Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Management2

Management2

Published by kanthikasaeng2561, 2018-11-21 10:37:44

Description: Management2

Search

Read the Text Version

การทางานเป็ นทมี ความหมายของทีมงาน➢ทีม หมายถงึ บคุ คลท่ีทางานร่วมกนั อยา่ งประสานงานภายในกลมุ่➢ทีมงาน หมายถงึ กลมุ่ คนท่ีมคี วามสมั พนั ธ์กนั คอ่ นข้างจะใกล้ชิดและคง ความสมั พนั ธ์อยคู่ อ่ นข้างจะถาวร

ปัจจัยการทางานเป็ นทมี• การทางานเป็นทีมต้องอาศยั ปัจจยั ตา่ งๆ ในการทางานร่วมกนั พอสรุปได้ดงั นี ้ 1. บรรยากาศของการทางาน 2. ความไว้วางใจกนั 3. มีการมอบหมายงานอยา่ งชดั เจน 4. บทบาท 5. วธิ ีการทางาน 6. การมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผลการทางานของทีม 7. การพฒั นาทีมงานให้เข้มแข็ง

ชนิดของทมี งาน• การแบง่ ทีมงานในองค์กรสามารถที่จะแบง่ ประเภทตามวตั ถปุ ระสงค์ได้ 4 รูปแบบ คือ1. ทีมแก้ปัญหา (Problem-solving Teams)2. ทีมบริหารตนเอง (Self-managed Teams)3. ทีมที่ทางานข้ามหน้าที่กนั (Cross-functional Teams)4. ทีมเสมือนจริง (Virtual Teams)

การเป็ นผูน้ า• ภาวะผ้นู า (Leadership) คอื การท่ีบคุ คลสามารถใช้ศิลปะในการโน้ม น้าวจิตใจผ้อู ่ืนให้ร่วมมอื ร่วมใจกนั ปฏบิ ตั งิ านให้บรรลเุ ปา้ หมายที่ กาหนดไว้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีต่อหนา้ ถดั ไป

แบบของผูน้ า• 1. ผ้นู าเผด็จการ (Autocratic Leadership) มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นา• 2. ผ้นู าแบบประชาธิปไตย (Democratic Leadership) มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นา• 3. ผ้นู าแบบเสรีนิยม (Laissez – faire Leaders) มีต่อหนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นาตามแนวความคดิ ของ Edwiu B Fiippo ได้ข้อคดิ เห็นวา่ ควรแยกออกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ผ้นู าประเภทบวก (Positive Leadership) 2. ผ้นู าประเภทลบ (Negative Leadership) มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

มีต่อหนา้ ถดั ไป

1. แบบเผดจ็ การหาผลประโยชน์2. แบบเผดจ็ การมีศลิ ปะหรือมีเมตตากรุณา3. แบบปรึกษาหารือ4. แบบให้มีสว่ นร่วม มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นาตามความคดิ ของ William J. Reddin มีต่อหนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นาตามแนวความคดิ ของ Tannenisaum & Scjomodt1. ผ้นู าตดั สนิ ใจแล้วแจ้งให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาทราบ2. ผ้นู าให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชายอมรับผลการตดั สนิ ใจของตน3. ผ้นู าตดั สนิ ใจให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชายอมรับ4. ผ้นู าให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชามีสว่ นร่วมบ้างในการตดั สนิ ใจ5. ผ้นู าให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาเสนอความคดิ6. ผ้นู าให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาเป็นผ้ตู กั สนิ ใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง7. ผ้นู าให้อานาจแก่กลมุ่ ผ้ปู ฏิบตั งิ านแก้ไขปัญหาเอง มีต่อหนา้ ถดั ไป

แบบของผู้นาของนักวชิ าการสมัยใหม่นกั วชิ าการสมยั ใหมไ่ ด้ให้รูปแบบของผ้นู าเพ่มิ เติมไว้ดงั นี ้ มีต่อหนา้ ถดั ไป

คุณสมบัตขิ องการเป็ นผู้นาท่ดี ี

การตดิ ต่อส่ือสาร ความหมายของการติดตอ่ ส่อื สาร การตดิ ตอ่ สอื่ สาร คือ กระบวนการนาความหมายในรูปของความคดิ หรือขา่ วสาร การประชาสมั พนั ธ์ จากบคุ คลหนง่ึ ไปยงั บคุ คลอื่น มีต่อหนา้ ถดั ไป

ประเภทของการตดิ ต่อส่ือสาร มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

มีต่อหนา้ ถดั ไป

ช่องทางเดนิ ของการตดิ ต่อส่ือสาร มีต่อหนา้ ถดั ไป

รูปแบบของสายใย• รูปแบบของสายใยการติดตอ่ ส่ือสาร แบง่ ออกเป็น 4 ลกั ษณะคอื มีต่อหนา้ ถดั ไป

อุปสรรคของการตดิ ต่อส่ือสาร มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

ประโยชน์ของการตดิ ต่อส่ือสาร1.ชว่ ยให้การวินจิ ฉยั สง่ั การเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว2.ช่วยให้เกิดการประสานงานท่ีดี3.ช่วยให้การควบคมุ งานได้ผลดีย่งิ ขนึ ้4.ช่วยให้เกิดความสามคั คีในหมคู่ ณะ5.สามารถเก็บข้อมลู และขา่ วสารไว้เป็นหลกั ฐาน มีต่อหนา้ ถดั ไป

การประสานงาน ความหมายการประสานงาน การประสานงาน (Coordinating) คือ การจดั ระเบยี บการทางานและการติดตอ่ กนั เพือ่ ให้พนกั งานและเจ้าหน้าท่ีฝ่ายตา่ ง ๆ ร่วมมือปฏิบตั ิงาน ไม่ทาให้งานซ้อนกนั เพือ่ ให้การปฏบิ ตั ิงานดาเนนิ ไปโดยรวดเร็ว ประหยดั และมีประสทิ ธิภาพ มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

ลักษณะของการประสานงาน1. เร่ืองที่เกี่ยวข้องกบั ความร่วมมือร่วมใจ2. เร่ืองที่เก่ียวกบั การจดั งานให้สอดคล้องกนั3. เร่ืองเก่ียวกบั เทคนิคการบริหาร มีต่อหนา้ ถดั ไป

วธิ ีการประสานงาน มีต่อหนา้ ถดั ไป

หลักสาคญั ในการประสานงาน

ขอบคณุ คะ่ !!

หน่วยท่ี 7 การควบคุม (Controlling)



ความหมายของการควบคุม• เป็ นกิจกรรมอย่างหน่ึงในการจดั การ และเป็ นกิจกรรมท่ีขาดเสยี มไิ ดเ้ พราะถา้ ไม่มีการควบคุมแลว้ งานอาจไม่สาเร็จได้ โดยมีการเปรียบเทียบว่า การ ควบคุมงานเปรียบเสมือนนายทา้ ยเรือจบั หางเสือใหเ้ รือไปตามจดุ หมาย หรือ การที่คนขบั รถจบั พวงมาลยั ใหร้ ถเล้ียวไปตามถนน การควบคุมจะเกย่ี วขอ้ ง กบั แผนงานอยา่ งใกลช้ ดิ

วตั ถปุ ระสงคใ์ นการควบคุม เพื่อใหง้ านมีมาตรฐาน เพ่ือป้ องกนั ทรพั ยส์ นิ และอุปกรณส์ านกั งาน เพื่อจงู ใจและกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานในหน่วยงาน เพื่อการตรวจสอบการบรหิ ารหน่วยงานในเรอื่ งตา่ ง ๆเพ่ือวดั ผลการปฏิบตั งิ านใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล

กระบวนการในการควบคมุ1. การพิจารณาวตั ถุประสงค์ (objectives)2. การกาหนดมาตรฐาน (standards)3. การวดั ผลงาน (measuring)4. การเปรยี บเทยี บ (comparing)5. การดาเนินการแกไ้ ข (correcting)

ความสาคญั ของการควบคุม• การควบคมุ เป็นสง่ิ จาเป็นและเป็นสงิ่ สรา้ งสรรคส์ งั คม• การควบคมุ เป็นสงิ่ ช้แี นวทางใหก้ บั พฤตกิ รรมของคน• ทาหนา้ ทช่ี ว่ ยช้บี อกปัญหาโดยเป็นเครอ่ื งมอื ในการวดั และตรวจสอบผลงาน อยา่ งสมา่ เสมอ• ระบบการควบคมุ ชว่ ยใหอ้ งคก์ ารสามารถแกไ้ ขปัญหา ความไมแ่ น่นอนที่ องคก์ ารทเ่ี ผชญิ อยไู่ ด้



ลกั ษณะของการควบคุมที่ดี1. การควบคมุ ควรจะตอ้ งประหยดั2. การควบคมุ จะตอ้ งสามารถถ่ายงานไดร้ วดเรว็3. การควบคมุ จะตอ้ งเนน้ ถึงสว่ นสาคญั ของผลงาน4. การควบคมุ จะตอ้ งสามารถเขา้ ใจงา่ ย5. การควบคมุ จะตอ้ งเป็นทยี่ อมรบั

ประโยชนข์ องการควบคุมที่ดี1.การควบคมุ ทาใหผ้ งั งานมมี าตรฐาน2.การควบคมุ ชว่ ยใหท้ รพั ยากรขององคก์ รไมต่ อ้ งสญู หาย3.การควบคมุ ชว่ ยรกั ษาสภาพงานใหต้ รงตามทกี่ าหนดไว้4.การควบคมุ ชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ ารสามารถใชว้ ธิ มี อบหมายงานไดม้ ากข้ึน5.การควบคมุ ชว่ ยใหอ้ งคก์ รสามารถวดั ประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั งิ าน6.การควบคมุ ชว่ ยใหเ้ ป็นเครอ่ื งมอื สาหรบั ผบู้ รหิ ารระดบั สูงสามารถนาแผนงานระดบั บรหิ ารเขา้ มาใชไ้ ด้

เครอื่ งมือในการควบคุม• 1.การควบคมุ โดยงบประมาณการควบคมุ โดยงบประมาณ คอื การควบคมุ เกี่ยวกบั ประมาณการรายไดแ้ ละประมาณการรายจา่ ยตามทก่ี าหนดไวใ้ นงบประมาณ มีหลายวธิ ี ดงั น้ี มีตอ่ หน้าถดั ไป

1.1 วธิ ีการควบคมุ โดยงบประมาณ1.2 การควบคมุ โดยใช้ PERT1.3 การควบคมุ โดยใชแ้ กนตช์ ารต์1.4 การควบคมุ โดยใชแ้ บบฟอรม์1.5 การควบคมุ โดยใชร้ ายงาน1.6 การใชก้ ลุม่ คณุ ภาพ (QCC) ในการควบคมุ งาน มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

1 วิธีการควบคุมโดยงบประมาณ• การควบคมุ โดยงบประมาณมวี ธิ ีการ และเครอ่ื งมอื ดาเนินการดงั น้ี งบประมาณการเงิน การวเิ คราะหอ์ ตั ราสว่ น การวเิ คราะหจ์ ดุ คมุ้ ทุน มีต่อหนา้ ถดั ไป

1.1 งบประมาณการเงนิงบประมาณการเงิน จะควบคมุ เก่ียวกบั สภาพคลอ่ งตวั ทางการเงิน และฐานะทางการเงินของกิจการ ไดแ้ ก่ 1.1 งบดุล 1.2 งบกาไรขาดทนุ 1.3งบกระแสเงนิ สด มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

1.2 การวิเคราะห์อตั ราสว่ นเป็นกระบวนการเปรยี บเทยี บการทางานขององคก์ าร ดว้ ยการอาศยั การทางานที่ผา่ นมาของคแู่ ขง่ ขนั วเิ คราะหส์ ง่ิ ทแี่ ตกตา่ งทางการเงินทส่ี าคญั คอื 2.1 อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ ง 2.2 อตั ราสว่ นหน้ีสนิ 2.3 อตั ราสว่ นในการทากาไร 2.4 ระบบการควบคมุ สนิ คา้ คงคลงั มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

1.3 การวิเคราะหจ์ ุดคุม้ ทุนคอื จดุ ทร่ี ายไดต้ ดั กบั จดุ ตน้ ทนุ เป็นการแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ใชจ้ า่ ยยอดขาย และกาไร การวเิ คราะหจ์ ดุ คมุ้ ทนุ เป็นเครอื่ งมือใชท้ งั้ ดา้ นการวางแผนและการควบคมุ งาน มีต่อหนา้ ถดั ไป

2. การควบคุมโดยใช้ PERT วธิ กี าร PERT ตงั้ อยบู่ นแนวความคดิ ทส่ี าคญั 2 ประการ คอื 2.1 แผนงานหรอื โครงการใดก็ตามมีตวั แปรเปลี่ยนอยู่ 3 ประการคอื เวลา ทรพั ยากรอน่ื ๆ และรายละเอยี ดของงาน มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

• 2.2 ขนั้ ตอนการดาเนินงานของ PERT - กาหนดวตั ถุประสงคข์ องโครงการใหแ้ น่ชดั - จดั ทาโครงรา่ งการจาแนกงาน - นางานทจ่ี าแนกไวเ้ รยี งลาดบั กิจกรรมใหส้ มั พนั ธก์ นั - ประมาณเวลาทงั้ 3 ประการ - ใหเ้ ลขรหสั แก่เหตุการณเ์ รยี งตามลาดบั - คานวณหาเวลาทคี่ าดหวงั วา่ กิจกรรมจะแลว้ เสรจ็ - กาหนดวถิ ีวกิ ฤต มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

3.การควบคุมโดยใชแ้ กนตช์ ารต์การควบคมุ โดยใชแ้ กนตช์ ารต์ ตารางแกนต์ เป็นเครอื่ งมอื ในการควบคมุ ซง่ึมีลกั ษณะเป็นตารางเสน้ ตรง กาหนดเวลาในอนาคตไวต้ ามแนวนอน มีต่อหนา้ ถดั ไป

4. การควบคุมโดยใชแ้ บบฟอรม์ การควบคมุ โดยการใชแ้ กนตช์ ารต์ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนเ์ พื่อเป็นแนวทางในการควบคมุ คาสง่ั ตา่ ง ๆ ใหไ้ ดร้ บั การปฏิบตั ติ าม และเพอื่ ใชใ้ นการสารวจงาน คา่ ใชจ้ า่ ยของงานนนั้ ๆ ตลอดจนเป็นหลกั ฐานในการประเมินผลงานของพนกั งานแตล่ ะคนดว้ ย มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

5.การควบคุมโดยใชร้ ายงานการควบคมุ โดยใชร้ ายงาน เป็นสง่ิ จาเป็นของผบู้ รหิ ารในการชว่ ยปรบั ปรุงและตดิ ตามการปฏิบตั งิ านของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา มีต่อหนา้ ถดั ไป

6.การใชก้ ล่มุ คณุ ภาพ (QCC) ในการควบคุมงานQCC หมายถึง พนกั งานกลุม่ เล็ก ๆ ซง่ึ สงั กดั ในหน่วยงานเดยี วกนั ประชุมปรกึ ษาหารอื กนั เป็นประจา มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

6.1 แนวความคดิ พ้นื ฐานของ QCC มีดงั น้ี• เพื่อใหท้ กุ คนมีสว่ นชว่ ยเหลือในการพฒั นา• เพื่อทจ่ี ะสรา้ งสรรคห์ น่วยงานในเป็นสถานที่• เพ่ือใหค้ วามสามารถของมนุษยไ์ ดถ้ กู แสดงใหอ้ อกมาอยา่ งเต็มท่ี มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

6.2กจิ กรรมกล่มุ 4 อย่าง • สมาชกิ ตอ้ งมารวมกลุม่ กนั • สมาชกิ เขา้ ใจซงึ่ กนั และกนั • สมาชกิ ตอ้ งทางานรว่ มกนั • สมาชกิ มีความสมั พนั ธก์ นั มีตอ่ หนา้ ถดั ไป

6.3 คุณสมบตั ิท่ีมีผลต่อความสาเรจ็ ของ QCC• ไดร้ บั เนน้ การสนบั สนุนโดยคณะทางาน• มกั ใหก้ ลุม่ พนกั งานรว่ มมือกนั เอง• เป็นทย่ี อมรบั จากการแสดงผลงาน• มีการฝึกอบรมหวั หนา้ งาน• มกี ารฝึกสอนหวั หนา้ งานสาหรบั พนกั งานกลุม่ เล็ก ๆ• เป็นกลุม่ การศึกษาอยา่ งอสิ ระดว้ ยตนเอง มีต่อหนา้ ถดั ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook