Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน 2565_compressed

คู่มือนักเรียน 2565_compressed

Published by pyizone.myint, 2022-05-16 18:34:52

Description: คู่มือนักเรียน 2565_compressed

Search

Read the Text Version

สารจาก ผูอ้ ำ�นวยการโรงเรียน อาจารยพ์ รพรหม ชยั ฉตั รพรสุข โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกคนในการ เปิดภาคเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ข อต้อนรับน้องใหม่ ใ นระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ ๑ เข ้าสู่โรงเร ียนสาธ ิตจ ุฬาลงกรณ ์มหาว ิทยาล ัย ฝ ่ายมัธยม และขอต ้อนร ับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒-๖ กลับสู่รั้วโรงเรียนแห่งนี้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ น้ี โรงเรียนได้คำ�นงึ ถงึ ความส�ำ คัญของการเรียนรขู้ องนกั เรยี นท่โี รงเรยี น ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันจากการได้ลงมือปฏิบัติจริง ในสถานที่จริง โรงเรียนจึงได้ดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Onsite ตามแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด ๑๙ โดยโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ ่ายมัธยม จะยังคงมุ่งเน้น การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง ในประเทศและต่างประเทศเพื่อเติมเต็มศักยภาพของนักเรียนทุกคนอย่างเต็มที่ 2

ในการเปิดภาคเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ นั้น โรงเรียนได้มีมาตรการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อ เ ฝ้าระว ั ง แ ล ะ ป ้ อง กั นก า ร แ พ ร่ระบาดของ โร ค โค วิด ๑๙ ใ น ๖ มิต ิ ไ ด ้แก ่ ๑) ด้านความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค ๒) การเรียนรู้ ๓) การครอบคลุมถึงเด็ก ด้อยโอกาส ๔) สวัสดิภาพและการคุ้มครอง ๕) นโยบาย ๖) การบริหารการเงิน และปฏิบัติตาม มาตรการเปิดเรียนOnsite ป ลอดภัยอยู่ได้กับโควิด๑๙ในสถานศึกษาของกรมอนามัยกระทรวง ศึกษาธิการ เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่คณาจารย์ บุคลากร นักเรียนและครอบครัวเป็นสำ�คัญ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาการดำ�เนินการต่างๆของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ทั้งในด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม การพัฒนาเทคโนโลยี การปรับปรุงห้องเรียน การปรับปรุงภูมิทัศน์และการก่อสร้างอาคาร เรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ล้วนได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน อย่างเต็มที่จากสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ สมาคมนักเรียนเก่าสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนขอขอบพระคุณสมาคม ผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคมนักเรียนเก่าสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ทุ่มเทเอาใจใส่โรงเรียนด้วยดีเสมอมา ตลอดจนขอบพระคุณ ผู้ปกครองนักเรียนที่คอยให้คำ�แนะนำ�และความห่วงใยแก่โรงเรียนมาโดยตลอด สุดท้ายนี้ แม้ว่าการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖๕ จะยังคงเผชิญ กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ แต่ความร่วมมือร่วมใจกันระหว่าง โรงเรียนและบ้านนั้นจะช่วยให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มที่และ สามารถผ่านช่วงเวลาเช่นนี้ไปได้ด้วยดี (อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข) ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ 3

4

สารบัญ 1 ประวัติโรงเรียน 7 2 ทำ�เนียบผู้บริหารสูงสุด 11 3 สัญลักษณ์ประจำ�โรงเรียน 12 4 สถานที่สำ�คัญภายในโรงเรียน 13 5 พระพุทธรูปประจำ�โรงเรียน 14 6 แผนผังอาคารและสถานที่ ๑5 7 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑7 8 คณะผู้บริหาร ๑9 9 ผู้แทนบุคลากรสายวิชาการ ๒2 10 คณาจารย์ ๒3 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒3 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๒4 - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนาธรรม ๒5 - กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒6 - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒7 - กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ๒8 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๒9 - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 30 - กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 31 - โครงการ CUD-EP ๓2 11 แผนภูมิแสดงจ�ำ นวนบุคลากร ๓3 12 นักเรียนสร้างชื่อเสียง ๓5 13 กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ๕๗ 14 อาจารย์ประจำ�ชั้น ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ๘๕ 15 เจ้าหน้าที่ ๘๗ 16 กำ�หนดการเปิดปิดภาคเรียน และกำ�หนดการสอบวัดผลเวลาเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ๘๙ 17 โครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน ๙๑ 18 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ๙๘ - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ๑๐๖ - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ 1๑0 - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโครงการ CUD – English Program ๑๑7 5

สารบญั 19 ระเบียบและประกาศของโรงเรียน ๑๒๗ - ระเบียบโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายมธั ยม ว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลตามหลกั สตู ร ๑๒๘ สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ - ระเบยี บโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าดว้ ยการปฏิบตั ิตนของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๓๗ - แนวปฏิบัติการใช้โทรศัพท์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียน ๑๔๘ - ระเบยี บโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยม วา่ ดว้ ยเครอ่ื งแบบและการแตง่ กาย 1๔๙ ของนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๖๓ - แนวปฏิบัติการไว้ทรงผมของนักเรียน ๑๕๕ - ระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน 1๕๖ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ 1๕๙ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๓ - แนวปฏิบัติการขอคืนคะแนนความประพฤติ ๑๖๖ - เกณฑ์การพิจารณาประกาศเกียรติคุณนักเรียนดีเด่น รางวัลพระเกี้ยวเกียรติยศ ๑๗1 - ตัวอย่างบัตรประจำ�ตัวนักเรียน ๑๗๒ 20 โครงการก่อสร้างอาคารเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑๗๓ 21 ข้อมูลการให้บริการของหน่วยงาน ๒๐๐ - หน่วยโภชนาการ ๒๐๑ - ร้านค้าของโรงเรียน ๒๐๑ - ศูนย์ส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย ๒๐๒ - หน่วยเทคโนโลยีทางการศึกษา ๒๐๒ - หน่วยอนามัย ๒๐๓ - หน่วยหลักสูตรและการสอน ๒๐๗ - หน่วยทะเบียนและประเมินผล ๒๐๘ - ศูนย์คอมพิวเตอร์ ๒๑๑ - ศูนย์แนะแนว ๒๑๒ - หน่วยห้องสมุด ๒๑๒ - ศูนย์ประสบการณ์วิชาชีพ ๒๑๕ - โครงการการศึกษาพิเศษเพื่อพัฒนาความสามารถทางการเรียนรู้ ๒๑๖ - ฝ่ายกิจการนักเรียน ๒๑๗ - สภานักเรียน ๒๑๙ 22 ข้อมูลติดต่อ ๒๒๐ 6

โรงเรียนสาธิจุฬาลงกรณ์ เม่ือโรงเรยี นก่อตั้งและเรม่ิ ดำ�เนินการน้นั ตอ้ งประสบ มหาวิทยาลัยสถาปนาขึ้นเมื่อ ปัญหาหลายประการอันเนื่องมาจากการขาดแคลนงบ วนั ที่ ๒๐ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๐๑ ประมาณทำ�ให้ไม่มีสถานที่เรียนที่แน่นอน จนกระทั่ง โดยศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง ถึงสมัยที่ศาสตราจารย์อำ�ไพ สุจริตกุล ดำ�รงตำ�แหน่ง พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา อาจารย์ใหญ่ โรงเรยี นก็ได้สถานที่เรยี นถาวร คือ บรเิ วณ เพ่ือให้เป็นสถานฝึกปฏิบัติการ บ้านพักอาจารย์ชาวต่างประเทศที่มาสอนภาษาเยอรมัน ทางการศึกษาและเป็นสถานท่ี ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อยู่ตรงข้ามโรงเรียน ฝึกการปฏิบัติงานครูของคณะ เตรียมอดุ มศกึ ษาในปจั จุบัน) คือบา้ น ดร.ไคลน์ (Kline) ครุศาสตร์ก่อนท่ีนิสิตจะจบการ ซึ่งขณะนั้นอยู่ในสภาพทรุดโทรม ศาสตราจารย์ท่านผู้ ศึกษาและไปทำ�หน้าที่ครูต่อไป หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา คณบดีในขณะนั้น 7

จงึ ได้ขอให้องคก์ าร USOM สนับสนุนงบประมาณปรบั ปรุงหอ้ งเรียน อาคารแหง่ นจ้ี งึ เป็นอาคารหลงั แรก ของโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปจั จบุ นั อาคารแหง่ ประวตั ศิ าสตรข์ องโรงเรยี นหลงั นไ้ี ดร้ บั การ ปรบั ปรงุ ในพทุ ธศกั ราช๒๕๔๐ โดยจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ บา้ นรบั รองแขกของจฬุ าลงกรณ์ซง่ึ ใชช้ อ่ื ใหม่ วา่ “เรือนภะรตราชา” ขณะนน้ั อาจารยท์ กุ ทา่ นตอ้ งท�ำ งานหนกั เพอ่ื ใหก้ ารเรยี นการสอนด�ำ เนนิ ไปดว้ ยดี คณะกรรมการด�ำ เนนิ งานชุดแรกของโรงเรยี นมี ๖ ทา่ น คือ ๑. อาจารย์พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ๒. อาจารย์กมลกาญจน์ เกษไสว ๓. อาจารย์พวงเพชร เอย่ี มสกลุ ๔. อาจารยป์ ระชุมสุข อาชวอ�ำ รุง ๕. อาจารยด์ วงเดือน พศิ าลบุตร ๖. อาจารย์สำ�เภา วรางกรู คณบดีคณะครุศาสตร์ คือ อาจารยพ์ นู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา ได้มอบใหอ้ าจารย์พวงเพชร เอยี่ มสกุล เป็นผู้วางโครงการและนโยบายการบริหารโรงเรยี น แต่ท่านได้ถึงแก่กรรมกอ่ นทจ่ี ะดำ�เนนิ งานตามโครงการท่วี างไว้ เมอื่ อาจารย์พวงเพชร เอีย่ มสกลุ เสียชวี ติ คณบดจี งึ มอบหมายให้ อาจารยป์ ระชมุ สขุ อาชวอำ�รุง หัวหน้าแผนกวชิ าประถมศกึ ษาในขณะนั้นให้ดูแลรบั ผดิ ชอบการเรียนการสอนระดบั ชัน้ ประถมศึกษา ปที ี่ ๑ และอาจารย์ ดร.กมลกาญจน์ เกษไสว หัวหน้าแผนกวิชามธั ยมศกึ ษาเป็นผดู้ แู ลรบั ผิดชอบใน ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๐๒ คณบดคี ณะครศุ าสตรแ์ ตง่ ตง้ั อาจารยอ์ �ำ ไพ สจุ รติ กลุ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ อาจารยใ์ หญ่ นอกจากน้ียงั มีอาจารย์ประจำ�โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ๗ ทา่ น ทม่ี ีส่วนส�ำ คัญใน การด�ำ เนินงานดา้ นการเรียน การสอน และจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในระยะเริม่ แรก ดังนี้ ๑. อาจารย์ประสาร มาลากุล ณ อยธุ ยา ๒. อาจารยอ์ าภรณ์ ชาตบิ ุรษุ ๓. อาจารยส์ ภุ ากร นาคเสวี (ปจั จบุ นั ราชากรกจิ ) ๔. อาจารยป์ ระคอง ตนั เสถยี ร (ปจั จบุ นั กรรณสตู ) ๕. อาจารย์ประภาศรี ศิริจรรยา ๖. อาจารยก์ ิตยิ วดี ณ ถลาง (ปัจจุบนั บญุ ซ่ือ) ๗. อาจารย์สรุ ภี นาคสาร (ปัจจุบัน สังขพชิ ยั ) 8

เมอ่ื เร่มิ เปดิ ทำ�การนนั้ โรงเรียนรบั สมคั รนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ และชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ในปจั จบุ ัน) เมื่อนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ รนุ่ แรกขน้ึ ไปเรยี นใน ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนจงึ หยุดรับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ คงรับนักเรยี นเฉพาะประถมศึกษาปีที่ ๑ เท่านั้น อดีตอาจารยใ์ หญ่ ผบู้ รหิ ารและคณาจารย์ของโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ได้รว่ มแรง รว่ มใจพฒั นาโรงเรียนให้กา้ วหน้าในดา้ นวชิ าการ ด้านบคุ ลากร และอาคารสถานทจี่ นเปน็ ทย่ี อมรบั และ ไว้วางใจของผปู้ กครองทจ่ี ะสง่ บตุ รหลานเข้าศกึ ษาในโรงเรยี นแหง่ น้ี สมยั ทศ่ี าสตราจารย์ ดร.อุบล เรียงสุวรรณ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ อาจารย์ใหญ่ นบั ได้ว่าเปน็ สมัยที่ โรงเรียน พัฒนาอยา่ งมากในด้านอาคารสถานทีเ่ น่อื งจากโรงเรียนได้รบั งบประมาณจากรฐั บาลมาสรา้ ง อาคารเรยี นทถ่ี าวรและทนั สมัยในซอยจุฬาฯ ๑๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ ซงึ่ เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝ่ายมธั ยม ในปัจจุบัน ดา้ นวชิ าการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย นับไดว้ ่าเป็นโรงเรียนท่ีจัดระบบการเรยี น การสอนทที่ ันสมัยรวมท้งั มกี ารสร้างหลักสตู ร มไิ ด้ใชแ้ ตเ่ พยี งหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการเท่าน้ัน บุคลากรก็เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและอุทิศตนเพื่องานของโรงเรียนอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ จงึ ท�ำ ใหน้ กั เรยี นของโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เกดิ ความรกั และรสู้ กึ อบอนุ่ เสมอื นกบั โรงเรยี น เปน็ บ้านแหง่ ท่สี อง เพราะอาจารย์และผูป้ กครองดูแลนักเรียนอยา่ งใกล้ชิด และใหค้ วามช่วยเหลือทกุ คร้ัง 9

พ.ศ. ๒๕๑๒ โรงเรยี นประสบปญั หาจากจ�ำ นวนนกั เรยี นทม่ี จี �ำ นวนเพม่ิ มากขน้ึ ถงึ กวา่ ๓,๐๐๐ คน ทำ�ให้การบริหารงานของโรงเรียนซับซ้อนยิ่งขึ้น ประกอบกับวัยของนักเรียนที่แตกต่างกัน ซึ่งมีตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ผู้บริหารของคณะครุศาสตร์จึงเล็งเห็นความจำ�เป็น และข้อดีของการแยกโรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกเป็น ๒ ฝ่าย คอื ฝา่ ยประถม และฝ่าย มธั ยม โดยมอบหมายใหศ้ าสตราจารย์ ดร.อุบล เรียงสุวรรณ ดำ�รงต�ำ แหน่งอาจารยใ์ หญ่ โรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั (ฝา่ ยประถม) และศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ร ศรสี อ้าน ดำ�รงต�ำ แหนง่ อาจารย์ ใหญ่โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (ฝ่ายมธั ยม) ต�ำ แหนง่ ผบู้ ริหารสูงสดุ ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมธั ยม มกี ารเปลี่ยนชือ่ ต�ำ แหนง่ จากอาจารยใ์ หญ่ เป็นดังนี้ ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญิ โญ สาธร ดำ�รงต�ำ แหน่งคณบดีคณะ ครุศาสตร์ ไดม้ คี �ำ สง่ั ที่ ๗๕/๒๕๑๘ ลงวันที่ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๘ ใหค้ ณบดคี ณะครศุ าสตรด์ ำ�รงตำ�แหนง่ ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยต�ำ แหนง่ พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๓ ศาสตราจารยอ์ �ำ ไพ สจุ รติ กลุ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ไดเ้ สนอสภามหาวทิ ยาลยั แต่งต้ังอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นรองคณบดีปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะครศุ าสตรไ์ ดม้ กี ารปฏริ ปู การบรหิ ารโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดย มีการกำ�หนดระเบียบการบริหารโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้นซ่ึงตามระเบียบน้ีกำ�หนดให้ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ โรงเรยี นด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นเรยี กต�ำ แหนง่ ใหมว่ า่ รองคณบดแี ละผอู้ �ำ นวยการ และเปลย่ี นการเขียนชือ่ โรงเรยี นจากเดมิ ใชโ้ รงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (ฝา่ ยมัธยม) เปน็ โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๔๘ จากการประชมุ สภามหาวทิ ยาลัย ครง้ั ที่ ๖๖๒ วนั ท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ได้ อนุมัติแต่งตั้งผู้อำ�นวยการโรงเรียนให้ดำ�รงตำ�แหน่งรองคณบดีคณะครุศาสตร์ตามคำ�ส่ังจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ท่ี ๓๒๔๘/๒๕๔๘ จากนั้นต�ำ แหนง่ ผูบ้ ริหารสงู สดุ ของโรงเรียนจงึ เรยี กช่อื ตำ�แหนง่ ใหม่ วา่ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยมและรองคณบดคี ณะครศุ าสตรจ์ นถงึ ปจั จบุ นั 10

ทำ�เนียบผู้บริหาร โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยมัธยม อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั อาจารย์พวงเพชร เอยี่ มสกุล ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๐๑ ศาสตราจารย์ ดร.ประชมุ สขุ อาชวอ�ำ รุง มถิ นุ ายน ๒๕๐๑–พฤษภาคม ๒๕๐๒ ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ อำ� ไพ สุจรติ กลุ มิถนุ ายน ๒๕๐๒–พฤษภาคม ๒๕๐๓ ศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรยี งสุวรรณ มถิ นุ ายน ๒๕๐๓–ตุลาคม ๒๕๑๒ อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมธั ยม) ศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ร ศรสี อ้าน มิถุนายน ๒๕๑๒–พฤศจิกายน ๒๕๑๓ รองศาสตราจารยอ์ าภรณ์ ชาติบุรษุ พฤศจิกายน ๒๕๑๓–เมษายน ๒๕๑๖ รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระชยั ปูรณโชติ เมษายน ๒๕๑๖–มถิ ุนายน ๒๕๑๘ รองศาสตราจารย์วารนิ ทร์ มาศกลุ มิถุนายน ๒๕๑๘–เมษายน ๒๕๒๐ รองคณบดีปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี าจารย์ใหญโ่ รงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั (ฝา่ ยมธั ยม) รองศาสตราจารย์นิรมล สวสั ดบิ ุตร เมษายน ๒๕๒๐–กันยายน ๒๕๒๒ รองศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อตั ชู ตลุ าคม ๒๕๒๒–๓๐ กันยายน ๒๕๒๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อเนก หริ ญั ๑ ตุลาคม ๒๕๒๖–๑๘ ธนั วาคม ๒๕๒๗ รองศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อัตชู (รกั ษาการ) ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๒๗–๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บญุ จติ ราดลุ ย์ ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๘–๓ มนี าคม ๒๕๓๐ ผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ รสี ธุ า แก้วสมั ฤทธ์ิ ๔ มีนาคม ๒๕๓๐–๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๑ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธยิ านุวัฒน์ (รกั ษาการ) ๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๑–๒๓ มกราคม ๒๕๓๒ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บญุ จติ ราดลุ ย์ ๒๔ มกราคม ๒๕๓๒–๑๖ ธนั วาคม ๒๕๓๕ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บุญจิตราดุลย์ (รกั ษาการ) ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๓๕–๒๕ มกราคม ๒๕๓๖ รองศาสตราจารย์นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ ๒๖ มกราคม ๒๕๓๖–๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๙ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บญุ จติ ราดุลย์ (รกั ษาการ) ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๓๙–๑๖ มกราคม ๒๕๔๐ ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศิรบิ รรณพิทกั ษ์ (รกั ษาการ) ๑๗ มกราคม ๒๕๔๐–๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ รองคณบดีและผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝา่ ยมัธยม ผูช้ ่วยศาสตราจารยส์ ุธรรมา บลู ภกั ด์ิ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๐–๓๑ มนี าคม ๒๕๔๔ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยช์ ูชยั รตั นภิญโญพงษ์ ๑ เมษายน ๒๕๔๔–๓๑ มีนาคม ๒๕๔๘ ผ้อู ำ�นวยการโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝ่ายมัธยม และรองคณบดคี ณะครศุ าสตร์ รองศาสตราจารยว์ รี ะชาติ สวนไพรนิ ทร์ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘–๓๑ มนี าคม ๒๕๕๒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ชู ยั รตั นภิญโญพงษ์ ๑ เมษายน ๒๕๕๒–๓๑ มนี าคม ๒๕๕๔ อาจารยว์ นั ชัย เมฆหิรญั ศริ ิ ๑ เมษายน ๒๕๕๔–๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ชัยศักด์ิ ช่งั ใจ ๑ เมษายน ๒๕๕๖–๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข ๑ เมษายน ๒๕๖๐–๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ อาจารยพ์ รพรหม ชยั ฉตั รพรสขุ ๑ เมษายน ๒๕๖๔-ปจั จุบนั 11

พระเกี้ยว คือ ศิราภรณ์ประดับพระเกศาของพระราชโอรส และพระราชธิดาของ พระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ กำ�หนดให้พระเกี้ยว เป็นพิจิตรเลขา (สัญลักษณ์) ประจำ�รัชกาลในพระองค์ และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญเป็นเครื่องหมายหน้าหมวกของนักเรียน มหาดเล็ก (สำ�นักฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน) จนเมื่อโรงเรียนมหาดเล็ก ได้พัฒนาขึ้น เป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้บริหารของสถาบันจึงทูลขอพระบรมราชานุญาตใช้เป็น สัญลักษณ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงใช้เป็นสัญลักษณ์ ประจ�ำ โรงเรยี นสบื มา 12

จึงได้มีการสมทบทุนเพ่ือก่อสร้างเรือนรัชพรจากกลุ่ม ผ้ปู กครอง เพือ่ ใชเ้ ปน็ ท่เี รยี นส�ำ หรับนักเรยี นโครงการ พเิ ศษและได้ปรับปรุงพ้นื ทีโ่ ดยรอบ ได้แก่ บ่อเล้ียง ปลาและที่น่ังสำ�หรับนักเรียนเพื่อใช้ในการพักผ่อน อา่ นหนังสอื ในเวลาว่าง เมือ่ อาคารอเนกประสงค์สร้าง เสร็จและมีห้องเรียนสำ�หรับนักเรียนในโครงการน้ี เดมิ เปน็ เรอื นเพาะช�ำ ของโรงเรยี นตอ่ มาในปพี ทุ ธ- จึงได้เปลี่ยนสถานที่เรียนจากเรือนรัชพรไปท่ีอาคาร ศักราช ๒๕๓๖ รศ.นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ รองคณบดี อเนกประสงค์ ปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ใหญ่ในขณะน้ันได้ปรับปรุงเรือน พุทธศักราช ๒๕๔๑ ผศ.สุธรรมา บูลภักดิ์ เพาะชำ�ให้เป็นเรอื นไทยและใชช้ ื่อ “เรือนรชั พร” ตามช่ือ รองคณบดีและผู้อำ�นวยการโรงเรียน ได้มอบหมาย ศิษย์เก่าคือ นายรัชพร พรประภา ซึ่งได้รับอุบัติเหตุและ ให้ผศ.เปรมฉัตร แรงขำ� รองผู้อำ�นวยการฝ่าย เสียชีวิตในต่างประเทศ ผู้ปกครองคือ คุณปรีชา และ กิจการพิเศษ ผศ.สุมนต์ ภู่พงษา รองผู้อำ�นวยการ รศ.ไพพรรณ พรประภา มีความประสงค์ที่จะมอบเงิน ฝ่ายวางแผนและพัฒนา อาจารย์วันชัย เมฆหิรัญศิริ จำ�นวนหน่ึงแก่โรงเรียนเพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และ รศ.จุฑารัตน์ วิทยา* ปรับปรุงเรือนหลังนี้ ซ่ึงเป็นเวลาเดียวกับโรงเรียนจะต้องรับนักเรียนโครงการ อีกคร้ังเพอ่ื ใช้เปน็ “หอ้ งประวตั ิศาสตร์” ของโรงเรียน พิเศษกลุ่มแรกจากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ใช้ชื่อ “ห้องประวัติศาสตร์ เรือนไทย–เรือนรัชพร” เขา้ ศกึ ษาต่อทโ่ี รงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝ่ายมธั ยม จากนน้ั ตอ่ มาปจั จบุ นั ใชเ้ ปน็ ส�ำ นกั งานผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี น 13

เป็นพระพุทธรปู ทม่ี พี ทุ ธศิลปแ์ บบเชียงแสน สงิ หห์ น่งึ ปางมารวชิ ัย หนา้ ตกั กวา้ ง ๗๙ เซนตเิ มตร สูง ๑๒๐ เซนตเิ มตร และกวา้ ง ๕๐ เซนตเิ มตร สรา้ งขน้ึ อนั เน่ืองจากดำ�ริของรองศาสตราจารย์ประสานวงศ์ บูรณพมิ พ์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์จินดารัตน ์สุวิกรม ผ้ชู ่วยศาสตราจารยป์ นิดา ศริ กิ ลุ วเิ ชฐ และผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สุนันทา เอกเวชวิท โดยมีวัตถุประสงค์การหล่อพระพุทธรูปเพื่อมอบให้กับโรงเรียนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจและเป็นที่สักการบูชาของคณาจารย์ นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนเป็น อยา่ งดจี ากคณาจารย์ และนักเรียนสรา้ งจนแล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ต่อมาได้จัดหาสถานท่ีเพื่อจัดสร้างบุษบกประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุมนต์ ภู่พงษา รองผอู้ �ำ นวยการฝ่ายวางแผนและพัฒนาในขณะนนั้ เป็นผูร้ ับผิดชอบด�ำ เนนิ การจนแล้วเสร็จ พร้อมอัญเชิญพระพุทธรูปลงมาประดิษฐาน ณ บริเวณบุษบกด้านข้างหอประวัติโรงเรียน (เรือนรัชพร) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์วัดสระเกศราชวรมหาวิหารเป็นผู้ทำ�พิธีประดิษฐานและตั้งชื่อ เพื่อเปน็ ท่เี รยี กขานตอ่ ไปว่า พระพทุ ธมงคลสุพลธรรมสาธติ ในปีพ.ศ.๒๕๕๙โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยฝ่ายมัธยมได้บูรณะปรับปรุงองค์พระพุทธรปู ประจำ�โรงเรียนบุษบกประดิษฐานพระพุทธรูปประจำ�โรงเรียน และบริเวณโดยรอบเพื่อให้มีความสวยงาม และสะดวกแก่ผู้มาสกั การบูชา โรงเรยี นไดต้ ง้ั ศาลพระศวิ ะ และ ศาลพระชยั มงคล เม่ือแรกเร่ิมก่อต้ังโรงเรียนในปีพุทธศักราช ๒๕๐๑ ตั้งอยู่บริเวณประตู ๑ ของโรงเรียน เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่คณาจารย์ บุคลากร และ นักเรียนเคารพบูชา ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ โรงเรียนได้ทำ�พิธีถอนศาลทั้งสองเพื่อ ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบให้สวยงามขึ้น และ ก่อสร้างยกพื้นสำ�หรับตั้งศาลให้สูงขึ้นและทำ� บันไดด้านข้างสำ�หรับขึ้นไปสักการบูชา เมื่อ ปรับปรุงแล้วได้ทำ�พิธีตั้งศาลอีกครั้ง 14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook