201 ข้นั ตอนการวัดระยะร่างแบบขาเก้าอี้ 1. เตรียมเคร่ืองมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ เขี ยน ใบ เบิ ก เค รื่ อ งมื อ ที่ ใช้ใน ก า รวัด ระยะ ร่างแบบส่วนประกอบขาเกา้ อ้ี นาไปเบิก ในการวัดระยะร่ างแบบส่ วนประกอบ ที่หอ้ งเคร่ืองมือเรียงตามลาดบั ขาเก้าอี้ ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ใบเบิกเครื่องมอื ชดั เจน ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.่ี .......... 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ เคร่ืองมือทเี่ บกิ ก่อนนาไปใชง้ าน 1 ฉากตาย 1 อนั 2 ขอขีด 1 อนั 3 เลอื่ ยลนั ดา 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลอ่ื ย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ............................ ลงชื่อ ลงชอ่ื (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................) เจ้าหน้าที 1.1 ตลบั เมตร หน้าที่ ใชว้ ดั ระยะ รูปที่ 2.4.2.1 แสดงตลบั เมตร การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เมื่อปล่อยเส้นเทปกับท่ีเดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ีใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ที่สะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขีดบนเสน้ เทป
202 1.2 ดินสอ หน้าท่ี ใชข้ ีด แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปที่ 2.4.2.2 แสดงดินสอ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้งั ก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าที่ ใชร้ ่างแบบขดี แนวและตรวจมุมฉาก รูปท่ี 2.4.2.3 แสดงฉากตาย การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก
203 1.4 ขอขีด หน้าท่ี ใชข้ ดี แนวลงบนเน้ือไมต้ ามความยาว รูปที่ 2.4.2.4 แสดงขอขีด การบารุงรักษา ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทุกคร้ังและประกอบให้ 1.5 เลอื่ ยลนั ดาชนิดฟันตัด แน่นพอดีก่อนเกบ็ รูปท่ี 2.4.2.5 แสดงเลื่อยลนั ดา ข้อควรระวงั ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. อยา่ ใหข้ อขดี ตกลงพ้นื 2. หา้ มเคาะเล่น หน้าท่ี ใชเ้ ลื่อยตดั ไม้ การบารุงรักษา 1. หมน่ั คดั คลองเลื่อยและลับปรับแต่ง ฟันเล่ือยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนที่เป็นโลหะทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วน ใดของร่างกาย 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ไม่วางของหนกั ทบั บนใบเล่ือย
204 1.6 ไม้ขนาด 40 x 40 x 500 ม.ม. หน้าท่ี ใชท้ าขาเกา้ อ้ี จานวน 2 ท่อน การบารุงรักษา 1. เขยี นชื่อ เลขที่ ทีห่ วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั ตรวจสอบชื่อท่ีไมว้ ่าเป็ นของตนเองก่อน นาไปปฏบิ ตั ิงาน รูปท่ี 2.4.2.6 แสดงไมข้ นาด 40 x 40 x 500 ม.ม. หมายเหตุ ใชไ้ มจ้ ากงาน เขา้ เดือยแบบบาก ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ดา้ นเดียว 1 ท่อน 1.7 ไม้ขนาด 20 x 40 x 460 ม.ม. หน้าท่ี ใชท้ าไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี จานวน 4 ท่อน การบารุงรักษา 1. เขียนช่ือ เลขท่ี ที่หวั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั ตรวจสอบชื่อที่ไมว้ า่ เป็ นของตนเองก่อน นาไปปฏิบตั ิงาน รูปท่ี 2.4.2.7 แสดงไมข้ นาด 20 X 40 X 460 ม.ม. ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
205 2. เลอ่ื ยตัดไม้พนังขาเก้าอี้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั ตดั ไมข้ นาด 20 x 40 x 460 ม.ม. แบ่งคร่ึงออกเป็ นสองท่อน รูปท่ี 2.4.2.8 แสดงการเล่ือยตดั ไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี ท้งั หมดจะไดไ้ มท้ ีม่ ีความยาว 230 ม.ม. จานวน ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 8 ทอ่ น ข้อควรระวัง 1. ก่อนตดั จะตอ้ งวดั ระยะแบ่งคร่ึงและ ขีดฉากโดยรอบ 2. ในขณะตัดจะต้องตรวจสอบแนว เลื่อยใหไ้ ดต้ ามแนวฉากที่ขดี ไว้ อยเู่ สมอ 3. วดั ระยะร่างแบบเดือยไม้พนังขาเก้าอี้ วดั ระยะจากปลายไม้ท่ีตดั ไวท้ ้งั หมดเขา้ 3.1 วัดระยะแบ่งครึ่ง มาท่รี ะยะ 115 ม.ม. ใชด้ ินสอขดี ไวท้ ้งั แปดท่อน ข้อควรระวงั ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหากขอ เก่ียวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดยเร่ิม ที่ ระยะ 0.10 เมตร รูปท่ี 2.4.2.9 แสดงการวดั ระยะไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
206 3.2 ขีดฉากแนวแบ่งครึ่ง ขีดฉากตามแนว 115 ม.ม. ที่วดั ระยะไว้ ที่หนา้ ไมด้ า้ นกวา้ งดา้ นใดก็ได้ 1 ดา้ น รูปที่ 2.4.2.10 แสดงการวดั ระยะแบ่งคร่ึง ไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ฉากท่ีดา้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 3. เลือกขีดฉากด้านท่ีมีตาหนิน้อยและ ลายไมส้ วย 3.3 วดั ระยะแนวเดือย วดั ระยะจากจุดก่ึงกลางของไมท้ ่ีขีดฉาก ไวอ้ อกมาที่ระยะ 75 ม.ม. ท้งั สองขา้ งใชด้ ินสอ รูปท่ี 2.4.2.11 แสดงการวดั ระยะบา่ เดือย ขีดไวต้ ามลาดบั ท้งั แปดท่อน ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหากขอ เกี่ยวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดยเริ่ม ท่ี ระยะ 0.10 เมตร
207 3.4 ขดี ฉากแนวเดอื ย ใชด้ ินสอขีดฉากตามแนว 75 ม.ม. ที่ขีด ไวโ้ ดยรอบท้งั สองขา้ ง ท้งั 8 ท่อน รูปท่ี 2.4.2.12 แสดงการขีดฉากแนวบ่าเดือย ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ฉากที่ดา้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 3. เลือกขีดฉากด้านที่มีตาหนิน้อยและ ลายไมส้ วย 3.5 ขดี แนวผ่าเดือย ใช้ขอขีดที่ระยะ 10 ม.ม. ขีดแนวบน หนา้ ไมด้ า้ นหนาจากหวั ไมล้ งมาจนถึงระยะ 75 ม.ม.ท้งั สองดา้ น ท้งั 8 ทอ่ น ข้อควรระวงั 1. ขณะใช้งานตัวขอขีดจะต้องแนบ สนิทกบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขีดซ้าตามแนวขอขดี รูปท่ี 2.4.2.13 แสดงการขีดแนวผา่ เดือย ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
208 4. วัดระยะร่างแบบร่องเดอื ยขาเก้าอี้ วดั ระยะจากปลายไมเ้ ขา้ มาท้งั สองขา้ งที่ 4.1 วดั ระยะร่องเดอื ย ระยะ 40, 80, 190, 220 และ 230 ม.ม. ใชด้ ินสอ ขดี ไวต้ ามลาดบั ท้งั สองท่อน รูปที่ 2.4.2.14 แสดงการวดั ร่องเดือย ไมข้ าเกา้ อ้ี ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหาก ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ขอเก่ียวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดย เริ่มท่ี ระยะ 0.10 เมตร 2. ตรวจสอบหัวไม้ให้ได้ฉากก่อนวดั ระยะ 4.2 ขีดฉากแนวร่องเดือย ใช้ดินสอขีดฉากตามแนว 40, 80, 190, 220 ม.ม. และ 230 ม.ม. ที่ขีดไวท้ ้งั สองดา้ นที่ รูปที่ 2.4.2.15 แสดงการวดั ระยะร่องเดือย ติดกนั ท้งั สองทอ่ น และขดี ฉากโดยรอบทรี่ ะยะ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 230 ม.ม. ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ฉากท่ดี า้ มหลวมคลอน 2. ขณะขดี แนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้
209 4.3 ขีดแนวร่องเดือย ใชข้ อขดี ท่รี ะยะ 10 ม.ม. และ 20 ม.ม.ขีด แนวเดือยท่ีไมด้ า้ นหนา ท้งั สองดา้ นท่ีเลือกไว้ รูปท่ี 2.4.2.16 แสดงการขีดแนวร่องเดือย จากระยะ40 ม.ม.ถึงแนว 80 ม.ม. และจากระยะ ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 190 ม.ม. ถึงแนว 220 ม.ม. สองด้าน ท้ัง 2 ท่อนจะไดแ้ นวร่องเดือยท้งั หมด 16 แนว ข้อควรระวงั 1. ขณะใช้งานตัวขอขีดจะต้องแนบ สนิทกบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขดี หากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขีดซ้าตามแนวขอขดี 3. ตรวจสอบตาแหน่งร่องเดือยให้ได้ ตามแบบ 11. ทาความสะอาดเครื่องมอื อุปกรณ์และ ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ ข อ ง เค ร่ื อ ง มื อ แ ล ะ พนื้ ที่ฝึ กงาน อุปกรณ์ แล้วใช้แปรงและผา้ แห้งปัด เช็ดทา ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในส่วนของ เครื่องมือที่เป็ นโลหะให้ เช็ดด้วยน้ ามันกัน สนิม รูปท่ี 2.4.2.17 แสดงการเช็ดทาความสะอาด ข้อควรระวงั เคร่ืองมือ 1. ใช้ผา้ เช็ดน้ ามันกันสนิมที่ไหลยอ้ ย ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ออกใหห้ มดก่อนเกบ็ 2. หากเคร่ืองมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบนั ทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบิกเคร่ืองมือ
210 12. จัดเกบ็ เคร่ืองมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ แ จ้ง เจ้า ห น้ า ท่ี ห้ อ งเค ร่ื อ ง มื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ รูปที่ 2.4.2.18 แสดงการจดั เก็บเครื่องมอื เขา้ ท่ี ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั ก่ อ น จัดเก็ บ เค รื่ อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงช่ือตรวจ รบั ก่อนทกุ คร้งั
211 คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านไม้ บทที่ 11 ปฏิบัตงิ านทาเก้าอสี้ ี่เหลย่ี ม ข้ันตอนท่ี 3 งานเจาะร่องเดอื ยขาเก้าอี้ หัวข้อเร่ือง 1. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ี 2. การเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ี 3. การเลื่อยตดั แบ่งขาเกา้ อ้ี 4. การบารุงรักษาเคร่ืองมืองานไม้ สาระสาคญั ร่องเดือยเป็ นช้ินส่วนในจุดเชื่อมต่อช้ินส่วนของเกา้ อ้ีเขา้ ดว้ ยกนั ทาให้ช้ินส่วนที่ประกอบ เขา้ ดว้ ยกนั เกิดความแขง็ แรง ร่องเดือยจะมีรูปทรงเหมือนกบั ตวั เดือย การทาร่องเดือยจะยากกวา่ การทาเดือย ในส่วนของการทาเกา้ อ้ีจะทาเป็ นร่องเดือยส่ีเหลี่ยม ในตวั ช้ินส่วนของขาเก้าอ้ี ทา ง่าย แข็งแรง และไม่ตอ้ งใช้เทคนิคสูงมากนัก ร่องเดือยสี่เหลี่ยม เป็ นที่นิยมมากเน่ืองจากทา เดือยไดง้ า่ ยท่ีสุด โดยการใชเ้ คร่ืองมือพ้นื ฐาน เช่น ส่ิวปากบาง และสิ่วเจาะเดือย การทาร่องเดือย เป็ นการฝึกทกั ษะ ที่ผูเ้ รียนควรจะฝึ กปฏิบตั ิเพอ่ื ให้มีทกั ษะในการใชเ้ ครื่องมือ ในการใชส้ ่ิวเจาะ และบากแต่งร่องเดือย จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ี จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกชื่อ หนา้ ที่ เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการเลื่อยตดั แบ่งขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง
212 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการเจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเครื่องมือวสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการส่งคืนเคร่ืองมือวสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. เจาะร่องเดือยขาเกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 9. เล่ือยตดั แบ่งขาเกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคนื เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
213 ข้นั ตอนการเจาะร่องเดือยขาเก้าอี้ 1. เตรียมเคร่ืองมอื วัสดุและอปุ กรณ์ใน เขยี นใบเบกิ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเจาะร่อง การเจาะร่องเดอื ยและตดั แบ่งขาเก้าอี้ เดือยขาเก้าอ้ี และตดั แบ่งขาเก้าอ้ีนาไปเบิกท่ี หอ้ งเคร่ืองมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมือ ข้อควรระวัง ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.่ี .......... 1. ระบุรายละเอียดของเคร่ืองมือให้ ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ ชดั เจน 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 ส่ิวปากบางขนาด ½ นว้ิ 1 อนั 2 ส่ิวเจาะขนาด ½ นวิ้ 1 อนั เครื่องมือทเี่ บิกก่อนนาไปใชง้ าน 3 เลอื่ ยลนั ดา 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลอื่ ย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลย่ี ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......... ลงชือ่ ลงชื่อ (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลับเมตร หน้าที่ ใชว้ ดั ระยะ รูปที่ 2.4.3.1 แสดงตลบั เมตร การบารุงรักษา ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ใี ชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขีดบนเสน้ เทป
214 1.2 ดนิ สอ หน้าท่ี ใชข้ ดี แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปท่ี 2.4.3.2 แสดงดินสอ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้งั ก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพน้ื 1.3 ฉากตาย หน้าที่ ใชร้ ่างแบบขดี แนวฉากและตรวจ มุมฉาก รูปท่ี 2.4.3.3 แสดงฉากตาย ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดฝ่นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากท่ีหลวมหรือโยก
215 1.4 เล่อื ยลันดาชนิดฟันตดั หน้าท่ี ใชเ้ ลื่อยตดั ไม้ รูปที่ 2.4.3.4 แสดงเล่ือยลนั ดา การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. หม่นั คดั คลองเลื่อยและลบั ปรับแต่ง ฟันเล่ือยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนท่เี ป็นโลหะทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วน ใดของร่างกาย 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบดิ งอเสีย รูปทรง 3. ไม่วางของหนกั ทบั บนใบเล่ือย 1.5 สิ่วปากบางขนาด 3/8 และ1/2 นิ้ว หน้าที่ บาก ปาดแต่งรอยต่อไมใ้ หไ้ ดข้ นาด การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาดและทาน้ ามันกัน สนิมในส่วนที่เป็นโลหะทกุ คร้ัง หลงั ใชง้ าน รูปที่ 2.4.3.5 แสดงสิ่วปากบาง ข้อควรระวัง ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ตรวจคมส่ิวก่อนใชง้ าน 2. ขณ ะป ฏิบัติงาน ควรวางส่ิ วใน ที่ เหมาะ สมอยา่ ให้ตกลงพ้ืนอาจทาให้คมส่ิวไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้
216 1.6 ส่ิวเจาะขนาด 3/8 นิว้ หน้าที่ ใชเ้ จาะบากเน้ือไมท้ าร่องเดือย รูปที่ 2.4.3.6 แสดงส่ิวเจาะ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ลบั สิ่วใหค้ มพร้อมใชง้ านอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและเช็ดชโลมน้ามนั 1.7 ค้อนไม้ กนั สนิม ในส่วนท่ีเป็นโลหะทุกคร้งั หลงั รูปท่ี 2.4.3.7 แสดงคอ้ นไม้ ใชง้ าน ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตรวจคมส่ิวก่อนใชง้ าน 2. คอ้ นทใี่ ชต้ อกควรเป็นคอ้ นไมห้ รือ คอ้ นพลาสตกิ เท่าน้นั 3. ขณ ะป ฏิบัติงาน ควรวางสิ่ วใน ที่ เหมาะสมอยา่ ให้ตกลงพ้ืนอาจทาให้คมส่ิวไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้ 4. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มส่ิวแรงเกินไป หน้าท่ี 1. ใช้ถอดประกอบใบกบและปรับ ระดบั ใบกบ 2. ใชต้ อกดา้ มส่ิวในการเจาะรูเดือย การบารุงรักษา ทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไ ม่ เค าะ ห รื อ ต อ ก เล่ น ใน ข ณ ะ ปฏบิ ตั ิงาน 2. เลือกใชค้ อ้ นไมท้ มี่ ีขนาดและน้าหนกั ท่เี หมาะสมกบั ผใู้ ช้
217 1.8 หินเจยี ระไน หน้าท่ี ใชล้ บั คมส่ิว รูปท่ี 2.4.3.8 แสดงหินเจียระไน การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใช้น้ าล้างทาความสะอาดคราบสกปรก ใหส้ ะอาด และเชด็ ใหแ้ หง้ ข้อควรระวัง ระวงั หินเจียระไนตกลงพ้ืน เพราะหิน อาจแตกไม่สามารถใชง้ านได้ 1.9 ปากกาหัวโต๊ะ หน้าท่ี ใชย้ ดึ จบั ชิ้นงานหรือเคร่ืองมือ รูปที่ 2.4.3.9 แสดงปากกาหวั โตะ๊ การบารุงรักษา ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ใส่จารบีท่ีเกลียวหมุนเสมอเพ่ือให้ หมุนไดค้ ล่องตวั 2. เม่ือเลิกใชง้ านขนั ปากกาเขา้ ไปให้ ชิดกนั 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ ามันกันสนิม ในส่วนที่เป็ นโลหะทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ใชป้ ากการองรบั เหล็กเพอื่ ทุบ จะทาใหเ้ ฟืองปากกาหลวมหรือเอียง 2. ขณะใชง้ านควรใชไ้ มร้ องหนา้ อดั ท้งั สองดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ช้ินงานเป็นรอย
218 1.10 ไม้ขนาด 40 X 40 X 500 ม.ม. หน้าท่ี ใชท้ าขาเกา้ อ้ี จานวน 2 ท่อน การบารุงรักษา 1. เขยี นชื่อ เลขที่ ทห่ี วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวัง ตรวจสอบชื่อบนไม้ว่าเป็ นของตนเอง ก่อนนาไปใชง้ าน รูปท่ี 2.4.3.10 แสดงไมข้ าเกา้ อ้ีทรี่ ่างแบบไว้ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2. เจาะร่องเดือย ใชส้ ่ิวปากบางขนาด ½ น้ิวตอกเจาะลง 2.1 ตอกแนวร่องเดอื ย ไปเบา ๆ ทาแนวตามแนวเส้นร่องเดือยขนาด รูปท่ี 2.4.3.11 แสดงตอกแนวร่องเดือย 10 x 40 ม.ม. และ 10 x 30 ม.ม. ท่ีร่างแบบไว้ ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 โดยให้ด้านเรียบของส่ิวอยู่นอกร่องเดือย ใช้ คอ้ นตอกใหล้ ึกลงไป 1- 2 ม.ม. ข้อควรระวงั 1. ขณะตอกแนวเดือยควรวางสิ่วให้ต้งั ฉากกบั ชิ้นงาน 2. คอ้ นทีใ่ ชต้ อกควรเป็นคอ้ นไมห้ รือ คอ้ นพลาสติกเท่าน้นั 3. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มส่ิวแรงเกินไป
219 2.2 เจาะร่องเดือย ใช้สิ่วเจาะ เจาะร่องเดือย ตามแนวที่ ตอกไว้ โดยตอกเจาะจากกลางแนวร่องเดือยไว้ รูปที่ 2.4.3.12 แสดงเจาะร่องเดือย เขา้ หาริมแนวเส้นท่ีตอกแนวไวแ้ ล้วท้ังสอง ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ดา้ นให้เน้ือไมห้ ลุดออกมา แล้วตอกแนวร่อง เดือยให้ลึกลงไป 2 – 3 ม.ม. ทาสลบั กนั ไปจน ไดค้ วามลึก 30 ม.ม. จนครบท้งั หมด 16 จดุ ข้อควรระวัง 1. ขณ ะป ฏิบัติงาน ควรวางสิ่ วใน ที่ เหมาะสมอยา่ ให้ตกลงพ้ืนอาจทาให้คมสิ่วไม่ คมหรือหล่นใส่เทา้ 2. ไม่ควรใชค้ อ้ นตอกดา้ มส่ิวแรงเกินไป 2.3 ปาดแต่งร่องเดอื ย ใชส้ ่ิวปากบาง บาก ปาดแต่งร่องเดือย ให้ไดข้ นาดและแนว โดยวางคมส่ิวดา้ นเรียบ ทาบกบั แนวร่องเดือย แลว้ กดเซาะเน้ือไมส้ ่วน ทเ่ี กินออก ข้อควรระวัง 1. ควรใชส้ ิ่วปากบางปาดแต่งเน้ือไมใ้ น แนวเฉียงเขา้ ดา้ นใน 2. ไม่ควรงดั สิ่วกบั ขอบร่องเดือย รูปท่ี 2.4.3.13 แสดงการใชส้ ิ่วปากบางปาด แต่งร่องเดือย ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
220 3. ตรวจความเรียบร้อยของร่องเดอื ย ตรวจดูความเรียบร้อยและขนาดของร่อง เดือยใหไ้ ดฉ้ ากและความลึกตามแบบ รูปที่ 2.4.3.14 แสดงตรวจสอบความกวา้ ง ของร่องเดือย ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรตอกอดั ประกอบเขา้ เดือยอาจ ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาใหไ้ มแ้ ตกหรือร้าว 2. การตรวจความเรียบร้อยของช้ินงาน ควรวางชิ้นงานบนโตะ๊ ทเ่ี รียบ 3. เขยี นช่ือ เลขที่ ไวใ้ หช้ ดั เจนที่หวั ไม้ 4. เลื่อยตดั แบ่งขาเก้าอี้ ยดึ จบั ไมข้ าเกา้ อ้ีโดยปากกาหัวโต๊ะเพื่อ 4.1 ยดึ จับไม้ขาเก้าอี้ เตรียมตดั ไมข้ าเกา้ อ้ีทรี่ ะยะ 230 ม.ม. รูปท่ี 2.4.3.15 แสดงการยดึ จบั ไม้ ข้อควรระวัง ดว้ ยแม่แรงหวั โต๊ะ 1. ไม่ใช้แรงอดั มากเกินไป อาจทาให้ ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ช้ินงานหกั ได้ 2. ควรใชไ้ ม้ที่เรียบรองหน้าอดั ท้งั สอง ดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ช้ินงานเป็ นรอย
221 11.2 เล่อื ยตัดแบ่งขาเก้าอี้ ใชเ้ ล่ือยลันดาเล่ือยตดั ท่ีแนว 230 ม.ม.ท่ี ขีดฉากไวท้ ้งั สองแนว ท้งั สองทอ่ น รูปท่ี 2.4.3.16 แสดงการเล่ือยตดั แบง่ ขาเกา้ อ้ี ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ควรใช้นิ้วหัวแม่มือช่วยบังคับแนว เลื่อยในตอนเร่ิมตน้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบดิ งอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเล่ือยอยเู่ สมอ 12. ตรวจสอบขาเก้าอี้ ตรวจสอบแนวร่องเดือย และตาแหน่ง ของร่องเดือย ซ่ึงร่องเดือยจะอยู่ในตาแหน่ง เดียวกนั ท้งั 4 ท่อน ข้อควรระวงั แนวร่องเดือยจะตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งและ มีขนาดกวา้ ง ยาวตามท่แี บบกาหนด รูปที่ 2.4.3.17 แสดงการตรวจตาแหน่ง ของร่องเดอื ย ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
222 11. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ อุปกรณ์และ ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ ข อ งเค รื่ อ งมื อ แ ล ะ พนื้ ท่ฝี ึ กงาน อุปกรณ์ แล้วใช้แปรงและผา้ แห้งปัด เช็ดทา ความสะอาดเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในส่วนของ เคร่ืองมือที่เป็ นโลหะให้ เช็ดชโลมน้ามนั เพื่อ ป้ องกนั สนิม รูปที่ 2.4.3.15 แสดงการเช็ดทาความสะอาด ข้อควรระวัง เครื่องมือ 1. ใช้ผา้ เช็ดน้ ามันกันสนิมที่ไหลยอ้ ย ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเคร่ืองมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เครื่องมือ 12. จัดเก็บเคร่ืองมอื วัสดแุ ละอปุ กรณ์ แ จ้งเจ้า ห น้ า ที่ ห้ อ งเค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สอบเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บเขา้ ที่ ข้อควรระวัง ก่ อน จัดเก็ บเครื่ อ งมือ ให้ เจ้าห น้าที่ ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและลงชื่อตรวจ รับก่อนทกุ คร้งั รูปที่ 2.4.3.16 แสดงการจดั เกบ็ เครื่องมอื ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
223 คู่มอื ปฏิบัตงิ านไม้ ปฏบิ ตั งิ านทาเก้าอสี้ ี่เหลยี่ ม ข้นั ตอนท่ี 4 การทาเดอื ยไม้พนงั ขาเก้าอี้ หัวข้อเร่ือง 1. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียว 2. การทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียว 3. การบารุงรกั ษาเครื่องมืองานไม้ สาระสาคญั เดือยเป็นจดุ เชื่อมตอ่ ช้ินส่วนของขาเกา้ อ้ีเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหช้ ้ินส่วนทีป่ ระกอบเขา้ ดว้ ยกนั เกิดความแขง็ แรง เดือยมีหลายชนิด เช่น เดือยเหล่ียม เดือยหางเหยยี่ ว เดือยกลม ในส่วนของการ ทาเกา้ อ้ีจะทาเป็นเดือยส่ีเหลี่ยม ซ่ึงทาง่าย แขง็ แรง และไม่ตอ้ งการเทคนิคและความแม่นยาสูง มากนกั เดือยส่ีเหล่ียม เป็นทน่ี ิยมมากที่สุด ทาไดง้ า่ ย โดยการใชเ้ ลื่อยตดั และผา่ เดือย แลว้ ใชส้ ิ่ว ปากบางบากปาดแต่งใหไ้ ดข้ นาดพอดกี บั ร่องเดือย การทาเดือยเหลี่ยมเป็นการฝึกทกั ษะในการ ใชเ้ ล่ือยตดั และผา่ ไมใ้ หไ้ ดแ้ นวตามทร่ี ่างแบบไว้ จดุ ประสงค์การเรียน จุดประสงค์ทัว่ ไป เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี แบบบากดา้ นเดียว จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์งานทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบาก ดา้ นเดียวไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกชื่อ หนา้ ที่ เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์งานทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ น เดียวไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียวไดถ้ ูกตอ้ ง
224 4. บอกวธิ ีการตรวจความเรียบร้อยงานทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียว ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียวไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือวสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการส่งคนื เครื่องมือวสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. ทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียวไดถ้ ูกตอ้ ง 9. ตรวจความเรียบรอ้ ยงานทาเดือยไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีแบบบากดา้ นเดียวไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเคร่ืองมอื วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
225 ข้นั ตอนการทาเดือยไม้พนังขาเก้าอี้ 1. เตรียมเครื่องมอื วสั ดุและอุปกรณ์ในการ เขียนใบเบิกเครื่องมือท่ีใชใ้ นการทาเดือยไม้ ทาเดอื ยไม้พนังขาเก้าอี้ พนังขาเก้าอ้ี นาไปเบิกท่ีห้องเคร่ืองมือเรียง ตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมอื ข้อควรระวงั ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.ี่ .......... 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ที่ รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ ชดั เจน 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลนั ดา 1 อนั 2 เลอื่ ยรอ 1 อนั เครื่องมือท่เี บิกก่อนนาไปใชง้ าน 3 เลอ่ื ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเล่ือย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ............................................................................................................................. .......... ............................................................................................................................. .......... ลงชื่อ ลงชอ่ื (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลบั เมตร หน้าท่ี ใชว้ ดั ตรวจสอบระยะเดือย รูปที่ 2.4.4.1 แสดงตลบั เมตร การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอท่ี เกี่ยวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ท่ีใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ที่สะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขดี บนเสน้ เทป
226 1.2 ฉากตาย หน้าท่ี ใชต้ รวจมุมฉากของแนวเดือย รูปท่ี 2.4.4.2 แสดงฉากตาย การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดฝ่นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากทหี่ ลวมหรือโยก 1.3 เลอ่ื ยตัดปากไม้ หน้าที่ ใชเ้ ลื่อยผา่ ไม้ รูปท่ี 2.4.4.3 แสดงเล่ือยตดั ปากไม้ การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. หม่นั คดั คลองเล่ือยและลบั ปรับแต่ง ฟันเลื่อยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม ในส่วนทเ่ี ป็นโลหะทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วน ใดของร่างกาย 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเล่ือยบดิ งอเสีย รูปทรง
227 1.4 เลื่อยรอปากไม้ หน้าท่ี ใชเ้ ล่ือยตดั ไมต้ ามแนวบา่ เดือย รูปที่ 2.4.4.4 แสดงเล่ือยรอ การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. หมั่นคดั คลองเล่ือยและลบั ปรับแต่ง 1.5 ปากกาหัวโต๊ะ ฟันเลื่อยใหค้ มอยเู่ สมอ 2. ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิม รูปท่ี 2.4.4.5 แสดงปากกาหวั โตะ๊ ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ในส่วนทีเ่ ป็นโลหะทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่วางของหนกั ทบั บนใบเล่ือย 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ไม่บิดใบเล่ือยให้ไมข้ าดออกจากกัน ขณะใชเ้ ล่ือยผา่ ไม้ หน้าท่ี ใชย้ ดึ จบั ชิ้นงานเพอื่ เล่ือย การบารุงรักษา 1. ใส่จารบีท่ีเกลียวหมุนเสมอเพื่อให้ หมุนไดค้ ล่องตวั 2. เม่ือเลิกใชง้ านขนั ปากกาเขา้ ไปให้ ชิดกนั 3. ใชผ้ า้ แห้งเช็ดทาความสะอาดและทา น้ ามันกันสนิม ในส่วนที่เป็ นโลหะทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้แรงบีบอดั ไม้มากเกินไปอาจ ทาใชช้ ้ินงานเป็ นรอย
228 1.6 ไม้ขนาด 20 X 40 X 250 ม.ม. หน้าที่ ใชท้ าไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ี ทีร่างแบบไว้ จานวน 8 ท่อน การบารุงรักษา 1. เขยี นชื่อ เลขที่ ทหี่ วั ไมใ้ หเ้ ห็นชดั เจน 2. จดั วางเรียงให้เป็ นระเบียบ ให้ง่ายต่อ การหยบิ ใชง้ าน ข้อควรระวงั ควรคดั เลือกไม้ก่อนนาไปใช้งาน โดย เลือกไมท้ ่ไี ม่คด บดิ งอ หรือมีตาไมม้ าก รูปท่ี 2.4.4.6 แสดงไมข้ นาด 20 x 40 x 230 ม.ม ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3. เล่ือยตัดเดือย ใชเ้ ล่ือยรอ เลื่อยตามแนว 75 ม.ม.จากจุด ก่ึงกลาง ทวี่ ดั ขีดฉากไวท้ ้งั สองขา้ ง ให้ลึกลงไป รูปท่ี 2.4.4.7 แสดงฉากตาย 10 ม.ม. ท้งั สองดา้ นท้งั แปดท่อน ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. จุดเริ่มตน้ เล่ือยควรอยูท่ ี่หัวมุม เพราะ จะเล่ือยไดต้ าแหน่งไดเ้ ร็วและแม่นยากว่าที่จะ เล่ือยลงบนแนวราบ เพราะอาจหนีเสน้ ได้ 2. เมื่อเล่ือยใกลถ้ ึงแนวบาก 10 ม.ม. ควร เล่ือยให้ถึงแนวทีละด้านเพ่ือป้ องกันการเลื่อย เกินแนวทขี่ ีดไว้ 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยหลุดออก จากสนั เลื่อย 4. ตรวจสอบแนวเล่ือยท้ังสองด้านอยู่ เสมอ
229 4. เล่ือยผ่าเดือย ยดึ จบั ไมพ้ นงั ขาเกา้ อ้ีในแนวต้งั 4.1 ยึดจบั ไม้ ข้อควรระวงั 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ช้ินงานหกั ได้ 2. ควรใช้ไม้ที่เรียบรองหน้าอัดท้งั สอง ดา้ นเพอ่ื ป้ องกนั ช้ินงานเป็ นรอย รูปที่ 2.4.4.8 แสดงฉากตาย ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4.2 เลื่อยผ่าเดอื ย ใชเ้ ล่ือยตดั ปากไม้ เล่ือยผ่าไมต้ ามแนวที่ ขดี ไว้ ใหล้ ึกลงไปถึงแนว เลื่อยรอทเี่ ล่ือยตดั ไว้ รูปที่ 2.4.4.9 แสดงฉากตาย ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ควรใช้นิ้วหัวแม่มือช่วยบังคับแนว เลื่อยในตอนเร่ิมตน้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเลื่อยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเลื่อยอยเู่ สมอ
230 5. ขีดแนวย่อเดอื ย แบ่งไม้ออกมาส่ีท่อน แล้วใช้ขอขีดที่ ระยะ 10 ม.ม. ขีดแนวบนหนา้ ไมด้ า้ นกวา้ งจาก รูปท่ี 2.4.4.10 แสดงการขีดแนวยอ่ เดอื ย หวั ไมล้ งมาจนถึงแนวบ่าเดือยท้งั สองดา้ น ท้งั ส่ี ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทอ่ นที่เลือกไว้ ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขดี จะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขดี ซ้าตามแนวขอขดี 3. ตรวจสอบตาแหน่งร่องเดือยให้ได้ ตามแบบ 6. ย่อเดือย ใชเ้ ล่ือยรอ เล่ือยตดั เดือยตามแนวบ่าเดือย 6.1 เลื่อยตัดแนวย่อเดอื ย ลงไปจนถึงระยะ 10 ม.ม.ทขี่ ดี แนวไว้ รูปที่ 2.4.4.11 แสดงการเล่ือยตดั ยอ่ เดือย ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เม่ือเลื่อยใกลถ้ ึงแนวบาก 15 ม.ม. ควร เล่ือยให้ถึงแนวทีละด้านเพ่ือป้ องกันการเล่ือย เกินแนวทข่ี ดี ไว้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาใหใ้ บเล่ือยหลุดออก จากสนั เล่ือย 3. ตรวจสอบแนวเลื่อยท้ังสองด้านอยู่ เสมอ
231 6.2 ยึดจับไม้ในแนวต้งั ยดึ จบั ไมใ้ นแนวต้งั ดว้ ยปากกาหัวไมเ้ พื่อ เล่ือยตดั แนวบากเดือย ข้อควรระวงั 1. ไม่ใช้แรงอัดมากเกินไป อาจทาให้ ชิ้นงานหกั ได้ 2. ควรใช้ไม้ที่เรียบรองหน้าอดั ท้งั สอง ดา้ นเพอื่ ป้ องกนั ช้ินงานเป็ นรอย รูปที่ 2.4.4.12 แสดงการยดึ จบั ไมใ้ นแนวต้งั ดว้ ยแมแ่ รงหวั โตะ๊ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 6.3 เลอ่ื ยผ่าแนวย่อเดือย ใช้เล่ือยตัดปากไม้เล่ือยผ่าแนวย่อเดือย ตามแนวที่ขีดไวจ้ นถึงแนวท่ีเล่ือยตดั ไว้ ท้ังสี รูปที่ 2.4.4.13 แสดงการเล่ือยผา่ ยอ่ เดอื ย ทอ่ น ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ควรใช้น้ิวหัวแม่มือช่วยบังคับแนว เลื่อยในตอนเร่ิมตน้ 2. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ตรวจสอบแนวเลื่อยอยเู่ สมอ
232 7. บากแต่งเดือย ใช้ส่ิวปากบาง บาก ปาดแต่งเดือยให้ได้ ขนาดและแนว โดยวางคมสิ่วดา้ นเรียบทาบกบั แนวเดือย แลว้ กดเซาะเน้ือไมส้ ่วนท่ีเกินออก ข้อควรระวัง 1. ตรวจความคมของส่ิวก่อนใชง้ าน 2. ควรใชส้ ิ่วปากบางปาดแต่งเน้ือไม้ใน แนวเฉียงเขา้ ดา้ นใน รูปที่ 2.4.4.14 แสดงการบากปาดแต่งเดือย ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 8. เล่อื ยตัดปลายเดือย วดั ระยะจากบา่ เดือยออกมาท่ี 30 ม.ม.ใช้ 8.1 วัดระยะตดั ปลายเดือย ดินสอขีดตาแหน่งไว้ ข้อควรระวงั ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหากขอ เก่ียวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดยเร่ิม ที่ ระยะ 0.10 เมตร รูปท่ี 2.4.4.15 แสดงการวดั ระยะตดั ปลายเดือย ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
233 8.2 ขีดแนว 45 องศา ใชฉ้ ากตายขีดแนวเฉียง 45 องศา โดยให้ ปลายแนวเฉียงอยตู่ รงจุดท่ีขีดระยะ 30 ม.ม.ไว้ รูปที่ 2.4.4.14 แสดงการขีดแนว 45 องศา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ควรใช้ ฉากทีด่ า้ มหลวมคลอน 2. ขณะขีดแนวฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 8.3 ขีดฉากแนวตดั ปลายเดอื ย ใช้ฉากตายขีดแนวฉากตามเส้นเฉียง 45 องศาท้งั สองดา้ น รูปท่ี 2.4.4.15 แสดงการขีดฉากแนวตดั ปลายเดือย ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยหลุดออก จากสนั เลื่อย 2. ตรวจสอบแนวเลื่อยท้ังสองด้านอยู่ เสมอ
234 8.3 เลื่อยตัดปลายเดอื ย ใชเ้ ล่ือยรอ เล่ือยตดั ปลายเดือยในแนว 45 องศาทรี่ ะยะ 30 ม.ม.จากบ่าเดือย ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยหลุดออก จากสนั เลื่อย 2. ตรวจสอบแนวเลื่อยท้ังสองด้านอยู่ เสมอ รูปท่ี 2.4.4.15 แสดงการเล่ือยตดั ปลายเดือย ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 9. ตรวจความเรียบร้อยของไม้พนังขา วดั ตรวจความยาวของเดือย มุมฉากของ บา่ เดือย และระยะห่างของบา่ เดือย ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใช้งานไม่ควรใช้ ฉากทด่ี า้ มหลวมคลอน 2. ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใช้งานหาก ขอเก่ียวหลวมมากควรวดั โดยการทดระยะโดย เร่ิมท่ี ระยะ 0.10 เมตร รูปที่ 2.4.4.16 แสดงตรวจสอบระยะของบา่ เดือย ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
235 10. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ อุปกรณ์และ ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ ข อ ง เค ร่ื อ ง มื อ แ ล ะ พนื้ ทฝี่ ึ กงาน อุปกรณ์ แล้วใช้แปรงและผา้ แห้งปัด เช็ดทา ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในส่วนของ เครื่องมือทเ่ี ป็นโลหะให้ เชด็ ดว้ ยน้ามนั กนั สนิม ข้อควรระวงั 1. ใช้ผ้าเช็ดน้ ามันกันสนิมที่ไหลยอ้ ย ออกใหห้ มดก่อนเก็บ 2. หากเคร่ืองมือชารุด ให้แจง้ ครูผสู้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบยมื เคร่ืองมือ รูปท่ี 2.4.4.17 แสดงการเชด็ ทาความสะอาด เคร่ืองมอื ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 11. จัดเกบ็ เครื่องมอื วสั ดุและอปุ กรณ์ แจง้ เจา้ หนา้ ที่หอ้ งเคร่ืองมือใหต้ รวจ สอบ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บเขา้ ที่ ข้อควรระวัง ก่อนจดั เก็บเคร่ืองมือให้เจา้ หน้าที่ตรวจ สอบสภาพของเครื่องมือและลงช่ือตรวจรับ ก่อนทุกคร้งั รูปท่ี 2.4.4.18 แสดงการจดั เก็บเคร่ืองมือ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
236 คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านไม้ บทท่ี 11 ปฏิบตั งิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลย่ี ม ข้นั ตอนที่ 5 การทาพนื้ เก้าอี้ หัวข้อเร่ือง 1. เครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการวดั ตดั ไส ไมพ้ ้นื เกา้ อ้ี 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ี 3. การบารุงรักษาเครื่องมือ สาระสาคญั พ้นื เกา้ อ้ี ถือวา่ เป็ นส่วนสาคญั มาก เน่ืองจากเป็ นส่วนท่ีผใู้ ชต้ อ้ งสมั ผสั คือนง่ั ตลอดเวลาใน การใชง้ าน พ้นื เกา้ อ้ีที่ใช้ ในการฝึกปฏิบตั ิเป็ นไมพ้ ้ืนที่นักเรียนไดเ้ พลาะไมแ้ บบอดั กาวไวใ้ นใบ งานที่ 2.3 ซ่ึงจะตอ้ งนามาไสปรับระดบั ใหเ้ รียบ และวดั ตดั ใหไ้ ดข้ นาดและมุมฉาก และทาการไส ลบมุม ก่อนที่จะนาไปประกอบเขา้ กบั ขาเกา้ อ้ี จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ท่วั ไป เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้นั ตอนการวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ี จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการวดั ตดั ไส ไมพ้ ้นื เกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ที่ เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการวดั ตดั ไส ไมพ้ ้นื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีไสลบมุมพ้นื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ไี ดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการตรวจสอบงานวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ีไดถ้ กู ตอ้ ง
237 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 7. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการส่งคืนเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ งไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกขอ้ ควรระวงั ในการวดั ตดั ไส ไมพ้ น้ื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 10. วดั ตดั ไส ไมพ้ ้นื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ตรวจสอบงานวดั ตดั ไส ไมพ้ ้นื เกา้ อ้ีไดถ้ ูกตอ้ ง 12. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 13. ส่งคนื เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
238 ข้นั ตอนการทาไม้พนื้ เก้าอี้ 1. เตรียมเคร่ืองมอื วสั ดแุ ละ เขียนใบเบิกเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ ที่ใชใ้ นวดั ตดั ไสไมพ้ ้ืนเกา้ อ้ี นาไปเบิกท่ีหอ้ ง อุปกรณ์ในวัด ตัด ไสไม้พนื้ เก้าอี้ เครื่องมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมอื ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเคร่ืองมือให้ ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.่ี .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอ่ื นลันดา 1 อนั เครื่องมือที่เบิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอื่ ยรอ 1 อนั 3 เลอ่ื ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลือ่ ย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ............................................................................................................................. .......... ....................................................................................................................................... ลงชือ่ ลงช่ือ (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลบั เมตร หน้าที่ ใชว้ ดั ระยะ รูปท่ี 2.4.5.1 แสดงตลบั เมตร การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ เช็ดทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั การ ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับท่ีเดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอท่ี เกี่ยวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ที่ใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะท่ีอาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขดี บนเสน้ เทป
239 1.2 ดนิ สอ หน้าที่ ใชข้ ดี แนว ร่างแบบลงบนไม้ รูปท่ี 2.4.5.2 แสดงดินสอ การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดทาความสะอาดทุกคร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง 1. เหลาไส้ดินสอให้มีความแหลมทุก คร้ังก่อนใชง้ าน 2. อยา่ ใหด้ ินสอตกลงพ้นื 1.3 ฉากตาย หน้าที่ ใชต้ รวจมุมฉากของขาเกา้ อ้ี รูปท่ี 2.4.5.3 แสดงฉากตาย การบารุงรักษา ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เช็ดทาความสะอาดฝ่ นุ ละอองและคราบ รอยเป้ื อน ทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรใชต้ อกหรือเคาะ 2. ไม่ใชฉ้ ากที่หลวมหรือโยก
240 1.4 ขอขีด หน้าที่ ใชข้ ีดแนวลงบนเน้ือไมต้ ามความยาว รูปท่ี 2.4.5.4 แสดงขอขีด การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทาความสะอาดทุกคร้ังและประกอบให้ 1.5 กบล้างกลาง แน่นพอดีก่อนเก็บ รูปที่ 2.4.5.5 แสดงกบลา้ งกลาง ข้อควรระวงั ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. อยา่ ใหข้ อขดี ตกลงพ้นื 2. หา้ มเคาะเล่น หน้าที่ ใชไ้ สลบมุมขอบพ้นื เกา้ อ้ี การบารุงรักษา 1. เช็ดทาความสะอาดทุกคร้ังหลังใช้ งาน 2. ทาน้ามนั กนั สนิมในส่วนทเี่ ป็ นโลหะ และทอ้ งกบทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. การวางกบควรวางตะแคงทาง ดา้ นขา้ งเพอ่ื ป้ องกนั ไม่ใหค้ มกบสัมผสั ชิ้นงาน ซ่ึงอาจจะเป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กบั โลหะท่ที าใหค้ มกบเสีย 2. การจดั เก็บควรประกอบไวเ้ ป็ นชุด โดยปรับคมกบยกข้นึ ใหส้ ูงจากทอ้ งกบ
241 1.6 กบผิว หน้าที่ ใชไ้ สผิวไมใ้ ห้เรียบจริงๆ พร้อมที่จะ ขดั ตกแตง่ ผวิ ไมด้ ว้ ยกระดาษทราย รูปท่ี 2.4.5.6 แสดงกบผวิ ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา เช็ดทาความสะอาด และเชด็ ชโลมน้ามนั 1.7 ไม้พนื้ เก้าอที้ เ่ี พลาะไว้ใน งานเพลาะไม้ กนั สนิมทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบคมใบกบก่อนใชง้ าน 2. การวางกบควรวางตะแคงทาง ดา้ นขา้ งเพอ่ื ป้ องกนั ไม่ให้คมกบสัมผสั ช้ินงาน ซ่ึงอาจจะเป็ นรอยและคมกบอาจจะสัมผสั กบั โลหะท่ีทาใหค้ มกบเสีย หน้าท่ี ใชฝ้ ึกปฏิบตั ติ ามใบงาน การบารุงรักษา ควรวางเก็บไวใ้ นทท่ี ีแ่ สงแดดส่องไม่ถึง ข้อควรระวงั เขียนช่ือเลขท่ีไวใ้ ห้ชดั เจนเพ่ือให้ง่ายต่อ การนาไปใชง้ าน รูปท่ี 2.4.5.7 แสดงไมพ้ ้ืนเกา้ อ้ีท่เี พลาะไว้ ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
242 2. เตรียมไม้พนื้ เก้าอี้ ใชก้ บลา้ งกลางไสไมพ้ ้ืนท่ีเพลาะไวจ้ าก ใบงานท่ี 2.3 ให้เรียบไดร้ ะดบั ท้งั สองดา้ น โดย 2.1 ไสไม้พนื้ เก้าอี้ ไสคนละดา้ นกบั เพอื่ นท่จี บั คู่ไว้ 2.1.1 ไสล้างผวิ พนื้ ไม้เก้าอี้ ข้อควรระวงั ตรวจสอบแนวเส้ียนไม้ก่อนไสใหเ้ รียบ ไม่ไสไมย้ อ้ นเส้ียน รูปที่ 2.4.5.8 แสดงการไสไมพ้ ้นื ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.1.2 ไสตกแต่งผวิ พนื้ เก้าอี้ ใช้ก บ ผิ วไ ส ไ ม้พ้ื น อี ก ค ร้ ั งใ ห้ เรี ย บ ไ ด้ ระดบั พร้อมใชง้ านและให้ไดค้ วามหนา 20 ม. ม. ข้อควรระวัง ตรวจสอบแนวเส้ียนไมก้ ่อนไสใหเ้ รียบ ไม่ไสไมย้ อ้ นเส้ียน รูปที่ 2.4.5.9 แสดงการไสไมพ้ ้ืน ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
243 2.2 ขีดฉากหัวไม้ ขีดฉากที่หัวไมพ้ ้ืน ให้ห่างจากแนวหัว ไมม้ าประมาณ 10 ม.ม. ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบฉากก่อนใช้งานไม่ใช้ฉาก ท่ีหลวมหรือโยก 2. ตรวจสอบหัวไมห้ ากมีรอยแตกใหข้ ีด ฉากใหพ้ น้ แนวแตกของหวั ไม้ รูปที่ 2.4.5.10 แสดงการขีดฉากตดั หัวไมพ้ ้ืน ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.3 เลือ่ ยตัดหัวไม้พนื้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั เล่ือยตดั หัวไม้ ตามแนวฉากท่ขี ดี ไว้ รูปท่ี 2.4.5.11 แสดงการเลื่อยตดั หวั ไมพ้ ้ืน ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตดั ไมใ้ หไ้ ดต้ ามแนวฉากทข่ี ีดไว้ 2. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเล่ือย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง
244 2.4 วัดระยะไม้พนื้ เก้าอี้ ใชต้ ลบั เมตรวดั ระยะจากหัวไมด้ า้ นที่ตดั หวั ไมเ้ ขา้ มา 250 ม.ม. ใชด้ ินสอขดี ตาแหน่งไว้ รูปที่ 2.4.5.12 แสดงการวดั ระยะตดั ไมพ้ ้ืนเกา้ อ้ี ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ตรวจสอบตลบั เมตรก่อนใชง้ านหาก ขอเก่ียวหลวมมากเกินไปให้วดั ทดระยะโดย เริ่มจากระยะ 10 เซ็นติเมตร 2. เมื่อปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2.5 ขดี ฉากแนวตัดแบ่งไม้พนื้ ใชฉ้ ากตายขีดฉากแนวตดั ไมต้ ามระยะท่ี วดั ไว้ รูปท่ี 2.4.5.13 แสดงการขีดฉากแนวตดั ไม้ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบฉากก่อนใชง้ านไม่ใชฉ้ าก ที่หลวมหรือโยก 2. ในการขีดฉากด้ามฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้
245 2.6 เลอ่ื ยตัดไม้พนื้ ใชเ้ ล่ือยลนั ดาชนิดฟันตดั เล่ือยตดั ไมพ้ ้ืน ตามแนวฉากท่ีขีดไว้ รูปท่ี 2.4.5.14 แสดงการเล่ือยตดั ไมพ้ ้นื ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ตดั ไมใ้ หไ้ ดต้ ามแนวฉากทีข่ ีดไว้ 2. ระวงั คมเลื่อยจะโดนส่วนหน่ึงส่วนใด ของร่างกาย 3. ขณะใชง้ านไม่ควรใชแ้ รงกด หรือบิด ใบเลื่อย มากเกินไป จะทาให้ใบเล่ือยบิดงอเสีย รูปทรง 3. ไสลบมุมไม้พืน้ เก้าอี้ ใช้ขอขีดท่ีระยะ 5 ม.ม. ขีดแนวที่ขอบ 3.1 ขีดแนวไสลบมมุ พน้ื ไมแ้ ละดา้ นหนาของพ้นื เกา้ อ้ีโดยรอบ ข้อควรระวัง 1. ขณะใชง้ านตวั ขอขดี จะตอ้ งแนบสนิท กบั หนา้ ไมต้ ลอดแนว 2. แนวขอขีดหากเห็นไม่ชดั ใหใ้ ชด้ ินสอ ขีดซ้าตามแนวขอขีด รูปท่ี 2.4.5.15 แสดงการขีดแนวไสลบมุมไมพ้ ้ืน ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
246 3.2 ไสลบมมุ ใช้กบลา้ งไสลบมุมพ้ืนเก้าอ้ีตามแนวที่ ขดี ไวท้ ้งั 4 ดา้ น ข้อควรระวัง 1. ในขณะไสลบมุมควรวางกบให้เอียง ทามุมประมาณ 45 องศาตลอดแนว 2. จับตวั กบให้แน่นเนื่องจากเป็ นการ ดว้ ยมือขา้ งเดียว รูปท่ี 2.4.5.16 แสดงการลบมมุ ไมพ้ ้ืนเกา้ อ้ี ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4. ตรวจความเรียบร้อยของไม้พนื้ 1. ใชต้ ลบั เมตรวดั ตรวจสอบความกวา้ ง ของไมพ้ น้ื 2. ใช้ฉากตายวดั ตรวจสอบมุมฉากของ ไมพ้ ้นื ข้อควรระวงั 1. ในการวดั มุมฉากดา้ มฉากจะตอ้ งแนบ สนิทกบั หนา้ ไม้ 2. ไม่ใชฉ้ ากท่ีหลวมหรือโยก รูปท่ี 2.4.5.17 แสดงการตรวจวดั ระยะความกวา้ ง ของไมพ้ ้ืนเกา้ อ้ี ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
247 5. ทาความสะอาดเครื่องมอื และอปุ กรณ์ ตรวจสอบสภาพของเครื่ องมือและ อุ ป ก รณ์ แ ล้วใช้ผ ้าแ ห้ งแ ล ะแ ป ร งเช็ ด ปั ด ท า ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในส่วนของ เครื่องมือท่ีเป็ นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เช็ด ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย รูปที่ 2.4.5.18 แสดงการทาความสะอาดเครื่องมอื ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมท่ีไหลยอ้ ยใหเ้ ช็ด ออกใหห้ มดก่อนเกบ็ 2. หากเครื่องมือชารุด ให้แจง้ ครูผสู้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เคร่ืองมือ 6. จดั เกบ็ เครื่องมอื วสั ดแุ ละอุปกรณ์ แ จ้ง เจ้า ห น้ าที่ ห้ อ ง เค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเคร่ืองมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เกบ็ เขา้ ที่ ข้อควรระวงั ก่ อ น จัด เก็ บ เค รื่ อ งมื อ ให้เจ้าห น้าท่ี ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและลงชื่อตรวจ รับก่อนทกุ คร้ัง รูปที่ 2.4.5.19 แสดงการจดั เก็บเคร่ืองมือ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
248 คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านไม้ บทท่ี 11 ปฏิบตั งิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลยี่ ม ข้นั ตอนที่ 6 การประกอบขาเก้าอี้ หัวข้อเร่ือง 1. เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหล่ียม 2. วธิ ีการประกอบขาการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหลี่ยม 3. การบารุงรักษาเคร่ืองมือ สาระสาคญั การประกอบขาเกา้ อ้ี เมื่อเราได้ส่วนประกอบของชุดขาเกา้ อ้ีแล้วข้นั ตอนต่อไป ในการ ประกอบไม่ยงุ่ ยากซบั ซ้อน แต่ตอ้ งมีความละเอียดในการตรวจเช็คในทุก ๆ ข้นั ตอนท้งั มุมฉาก และระยะห่างของขาเกา้ อ้ี เพ่ือให้ไดผ้ ลงานท่ีดี และท่ีสาคญั บางข้นั ตอนมีขอ้ จากดั ในเรื่องของ ระยะเวลาไม่สามารถทางานต่อเนื่องได้ เช่น การประกอบแผงขาเกา้ อ้ีที่ตอ้ งมีการทากาวที่เดือย และร่องเดือย เมื่อประกอบยดึ ดว้ ยตะปูแลว้ ตอ้ งรอเวลาประมาณ 10 – 12 ชว่ั โมงเพอ่ื ให้กาวแหง้ จงึ นาแผงขาเกา้ อ้ีท้งั สองแผงมาประกอบกนั เป็นขาเกา้ อ้ีที่สมบูรณ์ จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ทว่ั ไป เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ข้นั ตอนและวธิ ีการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหล่ียม จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหล่ียม ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ท่ี เคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ในการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหล่ียมได้ ถูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ ส่ีเหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง
249 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 4. บอกวธิ ีการตรวจสอบประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหล่ียมไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการส่งคนื เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ งไดถ้ ูกตอ้ ง 8. ประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหล่ียมไดถ้ กู ตอ้ ง 9. ตรวจสอบงานประกอบขาเกา้ อ้ีหวั โลน้ สี่เหลี่ยมไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคนื เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
250 การประกอบขาเก้าอี้ 1. เตรียมเครื่องมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ เขียนใบเบิกเคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ที่ ใช้ในการประกอบขาเก้าอ้ี นาไปเบิกท่ีห้อง ในการประกอบขาเก้าอี้ เคร่ืองมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมือ ข้อควรระวงั 1. ระบุรายละเอียดของเคร่ื องมือให้ ชื่อ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.่ี .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลันดา 1 อนั เคร่ืองมือทเ่ี บิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอื่ ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเล่ือย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ........................................................................................................................... ............ ............................................................................................................................. .......... ลงชอื่ ลงช่ือ (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 ตลับเมตร หน้าท่ี ใชว้ ดั ระยะ การบารุงรักษา ใชผ้ า้ เชด็ ทาความสะอาดทกุ คร้ังหลงั การ ใชง้ าน รูปท่ี 3.1.1 แสดงตลบั เมตร ข้อควรระวงั ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เม่ือปล่อยเส้นเทปกับที่เดิมค่อย ๆ ผ่อน ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายขอที่ เก่ียวอาจชารุดเสียหาย หรือเสน้ เทปบาดมือ 2. ผา้ ที่ใชเ้ ช็ดทาความสะอาดควรเป็ นผา้ ท่ีสะอาดไม่มีเศษทราย หรือผงโลหะที่อาจทา ใหเ้ กิดรอยขดู ขีดบนเสน้ เทป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330