301 1.4 ดนิ สอพอง หน้าที่ ใชโ้ ป๊ ว อุดผวิ ไมใ้ หเ้ รียบ รูปท่ี 4.1.4 แสดงดินสอพอง การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ปิ ดปากถุงให้แน่น เก็บไวใ้ นที่แห้งไม่ เปี ยกช้ืน ข้อควรระวงั 1. ระวงั ฝ่นุ ดินสอพองเขา้ ตา 2. หากใชด้ ินสอพองที่เป็ นก้อนควรบด ใหแ้ ตกละเอียดก่อนผสมใชง้ าน 1.5 ลูกประคบ หน้าที่ ใชก้ ด อดั ดินสอพองลงบนเส้ียนไม้ การบารุงรักษา ลา้ งน้าให้สะอาดและตากให้แห้งทุกคร้ัง หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ในกรณีที่ใชล้ ูกประคบกบั ดินสอพองท่ี ผสมสีฝ่นุ สีใดแลว้ ไม่ควรใชร้ ่วมกบั สีอ่ืน ๆ อีก รูปที่ 4.1.5 แสดงลกู ประคบ ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
302 1.6 ผ้าปิ ดปาก ปิ ดจมูก หรือ หนา้ กาก หน้ าท่ี ใช้ปิ ดปากปิ ดจมูก เพ่ือป้ องกันฝ่ ุน อนามยั ละออง กลิ่นแอลกอฮอล์ หรือทนิ เนอร์ รูปท่ี 4.1.6 แสดงผา้ เช็ดเครื่องมอื การบารุงรักษา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ซักทาความสะอาดดว้ ยน้าสบู่ หรือน้ายา 1.7 ผ้าสะอาด 2 ผืน ซักผา้ เด็ก และตากไว้ในท่ีอากาศถ่ายเทได้ สะดวก ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรใชร้ ่วมกบั บคุ คลอื่น 2. หากเกิดการฉีกขาด และมีรอยเป้ื อน ควรทิ้งทนั ที 3. การสวมใส่ตอ้ งนาดา้ นที่มีสีเขม้ ออก ทางข้างนอก หรือสังเกตจากรอยพบั ของผ้า ดา้ นหนา้ ตอ้ งพบั ลง หน้าท่ี ใชเ้ ช็ดคราบดินสอพองหน่ึงผืนและอีก ผนื ใชเ้ ชด็ ทาความสะอาดผวิ ช้ินงาน การบารุงรักษา ซักทาความสะอาด และตากให้แห้งทุก คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั ไม่ควรใช้ผ้าร่วมกับงานอ่ืน เช่น เช็ด ชโลมน้ามนั เช็ดเคร่ืองมือ รูปท่ี 4.1.6 แสดงผา้ เช็ดเครื่องมือ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
303 2. ขดั ตกแต่งผิวชิ้นงาน พบั กระดาษทรายท่ีจะใชข้ ดั แบ่งออกเป็ น 2.1 เตรียมกระดาษทราย สองส่วน พนั กระดาษทรายบนไม้ขนาด 1 x 2 นิ้ว ยาว 14 ซ.ม. ทบไปมา ข้อควรระวงั ไมท้ ี่ใช้พนั กระดาษทรายไม่ควรยาวกว่า กระดาษทรายท่ีแบ่งคร่ึงแล้ว เพราะไม่ที่ยื่น ออกมาอาจขดู ชิ้นงานเป็นรอย รูปท่ี 4.1.7 แสดงการพนั กระดาษทรายกบั ไม้ ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.2 ตดั ผวิ ชิ้นงานให้เรียบ ขดั ผิวชิ้นงานให้เรียบท้งั ภายในและภาย นอกโดยเร่ิมจากการใชก้ ระดาษทรายเบอร์ 5 รูปที่ 4.1.8 แสดงการขดั กระดาษทราย ขดั ในคร้ังแรก แลว้ เปล่ียนมาเป็ น เบอร์ 3 และ ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 เบอร์ 0 ตามลาดับ โดยในข้ันตอนการขัด กระดาษทรายเบอร์ 0 จะเป็นการขดั ละเอียดคร้ัง สุดทา้ ยที่ผวิ งานจะมีความเรียบมนั ในส่วนของ ซอกเล็กๆ ทใี่ ชก้ ระดาษทรายพนั ไมข้ ดั ไม่ไดใ้ ห้ และกระดาษทรายออกเป็ น 4 ส่วนแลว้ นาส่วน หน่ึงมาพบั คร่ึงจะได้กระดาษทรายสองหน้า นาไปขดั ดว้ ยมือตามซอกตา่ ง ๆ ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบเบอร์ของกระดาษทราย ก่อนนาไปใชง้ าน 2. ขดั กระดาษทรายตามแนวเส้ียนไม้
304 2.3 เช็ดทาความสะอาดผวิ ชิ้นงาน ใชแ้ ปรง ปัด ทาความสะอาดในส่วนของ ซอกเล็ก ๆ บนชิ้นงานแลว้ ใชผ้ า้ สะอาดเช็ดฝ่ ุน บนผวิ ช้ืนงานใหส้ ะอาด ข้อควรระวัง ควรปั ดเช็ดทาความ สะอ าดด้าน ใน แล ะ ดา้ นล่างของช้ินงานก่อน รูปท่ี 4.1.9 แสดงการเช็ดทาความสะอาดชิ้นงาน ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2.4 ตรวจความเรียบร้อยของผวิ ชิ้นงาน ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวช้ินงาน โดยสงั เกต รอยที่เกิดจากการขดั ให้ทว่ั และใช้ น้ิวมือรูปผวิ ช้ินงานดูวา่ เรียบมนั หรือไม่ หากจุด ใดยงั ไม่เรียบให้ทากดั ขดั ตกแต่งจนเรียบเป็ น มนั ข้อควรระวงั ควรใช้น้ิวมือรูปเบา ๆ เพราะอาจมีส่วน ใดทีไ่ ม่เรียบทาใหเ้ ส้ียนไมต้ ามือได้ รูปที่ 4.1.10 แสดงการใชม้ ือลบู ตรวจสอบ ความเรียบของผวิ ชิ้นงาน ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
305 3. โป๊ ว อุดผวิ ชิ้นงานด้วยดนิ สอพอง เทดินสอพองลงในกะละมงั พอประมาณ 3.1 เตรียมดนิ สอพอง กบั การใชง้ าน เตมิ น้าลงไปเล็กนอ้ ย ผสมใหข้ น้ เหนียว รูปท่ี 4.1.11 แสดงการเตรียมดินสอพอง ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั 1. ทาความสะอาดกะละมงั ก่อนเทดินสอ พองเตรียมผสมน้า 2. หากเหลวเกินไปให้เติมดินสอพองท่ี ละนอ้ ยค่อย ๆ ผสมใหเ้ หนียวตามท่ีตอ้ งการ 3.2 โป้ วอดุ รูตะปูและรอยต่อ ใช้เหล็กโป๊ ว โป๊ วอุดดินสอพองที่รูตะปู และรอยต่อของช้ินงานท่ีไม่แนบสนิท ข้อควรระวัง ใช้เหล็กโป๊ วกดดินสอพออัดลงไปใน แนวขวางกบั แนวรอยตอ่ ทีไ่ ม่แนบสนิท รูปท่ี 4.1.12 แสดงการใชเ้ หลก็ โป๊ ว โป๊ วอุดดินสอพอง ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
306 3.3 ลงลูกประคบ ใชล้ ูกประคบชุบดินสอพองถู อัดลงบน ผิวช้ินงานในแนวขวางเส้ียนไม้ ให้ทวั่ ช้ินงาน รูปที่ 4.1.13 แสดงการลงลูกประคบ โดยกดใหด้ ินสอพอง อดั ลงไปจนเตม็ เส้ียนไม้ ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั ตรวจดูดินสอพองให้เหลวกว่าที่ใช้ใน การอุดรอยหวั ตะปู หากดินสอพองแห้งเกินไป อาจทาใหอ้ ุดไม่เตม็ เส้ียนไมแ้ ละทางานไดช้ า้ 3.4 เช็ดคราบดนิ สอพอง ใชล้ ูกประคบลา้ งน้าให้สะอาดบิดให้แห้ง หมาดเช็ดคราบดินสอพองท่ีแหง้ หมาดออกให้ เหลือส่วนเกินนอ้ ยที่สุด แลว้ ทิ้งไวใ้ หแ้ หง้ ข้อควรระวัง ไ ม่ ค ว ร ป ล่ อ ย ให้ ดิ น ส อ พ อ ง แ ห้ ง เล ย ทีเดียวเพราะจะทาใหข้ ดั ออกยากและเสียเวลา รูปที่ 4.1.14 แสดงการเช็ดคราบดินสอพอง ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
307 4. ขัดตกแต่งผวิ ชิ้นงานให้เรียบ ใชก้ ระดาษทรายเบอร์ 0 ขดั คราบดินสอ พองท่ีเหลือติดอยู่บนผิวชิ้นงานให้ผิวช้ินงาน รูปที่ 4.1.15 แสดงการขดั ตกแต่งผวิ ช้ินงาน เรียบมนั เป็นเงา ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวัง 1. ใชแ้ รงกดกระดาษทรายใหส้ ม่าเสมอ ทวั่ ชิ้นงาน 2. ตรวจสอบเบอร์ของกระดาษทราย ก่อนใชง้ านหากใชก้ ระดาษทราบหยาบจะทาให้ ผวิ ชินงานไม่เรียบมนั 5. เช็ดทาความสะอาดผวิ ชิ้นงาน ใชแ้ ปรงปัดทาความสะอาดในซอกเลก็ ๆ บนช้ินงานแล้วใชผ้ า้ สะอาดเช็ดฝ่ ุนบนผิวชิ้น งานใหส้ ะอาด ข้อควรระวงั ควรปัดเช็ดทาความสะอาดดา้ นในและ ดา้ นล่างของช้ินงานก่อน รูปที่ 4.1.16 แสดงการเช็ดทาความสะอาดช้ินงาน ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
308 6. ทาความสะอาดเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ตรวจส อบ ส ภาพ ข องเคร่ื อ งมื อ แล ะ อุปกรณ์ แล้วใช้ผ้าแห้งและแปรงเช็ดปัดทา ความสะอาดเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในส่วนของ เคร่ืองมือท่ีเป็ นโลหะให้ ทาน้ามนั กนั สนิม เช็ด ใหแ้ หง้ ไม่ใหน้ ้ามนั ไหลยอ้ ย รูปท่ี 4.1.17 แสดงการทาความสะอาดเคร่ืองมอื ข้อควรระวัง ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ระวงั น้ามนั กนั สนิมท่ีไหลยอ้ ยให้เช็ด ออกใหห้ มดก่อนเกบ็ 2. หากเครื่องมือชารุด ให้แจง้ ครูผสู้ อน และบันทึกสาเหตุของการชารุดไวใ้ นใบงาน และใบเบกิ เครื่องมือ 7. จัดเก็บเครื่องมอื วัสดแุ ละอุปกรณ์ แจ้งเจ้า ห น้ า ท่ี ห้ อ ง เค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ เขา้ ท่ี ข้อควรระวัง ก่ อ น จัด เก็ บ เค ร่ื อ งมื อ ให้เจ้าห น้ าที่ ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและลงช่ือตรวจ รบั ก่อนทุกคร้ัง รูปท่ี 4.1.18 แสดงการจดั เก็บเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ ท่ีมา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
309 คู่มอื ปฏบิ ัตงิ านไม้ ปฏบิ ัตงิ านทาเก้าอสี้ ี่เหลยี่ ม ข้ันตอนที่ 10 การทาแชลแลคย้อมผวิ ชิน้ งาน หัวข้อเร่ือง 1. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ชิ้นงาน 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงาน 3. การบารุงรกั ษาเครื่องมือ สาระสาคญั การทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงานเป็ นการทาเพอ่ื ใหช้ ้ินงานมีความสวยงาม ทาใหส้ ีของเน้ือไม้ เด่นชดั เจนยง่ิ ข้ึนและป้ องกนั ยางในเน้ือไมซ้ ึมออกมา และเป็นการทารองพ้นื เพอ่ื เคลือบผวิ ดว้ ยสิ่ง อื่น ๆ ต่อไป ในการปฏบิ ตั งิ านน้ีจะทาแชลแลค 2 คร้ังโดยเม่ือทาแลว้ ในแต่ละคร้ังจะทง้ิ ไวใ้ หแ้ ชล แลคแห้งแลว้ รูปดว้ ยกระดาษทรายละเอียดหรือกระดาษทรายเก่า ๆ ที่ใชแ้ ลว้ ให้เรียบแลว้ เช็ดทา ความสะอาด ทาแชลแลคคร้งั ท่ี 2 ทิ้งไวใ้ ห้แห้ง ใชก้ ระดาษทรายรูปใหเ้ รียบ เชด็ ทาความสะอาดก็ พรอ้ มที่จะทาการเคลือบผวิ ดว้ ยวสั ดุอื่น ๆ ตามตอ้ งการ จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ทว่ั ไป เพ่ือให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ข้ันตอนและวิธีการทาแชลแลคยอ้ ม ผวิ ชิ้นงาน จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงาน ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกช่ือ หนา้ ที่ เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ชิ้นงาน ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง
310 4. บอกวธิ ีการตรวจความเรียบร้อยในการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกข้นั ตอนการส่งคืนเคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ กู ตอ้ ง 8. ทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 9. ตรวจความเรียบร้อยในการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 10. ทาความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคนื เครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
311 ข้นั ตอนการทาแชลแลคย้อมผวิ ชิ้นงาน 1. เตรียมเคร่ืองมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ที่ ใชใ้ นการทาแชลแลคยอ้ มผวิ ช้ินงาน นาไปเบิก การทาแชลแลคย้อมผิวชิ้นงาน ทห่ี อ้ งเคร่ืองมือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมือ ข้อควรระวัง 1. ระบุรายละเอียดของเครื่องมือให้ ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วันท.่ี .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลันดา 1 อนั เคร่ืองมือทเ่ี บกิ ก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอ่ื ยตัดปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลอ่ื ย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลย่ี ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ............................................................................................................................. .......... ....................................................................................................................................... ลงชอื่ ลงชือ่ (...................................................)ผู้เบกิ (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 เหลก็ โป๊ ว หน้าที่ ใชป้ าดหรือโป๊ วอุด ดินสอพอง รูปที่ 4.2.1 แสดงเหลก็ โป๊ ว การบารุงรักษา ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ลา้ งทาความสะอาด เช็ดใหแ้ หง้ และชโลม น้ามนั เพอ่ื ป้ องกนั สนิมทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ก่อนนามาใชง้ านควรลา้ งทาความสะอาด คราบน้ามนั กนั สนิมออกเสียก่อน
312 1.2 แปรงทาแชลแลค หน้าที่ ใชท้ าแชลแลค (แปรงขนกระต่าย) การบารุงรักษา รูปที่ 4.2.2 แสดงแปรงทาแชลแลค 1. แปรงทาแชลแลคที่เป็ นของใหม่ ก่อน ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ใชง้ านควรหยอดแชลแลคที่โคนขนแปรงแลว้ 1.3 แปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว นาไปตากแดดท้งั ไวใ้ ห้แหง้ เพื่อไม่ให้ขนแปรง หลุดไดง้ ่าย รูปท่ี 4.2.3 แสดงแปรงทาสีขนาด 1 น้ิว ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 2. เมื่อใช้งานเสร็จไม่ตอ้ งล้างแปรงให้ ปาดแชลแลคออกแล้วจัดเก็บแปรงโดยการ แขวนไว้ ข้อควรระวัง ก่ อ น น า ม า แ ป ร ง เก่ า ม า ใ ช้ง า น ค ว ร แ ช่ แป รงไว้ในแอลกอฮอล์ให้ขน แป รงอ่อน เสียก่อน หน้าที่ ใชป้ ัดทาความสะอาดชิ้นงานตามซอก เล็ก ๆ การบารุงรักษา การเกบ็ แปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือวาง ราบกบั พน้ื เรียบ ข้อควรระวงั ไม่ควรกดแปรงแรงเกินไปจะทาให้ขน แปรงบาน
313 1.4 กะละมงั สแตนเลส ขนาดเส้น หน้าที่ ใชใ้ ส่แชลแลค ผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว การบารุงรักษา รูปท่ี 4.2.4 แสดงกะละมงั สแตนเลส ล้างทาความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์ทุก ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ค วรแยก ใช้ก ะล ะ มังใน แต่ล ะ ชนิ ด ข อ ง งานเช่นกะละมงั ผสมแชลแลคหรือแลคเกอร์ไม่ ควรนาไปใชผ้ สมดินสอพอง 1.5 กระดาษทราย เบอร์ 0 ทใ่ี ช้แล้ว หน้าท่ี ใชร้ ูปช้ินงานใหเ้ รียบ รูปท่ี 4.2.5 แสดงกระดาษทรายเก่า การบารุงรักษา ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. เกบ็ ไวใ้ นทแี่ หง้ ไม่อบั ช้ืน 2. เก็บกระดาษทรายแต่ละขนาดไว้ แยกกนั เพอื่ ใหห้ ยบิ ใชง้ านไดง้ า่ ย ข้อควรระวงั 1. หากไม่มีกระดาษทรายเก่าให้ใช้ กระดาษทรายเบอร์ 0 โดยก่อนใช้งานให้ให้ กระดาษทรายถูกันไปมาให้คมเม็ดกระดาษ ทรายหลุดออกไปบา้ ง 2. ตรวจสอบความคมและเบอร์ของ กระดาษทรายก่อนนาไปใชง้ าน
314 1.6 ดนิ สอพอง หน้าท่ี ใชโ้ ป๊ ว อุดผวิ ช้ินงาน รูปที่ 4.2.6 แสดงดินสอพอง การบารุงรักษา ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ปิ ดปากถุงให้แน่น เก็บไวใ้ นที่แห้งไม่ เปี ยกช้ืน ข้อควรระวงั 1. ระวงั ฝ่นุ ดินสอพองเขา้ ตา 2. หากใชด้ ินสอพองที่เป็ นก้อนควรบด ใหแ้ ตกละเอียดก่อนผสมใชง้ าน 1.7 แชลแลคขาว หน้าที่ ใชท้ ายอ้ มผวิ ชิ้นงานใหม้ ีความสวยงาม รูปท่ี 4.2.7 แสดงแชลแลค การบารุงรักษา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ปิ ดฝาให้สนิทและเก็บไวใ้ นที่ห่างจาก ความรอ้ นและประกายไฟ ข้อควรระวัง 1. ระวงั แชลแลคเป้ื อนเส้ือผา้ 2. ไม่ควรทาแชลแลคใกลก้ บั สถานที่ที่มี ความร้อนหรือประกายไฟอาจเกิดการลุกไหม้ ได้
315 1.8 เมทิล แอลกอฮอล์ หน้าท่ี ใชผ้ สมแชลแลคและลา้ งภาชนะใส่ แชลแลค รูปที่ 4.2.8 แสดง เมทิล แอลกอฮอล์ ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา ปิ ดฝาให้สนิทและเก็บไวใ้ นที่ห่างจาก ความรอ้ นและประกายไฟ ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรเก็บแอลกอฮอลไ์ วใ้ นทมี่ ีความ ร้อนหรือประกายไฟ 2. ติดป้ ายช่ือใหช้ ดั เจน 1.7 ผ้าสะอาด หน้าท่ี ใช้เช็ดคราบดินสอพองและทาความ สะอาดผวิ ชิ้นงาน การบารุงรักษา ซักทาความสะอาด และตากให้แห้งทุก คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ผ้าร่วมกับงานอ่ืน เช่น เช็ด ชโลมน้ามนั เช็ดเครื่องมือ รูปที่ 4.2.9 แสดงผา้ สาหรับเชด็ ทาความสะอาด ช้ินงาน ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
2. เตรียมแชลแลค 316 เทแชลแลคลงในภาชนะที่เตรียมไวเ้ ติม แอลกอฮอลใ์ หเ้ จือจางในอตั ราส่วน 1 ต่อ 1 ข้อควรระวัง ต รว จส อ บ ภ าช น ะ ที่ ใช้ใส่ แช ล แล ค ใ ห้ สะอาดแหง้ สนิทไม่เปี ยกน้า รูปที่ 4.2.10 แสดงการเทแชลแลคใส่ภาชนะ ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 3. ทาแชลแลคเที่ยวแรก ใช้แปรงขนกระต่ายทาแชลแลค บน ชิ้นงานโดยเริ่มจากการหงายเกา้ อ้ีข้ึนทาดา้ นใน รูปที่ 4.2.11 แสดงการทาแชลแลค และดา้ นขา้ งก่อนเม่ือทว่ั แลว้ จึงทาดา้ นนอกให้ ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทวั่ แลว้ ปล่อยท้งิ ไวใ้ หแ้ หง้ ข้อควรระวัง 1. ขณะใช้แปรงจุ่มแชลแลคเพ่ือทาให้ ปาดแปรงที่ขอบภาชนะท่ีใช้ใส่แชลแลคเพ่ือ ป้ องกนั แชลแลคหยดหรือยอ้ ยมากในขณะทา 2. การทาแชลแลคควรทาตามแนวเส้ียน ไม้ 3. เตรียมผา้ แห้งไวเ้ ช็ดแชลแลคที่ไหล ยอ้ ยในขณะทา
317 4. ขัดลบรอยเสี้ยนไม้ ใชก้ ระดาษทรายเบอร์ 0 ที่ใช้งานแลว้ ลูบ ท่ีช้ินงานเบา ๆใหท้ วั่ ผวิ ชิ้นงาน จะทาใหผ้ วิ ของ แชลแลค ล่ืน และขนแปรงท่หี ลุดออกจากแปรง ตอน ทาแชลแลคที่ติดบน ช้ิ น งาน เม่ือถูก กระดาษทราบลูบเบา ๆ กจ็ ะหลุดออก รูปท่ี 4.2.12 แสดงการกระดาษทรายลบู บนช้ินงาน ข้อควรระวัง หลงั การทาแชลแลค 1. ใช้แรงกดกระดาษทรายเบา ๆ ลูบให้ ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 สม่าเสมอทว่ั ชิ้นงาน 2. ตรวจสอบเบอร์ของกระดาษทราย ก่อนใชง้ านหากใชก้ ระดาษทราบหยาบจะทาให้ ผวิ ชินงานไม่เรียบมนั 5. ตรวจความเรียบร้อยของผวิ ชิ้นงาน เช็ดทาความสะอาดช้ินงานพร้อมตรวจ สอบความเรียบร้อยของผิวช้ินงานหากยงั มีรูท่ี ยงั ไม่ไดโ้ ป๊ ว อุด หรือที่หลุดออก ใหท้ าการโป๊ ว อุดใหม่อีกคร้งั ข้อควรระวงั โป๊ ว อุดเฉพาะในส่วนที่หลุดออกหรือไม่ ไดโ้ ป๊ วเท่าน้นั รูปท่ี 4.2.13 แสดงการเชด็ ทาความสะอาดช้ินงาน ท่มี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
318 6. ทาแชลแลค รอบที่สอง ทาแชลแลครอบที่สอง โดยปฏิบัติตาม ข้ันตอนที่ 3 – 5 โดยให้ใช้แชลแลคใหม่ที่ไม่ รูปท่ี 4.2.14 แสดงการทาแชลแลครอบทีส่ อง ตอ้ งผสมแอลกอฮอลเ์ พม่ิ ท่มี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ข้อควรระวงั หากมีการโป๊ ว อุดเพ่ิมหลังจากการทา แชลแลค รอบแรก ให้ทาแชลแลคในส่วนน้นั ๆ ก่อนท้ิงไวใ้ ห้แห้ง ทาการขัดแล้วจึงทารอบท่ี สองใหท้ วั่ ชิ้นงาน 7. ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ลา้ งภาชนะใส่แชลแลคดว้ ยแอลกอฮอล์ แปรงทาแชลแลคไม่ตอ้ งล้างให้จุ่มแปรงใน ตอนลา้ งภาชนะแล้วปาดแอลกอฮอลอ์ อกแลว้ จดั เก็บไดเ้ ลย ลา้ งกะละมังใส่แชลแลคให้ลา้ ง ต่อด้วยน้ ายาล้างจานหรือผงซักฟอกแล้วล้าง น้าเปล่าใหส้ ะอาดและเช็ดใหแ้ หง้ ก่อนส่งคนื รูปท่ี 4.2.15 แสดงการทาความสะอาดเครื่องมือ ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ควรล้างแปรงทาแชลแลคพร้อมกับ ภาชนะที่ใส่แชลแลค 2. หากเคร่ืองมือชารุด ใหแ้ จง้ ครูผสู้ อน และบนั ทึกสาเหตขุ องการชารุดไวใ้ นใบงาน
319 8. จัดเกบ็ เคร่ืองมือ วัสดุและอุปกรณ์ แจ้งเจ้า ห น้ า ที่ ห้ อ ง เค รื่ อ งมื อ ให้ ต ร ว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เก็บ เขา้ ที่ ข้อควรระวัง 1. ก่อนจัดเก็บเคร่ืองมือให้เจ้าหน้าท่ี ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือก่อนทกุ คร้งั 2. ปิ ดฝาแอลกอฮอลแ์ ละแชลแลคให้ แน่นก่อนจดั เก็บ รูปที่ 4.2.16 แสดงการจดั เก็บเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
320 คู่มอื ปฏิบัตงิ านไม้ ปฏบิ ัตงิ านทาเก้าอสี้ ่ีเหลย่ี ม ข้ันตอนที่ 11 การทาแลคเกอร์เคลอื บผวิ ชิ้นงาน หัวข้อเรื่อง 1. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงาน 2. ข้นั ตอนและวธิ ีการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงาน 3. การบารุงรักษาเครื่องมือ สาระสาคญั การทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงานเป็ นการทาเพอื่ ใหช้ ้ินงานมีความสวยงาม มีความทนทาน ทาใหส้ ีของเน้ือไมเ้ ด่นชดั เจนยง่ิ ข้ึนและทาความสะอาดไดง้ า่ ย ในการปฏิบตั งิ านน้ีจะทาแลคเกอร์ 2 คร้ังโดยเม่ือทาแลว้ ในแต่ละคร้ังจะทิ้งไวใ้ ห้แลคเกอร์แห้งแล้วเช็ดทาความสะอาดคราบฝ่ ุน ละอองและตรวจความเรียบร้อยของผิวชิ้นงานก่อนทาการทาในคร้ังที่ 2 ทิ้งไวใ้ ห้แห้ง ท้ิงไวใ้ ห้ แลคเกอร์แหง้ จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์ทวั่ ไป เพ่ือให้ผูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ ข้นั ตอนและวิธีการทาแลคเกอร์เคลือบ ผวิ ช้ินงาน จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกวธิ ีการเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ช้ินงาน ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกชื่อ หนา้ ที่ เคร่ืองมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ในการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงาน ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกข้นั ตอนการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการตรวจสอบความเรียบร้อยของช้ินงานไดถ้ ูกตอ้ ง
321 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการทาแลคเกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกข้นั ตอนการส่งคนื เคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์ไดถ้ กู ตอ้ ง 8. ทาแลคเกอร์เคลอื บผวิ ชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 9. ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของช้ินงาน 10. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 11. ส่งคืนเครื่องมือ วสั ดุ และอุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง
322 ข้นั ตอนการทาแลคเกอร์เคลอื บผวิ ชิน้ งาน 1. เตรียมเคร่ืองมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ใน เขียนใบเบิกเครื่องมือที่ใช้ ในการทาแลค เกอร์เคลือบผวิ ชิ้นงาน นาไปเบิกที่ห้องเครื่อง การทาแลคเกอร์เคลอื บผิวชิ้นงาน มือเรียงตามลาดบั ใบเบิกเครื่องมอื ข้อควรระวัง 1. ระบุรายละเอียดของเคร่ืองมือให้ ช่ือ......................................ช้ัน....... แผนก..............................วนั ท.่ี .......... ชดั เจน ท่ี รายการ จานวน หน่วย หมายเหตุ 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ 1 เลอื่ นลันดา 1 อนั เครื่องมือท่เี บิกก่อนนาไปใชง้ าน 2 เลอ่ื ยรอ 1 อนั 3 เลอื่ ยตดั ปากไม้ 1 อนั 4 คมี คดั คลองเลอ่ื ย 1 อนั 5 ตะใบสามเหลยี่ ม 1 อนั 6 ฉากตาย 1 อนั หมายเหตุ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......... ลงช่ือ ลงชอื่ (...................................................)ผู้เบิก (.................................................)เจ้าหน้าที 1.1 แปรงทาแชลแลค หน้าที่ ใชท้ าแลคเกอร์ (แปรงขนกระต่าย) การบารุงรักษา รูปที่ 4.3.1 แสดงแปรงทาแลคเกอร์ 1. แปรงทาแลคเกอร์ที่ใหม่ ก่อนใช้งาน ที่มา: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ควรหยอดแชลแลคที่โคนขนแปรงแลว้ นาไป ตากแดดท้งั ไวใ้ ห้แห้งเพ่ือไม่ให้ขนแปรงหลุด ไดง้ ่าย 2. เม่ือใช้งานเสร็จไม่ต้องล้างแปรงให้ ปาดแลคเกอร์ออกแล้วจดั เก็บแปรงโดยการ แขวนไว้ ข้อควรระวงั ก่อนนามาใชง้ านควรแช่แปรงไวใ้ นทิน เนอร์ใหข้ นแปรงอ่อนเสียก่อน
323 1.2 แปรงทาสีขนาด 1 นิ้ว หน้าที่ ใชป้ ัดทาความสะอาดช้ินงานตามซอก เล็ก ๆ รูปท่ี 4.3.2 แสดงแปรงทาสีขนาด 1 น้ิว ทม่ี า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา การเก็บแปรงควรแขวนแปรงไว้ หรือวาง ราบกบั พน้ื เรียบ ข้อควรระวงั ไม่ควรกดแปรงแรงเกินไปจะทาให้ขน แปรงบาน 1.3 กะละมงั สแตนเลส ขนาดเส้น หน้าท่ี ใชใ้ ส่แลคเกอร์ ผ่าศูนย์กลาง 6 นิว้ การบารุงรักษา รูปท่ี 4.3.3 แสดงกะละมงั สแตนเลส ล้างทาความสะอาดด้วยทินเนอร์และ ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ผงซกั ฟอกทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน ข้อควรระวงั ค วรแยก ใช้ก ะล ะ มังใน แต่ล ะ ชนิ ด ข อ ง งานเช่นกะละมงั ผสมแลคเกอร์ไม่ควรนาไปใช้ ผสมแชลแลค
324 1.4 แลคเกอร์เงา หน้ าท่ี ใช้ทาเคลือบผิวชิ้นงานให้มีความ สวยงามทนทาน รูปที่ 4.3.4 แสดงแลคเกอร์เงา ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 การบารุงรักษา ปิ ดฝาให้สนิทและเก็บไวใ้ นที่ห่างจาก ความรอ้ นและประกายไฟ ข้อควรระวัง 1. ระวงั แลคเกอร์เป้ื อนเส้ือผา้ 2. ไม่ควรทาแลคเกอร์ในท่ีที่อากาศ ถ่ าย เท ไ ม่ ส ะ ด ว ก ห รื อ อ ยู่ใก ล้กับ ส ถ าน ท่ี ท่ี มี ความร้อนหรือประกายไฟอาจเกิดการลุกไหม้ ได้ 1.5 ทนิ เนอร์ หน้าที่ ใชผ้ สมแลคเกอร์ รูปท่ี 4.3.5 แสดงทินเนอร์ การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ปิ ดฝาให้สนิทและเก็บไวใ้ นที่ที่อากาศ ถ่ายเทสะดวก และห่ างจากความร้อนและ ประกายไฟ ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรเก็บทินเนอร์ไวใ้ นท่ีมีความ รอ้ นหรือประกายไฟ 2. ติดป้ ายชื่อใหช้ ดั เจน
325 1.6 ผ้าสะอาด หน้าที่ ใชเ้ ชด็ ทาความสะอาดผวิ ช้ินงาน รูปที่ 4.3.6 แสดงขาเกา้ อ้ีทป่ี ระกอบไว้ การบารุงรักษา ทมี่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ซักทาความสะอาด และตากให้แห้งทุก คร้ังหลงั ใชง้ าน ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ผ้าร่วมกับงานอื่น เช่น เช็ด ชโลมน้ามนั เชด็ เครื่องมือ 2. เช็ดทาความสะอาดชิ้นงาน ใช้ผา้ แห้งเช็ดทาความสะอาดคราบฝ่ ุน ละอองและรอยเป้ื อนออกใหห้ มด ข้อควรระวงั ในขณะเช็ดทาความสะอาดควรตรวจ สอบความเรียบร้อยของผวิ ชิ้นงานอีกคร้ัง รูปที่ 4.3.7 แสดงการเชด็ ทาความสะอาดเกา้ อ้ี ท่ีมา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552
326 3. เตรียมแลคเกอร์ ผสมแลคเกอร์กบั ทินเนอร์ในอตั ราส่วน ผสม 1 ต่อ 2 โดยประมาณหรือตามท่ีผูผ้ ลิต รูปที่ 4.3.8 แสดงการใชไ้ มก้ วนผสมทินเนอร์ กาหนด ในภาชนะที่เตรียมไว้ โดยเทแลคเกอร์ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ลงไปในภาชนะก่อนตามด้วยทินเนอร์ ใชไ้ ม้ กวนผสมใหเ้ ขา้ กนั ข้อควรระวัง 1. ตรวจสอบภาชนะที่ใชใ้ ส่แลคเกอร์ให้ สะอาดแหง้ สนิทไม่เปี ยกน้า 2. หากผสมแล้วยงั ไม่ไดใ้ ช้งานควรใช้ แผน่ ไมอ้ ดั ปิ ดไวก้ ่อนป้ องกนั การระเหยของทิน เนอร์ 4. ทาแลคเกอร์คร้ังแรก ใชแ้ ปรงขนกระต่ายทาหรือลูบแลคเกอร์ เบา ๆ บนชิ้นงานโดยเริ่มจากการหงายเกา้ อ้ีข้ึน รูปที่ 4.3.9 แสดงการทาแลคเกอร์คร้ังแรก ทาด้านในและด้านข้างก่อนเม่ือทว่ั แลว้ จึงทา ทีม่ า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ดา้ นนอกใหท้ ว่ั ช้ินงานแลว้ ปล่อยทง้ิ ไวใ้ หแ้ หง้ ข้อควรระวัง 1. ใช้มือลูบขนแปรงก่อนให้ขนแปรงท่ี อาจจะหลุดใหห้ ลุดออกก่อนทาการทา 2. ขณะใชแ้ ปรงจุ่มแลคเกอร์เพื่อทาให้ ปาดแปรงท่ีขอบภาชนะท่ีใช้ใส่แลคเกอร์เพื่อ ป้ องกนั แลคเกอร์หยดหรือยอ้ ยในขณะทา 3. หากใชแ้ ปรงเก่าท่ีเคยใช้แล้วให้ล้าง แปรงหรือแช่แปรงดว้ ยทินเนอร์ก่อนทางาน 2. หากแลคเกอร์เหลือควรใชแ้ ผ่นไมอ้ ดั ปิ ดไวก้ ่อนป้ องกนั การระเหยของทินเนอร์
327 5. ตรวจความเรียบร้อยของผวิ ชิ้นงาน ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวชิ้นงาน หากยงั มีจุดใดที่ไม่เรียบร้อยให้ทาการแก้ไข ก่อนทาทบั คร้ังที่สองพร้อมเช็ดทาความสะอาด คราบฝ่ นุ ละอองทีต่ ิดอยบู่ นชิ้นงาน ข้อควรระวงั หากมีจุดใดท่ียงั ไม่ได้ทาในคร้ังแรกให้ ทาจุดน้นั ๆ ก่อนทจี่ ะทาจุดอ่ืน ๆ เที่ยวทสี่ อง รูปที่ 4.3.10 แสดงการตรวจความเรียบร้อยของชิ้น พร้อมเช็ดทาความสะอาด ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 4. ทาแลคเกอร์คร้ังท่สี อง ใ ช้แ ป ร ง ข น ก ร ะ ต่ า ย ท า แ ล ค เก อ ร์ บ น ช้ินงานโดยเร่ิมจากการหงายเกา้ อ้ีข้ึนทาดา้ นใน รูปท่ี 4.3.11 แสดงการถอดไมย้ ดึ มมุ ขาเกา้ อ้ี และดา้ นขา้ งก่อนเมื่อทว่ั แลว้ จึงทาดา้ นนอกให้ ที่มา: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ทว่ั ชิ้นงานแลว้ ปล่อยทิง้ ไวใ้ หแ้ หง้ ข้อควรระวัง 1. ก่อนทาคร้ังที่สองควรตรวจสอบความ สะอาดของผวิ ชิ้นงานก่อนไม่ใหม้ ีฝ่ ุนละอองติด อยบู่ นผวิ ช้ินงาน 2. ขณะใชแ้ ปรงจุ่มแลคเกอร์เพื่อทาให้ ปาดแปรงท่ีขอบภาชนะท่ีใช้ใส่แลคเกอร์เพ่ือ ป้ องกนั แลคเกอร์หยดหรือยอ้ ยในขณะทา 3. ตรวจความข้นเหลวของแลคเกอร์ หากขน้ เกินไปใหเ้ ติมทินเนอร์ผสมเพมิ่
328 5. ตรวจความเรียบร้อยของผิวชิ้นงาน ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวชิ้นงาน หากยงั มีจุดใดท่ีไม่เรียบร้อยให้ทาการแก้ไข รูปท่ี 4.3.12 แสดงการทาความช้ินงานก่อนส่ง ก่อนพร้อมเช็ดทาความสะอาดคราบฝ่ ุนละออง ทม่ี า: สหสั ชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 ท่ีติดอยบู่ นช้ินงานและเขียนช่ือใส่เศษกระดาษ ติดใตพ้ ้นื เกา้ อ้ีก่อนส่ง ข้อควรระวัง หากมีจุดใดท่ียงั ไม่เรียบรอ้ ยและตอ้ งการ แกไ้ ขใหท้ าเฉพาะจดุ น้นั ๆ 6. ทาความสะอาดเครื่องมอื และอปุ กรณ์ ล้า งภ าช น ะ ใส่ แ ล ค เก อ ร์ ด้ว ย ทิ น เน อ ร์ แปรงทาแลคเกอร์ไม่ต้องล้างให้จุ่มแปรงใน ตอนลา้ งภาชนะแลว้ ปาดแลคเกอร์และทินเนอร์ ออกแลว้ จดั เก็บไดเ้ ลย ลา้ งกะละมงั ใส่แลคเกอร์ ใหล้ า้ งต่อดว้ ยน้ายาลา้ งจานหรือผงซกั ฟอกแลว้ ล้างน้ าเปล่าให้สะอาดและเช็ดให้แห้งก่อน ส่งคนื รูปท่ี 4.3.13 แสดงการทาความสะอาดเคร่ืองมือ ข้อควรระวัง ทีม่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 หากเคร่ืองมือ วสั ดุหรืออุปกรณ์ ชารุด ให้แจ้งครูผูส้ อน และบันทึกสาเหตุของการ ชารุดไวใ้ นใบงานและใบยมื เครื่องมือ
329 7. จัดเกบ็ เคร่ืองมอื วสั ดุและอปุ กรณ์ แ จ้ง เจ้า ห น้ า ที่ ห้ อ ง เค รื่ อ งมื อ ใ ห้ ต ร ว จ สภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนจดั เกบ็ รูปที่ 4.3.14 แสดงการจดั เกบ็ เคร่ืองมอื วสั ดุ เขา้ ที่ และอุปกรณ์ ข้อควรระวงั ทมี่ า: สหัสชยั ตุลยว์ ฒั นางกรู 2552 1. ปิ ดฝาทินเนอร์และแลคเกอร์ให้แน่น ก่อนส่งคนื 2. ก่อนจัดเก็บเคร่ืองมือให้เจ้าหน้าท่ี ตรวจสอบสภาพของเคร่ืองมือและลงชื่อตรวจ รับก่อนทกุ คร้งั
330 บรรณานุกรม กรมอาชีวศึกษา. ใบงานงานไมเ้ บ้อื งตน้ . พมิ คร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พค์ ุรุสภา ลาดพร้าว, 2527 ประณต กุลประสูตร. เทคนิคงานไม.้ พมิ พค์ ร้ังที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2547 ทวปี จบั ใจสุข. ฝึกฝีมืองานไม.้ กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พส์ กายบกุ๊ ส,์ 2545 ณรงค์ อารียม์ ิตร และคณะ. ช่างไมค้ รุภณั ฑ.์ กรุงเทพมหานคร: หจก. การพมิ พไ์ ชยวฒั น์ พระนคร, 2514 สมบตั ิ จทั ร์เกษม. คูม่ ือสอนช่างไม.้ กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พส์ ่งเสริมอาชีพ ร.ร.สารพดั ช่างพระนคร, 2515 http:/www.bansongthai.com/ http://www.carpenterideas.com/index.php?name=sutin&file=readsutin&id=18 http://www.homedd.com/ http://www.kr.ac.th/ebook/sanan_s/b1.htm http://www.nawapanwood.com/ http://www.onlinewoodmarket.com/wood-care-tips.html http://www.pbj.ac.th/tawattidate/wood/paper3.htm http://www.ppwoodworker.com/tiptechnique.htm http://www.st.ac.th/engin/wood.html http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0030/sukhothai/job/sec04p04.html http://www.thaiscience.info/journals/Article/ http://www.thailantern.com/main/boards/lofiversion/index.php/t2058.html
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330