Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือพื้นฐานงานไม้1

หนังสือพื้นฐานงานไม้1

Published by soop0078, 2022-03-18 07:53:23

Description: หนังสือพื้นฐานงานไม้1

Search

Read the Text Version

151 1.6 เลอ่ื ยลันดาชนิดฟันตัด หน้าท่ี ใชเ้ ลื่อยตดั ไม้ รูปที่ 2.2.3.6 แสดงรูปเล่ือยลนั ดา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 และเล่ือยลนั ดา ชนิดฟันโกรก หน้าที่ ใชเ้ ล่ือยผา่ ไม้ รูปท่ี 2.2.3.7 แสดงรูปเล่ือยลนั ดา การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. หมนั่ คดั คลองเล่ือยและลบั ปรับแต่ง ฟันเลื่อยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนทเ่ี ป็นโลหะทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วน ใดของร่างกาย 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบดิ งอเสีย รูปทรง หมายเหตุ เลือกเบิกเล่ือยลันดาชนิดใดชนิด หน่ึงโดยตกลงกบั เพอื่ นทจ่ี บั คู่กนั

152 1.7 ส่ิวปากบางขนาด 3/8 นิว้ และ 1 นิ้ว หน้าท่ี ใชบ้ าก ปาดแต่งรอยต่อไมใ้ หไ้ ดข้ นาด การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดและทาน้ ามันกัน สนิมในส่วนทเ่ี ป็ นโลหะทกุ คร้ัง หลงั ใชง้ าน รูปท่ี 2.2.3.8 แสดงรูปสิ่วปากบาง ข้อควรระวงั ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตรวจคมส่ิวก่อนใชง้ าน 2. ขณ ะป ฏิบัติงาน ควรวางส่ิ วใน ที่ เหมาะ สมอยา่ ให้ตกลงพ้นื อาจทาให้คมส่ิวไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้ 1.8 ส่ิวเจาะขนาด ½ นิว้ หน้าที่ ใชเ้ จาะบากเน้ือไมเ้ จาะร่องเดือย รูปท่ี 2.2.3.9 แสดงรูปสิ่วเจาะ การบารุงรักษา ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ลบั สิ่วใหค้ มพร้อมใชง้ านอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนที่เป็นโลหะทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ตรวจคมส่ิวก่อนใชง้ าน 2. คอ้ นทใี่ ชต้ อกควรเป็นคอ้ นไมห้ รือ คอ้ นพลาสตกิ เทา่ น้นั 3. ขณ ะป ฏิบัติงาน ควรวางสิ่ วใน ท่ี เหมาะสมอยา่ ให้ตกลงพ้ืนอาจทาให้คมส่ิวไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้ 4. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มส่ิวแรงเกินไป

153 1.9 ค้อนไม้ หน้าท่ี 1. ใช้ถอดประกอบใบกบและปรับ รูปที่ 2.2.3.10 แสดงรูปคอ้ นไม้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ระดบั ใบกบ 2. ใชต้ อกดา้ มส่ิวในการเจาะร่องเดือย การบารุงรักษา ใช้ผา้ แห้งเช็ดทาความสะอาดทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏิบตั ิงาน 2. เลือกใชค้ อ้ นไมท้ ่มี ีขนาดและน้าหนกั ทเ่ี หมาะสมกบั ผใู้ ช้ 1.10 ไขควง หน้าที่ ใชข้ นั ถอดและยดึ เหลก็ ประกบั รูปที่ 2.2.3.11 แสดงรูปไขควงแบน การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใช้งานผิดประเภท เช่น ใช้ เจาะหรือบากไมแ้ ทนส่ิว 2. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มไขควง

154 1.11 หินเจยี ระไน หน้าที่ 1. ใชล้ บั ใบกบ รูปท่ี 2.2.3.12 แสดงรูปหินเจียระไน 2. ใชล้ บั คมสิ่ว ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา ใชน้ ้าล้างทาความสะอาดคราบสกปรก ใหส้ ะอาด และเชด็ ใหแ้ หง้ ข้อควรระวงั ระวงั หินเจียระไนตกลงพ้ืน เพราะหิน อาจแตก ไม่สามารถใชง้ านได้ 1.12 ปากกาหัวโต๊ะ หน้าท่ี ใชย้ ดึ จบั ชิ้นงานหรือเครื่องมือ รูปท่ี 2.2.3.13 แสดงรูปปากกาหวั โต๊ะ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใส่จารบีที่เกลียวหมุนเสมอเพ่ือให้ หมุนไดค้ ล่องตวั 2. เม่ือเลิกใชง้ านขนั ปากกาเขา้ ไปให้ ชิดกนั 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ ามันกันสนิม ในส่วนที่เป็ นโลหะทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ใชป้ ากการองรบั เหลก็ เพอื่ ทุบ จะทาใหเ้ ฟืองปากกาหลวมหรือเอียง 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ มร้ องหนา้ อดั ท้งั สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็นรอย

155 1.13 ไม้ขนาด 30 X 60 X 600 ม.ม. หน้าที่ ใชฝ้ ึกปฏิบตั ิงาน จากใบงานที่ 2.2.2 การบารุงรักษา 1. เขยี นช่ือ เลขท่ี ท่หี วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั รูปท่ี 2.2.3.14 แสดงรูปไมข้ นาด 30 x 30 x 600 ม.ม. ควรตรวจสอบชื่อทเ่ี ขียนไวบ้ นไมว้ ่าเป็ น ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ของตนเองก่อนไปใชง้ าน 2. เตรียมไม้ขนาด 30 x 60 x 300 ม.ม. นาไม้ขนาด 30 x 60 x 600 ม. ที่ใช้ทา จานวน 2 ท่อน เดือยในใบงานท่ี 2.2.2 วัดระยะแบ่งคร่ึ ง ประมาณ 300 ม.ม. ขีดฉากโดยรอบแล้วเลื่อย รูปท่ี 2.2.3.15 แสดงการเล่ือยตดั ไม้ ตดั แบ่งคร่ึงออกเป็นสองทอ่ นใหไ้ ดฉ้ าก แบง่ เป็น 2 ท่อน ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เขยี นช่ือ เลขที่ ทหี่ วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. ขณะขดี แนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 3. เม่ือเลื่อยไมจ้ นใกล้จะขาดให้ใช้มือ อีกขา้ งออ้ มมาจบั ไมไ้ วก้ นั ไมห้ ล่นหรือฉีก

3. วัดระยะร่างแบบ 156 3.1 วัดระยะเดอื ย วดั ระยะจากปลายไมเ้ ขา้ มา 60 ม.ม. ใชด้ ินสอขีดไว้ ข้อควรระวงั ตรวจสอบตลับเมตรก่อนใช้งานหากขอ เกี่ยวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดยเร่ิม ที่ ระยะ 0.10 เมตร รูปท่ี 2.2.3.16 แสดงการวดั ระยะเดือย ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3.2 ขีดฉากแนวเดอื ย ใชด้ ินสอขีดฉากตามแนว 60 ม.ม. ท่ีขีด ไวโ้ ดยรอบ ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ฉากทดี่ า้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ รูปท่ี 2.2.3.17 แสดงการขีดฉากแนวเดือย ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

157 3.3 ขดี แนว 45 องศา ใชฉ้ ากตายขดี แนว 45 องศาจากเสน้ ระยะ 60 ม.ม. ให้เฉียงออกมาหาปลายไม้ กลับหน้า รูปท่ี 2.2.3.18 แสดงการขีดแนว 45 องศา ไม้ขีดแนว 45 องศาให้อยแู่ นวเดียวกนั กับอีก ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ดา้ น ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใช้งานไม่ควรใช้ ฉากที่ดา้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนว 45 องศา บ่าด้ามฉาก ดา้ น 45 องศาตอ้ งแนบสนิทกบั หนา้ ไม้ 3.4 ขีดแนวผ่าเดอื ย ใช้ขอขีดที่ระยะ 10 ม.ม. ขีดแนวเดือยท่ี ไมด้ ้านหนา ด้านตรงขา้ มกบั ปลายแหลมของ มุม 45 องศา สลบั ขีดท้งั สองดา้ นแบ่งออกเป็ น สามส่วน และท่ีหัวไม้ โดยขีดจากหัวไม้ลง มาถึงแนว 60 ม.ม. ที่ขีดฉากไว้ จะไดแ้ นวเดือย ขนาด 10 ม.ม. รูปที่ 2.2.3.19 แสดงการขีดแนวผา่ เดือย ข้อควรระวงั ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขีดจะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขีดซ้าตามแนวขอขดี

158 4. ร่างแบบร่องเดอื ย วดั ระยะจากปลายไมอ้ ีกทอ่ นเขา้ มา 4.1 วัดระยะร่องเดอื ย 60 ม.ม.ใชด้ ินสอขีดไว้ ข้อควรระวงั ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหากขอ เกี่ยวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดยเร่ิม ที่ ระยะ 0.10 เมตร รูปท่ี 2.2.3.20 แสดงการวดั ระยะร่องเดือย ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4.2 ขดี แนว 45 องศา ใชฉ้ ากตายขีดแนว 45 องศาจากเสน้ ระยะ 60 ม.ม. ให้เฉียงออกมาหาปลายไม้ กลับหน้า รูปที่ 2.2.3.21 แสดงการขีดแนว 45 องศา ไมข้ ีดแนว 45 องศาให้อยูแ่ นวเดียวกันกับอีก ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ดา้ น ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ฉากท่ีดา้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนว 45 องศา บ่าด้ามฉาก ดา้ น 45 องศาตอ้ งแนบสนิทกบั หนา้ ไม้

159 4.3 ขดี แนวร่องเดอื ย ใช้ขอขีดท่ีระยะ 10 ม.ม. ขีดแนวร่อง เดือยที่หน้าไม้ดา้ นหนา สลับขอขีดขีดท้งั สอง รูปท่ี 2.2.3.22 แสดงการขีดแนวร่องเดือย ขา้ ง ขีดจาก หวั ไม้ ถึงระยะ 60 ม.ม. ท่ขี ดี ฉากไว้ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 จะไดแ้ นวร่องเดือยขนาด 10 x 60 ม.ม. ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขดี จะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขีดซ้าตามแนวขอขดี 5. ทาเดือย ใชป้ ากกาตวั ซี ยึดจบั ไม้ในแนวนอนให้ 5.1 ยดึ จับไม้ในแนวนอน แนวเลื่อยตดั ขนานกบั ขอบโตะ๊ ข้อควรระวงั ควรใชไ้ มร้ องหน้าสมั ผสั ระหวา่ งช้ินงาน กบั ปากกาตวั ซีเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย รูปท่ี 2.2.3.23 แสดงการใชป้ ากกาตวั ซียดึ จบั ไม้ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

160 5.2 เลือ่ ยตดั แนวเดอื ย ใชเ้ ลื่อยลนั ดาชนิดฟันตดั ไมเ้ ล่ือยตดั ตาม แนว 45 องศา ที่ขีดแนวไวใ้ ห้ลึกลงไป 10 ม.ม. รูปที่ 2.2.3.24 แสดงการเล่ือยตดั แนว 45 องศา ท่ีขีดแนวไวท้ ้งั สองดา้ น ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. เม่ือเลื่อยใกลถ้ ึงแนวบาก 10 ม.ม. ควร เล่ือยให้ถึงแนวทีละดา้ นเพื่อป้ องกันการเลื่อย เกินแนวทีข่ ดี ไว้ 2. ควรใช้น้ิวหัวแม่มือช่วยบังคับแนว เลื่อยในตอนเริ่มตน้ 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 4. ตรวจสอบแนวเล่ือยท้ังสองด้านอยู่ เสมอ 5.3 ยดึ จับไม้ในแนวนอน ยึด จับ ไ ม้ ด้ว ย ป า ก ก า หั ว โ ต๊ ะ ดัง รู ป ที่ 2.2.3.25 รูปท่ี 2.2.3.25 แสดงการยดึ จบั ไมด้ ว้ ย ปากกาหัวโตะ๊ ข้อควรระวัง 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ชิ้นงานหกั ได้ 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ มท้ ่ีเรียบรองหน้า อดั ท้งั สองดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย

161 5.4 เลอื่ ยผ่าเดือย ใช้เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรกเล่ือยผ่าไม้ ตามแนวที่ขีดไวโ้ ดยเหลือแนวเส้นไว้ ให้ถึง รูปท่ี 2.2.3.26 แสดงการเล่ือยผา่ เดือย แนว 45 องศาจนบรรจบกบั แนวตดั ไม้ ทาท้งั ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 สองดา้ น ข้อควรระวัง 1. ควรใช้นิ้วหัวแม่มือช่วยบังคับแนว เลื่อยในตอนเริ่มตน้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเล่ือยอยเู่ สมอ 5. ทาร่องเดอื ย ใช้ปากกาตวั ซี ยึดจบั ไม้ในแนวนอนให้ 5.1 ยึดจับไม้ในแนวนอน แนวเล่ือยตดั ขนานกบั ขอบโตะ๊ ข้อควรระวงั ควรใชไ้ มร้ องหนา้ สมั ผสั ระหวา่ งชิ้นงาน กบั ปากกาตวั ซีเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย รูปที่ 2.2.3.27 แสดงการยดึ จบั ไมด้ ว้ ยปากกาตวั ซี ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

162 5.2 เล่อื ยตัดไม้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั ไมต้ ามแนว 45 องศา จนขาดโดย รูปท่ี 2.2.3.28 แสดงการเลื่อยตดั ไมใ้ น แนว 45 องศา ข้อควรระวัง 1. ควรใช้น้ิวหัวแม่มือช่วยบังคับแนว ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เลื่อยในตอนเริ่มตน้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเลื่อยอยเู่ สมอ 4. แนวเล่ือยควรอยดู่ า้ นนอกแนว ทข่ี ีดไว้ 5.3 ขดี แนวร่องเดอื ย ใช้ขอขีดท่ีระยะ 10 ม.ม. ขีดแนวร่อง เดือยท่ีหวั ไมต้ ามแนว 45 องศาท่ีตดั สลบั ขอขีด รูปที่ 2.2.3.29 แสดงการขีดแนวร่องเดือย ขีดท้งั สองขา้ ง จะไดแ้ นวร่องเดือยขนาด ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 10 ม.ม. ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขดี จะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ให้ใชด้ ินสอ ขดี ซ้าตามแนวขอขดี

163 5.4 เลือ่ ยผ่าร่องเดอื ย ใชแ้ ม่แรงหัวโตะ๊ ยดึ จบั ไม้ในแนวต้งั ใช้ เล่ื อ ยลัน ด าชนิ ดฟั น โก รก เล่ื อ ยผ่าเดื อ ยล งไ ป รูปที่ 2.2.3.30 แสดงการเลื่อยผา่ ร่องเดอื ย จนถึงระยะ 60 ม.ม.ทขี่ ีดฉากไว้ ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. แนวเลื่อยควรอยดู่ า้ นในแนวท่ีขดี ไว้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเล่ือยอยเู่ สมอ 5.2 เจาะบากร่องเดอื ย ใช้สิ่วเจาะ เจาะร่องเดือย ตามแนวท่ี เลื่อยไว้ โดยตอกเจาะตรงแนวเส้นให้ลึกลงไป รูปท่ี 2.2.3.31 แสดงการเจาะบากร่องเดือย ประมาณ 2 – 3 ม.ม. ก่อนแลว้ จึงตอกเซาะจาก ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ก่ึงกลางร่องเดือยเขา้ หาแนวที่ตอกไว้ เมื่อลึกลง ไปเกินคร่ึงของความกวา้ งของไม้ แลว้ กลบั ดา้ น เจาะอีกดา้ นเขา้ มา จนทะลุถึงกนั ข้อควรระวัง 1. ขณ ะปฏิ บัติงาน ค วรวางส่ิ วใน ท่ี เหมาะสมอยา่ ให้ตกลงพ้ืนอาจทาให้คมสิ่วไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้ 2. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มส่ิวแรงเกินไป

164 5.3 ปาดแต่งร่องเดือย ใชส้ ่ิวปากบาง บาก ปาดแตง่ ร่องเดือย ให้ได้ขนาดและแนว โดยวางคมส่ิวด้านเรียบ ทาบกบั แนวร่องเดือย แลว้ กดเซาะเน้ือไมส้ ่วนที่ เกินออก ข้อควรระวงั 1. ควรใชส้ ิ่วปากบางปาดแต่งเน้ือไมใ้ น แนวเฉียงเขา้ ดา้ นใน 2. ไม่ควรงดั ส่ิวกบั ขอบร่องเดือย รูปท่ี 2.2.3.32 แสดงการปาดแต่งร่องเดือย ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 5.4 ปาดแต่งเดอื ย ใชส้ ่ิวปากบาง บาก ปาดแต่งเดือยให้ได้ ขนาดและแนว โดยวางคมส่ิวดา้ นเรียบทาบกบั แนวเดือย แลว้ กดเซาะเน้ือไมส้ ่วนทเี่ กินออก ข้อควรระวงั 1. ตรวจความคมของส่ิวก่อนใชง้ าน 2. ควรใชส้ ่ิวปากบางปาดแต่งเน้ือไมใ้ น แนวเฉียงเขา้ ดา้ นใน รูปที่ 2.2.3.33 แสดงการปาดแต่งเดือย ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

165 12. ตรวจความเรียบร้อยของชิ้นงาน ประกอบชิ้นงาน ตรวจดูความเรียบร้อย และความถกู ตอ้ งของรอยต่อ ท้งั หนา้ สมั ผสั มุม รูปที่ 2.2.3.34 แสดงตรวจสอบความยาว 45 องศา ความยาวความหนาของเดือย ความลึก ของรอยต่อ ของร่องเดือยและมุมฉาก หากเดือยใหญ่ไป ประกอบไม่ได้ ใหบ้ ากแตง่ เดือยและร่องเดือย ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใหม่ ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรตอกอดั ประกอบเขา้ เดือยอาจ ทาใหไ้ มแ้ ตกหรือรา้ ว 2. การตรวจความเรียบรอ้ ยของช้ินงาน ควรวางช้ินงานบนโตะ๊ ท่เี รียบ 3. เขียนช่ือ เลขที่ ไวใ้ หช้ ดั เจนทีห่ วั ไม้ 8. ทาความสะอาดเคร่ืองมอื อุปกรณ์และ ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและ พนื้ ทีฝ่ ึ กงาน อุปกรณ์ แลว้ ใชแ้ ปรงและผา้ แหง้ ปัด เช็ดทา ความสะอาด ในส่วนของเครื่องมือทเ่ี ป็นโลหะ ใหเ้ ชด็ ชโลมน้ามนั กนั สนิมอีกคร้งั ข้อควรระวัง 1. ใชผ้ า้ เช็ดน้ามนั กนั สนิมทไ่ี หลยอ้ ย ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเคร่ืองมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบนั ทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน รูปที่ 2.2.3.35 แสดงการเช็ดทาความสะอาด เคร่ืองมือ ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

166 12. จัดเกบ็ เคร่ืองมอื วัสดแุ ละอปุ กรณ์ แ จ้ง เจ้าห น้ า ท่ี ห้ อ ง เค ร่ื อ ง มื อ ให้ ต ร ว จ สอบเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เกบ็ เขา้ ที่ ข้อควรระวงั ก่ อ น จัด เก็บ เค ร่ื อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงชื่อตรวจ รบั เคร่ืองมือก่อนทกุ คร้งั รูปที่ 2.2.3.36 แสดงการจดั เกบ็ เคร่ืองมือ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

167 คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านไม้ บทท่ี 10 การปฏิบตั ิงานเพลาะไม้แบบอดั กาว หัวข้อเรื่อง 1. เคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการเพลาะไมแ้ บบอดั กาว 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการเพลาะไมแ้ บบอดั กาว 3. การบารุงรักษาเคร่ืองมือ สาระสาคญั ไมท้ ่ีมีขายในทอ้ งตลาด เป็ นไมท้ ีแ่ ปรรูปใหไ้ ดข้ นาดมาตรฐานทว่ั ไป หากตอ้ งการนาไมม้ า ใชง้ านใหม้ ีขนาดท่ีกวา้ งมาก ๆ จะตอ้ งทาการต่อไมใ้ หม้ ีความกวา้ งใหไ้ ดข้ นาดตามท่ีตอ้ งการ การ นาไมม้ าต่อกนั ใหม้ ีความกวา้ งเพมิ่ ข้ึน เรียกวา่ การเพลาะไม้ ซ่ึงมีอยดู่ ว้ ยกนั หลายรูปแบบ เช่นการ เพลาะไมแ้ บบอดั กาว แบบเข้ียวตะปู แบบบงั ใบ แบบเขา้ ลิ้นเป็ นตน้ ซ่ึงการเพลาะไมเ้ ป็ นพ้นื ฐาน ทสี่ าคญั อีกอยา่ งหน่ึงท่ีผเู้ รียนจะตอ้ งเรียนรูข้ ้นั ตอนในการเพลาะ และฝึกปฏบิ ตั ใิ หม้ ีทกั ษะก่อนท่ี จะปฏิบตั ิงานในข้นั ตอนตอ่ ไป จดุ ประสงค์การเรียน จุดประสงค์ทวั่ ไป เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการการเพลาะไมแ้ บบอดั กาว จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์การเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ที่ เครื่องมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ในการการเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการเตรียมไมส้ าหรับงานเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ กู ตอ้ ง

168 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมอื วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกข้นั ตอนการส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. เตรียมไมส้ าหรับงานเพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 9. เพลาะไมแ้ บบอดั กาวไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง

169 ข้นั ตอนการเพลาะไม้แบบอดั กาว 1. เตรียมเคร่ืองมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ ที่ ใชใ้ นการเพลาะไมแ้ บบอดั กาว นาไปเบกิ ทีห่ อ้ ง การเพลาะไม้แบบอดั กาว เครื่องมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเคร่ืองมือ ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.่ี .......... ชดั เจน ที่ รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลนั ดา 1 อนั เคร่ืองมือท่เี บิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 แม่แรงตวั ซี 1 อนั 3 กบล้างกลาง 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลื่อย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลย่ี ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......... ลงชอ่ื ลงชือ่ (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลับเมตร หน้าท่ี ใชว้ ดั ระยะ รูปท่ี 2.3.1 แสดงรูปตลบั เมตร การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เชด็ ทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ีใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะท่ีอาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขดี บนเสน้ เทป

170 1.2 ดนิ สอ หน้าที่ ใชข้ ดี แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปที่ 2.3.2 แสดงรูปดินสอ การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้งั ก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าท่ี ใช้ตรวจมุมฉาก ระดบั และความเรียบ ของไมท้ ไ่ี ส รูปท่ี 2.3.3 แสดงรูปฉากตาย ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากท่ีหลวมหรือโยก

171 1.4 เลอื่ ยลันดาชนิดฟันตดั หน้าที่ ใชเ้ ลื่อยตดั ไม้ รูปท่ี 2.3.4 แสดงรูปเล่ือยลนั ดา การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. หมั่นคดั คลองเล่ือยและลับปรับแต่ง ฟันเล่ือยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนทีเ่ ป็นโลหะทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 2. ขณะใช้งานไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 1.5 กบล้างกลาง หน้าท่ี ใชไ้ สลา้ งผวิ ไมใ้ หเ้ รียบและไดข้ นาด รูปท่ี 2.3.5 แสดงรูปกบลา้ งกลาง การบารุงรักษา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เชด็ ทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน 2. ทาน้ามนั กนั สนิมในส่วนท่ีเป็ นโลหะ และทอ้ งกบทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสมั ผสั ช้ินงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสมั ผสั กบั โลหะท่ีทา ใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เกบ็ ควรประกอบไวเ้ ป็นชุดโดย ปรบั คมกบยกข้นึ ใหส้ ูงจากทอ้ งกบ

172 1.6 กบผวิ หน้าท่ี ใชไ้ สผิวไม้คร้ังสุดทา้ ยให้เรียบจริงๆ พรอ้ มท่จี ะขดั ตกแตง่ ผวิ ไมด้ ว้ ยกระดาษทราย รูปท่ี 2.3.6 แสดงรูปกบผวิ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 1.7 ค้อนไม้ 2. ทาน้ามนั กนั สนิมในส่วนท่ีเป็ นโลหะ รูปที่ 2.3.7 แสดงรูปคอ้ นไม้ และทอ้ งกบทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสมั ผสั ชิ้นงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสมั ผสั กบั โลหะที่ทา ใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เก็บควรประกอบไวเ้ ป็นชุดโดย ปรับคมกบยกข้นึ ใหส้ ูงจากทอ้ งกบ หน้าท่ี ใชถ้ อดประกอบใบกบและปรับระดับ ใบกบ การบารุงรักษา ทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏิบตั งิ าน 2. เลือกใชค้ อ้ นไมท้ ่ีมีขนาดและน้าหนัก ท่ีเหมาะสมกบั ผใู้ ช้

173 1.8 ไขควง หน้าที่ ใชข้ นั ถอดและยดึ เหลก็ ประกบั รูปที่ 2.3.8 แสดงรูปไขควงปากแบน การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน 2. อยา่ ใชไ้ ขควงตอกแทนสกดั เพราะอาจ ทาใหด้ า้ มและปลายไขควงชารุด 1.9 ปากกาหัวโต๊ะ หน้าที่ ใชย้ ดึ จบั ชิ้นงานหรือเครื่องมือ รูปท่ี 2.3.9 แสดงรูปปากกาหวั โต๊ะ การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใส่จารบีท่ีเกลียวหมุนเสมอเพ่ือให้ หมุนไดค้ ล่องตวั 2. เมื่อเลิกใชง้ านขนั ปากกาเขา้ ไปให้ ชิดกนั 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ามนั กนั สนิม ในส่วนที่เป็นโลหะทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ใชป้ ากการองรบั เหลก็ เพอื่ ทุบ จะทาใหเ้ ฟืองปากกาหลวมหรือเอียง 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ มร้ องหนา้ อดั ท้งั สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย

174 1.10 แม่แรงอดั ไม้ หน้าที่ ใชส้ าหรบั อดั ประกอบชิ้นงาน ใหแ้ นบสนิท รูปท่ี 2.3.10 แสดงรูปแม่แรงอดั ไม้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เชด็ ทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ชโลมน้ามนั เพอื่ ป้ องกนั สนิม ข้อควรระวงั 1. ขณะใช้งานควรใช้ไม้รองหน้าอัดท้ัง สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ช้ินงานเป็ นรอย 2. หยอดน้ ามันหล่อล่ืนหรื อจารบีที่ เกลียวของสกรูเสมอเพอื่ ใหห้ มุนไดค้ ล่องตวั 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ามนั กนั สนิมทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน 1.8 หินเจยี ระไน หน้าท่ี ใชล้ บั ใบกบ รูปท่ี 2.3.11 แสดงรูปหินเจียระไน การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชน้ ้าลา้ งทาความสะอาดคราบสกปรกให้ สะอาด และเช็ดใหแ้ หง้ ข้อควรระวัง ระวงั หินเจียระไนตกลงพ้ืน เพราะหิน อาจแตกไม่สามารถใชง้ านได้

175 1.7 แปรงทาสีขนาด 1 นิว้ หน้าท่ี ใชท้ ากาว รูปที่ 2.3.12 แสดงรูปปากกาหวั โตะ๊ การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวทีเ่ หลือติดอยทู่ แ่ี ปรงดว้ ย 1.7 การลาเท็กซ์ เศษกระดาษ 2. ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าสะอาดหรือ รูปท่ี 2.3.13 แสดงรูปกาวลาเทก็ ซ์ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 น้าอุ่นทนั ทีหลงั ใชง้ าน 3. การเก็บแปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือ วางราบกบั พ้นื เรียบ ข้อควรระวงั 1. ควรจุ่มแปรงให้จมลงไปในกาวแค่ 1 ใน 3 ของความยาวขนแปรง 2. ปาดกาวส่วนเกินออกกบั ขา้ งภาชนะ ก่อนทา หน้าท่ี ใชย้ ดึ ประสานไมใ้ หต้ ดิ กนั การบารุงรักษา 1. เช็ดคราบกาวที่ปากขวดทุกคร้ังก่อน ปิ ดฝาเก็บ 2. ปิ ดฝาให้ สนิ ท จัดเก็บ ให้ พ้น จาก แสงแดด ข้อควรระวงั อย่าให้กาวเป้ื อนเส้ือผา้ เพราะทาความ สะอาดยาก

176 1.8 ไม้ขนาด 1” X 2 ” X 2.50 เมตร หน้าที่ ใชฝ้ ึกปฏิบตั งิ าน รูปที่ 2.3.14 แสดงรูปไมข้ นาด 1 X 2 น้ิว การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เขียนช่ือ เลขท่ี ทหี่ วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั ควรคดั เลือกไม้ก่อนนาไปใช้งาน โดย เลือกไมท้ ่ีไม่คด บดิ งอ หรือมีตาไมม้ าก 2. ตดั ไม้ ขีดฉากทหี่ วั ไมโ้ ดยรอบที่ระยะประมาณ 2.1 ตัดหัวไม้ 1- 2 ซ.ม. ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั หวั ไมใ้ ห้ ไดฉ้ าก รูปที่ 2.3.15 แสดงการเล่อื ยตดั หัวไม้ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ าน 2. หากหวั ไมม้ ีรอยแตกใหต้ ดั ให้เลยแนว รอยแตกของไม้ 3. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 4. ขณะใช้งานไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง

177 2.2 วดั ระยะตัดไม้ วดั ระยะจากปลายไมเ้ ขา้ มาท่ีระยะ 55 ซ. ม. 110 ซ.ม. และ 165 ซ.ม. รูปท่ี 2.3.16 แสดงการวดั ระยะเพื่อตดั ไม้ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบตลับเมตรก่อนใชง้ านหาก ขอเก่ียวหลวมมากเกินไปใหว้ ดั ทดระยะโดยเร่ิม จากระยะ 10 ซ.ม. 2. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอท่ี เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2.3 ขีดฉาก ใชฉ้ ากตายขีดแนวเล่ือยตดั ไมโ้ ดยรอบท้งั สามแนวท่ีวดั ระยะไว้ รูปที่ 2.3.17 แสดงการขีดฉากแนวตดั ไม้ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ในการขีดฉากด้ามฉากจะต้องแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 2. ไม่ใชฉ้ ากทหี่ ลวมหรือโยก 3. ไม่ควรใชด้ า้ มฉากตอกหรือเคาะเล่น

178 2.4 ยึดจับไม้ ยดึ จบั ไมด้ ว้ ยแม่แรงหวั โตะ๊ ข้อควรระวงั 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ช้ินงานหกั ได้ 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ ม้ที่เรียบรองหน้า อดั ท้งั สองดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย รูปที่ 2.3.18 แสดงการใชแ้ ม่แรงหวั โต๊ะยดึ จบั ไม้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.5 เลอื่ ยตดั ไม้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั ไมต้ ามแนว ฉากจะไดไ้ มข้ นาด 1” X 2” X 0.55 เมตร 3 ท่อน รูปที่ 2.3.19 แสดงการเล่ือยตดั ไม้ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตดั ไมใ้ หไ้ ดต้ ามแนวฉากทขี่ ีดไว้ 2. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง

179 3. ไสไม้ให้ได้ขนาด ไสไมข้ นาด 1” X 2” X 0.55 ม. จานวน 3 ท่อน ใหไ้ ดข้ นาด 22 x 40 x 550 ม.ม. 2 ท่อน รูปท่ี 2.3.20 แสดงการไสไม้ และอีกท่อนใหไ้ ดข้ นาด 22 x 45 x 550 ม.ม. ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ขณะไสไม้ให้กดน้ าหนักที่มือสอง ขา้ งใหเ้ ท่ากนั 2. ตรวจสอบแนวเส้ียนไมก้ ่อนไส ไม่ไส ไมย้ อ้ นเส้ียน 4. เพลาะไม้ เตรียมแม่แรงคนละตวั กบั เพอ่ื นทจี่ บั คู่กนั 4.1 เตรียมแม่แรง จดั วางแม่แรงให้พร้อมใช้งาน หมุนคลายแม่ แรงออก ต้งั ระยะหน้าอัดอีกด้านให้ไดร้ ะยะท่ี รูปที่ 2.3.21 แสดงการเตรียมแม่แรงอดั ไม้ ตอ้ งการใช้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจความเรียบของคานแม่แรงท่ีจะ วางเพลาะไม้ 2. ตรวจสอบพ้นื ที่ท่ีวางแม่แรงเน่ืองจาก ตอ้ งวางท้งิ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 24 ชวั่ โมง

180 4.2 วางเรียงไม้บนแม่แรง นาไม้รวมกับเพื่อนท่ีจบั คู่กันไว้มาทด ล อ งว างเรี ยงไ ม้บ น แ ม่ แ รงเพื่ อ จัด แ น ว แล ะ รูปที่ 2.3.22 แสดงการเรียงจดั ตาแหน่งไม้ ตาแหน่ง จะไดไ้ มข้ นาด 22 x 40 x 550 ม.ม. 4 ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทอ่ น และขนาด 22 x 45 x 550 ม.ม. 2 ท่อน วาง ไมข้ นาด 22 x 45 x 550 ม.ม.ไวร้ ิมสุด ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบแนวเส้ียนไม้ให้ไปในทาง เดียวกนั 2. ควรมีไมร้ องดา้ นขา้ งท้งั สองดา้ น 4.3 ทากาวลาเท็กซ์ ใชแ้ ปรงทาสีขนาด 1 นิ้วทากาวที่ขอบไม้ ดา้ นกวา้ งท่ีจะเพลาะต่อกนั ทล่ี ะทอ่ นแลว้ วางลง บนจดุ เดิม ข้อควรระวงั 1. ไมท้ ่ีอยรู่ ิมสุดใหท้ ากาวเพยี งดา้ นเดียว 2. วางแนวไมใ้ หอ้ ยใู่ นแนวเดิมท่ี จดั เรียงไว้ รูปท่ี 2.3.23 แสดงการทากาวลาเทก็ ซ์ ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

4.4 จดั หัวไม้ 181 ใช้ไม้ที่เรียบได้แนว จัดแนวหัวไม้ให้ เท่ากนั ข้อควรระวงั ตรวจสอบแนวไม้ท่ีใช้จดั แนวหัวไม้ให้ ไดแ้ นว ไม่บิดงอหรือคดก่อนใชง้ าน รูปที่ 2.3.24 แสดงการจดั หวั ไม้ ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4.5 บีบอดั ไม้ หมุนแม่แรงบบี อดั ไมใ้ หต้ ิดกนั ข้อควรระวงั 1. ขณะบีบอดั แม่แรงควรกดไมท้ ุกท่อน ใหอ้ ยใู่ นระดบั เดียวกนั 2. ไม่ควรบีบอัดแม่แรงจนแน่ นมาก เกินไป จะทาใหไ้ มต้ รงกลางโก่งข้นึ รูปท่ี 2.3.25 แสดงการขนั แม่แรงบีบอดั เพลาะไม้ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

182 4.6 เช็ดทาความสะอาดไม้ ใชผ้ า้ ชุบน้าเช็ดทาความสะอาดกาว ลาเทก็ ซบ์ นไมใ้ หส้ ะอาด ท้งิ ไวใ้ หก้ าวแหง้ รูปท่ี 2.3.26 แสดงการเช็ดทาความสะอาด คราบกาวลาเทก็ ซ์ ข้อควรระวัง 1. ควรเช็ดทาความสะอาด 3 – 4 คร้ังให้ ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 หมดคราบกาว 2. ซักทาความสะอาดผา้ ทุกคร้ังท่ีเช็ดทา ความสะอาดในแตล่ ะคร้งั หมายเหตุ ใหน้ ักเรียนมาถอดเก็บไมท้ เ่ี พลาะไว้ ในเวลาพกั เทีย่ งของวนั ถดั ไป 11. ทาความสะอาดเครื่องมือและอปุ กรณ์ ตรวจสอบสภาพของเครื่องมื อและ อุปกรณ์แลว้ ใชผ้ า้ แหง้ และแปรงเชด็ ปัดทาความ สะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในส่วนของเคร่ือง มือท่ีเป็นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เชด็ ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย รูปที่ 2.3.27 แสดงรูปการทาความสะอาดเครื่องมอื ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมท่ีไหลยอ้ ยให้เช็ด ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเคร่ืองมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบนั ทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เคร่ืองมือ

183 12. จัดเกบ็ เคร่ืองมอื วสั ดุและอปุ กรณ์ แ จ้ง เจ้า ห น้ า ที่ ห้ อ ง เค ร่ื อ ง มื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ เขา้ ท่ี ข้อควรระวัง ก่ อ น จัด เก็ บ เค รื่ อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงชื่อตรวจ รบั เคร่ืองมือก่อนทกุ คร้ัง รูปท่ี 2.3.28 แสดงรูปการจดั เกบ็ เครื่องมอื ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

184 คู่มอื ปฏิบัตงิ านไม้ บทที่ 11 ปฏบิ ัตงิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลยี่ ม ข้ันตอนที่ 1 เตรียมไม้ส่วนประกอบขาเก้าอี้ หัวข้อเรื่อง 1. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 2. การวดั ระยะ ตดั ไสไมเ้ ตรียมส่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 2.1 การวดั ระยะร่างแบบไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 2.2 การตดั ไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 2.3 การไสไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 3. การบารุงรักษาเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ สาระสาคญั การทาช้ินงานหรือผลิตภณั ฑง์ านไมต้ ่าง ๆ ข้นั ตอนการทาจะเร่ิมจากการออกแบบช้ินงาน หรือเตรียมแบบทต่ี อ้ งการไวก้ ่อนแลว้ จดั หาวสั ดุและเคร่ืองท่จี ะใชต้ ามแบบ ข้นั ตอนตอ่ ไปคอื การ ปฏิบตั ิซ่ึงจะเริ่มจากการเตรียมส่วนประกอบของชิ้นงาน ซ่ึงการทาเกา้ อ้ีไมแ้ บบหัวโลน้ ส่ีเหลี่ยม ขนาดกวา้ ง 0.25 เมตร ยาว 0.25 เมตร และสูง 0.25 เมตร ส่วนประกอบที่สาคญั จะประกอบดว้ ย ไมพ้ ้นื ไมข้ าเกา้ อ้ี และไมพ้ นงั ล่างและพนงั บน ซ่ึงในข้นั ตอนแรกจะตอ้ งทาการวดั ตดั และไสไม้ ใหเ้ รียบไดข้ นาดและฉากตามแบบ จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์ทว่ั ไป เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการไสไมส้ ่วนประกอบเกา้ อ้ี แบบหวั โลน้ สี่เหล่ียม ขนาดกวา้ ง 0.25 เมตร ยาว 0.25 เมตร และสูง 0.25 เมตร

185 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกข้นั ตอนการเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการเตรียมส่วนประกอบ ขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ท่ี เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการเตรียมส่วนประกอบ ขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการวดั ระยะร่างแบบไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการตดั ไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการไสไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 6. บอกขอ้ ควรระวงั ในการเตรียมไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการตรวจความเรียบร้อยของไมท้ ี่ไสแลว้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกวธิ ีการส่งคนื เคร่ืองมือวสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 10. วดั ระยะร่างแบบไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ตดั ไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 12. ไสไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 13. ตรวจความเรียบรอ้ ยของไมท้ ไ่ี สแลว้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 14. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 15. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง

186 การเตรียมไม้ส่ วนประกอบขาเก้าอี้ 1. เตรียมเครื่องมอื วัสดุและอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเครื่องมือท่ีใชใ้ นการเตรียมไม้ การเตรียมไม้ ส่ วนประกอบขาเก้าอี้ ส่วนประกอบขาเกา้ อ้ี นาไปเบิกที่หอ้ งเคร่ืองมือ เรียงตามลาดบั ใบเบิกเคร่ืองมอื ข้อควรระวัง ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.ี่ .......... 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ที่ รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ ชดั เจน 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลนั ดา 1 อนั 2 แม่แรงตวั ซี 1 อนั เครื่องมือทเี่ บกิ ก่อนนาไปใชง้ าน 3 กบล้างกลาง 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลื่อย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. .......... ลงชือ่ ลงชอ่ื (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลบั เมตร หน้าท่ี ใชว้ ดั ระยะ รูปที่ 2.4.1.1 แสดงรูปตลบั เมตร การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอท่ี เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ีใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ที่สะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขดี บนเสน้ เทป

187 1.2 ดินสอ หน้าท่ี ใชข้ ดี แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปท่ี 2.4.1. แสดงรูปดินสอ การบารุงรักษา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เชด็ ทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้งั ก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าที่ ใชต้ รวจมุมฉาก ระดบั และความเรียบ ของไมท้ ไ่ี ส รูปที่ 2.4.1.3 แสดงรูปฉากตาย ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดฝ่นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากทหี่ ลวมหรือโยก

188 1.4 ขอขดี หน้าที่ ใชข้ ีดแนวร่างแบบลงบนช้ินงาน รูปที่ 2.4.1.4 แสดงรูปขอขีด การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทุกคร้ังและประกอบให้ แน่นพอดีก่อนเกบ็ ข้อควรระวงั 1. เหล็กแหลมจะต้องไม่ย่ืนออกมา เกินไป จะทาให้แขนและส่วนหัวของขอขีด เอียง 2. ไม่ใชข้ อขดี ตอกหรือเคาะเล่น 1.5 กบล้างกลาง หน้าท่ี ใชไ้ สลา้ งผวิ ไมใ้ หเ้ รียบและไดข้ นาด รูปที่ 2.4.1.5 แสดงรูปกบลา้ งกลาง การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ในส่วนของใบกบต้องชโลมน้ ามัน เคร่ืองเพอ่ื ป้ องกนั สนิม ข้อควรระวัง 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสมั ผสั ชิ้นงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กบั โลหะที่ทา ใหค้ มกบเสีย 2. ตรวจสอบคมของใบกบก่อนนาไป ใชง้ าน

189 1.6 กบผิว หน้าที่ ใชไ้ สผวิ ไมใ้ หเ้ รียบจริงๆ พรอ้ มที่จะขดั ตกแตง่ ผวิ ไมด้ ว้ ยกระดาษทราย รูปที่ 2.4.1.6 แสดงรูปกบผวิ ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เชด็ ทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ทาน้ามนั กนั สนิมในส่วนที่เป็ นโลหะ และทอ้ งกบทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสมั ผสั ช้ินงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กบั โลหะท่ีทา ใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เก็บควรประกอบไวเ้ ป็ นชุดโดย ปรบั คมกบยกข้นึ ใหส้ ูงจากทอ้ งกบ 1.6 ค้อนไม้ หน้าที่ ใชถ้ อดประกอบใบกบและปรับระดบั ใบกบ รูปท่ี 2.4.1.7 แสดงรูปคอ้ นไม้ ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา ทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏิบตั งิ าน 2. เลือกใชค้ อ้ นไมท้ ่ีมีขนาดและน้าหนัก ที่เหมาะสมกบั ผใู้ ช้

190 1.7 ไขควง หน้าที่ ใชข้ นั ถอดและยดึ เหลก็ ประกบั รูปท่ี 2.4.1.7 แสดงรูปไขควงปากแบน การบารุงรักษา ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน 2. อยา่ ใชไ้ ขควงตอกแทนสกดั เพราะอาจ ทาใหด้ า้ มและปลายไขควงชารุด 1.8 หินเจียระไน หน้าที่ ใชล้ บั ใบกบ รูปที่ 2.4.1.8 แสดงรูปหินเจียระไน การบารุงรักษา ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชน้ ้าลา้ งทาความสะอาดคราบสกปรกให้ สะอาด และเช็ดใหแ้ หง้ ข้อควรระวงั ระวงั หินเจียระไนตกลงพ้ืน เพราะหิน อาจแตกไม่สามารถใชง้ านได้

191 1.9 ไม้ขนาด 1” x 2 ” 2.50 เมตร หน้าท่ี ใชท้ าไมพ้ นงั ล่างและบน ยดึ ขาเกา้ อ้ี รูปที่ 2.4.1.9 แสดงรูปไมข้ นาด 1 X 2 นิ้ว การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เขยี นช่ือ เลขที่ ทห่ี วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. มัดรวมกันเป็ นชุด จัดวางเรียงให้เป็ น ระเบียบ ใหง้ า่ ยตอ่ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวัง ควรคัดเลือกไม้ก่อนนาไปใช้งาน โดย เลือกไมท้ ไ่ี ม่คด บิดงอ หรือมีตาไมม้ าก 1.10 ไม้ขนาด 2 X 2 X 2.00 เมตร หน้าที่ ใชท้ าขาเกา้ อ้ี รูปที่ 2.4.1.10 แสดงรูปไมข้ นาด 2 x 2 นิ้ว การบารุงรักษา ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เขยี นช่ือ เลขท่ี ที่หวั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวัง ควรคัดเลือกไม้ก่อนนาไปใช้งาน โดย เลือกไมท้ ไี่ ม่คด บดิ งอ หรือมีตาไมม้ าก

192 2. ตดั หัวไม้ ขีดฉากที่หัวไมโ้ ดยรอบท่ีระยะประมาณ 1- 2 ซ.ม. ใชเ้ ลื่อยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั หัวไมใ้ ห้ รูปที่ 2.4.1.11 แสดงการเลื่อยตดั หวั ไม้ ไดฉ้ าก โดยตดั หัวไมท้ ้งั ไม้ ขนาด 1 x 2 น้ิว และ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2 x 2 นิ้ว ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ าน 2. หากหัวไมม้ ีรอยแตกให้ตดั ให้เลยแนว รอยแตกของไม้ 3. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 4. ขณะใช้งานไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. วดั ระยะตัดไม้ วดั ระยะจากปลายไมเ้ ขา้ มาท่ีระยะ 3.1 วดั ระยะตัดไม้ขนาด 1 X 2 นิว้ 46 ซ.ม. 92 ซ.ม. 138 ซ.ม. และ 184 ซ.ม. รูปท่ี 2.4.1.12 แสดงการวดั ระยะตดั ไม้ ข้อควรระวงั ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตรวจสอบตลับเมตรก่อนใช้งานหาก ขอเกี่ยวหลวมมากเกินไปให้วดั ทดระยะโดยเริ่ม จากระยะ 10 ซ.ม. 2. เมื่อปล่อยเสน้ เทปกบั ท่ีเดิมค่อย ๆ ผอ่ น ถา้ ปล่อยให้กลบั เร็วเกินไปปลายขอที่เก่ียวอาจ ชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ

193 3.2 ขดี ฉากแนวตดั ไม้ขนาด 1 X 2 นิ้ว ใชฉ้ ากตายขดี แนวเลื่อยตดั ไมโ้ ดยรอบท้งั สี่แนวท่ีวดั ระยะไว้ 46 ซ.ม. 92 ซ.ม. 138 ซ.ม. และ 184 ซ.ม.ตามลาดบั รูปท่ี 2.4.1.13 แสดงการขีดฉากแนวตดั ไมพ้ นงั ข้อควรระวัง ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ในการขีดฉากด้ามฉากจะต้องแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 2. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก 3. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 3.3. วัดระยะตดั ไม้ขนาด 2 X 2 นิว้ วดั ระยะจากปลายไมเ้ ขา้ มาทร่ี ะยะ 50 ซ.ม. และวดั ไมข้ นาด 2 x 2 น้ิว จากใบงาน รูปที่ 2.4.1.14 แสดงการวดั ระยะตดั ไมข้ าเกา้ อ้ี 2.2.2 ใหเ้ หลือความยาว 50 ซ.ม. ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบตลับเมตรก่อนใชง้ านหาก ขอเก่ียวหลวมมากเกินไปใหว้ ดั ทดระยะโดยเร่ิม จากระยะ 0.10 เมตร 2. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับท่ีเดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอท่ี เกี่ยวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ หมายเหตุ ใชไ้ มจ้ ากใบงาน 2.2.2 อีก 1 ท่อน ใชฉ้ ากตายขีดแนวเลื่อยตัดไม้โดยรอบ

194 3.4 ขดี ฉากไม้ขนาด 2 X 2 นิ้ว ตามระยะที่วดั ไว้ และขีดฉากไมข้ นาด 2 x 2 น้ิว จากใบงานที่ 2.2.2 ตามความยาว 50 ซ.ม.ที่วดั ไว้ ข้อควรระวัง 1. ในการขีดฉากด้ามฉากจะต้องแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 2. ไม่ใชฉ้ ากท่หี ลวมหรือโยก 3. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ รูปที่ 2.4.1.15 แสดงการขีดฉากแนวตดั ไมข้ าเกา้ อ้ี ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4. เล่ือยตดั ไม้ส่วนประกอบขาเก้าอี้ ยดึ จบั ไมข้ นาด 1 x 2 น้ิว ดว้ ยแม่แรง 4.1 เตรียมตัดไม้พนังขาเก้าอี้ หวั โตะ๊ รูปที่ 2.4.1.16 แสดงการยดึ จบั ไมด้ ว้ ย ข้อควรระวงั แม่แรงหัวโตะ๊ 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ชิ้นงานหกั ได้ 2. หากหน้าอดั ไม่เรียบควรใชไ้ ม้ที่เรียบ รองหนา้ อดั ท้งั สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ช้ินงานเป็ น รอย

195 4.2 เล่ือยตัดไม้พนังขาเก้าอี้ ใชเ้ ลื่อยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั ไมต้ ามแนว ฉากจะได้ไม้ขนาด 1” x 2” x 0.46 เมตร จานวน 4 ท่อน รูปท่ี 2.4.1.17 แสดงการเลื่อยตดั ไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี ข้อควรระวงั ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตดั ไมใ้ หไ้ ดต้ ามแนวฉากทข่ี ดี ไว้ 2. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง 4.3 เตรียมตดั ไม้ขาเก้าอี้ ยดึ จบั ไมข้ นาด 2 x 2 น้ิว ดว้ ยแม่แรง หวั โตะ๊ ข้อควรระวงั 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ช้ินงานหกั ได้ 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ ม้ที่เรียบรองหน้า อดั ท้งั สองดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ช้ินงานเป็นรอย รูปที่ 2.4.1.18 แสดงการยดึ จบั ไมข้ าเกา้ อ้ีดว้ ย แม่แรงหัวโตะ๊ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

196 4.4 เลื่อยตัดไม้ขาเก้าอี้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั ไมต้ ามแนว ฉากท่ีวดั ระยะขีดไวจ้ ะได้ไม้ขนาด 2 x 2 น้ิว รูปท่ี 2.4.1.19 แสดงการเลื่อยตดั ไมข้ าเกา้ อ้ี ยาว 0.50 เมตร จานวน 2 ท่อน ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตดั ไมใ้ หไ้ ดต้ ามแนวฉากที่ขีดไว้ 2. ระวงั คมเล่ือยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง 5. ไสไม้ส่วนประกอบขาเก้าอี้ 1. ใชก้ บลา้ งกลางไสไมข้ นาด 2 x 2 นิ้ว 5.1 ไสไม้ขาเก้าอี้ ยาว 0.50 เม ตร ท้ัง 2 ท่ อ น ให้ได้ข น าด ประมาณ 41 x 41 x 500 ม.ม. รูปที่ 2.4.1.20 แสดงการไสไมข้ าเกา้ อ้ี ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2. ใชก้ บผิวกลางไสไม้ขนาด 2 x 2 น้ิว ยาว 0.50 เมตร ท้ัง 2 ท่อนอีกคร้ังให้ผิวเรียบ พร้อมใชง้ าน ใหไ้ ดข้ นาด 40 x 40 x 500 ม.ม. (หมายเหตุ ปฏิบัติงานไสไม้ให้เรียบตาม ข้นั ตอนในใบงานท่ี 2.1) ข้อควรระวงั 1. ขณะไสไม้ให้กดน้าหนักท่ีมือสอง ขา้ งใหเ้ ท่ากนั 2. ตรวจสอบแนวเส้ียนไมก้ ่อนไส ไม่ไส ไมย้ อ้ นเส้ียน

197 5.2 ไสไม้ขนาด 1 x 2 นิ้ว 1. ใชก้ บลา้ งกลางไสไมข้ นาด 1 x 2 นิ้ว ยาว 0.46 ม. ท้งั 4 ทอ่ น ใหไ้ ดข้ นาด 21 x 41 x รูปท่ี 2.4.1.21 แสดงการขีดแนวไมด้ า้ นกวา้ ง 460 ม.ม. ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2. ใชก้ บผวิ กลางไสไมข้ นาด 1 x 2 นิ้ว ยาว 0.46 ม.ท้งั 4 ท่อนอีกคร้ังให้ผิวเรียบพร้อม ใชง้ าน ใหไ้ ดข้ นาด 20 x 40 x 460 ม.ม. ข้อควรระวัง 1. ขณะไสไม้ให้กดน้าหนักท่ีมือสอง ขา้ งใหเ้ ท่ากนั 2. ตรวจสอบแนวเส้ียนไมก้ ่อนไส ไม่ไส ไมย้ อ้ นเส้ียน 6. ตรวจความเรียบร้อยของไม้ทีไ่ ส 1. ใชต้ ลบั เมตรวดั ตรวจสอบความกวา้ ง และความหนาของไมท้ ไ่ี สแลว้ รูปท่ี 2.4.1.22 แสดงการวดั ตรวจขนาด ของไมท้ ี่ไสแลว้ 2. ใช้ฉากตายวดั ตรวจสอบมุมฉากของ ไมท้ ่ีไสแลว้ ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหาก ขอเก่ียวหลวมมากเกินไปใหว้ ดั ทดระยะโดยเริ่ม จากระยะ 0.10 เมตร 2. ในการวดั มุมฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 3. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก

198 11. ทาความสะอาดเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ตรวจส อ บส ภาพ ขอ งเค รื่ องมื อแล ะ อุ ป ก รณ์ แล้วใช้แป รงแล ะ ผ้าแห้งปั ด เช็ด ท า ค วาม ส ะ อ าด เค รื่ อ งมื อ แ ล ะ อุ ป ก รณ์ ใน ส่ ว น ของเครื่องมือที่เป็ นโลหะให้เช็ดชโลมน้ ามัน กนั สนิม และเชด็ ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย รูปที่ 2.4.1.23 แสดงการทาความสะอาดกบลา้ ง ข้อควรระวงั ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. น้ามนั กนั สนิมท่ีไหลยอ้ ยให้เช็ดออก ใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเครื่องมือชารุด ให้แจง้ ครูผูส้ อน และบนั ทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน 12. จัดเกบ็ เครื่องมอื วัสดแุ ละอุปกรณ์ แจ้งเจ้า ห น้ า ที่ ห้ อ งเค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ เขา้ ท่ี ข้อควรระวงั ก่ อ น จัด เก็ บ เค ร่ื อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงช่ือตรวจ รบั ก่อนทกุ คร้ัง รูปที่ 2.4.1.24 แสดงการจดั เก็บเครื่องมือ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552

199 คู่มอื ปฏิบัตงิ านไม้ บทที่ 11 ปฏิบตั งิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลยี่ ม ข้นั ตอนท่ี 2 วดั ระยะร่างแบบส่วนประกอบขาเก้าอี้ หัวข้อเรื่อง 1. เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวดั ระยะร่างแบบส่วนประกอบขาเกา้ อ้ี 2. การวดั ระยะร่างแบบส่วนประกอบขาเกา้ อ้ีส่ีเหล่ียม 2.1 การวดั ระยะร่างแบบไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี 2.2 การวดั ระยะร่างแบบไมข้ าเกา้ อ้ี 3. การบารุงรกั ษาเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ สาระสาคญั การวดั ระยะ ร่างแบบ คือ การกาหนดขนาด ขีดเสน้ ตาแหน่งต่าง ๆลงบนช้ินงานโดยใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพอื่ ใหไ้ ดข้ นาด รูปร่าง และตาแหน่งทีไ่ ดอ้ อกแบบไวห้ รือตามแบบ ที่จะปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใช้ในการร่างแบบงานฝึ กฝี มืองานไม้ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ตลับเมตร ดินสอ ฉากตาย และขอขดี ซ่ึงการวดั ระยะและการร่างแบบ เป็นสิ่งสาคญั และเป็ นพ้นื ฐานในงาน ช่างทุก ๆ ช่าง ที่มีความสาคญั และจาเป็ นตอ้ งฝึ กปฏิบตั ิในเบ้ืองตน้ ก่อนการปฏิบตั ิงาน เพ่ือให้ ผลงานหรือช้ินงานท่อี อกมาไดข้ นาด รูปร่าง และสดั ส่วนตามทีแ่ บบกาหนด จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้นั ตอนการวดั ระยะ ร่างแบบ ส่วนประกอบ ขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหลี่ยม จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการวดั ระยะร่างแบบเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหล่ียมไดถ้ ูกตอ้ ง

200 2. บอกช่ือ หนา้ ท่ี เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์งานวดั ระยะร่างแบบเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3. บอกวธิ ีการวดั ระยะร่างแบบไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการวดั ระยะร่างแบบไมข้ าเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในงานวดั ระยะร่างแบบไมข้ าเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเครื่องมือไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการส่งคนื เคร่ืองมือไดถ้ ูกตอ้ ง 8. วดั ระยะร่างแบบไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 9. วดั ระยะร่างแบบไมข้ าเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคนื เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook