251 1.2 ฉากตาย หน้าที่ ใชต้ รวจมุมฉากของขาเกา้ อ้ี รูปที่ 3.1.2 แสดงฉากตาย การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากท่ีหลวมหรือโยก 1.3 ส่ิวปากบางขนาด 3/8 และ1/2 นิว้ หน้าท่ี บาก ปาดแตง่ รอยตอ่ ไมใ้ หไ้ ดข้ นาด การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดและทาน้ ามันกัน สนิมในส่วนท่ีเป็ นโลหะทุกคร้ ัง หลงั ใชง้ าน รูปที่ 3.1.3 แสดงสิ่วปากบาง ข้อควรระวัง ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตรวจคมส่ิวก่อนใชง้ าน 2. ขณะปฏิบตั งิ านควรวางสิ่วในทเ่ี หมาะ สมอยา่ ให้ตกลงพ้นื อาจทาใหค้ มสิ่วไม่คมหรือ หล่นใส่เทา้
252 1.4 แม่แรง 2 ตวั หน้าที่ ใชส้ าหรบั อดั ประกอบชิ้นงาน ใหแ้ นบสนิท รูปท่ี 3.1.4 แสดงแมแ่ รง ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ชโลมน้ามนั เพอ่ื ป้ องกนั สนิม ข้อควรระวงั 1. ขณะใชง้ านควรใช้ไมร้ องหน้าอดั ท้งั สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย 2. หยอดน้ ามันหล่อล่ืนหรือจารบีที่ เกลียวของสกรูเสมอเพอ่ื ใหห้ มุนไดค้ ล่องตวั 3. ใช้ผา้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ามนั กนั สนิมทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน 1.5 ค้อนหงอน หน้าที่ ใชต้ อกตะปู รูปที่ 3.1.5 แสดงคอ้ นหงอน การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใชค้ อ้ นใหถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน 2. รักษาหนา้ คอ้ นใหเ้ รียบอยเู่ สมอ 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. อย่าใช้คอ้ นที่ด้ามหลวม เพราะอาจ หลุดไปถูกผอู้ ื่นได้ 2. หนา้ คอ้ นท่ีใชต้ อกไม่ควรเป้ื อนน้ามนั หรือจาระบเี พราะจะทาใหล้ ื่น
253 1.6 เหลก็ ส่ง หน้าที่ ใชต้ อกส่งตะปูใหจ้ มลงไปในเน้ือไม้ รูปท่ี 3.1.6 แสดงเหลก็ ส่ง การบารุงรักษา ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เชด็ ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั ก่อนใชง้ านควรเช็ดทาความสะอาดคราบ น้ ามันกันสนิมให้แห้ง ซ่ึงอาจจะทาให้ล่ืน ในขณะตอกส่งตะปู 1.7 แปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว หน้าที่ ใชท้ ากาว รูปท่ี 3.1.7 แสดงแปรงทาสี การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวท่ีเหลือติดอยทู่ ่ีแปรงกบั เศษกระดาษ 2. ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าสะอาดหรือ น้าอุ่นทนั ทีหลงั ใชง้ าน 3. การเก็บแปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือ วางราบกบั พ้นื ข้อควรระวัง 1. ควรจุ่มแปรงให้จมลงไปในกาวแค่ 1 ใน 3 ของความยาวขนแปรง 2. ปาดกาวส่วนเกินออกกับขา้ งภาชนะ ก่อนทา
254 1.8 การลาเท็กซ์ หน้าที่ ใชย้ ดึ ประสานรอยต่อไมใ้ หต้ ิดกนั รูปที่ 3.1.8 แสดงกาวลาเทก็ ซ์ การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวที่ปากขวดทุกคร้ังก่อน ปิ ดฝาเก็บ 2. ปิ ดฝาให้สนิ ทจัดเก็บ ให้พ้น จาก แสงแดด ข้อควรระวัง 1. อยา่ ใหก้ าวเป้ื อนเส้ือผา้ เพราะทาความ สะอาดยาก 2. ในการใช้งานควรแบ่งกาวใส่ภาชนะ อื่นเช่น กระป๋ องกาวเก่า เพ่ือป้ องกันกาวส่วน ใหญส่ กปรก 1.9 ตะปูขนาด 1 นิว้ หน้าที่ ใชต้ อกยดึ ประกอบเกา้ อ้ี รูปท่ี 3.1.9 แสดงตะปู การบารุงรักษา ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 จัด เก็ บ ไ ว ้ใ น ท่ี แ ห้ ง ไ ม่ มี ค ว า ม ช้ื น เพ่ื อ ป้ องกนั การเกิดสนิม ข้อควรระวงั ควรเก็บตะปูแต่ละขนาดแยกกนั เพ่ือให้ หยบิ ใชง้ านไดง้ ่าย
255 1.10 คมี ตดั หัวตะปู หน้าท่ี ใชต้ ดั หวั ตะปหู รือถอนตะปู รูปท่ี 3.1.10 แสดงคีมตดั หวั ตะปู การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เชด็ ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไ ม่ เค า ะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏิบตั งิ าน 2. ไม่ใชค้ มี ตอกหรือเคาะโลหะ 1.12 ไม้ชิ้นส่วนขาเก้าอี้ หน้าท่ี ใชป้ ระกอบขาเกา้ อ้ี รูปที่ 3.1.10 แสดงไมส้ ่วนประกอบขาเกา้ อ้ี การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เขียนชื่อ เลขท่ี ที่หวั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั ตรวจสอบช่ื อที่เขียน ไว้บน ไม้ก่ อน นาไปใชง้ าน
256 2. ทดลองประกอบขาเก้าอี้ ประกอบขาเกา้ อ้ีเขา้ กบั ไมพ้ นังล่างและ ไมพ้ นังบนเขา้ ดว้ ยกัน จดั เป็ นสองชุด วดั ระยะ และตรวจมุมฉาก หากประกอบไม่ได้ให้บาก ปาดแต่งเดือยหรือรูเดือยใหม่ ข้อควรระวงั 1. เลือกไมท้ ี่มีลายหรือสีใกลเ้ คยี งกนั 2. ตรวจสอบขนาดเดือยและร่องเดือย ก่อนทาการบาก ปาดแต่ง รูปท่ี 3.1.11 แสดงการทดลองประกอบขาเกา้ อ้ี ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3. เขียนสัญลกั ษณ์ตาแหน่งของรอยต่อ เม่ือทดลองประกอบขาเกา้ อ้ีไดแ้ ลว้ ให้ใช้ดินสอเขียนสัญลักษณ์ ตาแหน่งของ รอยตอ่ แต่ละจดุ เพือ่ ป้ องกนั การสับสนในการประกอบ อดั กาว ข้อควรระวัง เขียนสัญลักษณ์ให้ชัดเจนและไม่ซ้ ากัน เพอื่ กนั ลืม รูปที่ 3.1.12 แสดงการเขียนสญั ลกั ษณ์ของรอยต่อ ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
257 4. ประกอบอดั กาวขาเก้าอสี้ องชุด เตรียมแม่แรงสองตวั และไม่รองหน้าอดั 4.1 เตรียมแม่แรง ท้งั สองขา้ ง จดั วางแม่แรงให้พร้อมใชง้ าน หมุน คลายแม่แรงออก ต้งั ระยะหนา้ อดั อีกดา้ นให้ได้ ระยะท่ีตอ้ งการใช้ ข้อควรระวัง ตรวจเช็คความสะอาดของคานแม่แรงที่ จะวางเพลาะไมไ้ ม่ใหม้ ีเศษกาวหรือเศษวสั ดุติด คา้ งอยจู่ ะทาใหห้ นา้ ไมท้ ี่วางไม่เสมอกนั รูปท่ี 3.1.13 แสดงการเตรียมแม่แรง ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4.2. ทากาวลาเทก็ ซ์ ใชแ้ ปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว ทากาวลาเท็กซ์ ให้ทวั่ เดือยและร่องเดือย ท้งั ล่างและบนท้งั สอง รูปท่ี 3.1.14 แสดงการทากาวลาเทก็ ซ์ ดา้ นแลว้ ประกอบเขา้ ตาแหน่งเดิม ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรทากาวมากเกินไป 2. ไม่ควรใชแ้ ปรงท่มี ีขนาดใหญก่ วา่ 1 นิ้ว เพราะจะทาให้กาวเป้ื อนเป็ นแนวกวา้ ง เกินไป
258 4.3 ประกอบขาเก้าอี้ วางขาเกา้ อ้ีบนแม่แรงขนั แม่แรงบีบอดั ขา ไมเ้ ขา้ หากนั ให้รอยต่อแนบสนิทโดยใชม้ ืออีก รูปท่ี 3.1.15 แสดงการบีบอดั ไม้ ขา้ งกดชิ้นส่วนไวไ้ ม่ใหโ้ ก่งข้ึนมา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ขณะบีบอดั แม่แรงควรตรวจสอบแนว ขาเกา้ อ้ีใหไ้ ดฉ้ าก 2. ไม่ควรบีบอัดแม่แรงจนแน่นมาก เกินไป จะทาให้ขาเกา้ อ้ี บิด พลิก หรือไมผ้ นัง ขาอาจหกั ได้ 4.4 ตรวจสอบแนวการประกอบชิ้นงาน วดั ตรวจสอบระยะและมุมฉากของขา เก้าอ้ีและไม้พนังขาที่ประกอบเขา้ ดว้ ยกันอีก คร้ังหากไม่ไดฉ้ ากใหค้ ลายแม่แรงเล็กน้อยแลว้ จดั ใหไ้ ดแ้ นวแลว้ บบี อดั ใหแ้ น่น รูปที่ 3.1.16 แสดงการตรวจมุมฉากและ ข้อควรระวงั ระยะห่างของขาเกา้ อ้ี 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ใชฉ้ ากท่ี ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 หลวมหรือโยก 2. การวดั ระยะควรวดั ทดระยะโดยเร่ิมที่ 0.10 เมตร
259 4.5 เช็ดทาความสะอาดไม้ ใช้ผ้าชุบน้ าบิดหมาด ๆ เช็ดทาความ สะอาดกาวลาเท็กซ์บนรอยต่อท่ีกาวถูกบีบอดั ข้นึ มาใหส้ ะอาด ข้อควรระวัง 1. ควรเช็ดทาความสะอาด 3 – 4 คร้ังให้ หมดคราบกาว 2. ซกั ลา้ งทาความสะอาดผา้ ทุกคร้งั ท่เี ช็ด ทาความสะอาดในแตล่ ะคร้งั รูปที่ 3.1.17 แสดงการเชด็ ทาความสะอาด คราบกาว ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4.6 ตอกตะปูยดึ ขาเก้าอี้ ใช้คอ้ นหงอนตอกตะปูขนาด 1 น้ิวยึด ตรงจดุ รอยตอ่ ขาเกา้ อ้ีจุดละ 2 ตวั โดยใหห้ วั ตะปู โผล่ไว้ 2 – 3 ม.ม.เพอื่ ตดั หวั ตะปู ข้อควรระวัง ควรตอกตะปูใหเ้ ย้อื งแนวกนั เพอื่ ป้ องกนั ไมแ้ ตก รูปท่ี 3.1.18 แสดงการตอกตะปยู ดึ ขาเกา้ อ้ี ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
260 4.7 ตอกยึดฉากมุมขาเก้าอี้ ใช้เศษไม้ตอกตะปูขนาด 1 น้ิวยึดขา เกา้ อ้ีกบั ไมพ้ นงั ขาในแนวเฉียง 45 องศาท้งั สี่มุม รูปท่ี 3.1.18 แสดงการตอกยดึ มมุ ขาเกา้ อ้ี เพ่ือให้ไดม้ ุมฉากและป้ องกนั โยกในขณะถอด ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เนื่องจากกาวยงั ไม่แหง้ ข้อควรระวงั ต รว จ ส อ บ มุ ม ฉ า ก ข อ งข า เก้า อ้ ี อี ก ค ร้ ั ง ก่อนตอกยดึ หมายเหตุ เนื่องจากนกั เรียนมีจานวนมาก แม่แรงอดั ไมไ้ ม่พอท่ีจะอดั ท้งิ ไว้ จงึ ตอ้ งตอกยดึ มุมฉากของไม้ในแนวเฉียง 45 องศาป้ องกัน โยกขณะถอด 5. ผ่งึ ไม้ไว้ให้กาวแห้ง หมุนคลายแม่แรงนาขาเก้าอ้ีออกมาวาง ผ่งึ ลมไวร้ อใหก้ าวแหง้ ใชเ้ วลาประมาณ 10 – 12 ชว่ั โมง (แลว้ ประกอบขาชุดท่ีสองตามข้นั ตอน ท่ี 4 - 5 ) ข้อควรระวัง เขียนชื่อให้ชดั เจน จดั วางชิ้นงานไวใ้ นที่ โล่งที่จดั ให้ รูปที่ 3.1.19 แสดงการวางไมข้ าเกา้ อ้ีผ่งึ ลมไว้ ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
261 6. ทาความสะอาดเครื่องมอื และอปุ กรณ์ ตรวจสอ บ สภาพ ข อ งเค ร่ื อ งมื อแล ะ อุปกรณ์แลว้ ใชผ้ า้ แหง้ และแปรงเช็ดปัดทาความ สะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ในส่ วนของ เคร่ืองมือที่เป็ นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เช็ด ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย รูปที่ 3.1.20 แสดงการทาความสะอาดเคร่ืองมือ ข้อควรระวงั ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมท่ีไหลยอ้ ยใหเ้ ช็ด ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเครื่องมือชารุด ให้แจง้ ครูผูส้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เคร่ืองมือ 7. จดั เก็บเคร่ืองมอื วัสดแุ ละอุปกรณ์ แจ้งเจ้า ห น้ า ท่ี ห้ อ ง เค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เกบ็ เขา้ ท่ี ข้อควรระวัง ก่ อ น จัด เก็ บ เค ร่ื อ งมื อ ให้ เจ้าห น้ าที่ ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและลงช่ือตรวจ รบั ก่อนทุกคร้ัง รูปที่ 3.1.21 แสดงการจดั เกบ็ เครื่องมอื ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
262 คู่มอื ปฏบิ ัตงิ านไม้ ปฏิบตั งิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลย่ี ม ข้ันตอนท่ี 7 การประกอบขาเก้าอี้ (ต่อ) หัวข้อเร่ือง 1. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประกอบเกา้ อ้ีสี่เหลี่ยมหวั โลน้ 2. วธิ ีการประกอบขาเกา้ อ้ีส่ีเหลี่ยมหวั โลน้ 3. การบารุงรักษาเคร่ืองมือ สาระสาคญั หลงั จากที่ไดป้ ระกอบขาเกา้ อ้ีสองขาเขา้ ดว้ ยกนั ท้งั สองชุด และท้ิงไวใ้ หก้ าวแหง้ ข้นั ตอน ต่อไปเป็ นการนาขาเกา้ อ้ีท้งั สองชุดมาประกอบเขา้ ดว้ ยกนั เป็ นขาเกา้ อ้ีท่ีสมบูรณ์ โดยทากาวที่ รอยตอ่ แลว้ ใชแ้ ม่แรง และแม่แรงรูปตวั ซีบีบอดั ใหร้ อยตอ่ แนบสนิท ตอกยดึ ดว้ ยตะปขู นาด 1 น้ิว และใชเ้ ศษไมต้ อกยดึ ขาเกา้ อ้ีกบั ไมพ้ นงั บนและพนงั ล่างเขา้ กบั ขาเกา้ อ้ีในแนว 45 องศาเพอื่ ยดึ ให้ ไดม้ ุมฉาก แลว้ พ่งึ ไวใ้ หก้ าวแหง้ ประมาณ 10 – 12 ชว่ั โมง จึงนาปฏบิ ตั งิ านในข้นั ตอนตอ่ ไป จดุ ประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เพื่อให้ผูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ ข้นั ตอนและวธิ ีการประกอบขาเก้าอ้ีไม้ ส่ีเหลี่ยมหวั โลน้ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์การประกอบเกา้ อ้ีไมส้ ี่เหลี่ยม ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หน้าท่ี เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการประกอบเก้าอ้ีไม้สี่เหลี่ยมได้ ถูกตอ้ ง 3. บอกข้นั ตอนการเตรียมไมข้ าเกา้ อ้ีทปี่ ระกอบไวไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง
263 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 4. บอกวธิ ีการประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการตรวจสอบประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกขอ้ ควรระวงั ในการประกอบเกา้ อ้ีไมส้ ี่เหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการส่งคนื เคร่ืองมือ วสั ดุและอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. เตรียมไมข้ าเกา้ อ้ีทีป่ ระกอบไวไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง 10. ประกอบขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ตรวจสอบประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหล่ียมไดถ้ ูกตอ้ ง 12. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 13. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
264 การประกอบขาเก้าอ(ี้ ต่อ) 1. เตรียมเคร่ืองมอื วัสดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ท่ี ใช้ในการประกอบขาเก้าอ้ี นาไปเบิกท่ีห้อง การประกอบขาเก้าอี้ เครื่องมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมอื ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเคร่ืองมือให้ ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.ี่ .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลันดา 1 อนั เครื่องมือทีเ่ บกิ ก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอื่ ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลื่อย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลย่ี ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ หน้าที่ ใชว้ ดั ระยะ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......... ลงช่อื ลงชอ่ื (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลบั เมตร การบารุงรักษา ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั การ ใชง้ าน รูปที่ 3.2.1 แสดงตลบั เมตร ข้อควรระวัง ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับท่ีเดิมค่อย ๆ ผอ่ น ถา้ ปล่อยใหก้ ลบั เร็วเกินไปปลายขอท่ีเก่ียว อาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ที่ใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขีดบนเสน้ เทป
265 1.2 ดนิ สอ หน้าท่ี ใชเ้ ขยี นชื่อลงบนชิ้นงาน รูปที่ 3.2.2 แสดงดินสอ การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เหลาไสด้ ินสอใหม้ ีความแหลมทกุ คร้ัง ก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าท่ี ใช้ตรวจมุมฉาก ระดับและความเรียบ ของไมท้ ่ีไส รูปที่ 3.2.3 แสดงฉากตาย ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก
266 1.4 กบล้างกลาง หน้าที่ ใชไ้ สลา้ งผวิ ไมใ้ หเ้ รียบและไดข้ นาด รูปท่ี 3.2.4 แสดงกบลา้ งกลาง การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ทาน้ามนั กันสนิมในส่วนที่เป็ นโลหะ และทอ้ งกบทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอ่ื ป้ องกนั ไม่ให้คมกบสัมผสั ช้ินงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กับโลหะท่ีทา ใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เก็บควรประกอบไวเ้ ป็ นชุดโดย ปรับคมกบยกข้ึนใหส้ ูงจากทอ้ งกบ 1.5 แม่แรงอดั ไม้ หน้าท่ี ใชส้ าหรับอดั ประกอบช้ินงาน ใหแ้ นบสนิท รูปท่ี 3.2.5 แสดงแม่แรง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน 2. ชโลมน้ามนั เพอ่ื ป้ องกนั สนิม ข้อควรระวงั 1. ขณะใช้งานควรใช้ไม้รองหน้าอัดท้ัง สองดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานเป็ นรอย 2. หยอดน้ามนั หล่อลื่นหรือจารบีท่ีเกลียว ของสกรูเสมอเพอื่ ใหห้ มุนไดค้ ล่องตวั 3. ใช้ผา้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ามนั กนั สนิมทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน
267 1.6 ปากการูปตัวซี หน้าที่ ใช้สาหรับยดึ จับช้ินงานหรือบีบอัด ชิ้นงาน รูปท่ี 3.2.6 แสดงปากการูปตวั ซี ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา 1. เช็ดทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน 2. ชโลมน้ามนั เพอ่ื ป้ องกนั สนิม ข้อควรระวงั 1. ขณะใช้งานควรใชไ้ มร้ องหน้าอดั ท้งั สองดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ช้ินงานเป็นรอย 2. หยอดน้ ามันหล่อลื่นหรือจารบีที่ เกลียวของสกรูเสมอเพอ่ื ใหห้ มุนไดค้ ล่องตวั 1.7 ค้อนหงอน หน้าที่ ใชต้ อกตะปู รูปที่ 3.2.7 แสดงปากกาหวั โต๊ะ การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใชค้ อ้ นใหถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน 2. รักษาหนา้ คอ้ นใหเ้ รียบอยเู่ สมอ 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. อยา่ ใช้คอ้ นที่ด้ามหลวม เพราะอาจ หลุดไปถูกผอู้ ่ืนได้ 2. หนา้ คอ้ นทใี่ ชต้ อกไม่ควรเป้ื อนน้ามนั หรือจาระบเี พราะจะทาใหล้ ื่น
268 1.8 เหล็กส่ง หน้าท่ี ใชต้ อกส่งตะปใู หจ้ มลงไปในเน้ือไม้ รูปที่ 3.2.8 แสดงเหลก็ ส่ง การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ก่อนใชง้ านควรเช็ดทาความสะอาดคราบ น้ ามันกันสนิ มให้แห้ง ซ่ึงอาจจะทาให้ลื่น ในขณะตอกส่งตะปู 1.9 ไขควง หน้าที่ ใชข้ นั ถอดและยดึ เหลก็ ประกบั รูปท่ี 3.2.9 แสดงไขควงแบน การบารุงรักษา ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชง้ านผดิ ประเภท เช่น ใชเ้ จาะ หรือบากไมแ้ ทนสิ่ว 2. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มไขควง
269 1.10 หินเจยี ระไน หน้าที่ ใชล้ บั ใบกบ รูปท่ี 3.2.10 แสดงหินเจียระไน การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชน้ ้าลา้ งทาความสะอาดคราบสกปรกให้ สะอาด และเชด็ ใหแ้ หง้ ข้อควรระวงั ระวงั หินเจียระไนตกลงพ้ืน เพราะหินอาจ แตกไม่สามารถใชง้ านได้ 1.11 แปรงทาสีขนาด 1 นิว้ หน้าที่ ใชท้ ากาว รูปที่ 3.2.11 แสดงแปรงทาสี การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกูร 2552 1. เช็ดคราบกาวท่ีเหลือติดอยทู่ ่ีแปรงกบั เศษกระดาษ 2. ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าสะอาดหรือ น้าอุ่นทนั ทีหลงั ใชง้ าน 3. การเก็บแปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือ วางราบกบั พ้นื เรียบ ข้อควรระวงั 1. ควรจุ่มแปรงให้จมลงไปในกาวแค่ 1 ใน 3 ของความยาวขนแปรง 2. ปาดกาวส่วนเกินออกกับขา้ งภาชนะ ก่อนทา
270 1.12 การลาเทก็ ซ์ หน้าท่ี ใชย้ ดึ ประสานรอยตอ่ ไมใ้ หต้ ิดกนั รูปที่ 3.2.12 แสดงกาวลาเทก็ ซ์ การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวท่ีปากขวดทุกคร้ังก่อน ปิ ดฝาเกบ็ 2. ปิ ดฝาให้สนิ ท จัดเก็ บให้พ้น จาก แสงแดด ข้อควรระวัง 1. อยา่ ใหก้ าวเป้ื อนเส้ือผา้ เพราะทาความ สะอาดยาก 2. ในการใช้งานควรแบ่งกาวใส่ภาชนะ อ่ืนเช่น กระป๋ องกาวเก่า เพื่อป้ องกันกาวส่วน ใหญ่สกปรก 1.13 ตะปูขนาด 1 นิ้ว หน้าที่ ใชต้ อกยดึ ประกอบเกา้ อ้ี รูปท่ี 3.2.13 แสดงตะปู การบารุงรักษา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 จัด เก็ บ ไ ว ้ใน ที่ แ ห้ ง ไ ม่ มี ค ว า ม ช้ื น เพ่ื อ ป้ องกนั การเกิดสนิม ข้อควรระวงั ควรเก็บตะปูแต่ละขนาดแยกกนั เพ่ือให้ หยบิ ใชง้ านไดง้ า่ ย
271 1.14 คมี ตดั หัวตะปู หน้าท่ี ใชต้ ดั หวั ตะปหู รือถอนตะปู รูปท่ี 3.2.14 แสดงคีมตดั หวั ตะปู การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏบิ ตั งิ าน 2. ไม่ใชค้ ีมตอกหรือเคาะโลหะ 1.15 ไม้ขาเก้าอที้ ปี่ ระกอบอดั กาวไว้ หน้าท่ี ใชฝ้ ึกปฏบิ ตั งิ าน การบารุงรักษา 1. เขียนช่ือ เลขท่ี ที่หวั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวัง ตรวจสอบช่ือ ที่ เขียน ไว้บ น ไม้ก่ อ น นาไปใชง้ าน รูปที่ 3.2.15 แสดงขาเกา้ อ้ี ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
272 2. เตรียมไม้ขาเก้าอที้ ป่ี ระกอบไว้ ใช้คอ้ นหงอนถอดตะปูท่ียดึ ขาเก้าอ้ีท้งั ส่ี 2.1 ถอดไม้ยึดมุมขาเก้าอี้ มุมออก ข้อควรระวงั กดยดึ ไมข้ าใหแ้ น่นเพอ่ื ป้ องกนั ไมข้ าโยก รูปท่ี 3.2.15 แสดงการถอดไมย้ ดึ มุมขาเกา้ อ้ี ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.2 ตดั หัวตะปู ใชค้ มี ตดั หวั ตะปูทีต่ อกยดึ ขาเกา้ อ้ี ข้อควรระวัง ระวงั หวั ตะปกู ระเด็นเขา้ ตา รูปที่ 3.2.16 แสดงการตดั หัวตะปู ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
273 2.3 ตอกส่งหัวตะปู ใชค้ อ้ นหงอนตอกเหล็กส่ง ส่งตะปูให้จม ลงไปในเน้ือไม้ 1 – 2 ม.ม. รูปท่ี 3.2.17 แสดงการตอกส่งตะปู ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. วางปลายเหล็กส่งบนหัวตะปูให้ต้ัง ฉากกบั พน้ื ไม้ 2. ตรวจระดับของตะปูท่ีจะตอกส่งหัว ตะปูให้อยรู่ ะดบั เดียวกบั ผิวช้ินงาน หากสูงกว่า ให้ ใช้ค้อ น ห ง อ น ต อ ก ใน จม ล ง ไ ป ให้ เส ม อ ผวิ ช้ินงาน 2.4 ไสปรับระดบั ขาและไม้พนัง ใชก้ บลา้ งกลางไสปรับระดบั ขาเกา้ อ้ีและ ขาเก้าอี้ ไมพ้ นังล่างและไมพ้ นงั บนท่ีไม่ไดร้ ะดบั ใหไ้ ด้ เสมอกนั ข้อควรระวัง 1. หากขาเก้าอ้ีและไม้พนังขาได้ระดับ เสมอกนั ใหข้ า้ ไปทาข้นั ตอนที่ 3 ไดเ้ ลย 2. การไสไมใ้ หใ้ ชไ้ มต้ อกตะปูยดึ ในแนว ต้งั ฉากเพอ่ื ป้ องกนั ไมข้ าเกา้ อ้ีโยก รูปท่ี 3.2.18 แสดงการไสปรับระดบั ขาเกา้ อ้ี ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
274 3. ประกอบขาเก้าอี้ 2 ชุดเข้าด้วยกัน เตรียมแม่แรงจดั วางแม่แรงให้พร้อมใช้ 3.1 เตรียมแม่แรง งาน หมุนคลายแม่แรงออก ต้งั ระยะหน้าอดั อีก ดา้ นใหไ้ ดร้ ะยะทีต่ อ้ งการใช้ รูปที่ 3.2.19 แสดงการเตรียมแม่แรง ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตรวจความเรียบของคานแม่แรงท่ีจะ วางเพลาะไม้ 2. ตรวจสอบพ้นื ทที่ ี่วางแม่แรงเนื่องจาก ตอ้ งวางทง้ิ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 10 – 12 ชวั่ โมง 3.2. ทากาวลาเท็กซ์ ใชแ้ ปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว ทากาวลาเทก็ ซ์ ทรี่ อยต่อเดือยและร่องเดือยระหวา่ งไมข้ าเกา้ อ้ี รูปที่ 3.2.20 แสดงการทากาวลาเทก็ ซ์ กับไม้พนังขาท้ังล่างและบนท้ังสองคู่แล้ว ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ประกอบขาเกา้ อ้ีท้งั สองชุดเขา้ ดว้ ยกนั ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรทากาวมากเกินไป 2. ไม่ควรใชแ้ ปรงทม่ี ีขนาดใหญก่ วา่ 1 น้ิว เพราะจะทาให้กาวเป้ื อนเป็ นแนวกวา้ ง เกินไป
275 3.3 บบี อัดไม้ วางขาเกา้ อ้ีบนแม่แรงขนั บีบอัดแม่แรง ใหอ้ ดั ขาไมเ้ ขา้ หากนั ใหแ้ น่นพอประมาณ ข้อควรระวัง 1. ขณะบบี อดั แม่แรงควรตรวจสอบแนว ขาเกา้ อ้ีใหไ้ ดฉ้ าก 2. ไม่ควรบีบอัดแม่แรงจนแน่นมาก เกินไป จะทาให้ขาเกา้ อ้ี บิด พลิก หรือไมผ้ นัง ขาอาจหกั ได้ รูปที่ 3.2.21 แสดงการบีบอดั ประกอบขาเกา้ อ้ี ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3.4 ตรวจสอบชิ้นงาน วดั ตรวจสอบระยะและมุมฉากของขา เกา้ อ้ีท่ีประกอบเขา้ ดว้ ยกันหากไม่ได้ฉากให้ คลายแม่แรงเล็กนอ้ ยแลว้ จดั ให้ไดแ้ นวแลว้ บีบ อดั ใหแ้ น่น รูปที่ 3.2.22 แสดงการตรวจระยะห่างของขาเกา้ อ้ี ข้อควรระวงั ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ใชฉ้ าก ที่หลวมหรือโยก 2. วดั ตรวจสอบมุมฉากในทุก ๆ มุมที่ วดั ได้ 3. การวดั ระยะควรวดั ทดระยะโดยเร่ิมที่ 0.10 เมตร
276 3.5 บีบอัดไม้ขาเก้าอดี้ ้านบน ใชป้ ากกาตวั ซีบบี อดั ขาเกา้ อ้ีดา้ นบน รูปท่ี 3.2.23 แสดงการบบี อดั ขาเกา้ อ้ีดา้ นบน ข้อควรระวัง ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ควรมีไมร้ องหน้าจบั ของแม่แรงตวั ซี เพอ่ื ป้ องกนั ขาเกา้ อ้ีเป็นรอย 2. ไม่ควรบีบอดั แม่แรงตวั ซีจนแน่นมาก เกินไป จะทาให้ขาเกา้ อ้ี บิด พลิก หรือไมผ้ นัง ขาอาจหกั ได้ 3. ถ้าหากบีบขาด้านบนเข้าไม่ได้ ให้ คลายแม่แรงดา้ นล่างเล็กน้อยแล้วค่อยขันแม่ แรงตวั ซีบีบอดั เขา้ ใหม่ 3.6 ตรวจสอบระยะและมุมฉาก วดั ตรวจสอบระยะและมุมฉากของขา เกา้ อ้ีที่ประกอบเขา้ ดว้ ยกันหากไม่ได้ฉากให้ คลายแม่แรงเล็กนอ้ ยแลว้ จดั ให้ไดแ้ นวแลว้ บีบ อดั ให้แน่น ปล่อยทิ้งไว้ 10 – 12 ชว่ั โมงเพ่อื ให้ กาวแหง้ รูปท่ี 3.2.23 แสดงการตรวจมุมฉากและระยะห่าง ข้อควรระวัง ของขาเกา้ อ้ี 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ใชฉ้ าก ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ท่หี ลวมหรือโยก 2. การวดั ระยะควรวดั ทดระยะโดยเริ่มที่ 0.10 เมตร
277 3.7 ตอกตะปูยดึ โยงขาเก้าอี้ ใช้เศษไม้ตอกตะปูขนาด 1 น้ิวยึดขา เก้าอ้ีกับไม้พนังขาในแนวเฉียง 45 องศาท้งั ส่ี รูปท่ี 3.2.24 แสดงการตอกตะปยู ดึ มุมเพ่ือให้ไดม้ ุมฉากและป้ องกันโยกในขณะ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ถอดปากกาตวั ซีเน่ืองจากกาวยงั ไม่แหง้ ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบมุมฉากของขาเกา้ อ้ีอีกคร้ัง ก่อนตอกยดึ 2. ตรวจสอบตาแหน่งในการตอกยดึ ให้ สามารถวางบนแม่แรงไดเ้ ม่ือกลบั ดา้ นตอกยดึ อีกดา้ น 3.8 ตอกตะปูยึดรอยต่อ ใช้ค้อนหงอนตอกตะปูขนาด 1 นิ้วยึด รอยต่อระหวา่ งขาเกา้ อ้ีกบั ไม้พนังล่างและไม้ พนงั บน ข้อควรระวงั ควรตอกตะปูใหเ้ ยอ้ื งแนวกนั เพ่ือป้ องกนั ไมแ้ ตก รูปท่ี 3.2.25 แสดงการตอกตะปยู ดึ รอยต่อขาเกา้ อ้ี ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
3.9 ตัดหัวตะปู 278 ใชค้ มี ตดั หวั ตะปูออก ข้อควรระวงั ระวงั เศษหวั ตะปูกระเดน็ เขา้ ตา รูปที่ 3.2.26 แสดงการตดั หวั ตะปู ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3.10 ตอกส่งหัวตะปู ใชค้ อ้ นหงอนตอกเหล็กส่ง ส่งตะปใู หจ้ ม ลงไปในเน้ือไม้ 1 – 2 ม.ม. รูปที่ 3.2.27 แสดงการตอกส่งหัวตะปู ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. วางปลายเหล็กส่งบนหัวตะปูให้ต้งั ฉากกบั พ้นื ไม้ 2. ตรวจระดับของตะปูท่ีจะตอกส่งหัว ตะปูใหอ้ ยรู่ ะดบั เดียวกบั ผวิ ชิ้นงาน หากสูงกว่า ให้ ใช้ค้อ น ห ง อ น ต อ ก ใน จ ม ล ง ไ ป ให้ เส ม อ ผวิ ชิ้นงาน
279 3.11 เช็ดทาความสะอาดกาว ใชผ้ า้ ชุบน้าเชด็ ทาความสะอาดกาว ลาเท็กซ์บนรอยต่อท่ีกาวถูกบีบอัดข้ึนมาให้ สะอาดแลว้ ทง้ิ ไว้ 10 - 12 ช.ม. ข้อควรระวัง 1. ควรเช็ดทาความสะอาด 3 – 4 คร้ังให้ หมดคราบกาว 2. ซักทาความสะอาดผา้ ทุกคร้ังท่ีเช็ดทา ความสะอาดในแต่ละคร้ัง รูปท่ี 3.2.28 แสดงการเช็ดทาความสะอาด คราบกาว ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3.12 วัดตรวจมมุ ฉากและขนาด ใช้ตลับเมตรและฉากตายวดั ตรวจมุม ฉากและขนาดของขาเกา้ อ้ีใหไ้ ดข้ นาดตามแบบ ข้อควรระวงั ควรวดั ตรวจสอบขนาดและมุมฉากท้งั ภายนอกและภายใน รูปท่ี 3.2.29 แสดงการตรวจมุมฉากและระยะห่าง ของขาเกา้ อ้ี ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
280 3.13 ตอกยึดขาอกี ด้าน ถอดแม่แรงตวั ซีออกและถอดชุดขาเกา้ อ้ี ออกจากแม่แรงอดั ไม้ กลบั ดา้ นบนลงล่างแลว้ ปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนท่ี 3.3 ถึงข้นั ตอนท่ี 3.10 ข้อควรระวัง ควรตรวจสอบมุมฉากและวดั ขนาดของ ขาเกา้ อ้ีก่อนตอกยดึ รูปที่ 3.2.30 แสดงการตอกตะปยู ดึ มมุ ขาเกา้ อ้ี ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3.14 ผึง่ ขาเก้าอใี้ ห้กาวลาเทก็ ซ์แห้ง ถอดขาเกา้ อ้ีออกจากแม่แรงอดั ไมว้ างไว้ ในทโ่ี ล่งรอใหก้ าวแหง้ ประมาณ 10 – 12 ช.ม. ข้อควรระวงั 1. วางไวใ้ นที่ร่มที่แสงแดดไม่สามารถ ส่องถึง หากถูกแสงแดดอาจทาใหไ้ มบ้ ิดงอเสีย รูปทรง 2. เขยี นชื่อ เลขที่ ไวด้ า้ นในใหช้ ดั เจน รูปที่ 3.2.31 แสดงการวางเกา้ อ้ีผ่งึ ลมไวใ้ ห้แหง้ ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
281 4. ทาความสะอาดเครื่องมอื และอปุ กรณ์ ตรวจสอ บ สภาพ ขอ งเค ร่ื อ งมื อ แล ะ อุปกรณ์แล้วใช้ผา้ แห้งและแปรงเช็ดปัดทา รูปที่ 3.2.32 แสดงการทาความสะอาดเคร่ืองมือ ความสะอาดเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในส่วนของ ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เครื่องมือทเ่ี ป็นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เช็ด ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย ข้อควรระวัง 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมที่ไหลยอ้ ยใหเ้ ช็ด ออกใหห้ มดก่อนเกบ็ 2. หากเครื่องมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบนั ทกึ สาเหตขุ องการชารุดไวใ้ นใบงาน 5. จดั เกบ็ เคร่ืองมือ วัสดแุ ละอุปกรณ์ แจ้งเจ้าห น้ า ท่ี ห้ อ งเค ร่ื อ งมื อ ให้ ต รว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ รูปที่ 3.2.33 แสดงการจดั เกบ็ เคร่ืองมือ เขา้ ที่ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง ก่ อ น จัด เก็บ เค ร่ื อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและลงชื่อตรวจ รับก่อนทกุ คร้ัง
282 คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านไม้ บทท่ี 11 ปฏิบัตงิ านทาเก้าอสี้ ี่เหลย่ี ม ข้ันตอนท่ี 8 การประกอบพนื้ เก้าอี้ หัวข้อเร่ือง 1. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการประกอบพ้นื เกา้ อ้ีไมส้ ่ีเหล่ียมหวั โลน้ 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการประกอบพน้ื เกา้ อ้ีไมส้ ี่เหลี่ยมหวั โลน้ 3. การบารุงรกั ษาเครื่องมือ สาระสาคญั การประกอบพ้ืนเกา้ อ้ี เม่ือเราไดส้ ่วนประกอบของชุดขาเกา้ อ้ีแลว้ ข้นั ตอนต่อไปคือการ ประกอบพ้ืนเกา้ อ้ีเขา้ กบั ขาเกา้ อ้ี ซ่ึงจะใชไ้ มพ้ ้ืนเกา้ อ้ีท่ีไดต้ ดั ไสลบมุมไวแ้ ลว้ ในใบงานที่ 2.4.5 นามาร่างแบบกาหนดตาแหน่งของการประกอบกบั ขาเก้าอ้ีที่ประกอบไวใ้ นใบงานที่ 3.2 ยดึ ตดิ กนั ดว้ ยกาวลาเทก็ ซ์และตะปู จดุ ประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ทว่ั ไป เพ่ือให้ผูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ ข้นั ตอนและวิธีการประกอบพ้ืนเก้าอ้ีไม้ สี่เหล่ียมหวั โลน้ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวิธีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์การประกอบพ้ืนเก้าอ้ีไม้สี่เหลี่ยม หวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หน้าท่ี เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการประกอบพ้ืนเก้าอ้ีไม้ส่ีเหลี่ยม หวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกข้นั ตอนการเตรียมไมข้ าเกา้ อ้ีไมส้ ี่เหลี่ยมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกข้นั ตอนการเตรียมไมพ้ น้ื เกา้ อ้ีไมส้ ี่เหล่ียมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง
283 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 5. บอกวธิ ีการประกอบพ้นื เกา้ อ้ีไมส้ ี่เหล่ียมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการตรวจสอบความเรียบร้อยของเกา้ อ้ีไมส้ ่ีเหล่ียมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการประกอบพ้นื เกา้ อ้ีไมส้ ี่เหลี่ยมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมอื ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกวธิ ีการส่งคนื เคร่ืองมือไดถ้ ูกตอ้ ง 10. เตรียมไมส้ าหรบั การประกอบพน้ื เกา้ อ้ีไมส้ ่ีเหลี่ยมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ประกอบพ้นื เกา้ อ้ีไมส้ ี่เหล่ียมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 12. ตรวจความเรียบรอ้ ยของเกา้ อ้ีไมส้ ่ีเหล่ียมหวั โลน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 13. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 14. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
284 ข้นั ตอนการประกอบพนื้ เก้าอี้ 1. เตรียมเครื่องมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ที่ ใชใ้ นการประกอบพ้ืนเก้าอ้ี นาไปเบิกท่ีห้อง การประกอบพนื้ เก้าอี้ เคร่ืองมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมือ ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.่ี .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอ่ื นลันดา 1 อนั เคร่ืองมือทเี่ บิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอื่ ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลื่อย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ................................................................................................................ ....................... ............................................................................................................................. .......... ลงชอ่ื ลงชอื่ (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลับเมตร หน้าที่ ใชว้ ดั ระยะ รูปท่ี 3.3.1 แสดงตลบั เมตร การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตลุ ยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เมื่อปล่อยเส้นเทปกับท่ีเดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เกี่ยวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ีใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะท่ีอาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขีดบนเสน้ เทป
285 1.2 ดนิ สอ หน้าที่ ใชข้ ีด แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปท่ี 3.3.2 แสดงดินสอ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้ังก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าที่ ใชต้ รวจมุมฉาก ระดบั และความเรียบ ของไมท้ ีไ่ ส รูปท่ี 3.3.3 แสดงฉากตาย ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก
286 1.4 ขอขดี หน้าท่ี ใชข้ ดี แนวลงบนเน้ือไมต้ ามความยาว รูปท่ี 3.3.4 แสดงขอขีด การบารุงรักษา ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทุกคร้ังและประกอบให้ แน่นพอดีก่อนเกบ็ ข้อควรระวงั 1. อยา่ ใหข้ อขีดตกลงพน้ื 2. หา้ มเคาะเล่น 1.5 กบล้างกลาง หน้าที่ ใชไ้ สลา้ งผวิ ไมใ้ หเ้ รียบและไดข้ นาด รูปที่ 3.3.5 แสดงกบลา้ งกลาง การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เชด็ ทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน 2. ทาน้ามนั กนั สนิมในส่วนที่เป็ นโลหะ และทอ้ งกบทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. การวางกบควรวางตะแคงทางดา้ นขา้ ง เพอ่ื ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสมั ผสั ชิ้นงานซ่ึงอาจจะ เป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กบั โลหะท่ีทา ใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เกบ็ ควรประกอบไวเ้ ป็นชุดโดย ปรบั คมกบยกข้นึ ใหส้ ูงจากทอ้ งกบ
287 1.6 ค้อนหงอน หน้าท่ี ใชต้ อกตะปู รูปท่ี 3.3.6 แสดงคอ้ นหงอน การบารุงรักษา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใชค้ อ้ นใหถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน 2. รักษาหนา้ คอ้ นใหเ้ รียบอยเู่ สมอ 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. อย่าใช้ค้อนที่ด้ามหลวม เพราะอาจ หลุดไปถูกผอู้ ื่นได้ 2. หนา้ คอ้ นที่ใชต้ อกไม่ควรเป้ื อนน้ามนั หรือจาระบเี พราะจะทาใหล้ ื่น 1.7 เหล็กส่ง หน้าท่ี ใชต้ อกส่งตะปใู หจ้ มลงไปในเน้ือไม้ รูปที่ 3.3.7 แสดงเหล็กส่งหวั ตะปู การบารุงรักษา ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ก่อนใชง้ านควรเช็ดทาความสะอาดคราบ น้ ามันกันสนิ มให้แห้ง ซ่ึงอาจจะทาให้ลื่น ในขณะตอกส่งตะปู
288 1.8 คมี ตดั หัวตะปู หน้าที่ ใชต้ ดั หวั ตะปหู รือถอนตะปู รูปที่ 3.3.8 แสดงคีมตดั หวั ตะปู การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏิบตั งิ าน 2. ไม่ใชค้ มี ตอกหรือเคาะโลหะ 1.9 แปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว หน้าท่ี ใชท้ ากาว รูปที่ 3.3.9 แสดงปากกาหัวโตะ๊ การบารุงรักษา ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวที่เหลือติดอยทู่ ี่แปรงกบั เศษกระดาษ 2. ล้างทาความสะอาดด้วยน้ าสะอาด หรือน้าอุ่นทนั ทีหลงั ใชง้ าน 3. การเก็บแปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือ วางราบกบั พ้นื เรียบ ข้อควรระวัง 1. ควรจุ่มแปรงให้จมลงไปในกาวแค่ 1 ใน 3 ของความยาวขนแปรง 2. ปาดกาวส่วนเกินออกกบั ขา้ งภาชนะ ก่อนทา
289 1.10 การลาเท็กซ์ หน้าที่ ใชย้ ดึ ประสานรอยต่อไมใ้ หต้ ิดกนั รูปท่ี 3.3.10 แสดงกาวลาเทก็ ซ์ การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เช็ดคราบกาวท่ีปากขวดทุกคร้ังก่อน ปิ ดฝาเก็บ 2. ปิ ดฝาให้ สนิ ท จัดเก็บ ให้ พ้น จาก แสงแดด ข้อควรระวัง 1. อยา่ ใหก้ าวเป้ื อนเส้ือผา้ เพราะทาความ สะอาดยาก 2. ในการใช้งานควรแบ่งกาวใส่ภาชนะ อื่นเช่น กระป๋ องกาวเก่า เพื่อป้ องกันกาวส่วน ใหญส่ กปรก 1.11 ตะปูขนาด 1 นิ้วและ 1 ½ นิว้ หน้าท่ี ใชต้ อกยดึ ประกอบพ้นื เกา้ อ้ี การบารุงรักษา จัด เก็ บ ไ ว ้ใ น ที่ แ ห้ ง ไ ม่ มี ค ว า ม ช้ื น เพ่ื อ ป้ องกนั การเกิดสนิม ข้อควรระวัง ควรเก็บตะปูแต่ละขนาดแยกกันเพื่อให้ หยบิ ใชง้ านไดง้ า่ ย รูปท่ี 3.3.11 แสดงตะปู ทมี่ า: สหสั ชยั ตลุ ยว์ ฒั นางกูร 2552
290 1.12 ชุดขาเก้าอี้ หน้าท่ี ใชฝ้ ึกปฏิบตั งิ าน การบารุงรักษา 1. เขยี นช่ือ เลขที่ ท่หี วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวัง ตรวจสอบ ช่ือท่ี เขียน ไว้บ น ไม้ก่อน นาไปใชง้ าน รูปที่ 3.3.12 แสดงขาเกา้ อ้ีท่ปี ระกอบไว้ ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2. เตรียมขาเก้าอี้ ใช้คอ้ นหงอนถอนตะปูที่ตอกไม้ยดึ มุม 2.1 ถอดไม้ยดึ มมุ รอยต่อขาเก้าอี้ รอยตอ่ ขาเกา้ อ้ีท้งั สี่มุมออกท้งั หมด ข้อควรระวงั จบั ยดึ ขาเกา้ อ้ีให้แน่นเพอ่ื ป้ องกนั ขาเกา้ อ้ี โยก รูปท่ี 3.3.13 แสดงการถอดไมย้ ดึ มมุ ขาเกา้ อ้ี ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
291 2.2 ไสปรับระดับไม้ขาและไม้พนัง ยดึ ขาเกา้ อ้ีใหแ้ น่นใชก้ บลา้ งกลางไสปรับ ขาเก้าอี้ ระดบั ขาเกา้ อ้ีและไม้พนังล่างและไม้พนังบน ใหไ้ ดร้ ะดบั เสมอกนั รูปท่ี 3.3.14 แสดงการไสปรับขาเกา้ อ้ี ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจแนวเส้ียนไม้ก่อนไส ไม่ไสไม้ ยอ้ นเส้ียน 2. ไส ไม้ใน แน วต้ังฉากกับ ข าเพ่ื อ ป้ องกนั ไมข้ าโยก 3. เตรียมพนื้ เก้าอี้ ใช้ข อ ขี ด ท่ี ระ ยะ 10 ม .ม .ขี ด แน ว 3.1 ขีดแนวตาแหน่งขาเก้าอี้ ประกอบขาเกา้ อ้ีท่ีดา้ นล่างพน้ื เกา้ อ้ีโดยรอบ รูปท่ี 3.3.15 แสดงการขีดแนวตาแหน่งขาเกา้ อ้ี ข้อควรระวงั ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขีดจะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ให้ใชด้ ินสอ ขดี ซ้าตามแนวขอขดี
292 3.2 ทาแนวยดึ ตาแหน่งประกอบพนื้ ใช้ตะปูขนาด 1 นิ้ว ตอกยึดเศษไม้ที่มี ขอบเรียบได้แนว ตามแนวที่ขีดไวส้ องด้าน โดยท้งั สองดา้ นจะตอ้ งทามุมฉากซ่ึงกนั และกนั ข้อควรระวัง ตรวจสอบแนวไมท้ ่ีตอกทาแนวไวใ้ หไ้ ด้ ฉากก่อนนาไปประกอบ รูปที่ 3.3.16 แสดงการขีดแนวไสลบมมุ ไมพ้ ้นื ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4. ประกอบพนื้ เก้าอี้ ใชแ้ ปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว ทาการลาเท็กซ์ 4.1 ทากาวลาเท็กซ์ ท่ดี า้ นบนขาเกา้ อ้ีตลอดแนวท้งั ส่ีดา้ น รูปท่ี 3.3.17 แสดงการทากาวลาเทก็ ซ์ ข้อควรระวัง ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ไม่ควรทากาวมากเกินไป 2. ไม่ควรใชแ้ ปรงทีม่ ีขนาดใหญ่กวา่ 1 นิ้ว เพราะจะทาให้กาวเป้ื อนเป็ นแนวกวา้ ง เกินไป
293 4.2 ยึดพนื้ ไม้เก้าอี้ วางพ้ืนไม้บนขาเก้าอ้ี ตรวจสอบให้ได้ แนว แล้วใช้ตะปูขนาด 1 ½ นิ้ว ตอกยึดตรง รูปที่ 3.3.18 แสดงการขีดแนวไสลบมมุ ไมพ้ ้ืน แนวไม้พนังบนด้านละสองตัว และท่ีตรงขา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เกา้ อ้ีท้งั ส่ีขาจุดละอีกหน่ึงตวั โดยตอกให้หัว ตะปูโผล่ไวป้ ระมาณ 2 – 3 ม.ม.เพอ่ื ตดั หวั ข้อควรระวงั ตรวจสอบแนวพ้นื ไมใ้ ห้แนวสนิทกบั ขา เกา้ อ้ี 4.3 ตดั หัวตะปู ใชค้ มี ตดั หวั ตะปอู อก ข้อควรระวัง ระวงั หวั ตะปกู ระเด็นเขา้ ตา รูปท่ี 3.3.19 แสดงการบบี อดั ไม้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
294 4.4 ตอกส่งหัวตะปู ใชค้ ้อนหงอนตอกตะปูให้เสมอกับพ้ืน เกา้ อ้ีแลว้ ใชค้ อ้ นหงอนตอกเหล็กส่งส่งตะปูให้ รูปท่ี 3.3.20 แสดงการตอกส่งหวั ตะปู จมลงไปในเน้ือไม้ 1 – 2 ม.ม. ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. วางปลายเหล็กส่งบนหัวตะปูให้ต้ัง ฉากกบั พ้นื ไม้ 2. ตรวจระดับของตะปูที่จะตอกส่งหัว ตะปูใหอ้ ยรู่ ะดบั เดียวกบั ผิวช้ินงาน หากสูงกวา่ ให้ ใช้ค้อ น ห ง อ น ต อ ก ใน จ ม ล ง ไ ป ให้ เส ม อ ผวิ ช้ินงาน 4.5 ถอดไม้ยดึ แนวประกอบพนื้ ใช้คีมตัดหัวตะปูจบั ตะปูงัดถอนไม้ยึด แนวประกอบพน้ื ออก ข้อควรระวัง บีบคีม ตัดหัวตะปูพ อประม าณ เพ่ือ ป้ องกนั หวั ตะปขู าด รูปที่ 3.3.21 แสดงการใชค้ ีมถอดไมย้ ดึ แนว ประกอบพ้นื ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
295 4.6 เช็ดกาวลาเทก็ ซ์ ใชผ้ า้ ชุบน้าเช็ดทาความสะอาดกาว ลาเท็กซ์บนรอยต่อท่ีกาวถูกบีบอัดข้ึนมาให้ รูปท่ี 3.3.22 แสดงการตอกส่งหัวตะปู สะอาด ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ควรเช็ดทาความสะอาด 3 – 4 คร้ังให้ หมดคราบกาว 2. ซักทาความสะอาดผา้ ทุกคร้ังท่ีเช็ดทา ความสะอาดในแต่ละคร้งั 5. ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นงาน ตรวจสอบความเรียบร้อยของเก้าอ้ี เช่น ระดับของขาเก้าอ้ี การส่งหัวตะปู และใช้ รูปท่ี 3.3.23 แสดงเกา้ อ้ีทป่ี ระกอบเสร็จแลว้ ดินสอเขียนชื่อที่หัวไมข้ าเกา้ อ้ีให้ชดั เจน แล้ว ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 จดั เกบ็ ทิ้งไว้ 10 - 12 ช.ม. ใหก้ าวแหง้ ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรเขยี นชื่อท่ีพน้ื หรือขาดา้ นนอก ของขาเกา้ อ้ี จะทาใหข้ ดั ยากในข้นั ตอนการขดั ตกแต่งช้ินงาน 2. จัดเก็บ ไว้ใน ที่ ร่ ม ท่ี แสงแด ด ไม่ สามารถส่องถึง หากถูกแสงแดดอาจทาให้ไม้ เกา้ อ้ีบดิ งอเสียรูปทรง
296 6. ทาความสะอาดเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ ตรวจส อบ ส ภาพ ข องเครื่ อ งมื อ แล ะ อุ ป ก รณ์ แล้วใช้ผ้าแห้ งแล ะ แ ป รงเช็ ดปั ด ท า รูปที่ 3.3.24 แสดงการทาความสะอาด ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในส่วนของ คีมตดั หัวตะปู เครื่องมือท่ีเป็ นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เช็ด ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกูร 2552 ข้อควรระวัง 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมที่ไหลยอ้ ยใหเ้ ช็ด ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเครื่องมือชารุด ให้แจง้ ครูผสู้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เครื่องมือ 7. จัดเก็บเคร่ืองมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ แ จ้ง เจ้าห น้ าที่ ห้ อ ง เค รื่ อ ง มื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ รูปท่ี 3.3.25 แสดงการจดั เก็บเครื่องมือ เขา้ ที่ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง ก่ อ น จัด เก็บ เค รื่ อ งมื อ ให้ เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงชื่อตรวจ รบั ก่อนทกุ คร้งั
297 คู่มอื ปฏิบัตงิ านไม้ ปฏบิ ัตงิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลยี่ ม ข้ันตอนท่ี 9 การขัด โป๊ วอดุ ตกแต่งเก้าอี้ หัวข้อเรื่อง 1. เครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการขดั โป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงาน 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการขดั โป๊ ว อุดผวิ ช้ินงาน 3. การบารุงรักษาเคร่ืองมือ สาระสาคญั หลงั จากประกอบช้ินงานเรียบร้อยแลว้ ข้นั ตอนต่อไปจะเป็ นข้นั ตอนการตกแตง่ ชิ้นงานใหม้ ี ความสวยงาม โดยการทาผิวช้ินงานให้มีความสวยงามมีข้นั ตอนท่ีสาคญั 3 ข้นั ตอนคือ การขดั โป๊ ว อุดตกแต่งผวิ การยอ้ มผวิ และการเคลือบผิวช้ินงาน ซ่ึงจะเริ่มจากการขดั ผิวชิ้นงานใหเ้ รียบ ดว้ ยกระดาษทรายหยาบและกระดาษทรายละเอียด แลว้ โป๊ ว อุดผวิ ร่องเส้ียนไม้ และช้ินงานทเ่ี ป็ น รอยหรือมีรูใหผ้ ิวชิ้นงานเรียบเสมอกนั และมีความสวยงาม โดยการโป๊ วดว้ ยดินสอพอง ก่อนทจ่ี ะ ทาการเคลือบผวิ ชิ้นงานใหม้ ีความทนทานตอ่ ไป จดุ ประสงค์การเรียน จุดประสงค์ท่ัวไป เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการขดั โป๊ ว อุดผวิ ช้ินงาน จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์การขดั โป๊ ว อุดผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ท่ี เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการขดั โป๊ ว อุดผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการขดั ผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการ โป๊ ว อุดผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการตรวจความเรียบร้อยของงานโป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง
298 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 6. บอกขอ้ ควรระวงั ในการขดั โป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกข้นั ตอนการส่งคนื เครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง 9. ขดั ตกแต่งผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 10. โป๊ วอุดผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ตรวจความเรียบรอ้ ยของงานโป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 12. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 13. ส่งคืนเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
299 การขัด โป๊ วตกแต่วผวิ ชิน้ งาน 1. เตรียมเครื่องมอื วัสดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขยี นใบเบิกเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ที่ ใช้ในการขดั โป๊ ว อุดผิวชิ้นงาน นาไปเบิกท่ี การขดั โป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงาน หอ้ งเครื่องมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมือ ข้อควรระวัง 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.่ี .......... ชดั เจน ที่ รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอ่ื นลันดา 1 อนั เครื่องมือทเ่ี บิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอ่ื ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเล่ือย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลย่ี ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ............................................................................................................................. .......... ................................................................................................................... .................... ลงชอ่ื ลงช่ือ (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 เหล็กโป๊ ว หน้าที่ ใช้โป๊ ว อุด ปาดแต่งดินสอพองบน ผวิ ช้ินงาน รูปท่ี 4.1.1 แสดงเหลก็ โป๊ ว ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา ลา้ งทาความสะอาด เช็ดใหแ้ หง้ และชโลม น้ามนั เพอื่ ป้ องกนั สนิมทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั ก่อนนามาใชง้ านควรลา้ งทาความสะอาด คราบน้ามนั กนั สนิมออกเสียก่อน
300 1.2 กะละมงั สแตนเลส ขนาดเส้น หน้าที่ ใชใ้ ส่ผสมดินสอพอง ผ่าศูนย์กลาง 10 นิว้ การบารุงรักษา ลา้ งทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ค วรแยก ใช้ก ะ ล ะ มังใน แต่ล ะ ช นิ ด ข อ ง งานเช่น กะละมังผสมดิน สอพองไม่ ควร นาไปใชผ้ สมแชลแลคหรือแลคเกอร์ รูปท่ี 4.1.2 แสดงกะละมงั สแตนเลส ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกูร 2552 1.3 กระดาษทรายขดั ไม้ เบอร์ 0 , 2 , 5 หน้าที่ ใชข้ ดั ผวิ ช้ินงานใหเ้ รียบ การบารุงรักษา 1. เกบ็ ไวใ้ นท่แี หง้ ไม่อบั ช้ืน 2. เก็บกระดาษทรายแต่ละขนาดไว้ แยกกนั เพอ่ื ใหห้ ยบิ ใชง้ านไดง้ า่ ย รูปท่ี 4.1.3 แสดงกระดาษทรายสาหรับขดั ไม้ ข้อควรระวงั ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ไม่ควรพบั กระดาษทรายท่ียงั ไม่ใช้ งาน 2. ตรวจสอบเบอร์ของกระดาษทราย ก่อนนาไปใชง้ าน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330