ เกดิ ประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชน อยา่ งทว่ั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตรรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เทคโนโลยีส่อื และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผล ในทกุ รูปแบบใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทในปัจจุบัน 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เพือ่ มุ่งจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดย ยึดหลกั ธรรมาภบิ าลและการมีสว่ นร่วม