Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 3204-2006 วิเคราะห์และออกแบบระบบ

แผนจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 3204-2006 วิเคราะห์และออกแบบระบบ

Published by sopit.b, 2020-06-25 01:05:06

Description: จุดประสงค์ของการเรียนรู้
1.เข้าใจในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
2.มีทักษะในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธุรกิจ
3.มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ และเจตคติที่ดีในวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Keywords: วิเคราะห์และออกแบบระบบ,ออกแบบ,ระบบ,flowchart,dfd,system

Search

Read the Text Version

แผนการสอน/การเรียนรู้ฐานสมรรถนะวิชาชพี รหสั วชิ า 3204-2006 วิชา การวเิ คราะห์และออกระบบ สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ หลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง พุทธศักราช 2557 จดั ทาโดย นางสาวโสภติ บุญลาภ สาขาวชิ า คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาออมสินอุปถมั ภ์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้  เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้การสอนได้  เห็นควรปรับปรุงเกี่ยวกับ ………………………………………………. ลงชอื่ .................................................. () หวั หนา้ หมวด / แผนกวชิ า //  ควรอนญุ าตให้นาไปใชส้ อนได้  ควรปรบั ปรุงเกย่ี วกับ.  อ่นื ๆ ลงชอื่ ............................................................. () รองผ้อู านวยการฝ่ายวิชาการ //  อนญุ าตให้นาไปใช้สอนได้  อืน่ ๆ ลงชื่อ................................................... ) (

ผู้อานวยการ / / ลักษณะรายวิชา รหัสและชื่อวิชา การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ หนว่ ยกติ 3 เวลาเรยี นตอ่ ภาค 18 ชว่ั โมง รายวชิ าตามหลกั สูตร จุดประสงคร์ ายวชิ า 1. เข้าใจในการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 2. มที ักษะในการวเิ คราะห์และออกแบบระบบงานธรุ กจิ 3. มคี ุณลกั ษณะนสิ ยั ที่พงึ ประสงค์ และเจตคตทิ ่ีดใี นวิชาชีพคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศธรุ กิจ 2. วเิ คราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางธรุ กจิ ตามหลกั การวอเคราะห์และออกแบบระบบ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฎบิ ัตเิ กย่ี วกับหลกั การวิเคราะห์และออกแบบระบบ วงจรการพฒั นาระบบการ บรหิ ารโครงการเครื่องมือสนับสนุนการพฒั นาระบบ แบบจาลองของระบบงาน การออกแบบระบบการ ออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบผลลพั ธ์ การออกแบบสว่ นตดิ ตอ่ ผใู้ ช้ กรณีศกึ ษา

สมรรถนะวิชาชีพ ลาดบั ที่ หน่วยท/่ี ชอื่ หนว่ ย สมรรถนะ เวลา สปั ดาหท์ ่ี (กรยิ า+กรรม+เง่อื นไข) 1 ความเข้าใจเก่ียวกับระบบ 1.สามารถแสดงความรู้เกย่ี วกับระบบสารสนเทศได้ 3 2.สามารถอธบิ ายหลกั การของธรุ กิจได้ 2 ความเขา้ ใจพน้ื ฐานของการ 1.อธบิ ายภาพรวมของการพฒั นาระบบได้ 3 พัฒนาระบบ 2.แสดงวิธกี ารพฒั นาระบบได้ 3.สารวจระบบ 4.อธิบายวงวจรพฒั นาระบบ 3 นกั วิเคราะหร์ ะบบและการ 1. อธิบายความเปน็ นักวิเคราะห์ระบบได้ 3 พฒั นาระบบ 2. บอกถงึ คุณสมบัตนิ ักวเิ คราะห์ระบบ 3. มีความสามารถในการวเิ คราะห์ระบบ 4. อธิบายเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวิเคราะหร์ ะบบ 4 การศกึ ษาระบบงาน 1.อธิบายขน้ั ตอนการศกึ ษาระบบ 3 2.บอกถึงแนวทางรวบรวมข้อมูลเพ่ือการศึกษา ระบบ 3.รวบรวมแหลง่ ขอ้ มลู เพอื่ การศกึ ษาระบบงาน

5 การศึกษาความเป็นไปได้ 1.มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความหมาย 3 3 6 การสร้างแบบสอบถามขอ้ มลู 1.แสดงความรู้เกย่ี วกับการสร้างแบบสอบถาม 3 ขอ้ มลู ด้วยโปรแกรม Microsoft Access 2010 2.สามารถแบบสอบถามขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรม Microsoft Access 2010 7 การสร้างฟอร์ม 1.แสดงความรู้เกี่ยวกับฟอร์มในโปรแกรม Microsoft Access 2010 2.สามารถสรา้ งฟอร์มตามแบบท่ีกาหนดโดยใช้ โปรแกรม Microsoft Access 2010 3.บอกความหมาย เคร่ืองมือของฟอร์มได้ ลาดบั ที่ หน่วยที่/ช่ือหนว่ ย สมรรถนะ เวลา 8 (กรยิ า+กรรม+เงอื่ นไข) การสร้างรายงาน 3 9 1.แสดงความร้เู กย่ี วกับการสร้างรายงาน การใช้งานแมโครและโมดูล 2.สามารถสรา้ งรายงานระบบฐานข้อมูลโดยใช้ 3 10 โปรแกรม Microsoft Access 2010 การประยุกตใ์ ช้งานฐานข้อมูล 1.แสดงความรู้เก่ยี วกับแมโครและโมดู 3 ใน Access 2010 2.สามารถสร้างแมโครเพื่อตดิ ต่อกับฟอร์มในการ บันทกึ และยกเลกิ ข้อมลู 1.สามารถประยุกต์ใช้งานระบบฐานข้อมลู ดว้ ย โปรแกรม Microsoft Access 2010 2.สร้างฟอร์มเพ่ือใชง้ านในระบบได้ 3.กาหนดใหเ้ ปดิ ฟอร์มเพื่อไฟลข์ อ้ มูลในระบบ

ตารางการออกแบบการเรียนรรู้ ายวิชาเพ่อื ว หนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทั่วไป หัวขอ้ กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีวดั ผล-ประเมนิ ผล ช้ินงาน/โครงการ (เขยี นข้นึ ต้นดว้ ยคากรยิ า) /โครงงานสาคญั 1.ความรเู้ บอ้ื งตน้ เพอ่ื ให้มีความรู้ 1.อธิบายความหมาย 1.สังเกตขณะเรียน เกย่ี วกบั ระบบ เบอ้ื งต้นเกย่ี วกบั ของระบบฐานข้อมูล 2.ประเมนิ แบบทดสอบ ฐานข้อมลู ฐานข้อมูล 2.แสดงโครงสรา้ ง 3.ประเมินพฤตกิ รรม ฐานข้อมูล ตามคา่ นิยมหลักของคน 3.อธบิ ายคาศัพท์ ไทย 12 ประการ พื้นฐานที่เกยี่ วกับ ฐานข้อมูล 4.บอกประโยชนข์ อง ฐานขอ้ มลู 5.มอบแบบฝึกหดั

วดั และประเมินผลการเรียนรตู้ ามสภาพจริง การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ คะแนนเก็บระหวา่ งภาค สอบปลาย 70 คะแนน ภาค ( จานวนคร้งั ท่ปี ระเมนิ ) 30 การ ้บาน/กิจกรรม 20 ช้ินงาน/โครงการ 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 ) เครอ่ื งมือ จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง ัสปดา ์ห ี่ท 1.แบบสงั เกตขณะ 4 2 4 4 6 20 3 1-3 บ เรียน 2.แบบทดสอบ น 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามคา่ นยิ ม หลักของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรยี นรรู้ ายวชิ าเพอ่ื ว หนว่ ยการเรียนรู้ จุดประสงค์ทัว่ ไป หวั ขอ้ กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ ีวัดผล-ประเมนิ ผล ช้ินงาน/โครงการ (เขียนขน้ึ ต้นดว้ ยคากรยิ า) /โครงงานสาคญั 2.การวิเคราห์ แสดงความรู้เกี่ยวกับ 1.อธิบายความสามารถ 1.สังเกตขณะเรยี น และออกแบบ ฐานขอ้ มลู การวิเคราะห์และ ของโปรแกรม 2.ประเมนิ แบบทดสอบ ออกแบบฐานข้อมลู 2.อธิบา 3.ประเมินพฤตกิ รรม รวมไปถึงปฏิบัติการ 3.อธบิ ายขั้นตอนในการ ตามคา่ นิยมหลักของคน ออกแบบตารางเก็บ ออกแบบฐานข้อมูล ไทย 12 ประการ ข้อมูลด้วยโปรแกรม 4.อธิบายการจดั ข้อมลู ให้ จัดการฐานข้อมลู อยใู่ นรูปแบบบรรทัดฐาน 5.สามารถบอก ความสัมพนั ธ์ของรเี ลช้ัน 6.มอบแบบฝึกหดั

วดั และประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจริง การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ คะแนนเก็บระหวา่ งภาค สอบปลาย 70 คะแนน ภาค ( จานวนครงั้ ท่ปี ระเมนิ ) 30 การ ้บาน/กิจกรรม 20 ช้ินงาน/โครงการ 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 ) เครอ่ื งมอื จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ชั่วโมง สัปดา ์หท่ี 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 3 4-5 บ เรยี น 2.แบบทดสอบ น 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามคา่ นยิ ม หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพื่อว หนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป หัวขอ้ กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ีวดั ผล-ประเม ชน้ิ งาน/โครงการ (เขียนขน้ึ ตน้ ดว้ ยค /โครงงานสาคัญ 3.แนะนาโปรแกรม แสดงความรู้เกี่ยวกับ 1.อธิบายความหมายของ 1.สงั เกตขณะเรยี Microsoft Access โปรแกรม Microsoft โปรแกรม Microsoft 2.ประเมนิ แบบฝ 2010 Access 2010 และใช้ Access 2010 3.ประเมนิ พฤติก งานโปรแกรม เบ้ืองต้น 2.ยกตวั อย่างคุณสมบัติ ตามคา่ นยิ มหลักข ได้ ของโปรแกรม Microsoft ไทย 12 ประการ Access 2010 3.ปฏบิ ัตกิ ารสร้าง ฐานข้อมูลโดยใช้ Template 4.สร้างฐานข้อมูลเปล่า 5.ปิดฐานข้อมลู 6.มอบแบบฝึกหดั

วดั และประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง คะแนนเก็บระหว่างภาค สอบ 70 คะแนน ปลาย ภาค ( จานวนครั้งท่ปี ระเมิน ) การ ้บาน/กิจกรรม 20 30 ช้ินงาน/โครงการ 10 มนิ ผล เครอื่ งมือ สอบกลางภาค 20 คะแนน คากริยา) จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง ัสปดา ์ห ี่ท ยน 1.แบบสงั เกตขณะ 4 2 4 4 6 20 3 6 ฝึกหัด เรยี น กรรม 2.แบบทดสอบ ของคน 3.แบบประเมนิ ร พฤติกรรมตามค่านยิ ม หลักของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรียนร้รู ายวิชาเพ่ือว หนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ วั่ ไป หัวข้อกจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ วี ดั ผล-ประเมินผล ช้ินงาน/โครงการ (เขียนขน้ึ ตน้ ดว้ ยคากรยิ า) /โครงงานสาคัญ 4.การสร้างและ เพอื่ ใหม้ ีความรู้ 1.ปฏิบัติสร้างตารางใน 1.สงั เกตขณะเรยี น ใช้งานตาราง เกย่ี วกบั การสร้าง และใช้งานตาราง โปรแกรม Microsoft 2.ประเมนิ แบบฝึกหีด โปรแกรม Microsoft Access Access 2010 3.ประเมนิ พฤตกิ รรม 2010 2.อธิบายมมุ มองท่ีใชใ้ น ตามคา่ นยิ มหลักของคน การออกแบบตาราง ไทย 12 ประการ Microsoft Access 2010 3.อธบิ ายการกาหนด คีย์หลกั ให้กบั ตาราง 4.การบันทึกตาราง 5.มอบแบบฝึกหดั

วดั และประเมินผลการเรยี นร้ตู ามสภาพจริง การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค สอบปลาย 70 คะแนน ภาค ( จานวนคร้ังท่ปี ระเมนิ ) 30 การบ้าน/กิจกรรม 20 ช้ินงาน/โครงการ 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 เคร่ืองมอื จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 7-8 เรยี น 2.แบบฝกึ หัด 3.แบบประเมนิ 4.แบบประเมิน พฤติกรรมตามคา่ นิยม หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรยี นรูร้ ายวิชาเพ่ือว หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป หวั ขอ้ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีวดั ผล-ประเมินผล ช้ินงาน/โครงการ (เขยี นขน้ึ ตน้ ด้วยคากรยิ า) /โครงงานสาคัญ 5.ตารางใน เพื่อให้สามารถสร้าง 1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับ 1.สงั เกตขณะเรยี น มุมมองแผ่น แ ล ะใช้ งาน ร ะบ บ มุมมองแผน่ ตารางข้อมลู 2.ประเมินแบบฝึกหีด ตาราง ฐ าน ข้ อ มู ล โด ย ใช้ ใน Access 2010 3.ประเมนิ พฤติกรรม โ ป ร แ ก ร ม 2.สามารถใชเครื่องมือ ตามคา่ นยิ มหลักของคน Microsoft Access ในการจดั การกบั ตาราง ไทย 12 ประการ 2010 3.จดั รูปแบบขอ้ มลู ใน ตาราง 4.คานวณขอ้ มลู ท่เี กบ็ ในตาราง 5.มอบแบบฝึกหัด

วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ตามสภาพจริง การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง คะแนนเก็บระหวา่ งภาค สอบปลาย 70 คะแนน ภาค ( จานวนคร้ังทีป่ ระเมิน ) 30 การ ้บาน/กิจกรรม 20 ช้ินงาน/โครงการ 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 เครื่องมือ จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 9-11 เรียน 2.แบบฝกึ หัด 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามคา่ นยิ ม หลักของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรยี นรู้รายวิชาเพ่ือว หนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป หวั ข้อกิจกรรมการเรียนรู้ วธิ วี ัดผล-ประเมินผล ชน้ิ งาน/โครงการ (เขยี นขึ้นต้นด้วยคากรยิ า) /โครงงานสาคัญ 6.การสรา้ ง เพื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ 1.แสดงความรเู้ กีย่ วกับ 1.สงั เกตขณะเรยี น แบบสอบถาม 2.ประเมินแบบฝึกหีด ข้อมูล เก่ียวกับ การสร้าง แบบสอบถามขอ้ มลู 3.ประเมินพฤตกิ รรม แบบสอบถามข้อมูล (Query) ตามค่านยิ มหลักของคน ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม 2.อภปิ รายและรว่ มกนั ไทย 12 ประการ Access 2010 แ ล ะ บอกประเภทของ สร้างแบบสอบถาม แบบสอบถาม 3.สร้างแบบสอบถาม ข้อมูลได้ ข้อมลู (Query) 4.สร้างแบบสอบถาม ขอ้ มลู ดว้ ย (Query Design,Query Wizard) 5.สรา้ งแบบสอบถาม ขอ้ มลู ดว้ ยคาสั่ง SQL

วดั และประเมินผลการเรียนรตู้ ามสภาพจริง การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง คะแนนเก็บระหว่างภาค สอบปลาย 70 คะแนน ภาค ( จานวนครัง้ ท่ปี ระเมิน ) 30 การ ้บาน/กิจกรรม 20 ช้ินงาน/โครงการ 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 เครอื่ งมือ จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสงั เกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 12 เรยี น 2.แบบฝึกหดั 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามค่านยิ ม หลักของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพอ่ื ว หนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทวั่ ไป หัวขอ้ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล ช้นิ งาน/โครงการ (เขียนขน้ึ ตน้ ดว้ ยคากรยิ า /โครงงานสาคัญ 7.การสร้างฟอร์ม เพ่ื อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ 1.อธิบายความหมายของ 1.สังเกตขณะเรยี น เก่ี ย ว กั บ ฟ อ ร์ม ใน (Form) 2.ประเมนิ แบบฝึกหีด โ ป ร แ ก ร ม 2.อธบิ ายสว่ นประกอบ 3.ประเมนิ พฤตกิ รรม Microsoft access ของฟอร์ม (Form) ตามค่านยิ มหลักของค 2010 แ ล ะ ส ร้ า ง 3.สรา้ งฟอรม์ โดยใช้ ไทย 12 ประการ ฟ อ ร์ม ต าม แ บ บ ท่ี เคร่อื งมอื (Form) กาหนดได้ 4.ปรบั แต่งฟอร์มดว้ ย เคร่อื งมือตา่ งๆ 5.สรา้ งฟอรม์ แบบ แผนภูมิ 6.สร้างฟอรม์ แบบตาราง สรุปขอ้ มลู หลายมิติ

วัดและประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจริง การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ คะแนนเก็บระหว่างภาค สอบ 70 คะแนน ปลาย ภาค ( จานวนครงั้ ท่ปี ระเมิน ) การ ้บาน/กิจกรรม 20 30 ช้ินงาน/โครงการ 10 ล เครอ่ื งมือ สอบกลางภาค 20 คะแนน า) จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสงั เกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 13-14 เรยี น 2.แบบฝึกหัด คน 3.แบบประเมนิ พฤติกรรมตามค่านิยม หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรยี นรูร้ ายวิชาเพอ่ื ว หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป หัวข้อกิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล ชิน้ งาน/โครงการ (เขยี นขึ้นตน้ ด้วยคากรยิ า /โครงงานสาคัญ 8.การสร้าง เพ่ื อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ 1.อธบิ ายขอ้ มลู เกี่ยวกบั 1.สงั เกตขณะเรยี น รายงาน เกี่ยวกับ การสร้าง รายงาน 2.ประเมนิ แบบฝึกหีด รายงาน และสร้าง 2.อธิบายส่วยประกอบ 3.ประเมินพฤติกรรม ร า ย ง า น ร ะ บ บ ของรายงาน ตามคา่ นยิ มหลักของค ฐานข้อมูล โดยใช้ 3.สร้างรายงานอยา่ งงา่ ย ไทย 12 ประการ โป รแกรม Access ด้วยเคร่ืองมือ Report 2010 4.สรา้ งรายงานด้วย รปู แบบตา่ งๆ 5.มอบฝึกหัด

วัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามสภาพจริง การวดั และประเมินผลตามสภาพจริง คะแนนเกบ็ ระหวา่ งภาค สอบ 70 คะแนน ปลาย ภาค ( จานวนคร้ังที่ประเมนิ ) การ ้บาน/กิจกรรม 20 30 ช้ินงาน/โครงการ 10 ล เครอ่ื งมือ สอบกลางภาค 20 คะแนน า) จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 15 เรยี น 2.แบบฝกึ หดั คน 3.แบบประเมนิ พฤติกรรมตามคา่ นิยม หลักของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรียนร้รู ายวิชาเพอ่ื ว หนว่ ยการเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป หวั ข้อกิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล ชิ้นงาน/โครงการ (เขียนขึน้ ต้นด้วยคากรยิ า /โครงงานสาคัญ 9.การใชง้ าน 1.เพ่ื อให้ มีความ รู้ 1.อธบิ ายเกีย่ วกับแมโคร 1.สังเกตขณะเรยี น แมโครและโมดูล เก่ียวกับแมโครและ (Macro) 2.ประเมนิ แบบฝึกหีด โมดู 2.ใช้งานคาส่ังแมโคร 3.ประเมนิ พฤติกรรม 2.สร้างแมโครเพื่อ 3.สร้างแมโครเพ่ือใช้งาน ตามค่านิยมหลักของค ติดต่อกับฟอร์มใน 4.แกไ้ ขแมโคร ไทย 12 ประการ ก า ร บั น ทึ ก แ ล ะ 5.สร้างโมดูลเพอื่ ใช้งาน ยกเลกิ ข้อมุล 6.สร้างโปรแกรมยอ่ ยเพ่ือ ใช้งานร่วมกับฟอรม์ 7.มอบแบบฝึกหัด

วัดและประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค สอบ 70 คะแนน ปลาย ( จานวนคร้ังที่ประเมนิ ) ภาค การบ้าน/กิจกรรม 20 30 ช้ินงาน/โครงการ 10 ล เครอ่ื งมอื สอบกลางภาค 20คะแนน า) จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 3 16-17 เรยี น 2.แบบฝกึ หัด คน 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามค่านิยม หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางการออกแบบการเรยี นรู้รายวิชาเพอ่ื ว หน่วยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทวั่ ไป หวั ขอ้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธวี ดั ผล-ประเมนิ ผล ชิน้ งาน/โครงการ (เขยี นขึน้ ตน้ ดว้ ยคากรยิ า /โครงงานสาคญั 10.กาประยุกต์ใช้ เพ่ือให้ประยุกต์ใช้ 1.ออกแบบตารางเก็บ 1.สงั เกตขณะเรียน งานฐานข้อมลู ใน งานระบบฐานข้อมูล ข้อมลู ในระบบ 2.ประเมินแบบฝึกหีด Access 2010 ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม 2.สรา้ งฐานขอ้ มูลและ 3.ประเมนิ พฤตกิ รรม ตามค่านยิ มหลักของค Access 2010 ตารางเพื่อใชง้ าน ไทย 12 ประการ 3.สรา้ งฟอร์มเพ่ือใช้งาน ในระบบ 4.สร้างรายงานสรุป ผลตา่ งๆ ในระบบ 5.เรียกใช้รายงานผา่ น ฟอรม์ 6.มอบแบบฝึกหัด

วัดและประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง คะแนนเกบ็ ระหวา่ งภาค สอบ 70 คะแนน ปลาย ภาค ( จานวนคร้ังที่ประเมนิ ) การ ้บาน/กิจกรรม 20 30 ช้ินงาน/โครงการ 10 ล เครอ่ื งมอื สอบกลางภาค 20 คะแนน า) จิต ิพสัย 20 สอบปลายภาค รวมประเ ิมนคะแนนเก็บ/สอบ(ครั้ง) ช่ัวโมง สัปดา ์ห ี่ท 1.แบบสังเกตขณะ 4 2 4 4 6 20 16 18 เรยี น 2.แบบฝกึ หัด คน 3.แบบประเมิน พฤติกรรมตามค่านิยม หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร รหสั 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมลู หนว่ ยกิต 3 ระดับชน้ั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกจิ พทุ ธพิ ิสยั ความรู้ ชือ่ หน่วย ความเ ้ขาใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเ ิมนค่า ทักษะพิสัย ิจตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญ จานวนคาบ 1.ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู   - - - - -  3 3 16 2.การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบฐานขอ้ มลู     - - -  5 2 12 3.แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010     - - -  5 1 12 4.การสรา้ งและใช้งานตาราง     - - -  5 2 12 5.ตารางในมมุ มองแผ่นตารางขอ้ มลู     - - -  5 1 16 6.การสร้างแบบสอบถาม   - - - - -  3 3 16 7.การสร้างฟอรม์     - - -  5 2 12 8.การสร้างรายงาน     - - -  5 1 12 9.การใช้งานแมโครและดูล     - - -  5 2 12 10.การประยุกตใ์ ชง้ าน Microsoft Access 2010     - - -  5 1 16 5 5 4 4 ---5 รวม ลาดับความสาคญั 1 1 2 2 ---3

เกณฑ์การวัดและประเมินผลวชิ า โปรแกรมจัดการฐานขอ้ มูล การวดั และประเมนิ ผลรายวชิ าโปรแกรมจดั การฐานข้อมูล หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ 2556 ไดก้ าหนดให้ใช้สดั สว่ นของคะแนนระหว่างภาคต่อคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเทา่ กับ 70 : 30 ซึง่ มี รายละเอียดดังนี้ 1.จติ พิสัย 10 คะแนน 2. คะแนนระหว่างภาค 60 คะแนน ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกบั ระบบฐานขอ้ มูล 10 คะแนน การวเิ คราะห์และออกแบบฐานขอ้ มลู 10 คะแนน ทดสอบโปรแกรม 10 คะแนน การสรา้ งและใชง้ านตาราง 20 คะแนน ตารางในมมุ มองแผ่นตาราง 10 คะแนน 3. คะแนนสอบ 30 คะแนน การสร้างแบบสอบถามขอ้ มูล 5 คะแนน การสรา้ งฟอร์ม 5 คะแนน การสร้างรายงาน 5 คะแนน การใช้งานแมโครและโมดูล 5 คะแนน การประยกุ ตใ์ ช้งานฐานขอ้ มลู ใน Access 10 คะแนน 4. เกณฑ์การประเมินผล 4 3.5 ใชเ้ กณฑ์การประเมนิ แบบองิ เกณฑ์ มีระดบั ดงั น้ี 3 2.5 80 - 100 คะแนน ได้ระดับคะแนน 2 1.5 75 - 79 คะแนน ไดร้ ะดับคะแนน 1 0 70 - 74 คะแนน ไดร้ ะดับคะแนน 65 - 69 คะแนน ได้ระดบั คะแนน 60 - 64 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 55 - 59 คะแนน ไดร้ ะดบั คะแนน 50 - 54 คะแนน ได้ระดบั คะแนน 0 - 49 คะแนน ได้ระดบั คะแนน

แผนการจัดการเรียนรหู้ น่วยที่ 1 จานวน 18 ช่วั โมง รหสั 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมูล หนว่ ยกติ 3 ชอ่ื หน่วย ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั ระบบฐานข้อมูล 1. สาระสาคญั ฐานข้อมูล(Database) คือ การรวบรวมแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กันมาจัดเก็บอย่าง เป็นระบบเพ่ือความสะดวกในการบริหารจัดการฐานข้อมูล โดยระบบฐานข้อมูลนั้นมีความสาคัญในปัจจุบัน มาก เน่ืองจากข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ มีจานวนมาก ดังนั้นจึงต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ บรหิ ารจดั การระบบฐานข้อมูล เพ่ือท่ีจะสามารถลดความซา้ ซ้อนของข้อมูลและสามารถเพิม่ ความปลอดภยั ใน การเข้าถงึ ข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู เขา้ มาช่วยบรหิ ารจัดการระบบให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น 2. สมรรถนะการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง แสดงความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกบั ระบบฐานข้อมลู 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของระบบฐานขอ้ มลู 2. บอกโครงสรา้ งของระบบฐานขอ้ มลู 3. อธบิ ายคาศัพทพ์ ื้นฐานท่เี กี่ยวกบั ระบบฐานข้อมลู 4. บอกประโยชน์ของฐานข้อมลู 5. อธิบายเก่ยี วกับระบบจดั การฐานขอ้ มลู 6. บอกโปรแกรมฐานขอ้ มูลที่นิยมใชใ้ นปจั จุบัน 4. คณุ ธรรม/จรรยาบรรณวิชาชพี ( Profession Ethic ) ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผอู้ น่ื เผอื่ แผ่และแบ่งปัน 4. คานึงถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตน

ตารางวิเคราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงคก์ ารสอน 2 เงอ่ื นไข หนว่ ยที่ 1 ความรู้ คุณธรรม เรอ่ื ง ความรูเ้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมลู พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1. ความหมายของระบบฐานข้อมลู  8 2 2. โครงสร้างของระบบฐานข้อมลู 3.คาศพั ทพ์ น้ื ฐานทีเ่ กีย่ วกับระบบฐานข้อมูล  8 3 4.ประโยชน์ของฐานข้อมลู 5.ระบบจดั การฐานข้อมูล  9 1 6.โปรแกรมฐานขอ้ มูลทีน่ ยิ มใชใ้ นปัจจุบัน  8 2 รวม  8 3 ลาดบั ความสาคัญ  9 1 1 3 23 3 3 3 3 3 1 3131111112

แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเก่ียวกบั ระบบฐานขอ้ มูล ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่ีสุดเพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีกลา่ วถูกต้องเกี่ยวกับ แอททรบิ วิ ต์ ( Attribute) ค. รายละเอยี ด ข้อมูลทแี่ สดงคณุ ลักษณะและคณุ สมบัตขิ องเอนทิต้หี นึง่ ๆ 2. ขอ้ ใดตอ่ ไปนมี้ หี นว่ ยจดั เก็บข้อมูลท่ใี หญ่ทีส่ ดุ ง.Entity 3. หนว่ ยของข้อมลู ที่เกดิ จากการนาบิต ( Bit) มารวมกันคือข้อใด ค.Field 4. วทิ ยาลัยแห่งหนึง่ กาหนดกฎเกณฑเ์ อาไว้ว่า นักศกึ ษากลมุ่ หนึง่ มีครทู ่ีปรึกษาได้หลายคน ครทู ี่ ปรกึ ษาแต่ละดูแลนักศึกษาหลายคนเปน็ ความสัมพนั ธ์แบบใด ข.One to many Relationship 5. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชน์ของการประมวลผลข้อมลู ก.สามารถเก็บข้อมูลชนดิ เดยี วกันไวห้ ลาย ๆ ท่ไี ด้ 6. ข้อใดไม่ใช่หนา้ ทข่ี องระบบจัดการฐานข้อมูล ค. กาหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อเครอื ข่ายข้อมูล จากรปู จงตอบคาถามข้อท่ี 7-10 EMPLOYEES Emp_id First_name Last_name Salary Dep_id 00001 วินยั ใจทองคา 15000 01 00002 ลาไย งามนัก 15000 01 00003 นา้ มนต์ มเี งิน 15000 02 7.จากตาราง Employees ข้อใดต่อไปนที้ าหน้าทีเ่ ปน็ คยี ์หลกั ( Primary key) ค. Emp_id 8. จากตาราง Employees ข้อใดทาหน้าที่เปน็ คีย์นอก (Foreign key) ข. Dep_id 9. ขอ้ ใดให้ความหมายของ คีย์นอก ( Foreign key) ไดถ้ ูกตอ้ งท่ีสดุ ก. คยี ์ทีท่ าหน้าท่ีเป็นคีย์หลักอกี ตารางหน่งึ และทาหน้าทเ่ี ป็นคยี ผ์ สมในอีกตารางหนง่ึ 10. ข้อใดต่อไปนี้ใหค้ วามหมายของคยี ์ คีย์ผสม ( Composite Key) ง. คีย์ท่เี กิดจากการนาเอาข้อมูลในแอทรบิ ิวตม์ าประกอบกันเพ่ืออา้ งองิ ข้อมูลในระเบยี นนัน้

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกับระบบฐานข้อมูล ความรูพ้ ื้นฐานเก่ียวกับระบบฐานขอ้ มลู ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศท่ีประกอบด้วยรายละเอียด ของขอ้ มูลทเี่ กย่ี วขอ้ งกันทจี่ ะนามาใชใ้ นระบบตา่ ง ๆ รว่ มกัน ระบบฐานขอ้ มูล จึงนับว่าเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ซ่ึงผใู้ ช้สามารถจัดการกับข้อมูลได้ในลักษณะ ต่าง ๆ ท้ังการเพ่ิม การแก้ไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูข้อมลู ซึ่งสว่ นใหญ่จะเป็นการประยกุ ต์นาเอาระบบ คอมพิวเตอรเ์ ขา้ มาช่วยในการจดั การฐานข้อมลู นิยามและคาศพั ท์พ้ืนฐานเก่ียวกบั ระบบฐานขอ้ มลู บทิ (Bit) หมายถงึ หน่วยของขอ้ มูลท่ีมีขนาดเลก็ ทส่ี ุด ไบท์ (Byte) หมายถงึ หนว่ ยของข้อมูลที่กิดจากการนาบิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ (Character) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบข้ึนจากตัวอักขระต้ังแตห่ นึ่งตวั ขึน้ ไปมารวมกันแล้วได้ ความหมายของสงิ่ ใดส่งิ หนึง่ เช่น ชอ่ื ที่อยู่ เป็นต้น ระเบียน (Record) หมายถึง หนว่ ยของข้อมลู ท่เี กิดจากการนเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมลู มารวมกนั เพ่ือ เกิดเป็นข้อมลู เร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของนักศึกษา 1 ระเบยี น (1 คน) จะประกอบด้วย รหัสประจาตวั นักศึกษา 1 เขตขอ้ มลู ชอ่ื นกั ศึกษา 1 เขตข้อมูล ทอ่ี ยู่ 1 เขตข้อมลู แฟ้มข้อมูล (File) หมายถงึ หน่วยของข้อมูลท่เี กิดจากการนาข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนทเ่ี ป็นเรอ่ื งเดยี วกันมา รวมกนั เช่น แฟ้มข้อมลู นักศกึ ษา แฟ้มข้อมลู ลูกค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน ส่วนในระบบฐานขอ้ มูล มคี าศัพทต์ า่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งดังนี้ เอนทติ ี้ (Entity) หมายถึง ช่ือของสงิ่ ใดส่ิงหนึ่ง ได้แก่ คน สถานที่ สงิ่ ของ การกระทา ซึ่งตอ้ งการ จดั เกบ็ ข้อมลู ไว้ เช่น เอนทติ ้ีลูกค้า เอนทติ ้ีพนักงาน - เอนทิตี้ชนิดอ่อนแอ (Weak Entity) เป็นเอนทติ ี้ที่ไม่มีความหมาย หากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมลู แอททริบิวต์(Attribute) หมายถงึ รายละเอยี ดข้อมลู ทแ่ี สดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทติ ห้ี นึ่ง ๆ เช่น เอนทติ ้ีนักศึกษา ประกอบดว้ ย - แอทรบิ ิวต์รหัสนกั ศึกษา - แอททริบวิ ต์ชอ่ื นักศึกษา - แอททริบวิ ตท์ ี่อยูน่ ักศึกษา

ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิต้นี ักศึกษาและเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลกั ษณะว่า นักศกึ ษาแตล่ ะคนเรียนอยคู่ ณะวิชาใดคณะวิชาหนงึ่ ในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทติ ี้ เราจะใช้หัวลกู ศรเพ่ือแสดงความสัมพันธ์ ดังตัวอยา่ งในรูป ต่อไปนี้ รูปที่ 1.1 คณะวิชา ß ----------à à นักศกึ ษา (คณะวชิ ามีความสัมพนั ธ์กบั นกั ศึกษา) ในการระบุความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิต้ี จะกาหนดโดยใช้หัวลูกศร และหากพิจารณาความสัมพันธ์จาก เอนทิตนี้ ักศกึ ษาไปยังเอนทติ ้คี ณะวิชา อาจจะกาหนดความสมั พนั ธไ์ ดด้ งั น้ี รปู ท่ี 1.2 คณะวิชา ----------------à นักศึกษา (นกั ศกึ ษาสงั กัดอยคู่ ณะวชิ า) และหากพจิ ารณาความสัมพนั ธจ์ ากเอนทติ ค้ี ณะวชิ าไปยังเอนทิตน้ี กั ศกึ ษา อาจกาหนดความสมั พนั ธไ์ ดด้ ังน้ี รปู ท่ี 1.3 คณะวชิ า --------------à à นักศกึ ษา (คณะวิชาประกอบดว้ ยนักศกึ ษา) จากรูปที่ 1.2 จะเห็นได้ว่า นักศึกษา 1 คนจะสามารถสังกัดอยู่ได้เพียง 1 คณะวิชา แต่จากรูปท่ี 1.3 จะเห็น ได้วา่ 1 คณะวชิ าสามารถประกอบด้วยนักศึกษาหลาย ๆ คน ความสมั พันธ์ระหว่างเอนทติ ้ี แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลใน เอนทติ ห้ี นงึ่ ทมี่ ีความสัมพนั ธ์กับข้อมลู ในอีกเอนทติ ี้หนง่ึ ในลักษณะหนึ่งตอ่ หน่งึ (1 : 1) 2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เปน็ การแสดงความสมั พันธข์ องข้อมูลใน เอนทติ ้ีหนงึ่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กับขอ้ มลู หลาย ๆ ข้อมลู ในอีกเอนทติ หี้ นงึ่ ในลกั ษณะ (1:m) ตวั อย่างเชน่ 3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล สองเอนทิตใี้ นลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (m:n) เอนทิต้ีใบส่ังซื้อแต่ละใบจะสามารถส่ังสินค้าได้มากกว่าหนงึ่ ชนิด ความสัมพันธ์ของข้อมลู จากเอนทิต้ีใบส่ังซื้อ ไปยังเอนทิตี้สินค้า จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุม่ (1:m) ในขณะท่ีสินคา้ แต่ละชนิด จะถูกสงั่ อยู่ในใบสั่งซือ้ หลายใบ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจากเอนทิต้ีสินค้าไปยังอินทิต้ีใบส่ังซื้อ จึงเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1:n) ดังน้ัน ความสมั พนั ธข์ องเอนทิตี้ทงั้ สอง จงึ เป็นแบบกลุ่มตอ่ กลุ่ม (m:n) จากคาศัพท์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับระบบฐานข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงอาจให้นิยามของฐานข้อมูลใน อีกลักษณะได้ว่า “ฐานข้อมูล” อาจหมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยหลาย ๆ เอนทิตี้ที่มี ความสัมพันธก์ นั ความสาคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานขอ้ มูล จากการจัดเกบ็ ขอ้ มูลรวมเปน็ ฐานข้อมลู จะก่อใหเ้ กิดประโยชนด์ งั น้ี 1. สามารถลดความซ้าซอ้ นของข้อมลู ได้

การเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ท่ี ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนาข้อมูลมารวม เก็บไว้ในฐานข้อมูล จะชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้าซ้อนได้ เน่ืองจากระบบจัดการ ฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาวา่ มีขอ้ มูลซ้าซอ้ นกนั อยู่ที่ใดบา้ ง 2. หลีกเลย่ี งความขัดแย้งของขอ้ มลู ได้ หากมีการเก็บขอ้ มูลชนิดเดียวกนั ไว้หลาย ๆ ท่ีและมีการปรับปรุงขอ้ มูลเดียวกนั น้ี แต่ปรับปรงุ ไม่ครบทุกที่ท่ีมี ข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทาให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละท่ีท่ีเก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อ ใให้เกิดความขดั แยง้ ของข้อมูลขึ้น (Inconsistency) 3. สามารถใชข้ ้อมูลร่วมกนั ได้ ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังน้ันหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจาก แฟ้มข้อมลู ตา่ งๆ กจ็ ะทาได้โดยงา่ ย 4. สามารถรักษาความถูกตอ้ งเช่ือถือได้ของข้อมลู บางคร้ังพบว่าการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดข้ึน เช่น จากการท่ีผู้ป้อนข้อมูลป้อนข้อมูล ผิดพลาดคือป้อนจากตัวเลขหนึ่งไปเป็นอีกตัวเลขหน่ึง โดยเฉพาะกรณีมีผู้ใช้หลายคนต้องใช้ข้อมูลจาก ฐานขอ้ มลู รว่ มกนั หากผใู้ ชค้ นใดคนหน่งึ แกไ้ ขข้อมลู ผิดพลาดกท็ าใหผ้ ู้อนื่ ไดร้ บั ผลกระทบตามไปด้วย ในระบบ จดั การฐานขอ้ มลู (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพ่อื ควบคมุ ความผิดพลาดที่เกดข้ึน 5. สามารถกาหนดความปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ของข้อมลู ได้ การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะทาให้สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้รวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่นการกาหนดรูปแบบการเขียนวันท่ี ในลักษณะ วัน/ เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/วัน ท้ังน้ีจะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นผูก้ าหนดมาตรฐานต่างๆ 6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ระบบความปลอดภัยในท่ีนี้ เป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ผบู้ ริหารฐานขอ้ มูลจะสามารถกาหนดระดับการเรียกใช้ข้อมลู ของผู้ใชแ้ ตล่ ะคนได้ตามความเหมาะสม 7. เกดิ ความเป็นอสิ ระของขอ้ มลู ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ทาหน้าที่เป็นตวั เชื่อมโยงกับฐานขอ้ มลู โปรแกรมต่าง ๆ อาจไม่ จาเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกคร้ัง ดังน้ันการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทาเฉพาะกับโปรแกรมที่ เรียกใช้ข้อมูลท่ีเปล่ียนแปลงเท่าน้ัน ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าว ก็จะเป็นอิสระจากการ เปลยี่ นแปลง รปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู รูปแบบของระบบฐานขอ้ มูล มอี ยู่ดว้ ยกัน 3 ประเภท คือ 1. ฐานข้อมลู เชิงสัมพนั ธ์ (Relational Database)

เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบท่ีเป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลช่ัน (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ เปน็ แถว (row) และเป็นคอลมั น์ (column) การเชือ่ มโยงขอ้ มูลระหว่างตาราง จะเช่ือมโยงโดยใชแ้ อททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันท้ังสองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์น้ีจะเป็น รูปแบบของฐานขอ้ มูลที่นยิ มใชใ้ นปจั จบุ ัน ดังตัวอย่าง พนกั งาน รหัสพนกั งาน ชอ่ื พนกั งาน ทอี่ ยู่ เงินเดือน ร หั ส แผนก 12501535 นายสมพงศ์ กรงุ เทพ 12000 VO 12534568 นายมนตรี นครปฐม 12500 VN 12503452 นายเอก กรุงเทพ 13500 VO 12356892 นายบรรทดั นนทบุรี 11500 VD 15689730 นายราชัน สมทุ รปราการ 12000 VA รูปแสดงตารางพนักงาน 2. ฐานข้อมลู แบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนท่ีมีความสัมพันธ์ กันจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หน่ึงเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสมั พันธอ์ ยา่ งชดั เจน ตัวอย่างเชน่ 3. ฐานข้อมลู แบบลาดบั ช้นั (Hierarchical Database) ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ัน เป็นโครงสร้างท่ีจัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลท่ีจัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึง่ ประกอบดว้ ยคา่ ของเขตขอ้ มลู (Field) ของเอนทิตี้หนงึ่ ๆ ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นนี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น มีกฎ เพมิ่ ข้นึ มาอีกหน่งึ ประการ คอื ในแต่ละกรอบจะมลี กู ศรวิง่ เขา้ หาได้ไมเ่ กิน 1 หัวลกู ศร โปรแกรมฐานขอ้ มลู ทน่ี ิยมใช้ โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ท่ีช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ท่ีอยู่ใน ฐานขอ้ มลู ไม่วา่ จะเปน็ การจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรบั ปรุงขอ้ มลู โปรแกรมฐานข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรมฐานข้อมมูลที่ นยิ มใช้มีอยดู่ ้วยกนั หลายตัว เชน่ Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBase, Oracle, SQL เป็นต้น โดย แต่ละโปรแกรมจะมีความสามารถตา่ งกัน บางโปรแกรมใช้ง่ายแต่จะจากัดขอบเขตการใช้งาน บ่งโปรแกรมใช้ งานยากกว่า แต่จะมีความสามารถในการทางานมากกวา่

โปรแกรม Access นับเป็นโปรแกรมที่นิยมใช้กันมากในขณะน้ี โดยเฉพาะในระบบฐานข้อมูลขนาด ใหญ่ สามารถสร้างแบบฟอร์มที่ต้องการจะเรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูล หลังจากบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล เรียบร้อยแล้ว จะสามารถค้นหาหรือเรียกดูข้อมูลจากเขตข้อมูลใดก็ได้ นอกจากน้ี Access ยังมีระบบรักษา ความปลอดภยั ของข้อมูล โดยการกาหนดรหสั ผ่านเพอ่ื ปอ้ งกันความปลอดภยั ของข้อมูลในระบบได้ดว้ ย โปรแกรม FoxPro เปน็ โปรแกรมฐานข้อมูลทมี่ ีผู้ใช้งานมากท่ีสุด เน่ืองจากใช้ง่ายท้งั วิธีการเรียกจาก เมนูของ FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ้นใช้งาน โปรแกรมที่เขียนด้วย FoxPro จะสามารถใช้กลบั dBase คาสั่งและฟังก์ช่ันต่าง ๆ ใน dBase จะสามารถใช้งานบน FoxPro ได้ นอกจากนี้ใน FoxPro ยังมีเคร่ืองมือ ช่วยในการเขียนโปรแกรม เชน่ การสร้างรายงาน โปรแกรม dBase เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลชนิดหน่ึง การใช้งานจะคล้ายกับโปรแกรม FoxPro ข้อมูลรายงานที่อยู่ในไฟล์บน dBase จะสามารถส่งไปประมวลผลในโปรแกรม Word Processor ได้ และ แมแ้ ต่ Excel กส็ ามารถอ่านไฟล์ .DBF ทส่ี ร้างขึน้ โดยโปรแกรม dBase ได้ดว้ ย โปรแกรม SQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างของภาษาท่ีเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน มี ประสิทธิภาพการทางานสูง สามารถทางานท่ีซับซ้อนได้โดยใช้คาสั่งเพียงไมก่ ี่คาสง่ั โปรแกรม SQL จึงเหมาะ ที่จะใช้กับระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ และเป็นภาษาหนึ่งที่มีผู้นิยมใช้กันมาก โดยทั่วไปโปรแกรมฐานข้อมูล ของบริษัทต่าง ๆ ท่ีมีใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น Oracle, DB2 ก็มักจะมีคาส่ัง SQL ท่ีต่างจากมาตรฐานไปบ้าง เพอ่ื ให้เป็นจุดเด่นของแตล่ ะโปรแกรมไป

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 เรื่อง ความรูเ้ บื้องต้นเก่ียวกับระบบฐานข้อมลู จงอธบิ ายความหมาย ขยายความหรอื ให้รายละเอียดเพ่ิมเตมิ ถ้ามีตวั อย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ 1. จงอธบิ ายความหมายของระบบฐานข้อมลู และยกตัวอย่างฐานข้อมลู ที่ใช้งานในปจั จบุ นั มาพอสงั เขป ตอบ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง การน าข้อมูลท่ีมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันมารวบรวมกันเป็น แฟม้ ข้อมูลต่าง ๆ จัดเกบ็ ไว้อย่างเปน็ ระบบในส่วนกลางโดยแฟ้มข้อมูลเหลา่ นนั้ ถูกจัดเก็บไวใ้ ห้สมั พันธก์ นั และ สามารถเรียกใช้ข้อมูลมาใช้รว่ มกันได้ เนื่องจากฐานขอ้ มูลได้จดั เก็บข้อมูลแฟ้มต่าง ๆ ไว้ศูนย์กลางไม่กระจาย อยู่ส่วนต่าง ๆ ดังนั้นแฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บจึงไม่ซ้าซ้อนกัน ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ได้ตามความ ต้องการของผู้ใช้และช่วยประหยัดเนื้อท่ีของสื่อบันทึกข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลการคลัง ฐานข้อมูลงานทะเบียน ฐานข้อมลู งานพัสดุ เป็นตน้ 2. โครงสร้างของระบบฐานขอ้ มูลประกอบไปดว้ ยอะไรบ้าง ตอบ 1 บิต (Bit, Binary Digit) คือ หน่วยเก็บข้อมูลท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด เป็นข้อมูลที่จัดเก็บในลักษณะเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 2 ไบต์ (Byte) หมายถงึ หนว่ ยของข้อมูลที่เกิดจากการนาบติ มารวมกนั เปน็ อักขระหรือตัวอกั ษร (Character) 1 ไบต์ จะประกอบด้วยข้อมูลเลขฐานสองจ านวน 8 บิต เช่น A, B, C, ก, ข, ค, ง ฯลฯ หรือจานวนเต็ม 1 จานวน เปน็ ตน้ 3 ฟลิ ด์ หมายถึงเขตข้อมูล หรอื หนว่ ยของข้อมลู ท่ปี ระกอบข้ึนจากไบตห์ รืออกั ขระต้ังแต่ 1 ตัวขึ้นไป มารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นค า เป็นข้อความ หรือของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เช่น ช่ือ ที่อยู่ เบอร์โทร เงนิ เดอื น เปน็ ตน้ 4 เรคคอรด์ หมายถงึ ระเบียนหรอื ข้อมูลทเี่ กดิ จากการน า เอาฟิลดห์ รือ เขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกันเป็นข้อมูลของส่ิงหน่ึง เช่น นายสมชาย ใจดี ที่อยู่กรุงเทพ เงินเดือน 30,000 บาท เปน็ ตน้ 5 ไฟล์ แฟม้ ข้อมูล หมายถงึ หน่วยของข้อมลู ทเี่ กดิ จากการน าขอ้ มูลหลาย ๆ ระเบียนท่ี เปน็ เร่อื งเดียวกนั เก็บไว้ด้วยกัน เชน่ แฟม้ ข้อมลู พนักงาน แฟม้ ขอ้ มลู นกั ศึกษา แฟม้ ข้อมูลบุคลากร เปน็ ต้น 6 ฐานขอ้ มูล (Database) หมายถงึ การน าแฟ้มข้อมลู ท่มี คี วามเก่ยี วข้องสมั พันธ์กนั มาเกบ็ รวบรวมไวด้ ว้ ยกนั เพอื่ ลดความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู และทาให้ผใู้ ช้สามารถใชง้ านร่วมกันได้ 3. เอนทติ ี้ (Entity) หมายถึงอะไร จงยกตวั อยา่ งประกอบอยา่ งน้อย 5 ตัวอยา่ ง ตอบ เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสง่ิ ใดสง่ิ หนึ่ง ทเี่ ราสนใจท่ีจะเกบ็ ข้อมลู เอาไว้ เปรยี บเสมอื น คeนาม เช่น เอนทิตพี้ นักงาน เอนทิต้ีลกู คา้ เอนทิตี้สินค้า เอนทติ ีก้ ารขายสินค้า เอนทติ ีค้ ลังสนิ ค้า เปน็ ตน้

4. คยี ์ (Key) ท่ีใชใ้ นระบบฐานข้อมลู มีอะไรบา้ ง ตอบ 1. คีย์หลัก (Primary Key) คีย์ท่ีทาหน้าที่หลักในการอ้างอิงหรือแสดงตัวตนข้อมูลในระเบียน โดยค่าท่ีเก็บ จะตอ้ งไมเ่ ปน็ ค่าวา่ ง (Null Value) และคา่ ไม่ซ้า (Unique Value) 2. คีย์คู่แข่ง (Candidate Key) คือคีย์ท่ีสามารถนามาสร้างเป็นคีย์หลักได้หลายฟิลด์โดยมี คุณสมบัติ เชน่ เดยี วกันกับคยี ห์ ลกั คือคา่ ไม่ซา้ และไม่มีค่าว่าง 3. คยี ์ผสม (Composite Key) เปน็ คียท์ ี่เกิดจากการนาเอาข้อมลู ในแอทรบิ ิวต์หลาย ๆ แอทรบิ วิ ตม์ าประกอบกนั เพอื่ อา้ งอิงข้อมลู ในระเบียนนน้ั 4. คียน์ อก (Foreign Key) คือ คีย์ท่ีทาหน้าท่ีเปน็ คีย์หลักอีกตารางหนึ่งและทาหนา้ ที่เป็นคีย์ผสมในอีกตาราง หน่ึง 5. จงบอกประโยชน์ของระบบฐานข้อมลู ตอบ 1. สามารถลดความซา้ ซ้อนของข้อมูลได้ 2. หลีกเลี่ยงความขดั แย้งของขอ้ มลู ได้ 3. สามารถใช้ขอ้ มูลรว่ มกนั ได้ 4. สามารถรกั ษาความถูกต้องเช่อื ถือไดข้ องข้อมูล 5. สามารถกาหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกนั ของข้อมลู ได้ 6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภยั ของข้อมลู ได้ 7. เกดิ ความเปน็ อิสระของข้อมูล กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน - วดั พ้ืนฐานความรู้ของนักศึกษาก่อนนาเขา้ สู่บทเรียน และใชส้ ่อื คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนานักเรยี น เข้าสบู่ ทเรยี น 2. ขั้นสอน - ครูอธบิ ายความหมายของระบบฐานข้อมูล - ครูแสดงโครงสร้างฐานข้อมูล - ครอู ธิบายคาศัพท์พ้นื ฐานทเี่ กยี่ วกบั ฐานข้อมลู - ครูอธิบายประโยชนข์ องฐานข้อมลู 3. ขั้นสรุป - ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายข้อมูลขา้ งต้น และเปิดโอกาสให้ซักถามขอ้ สงสยั

งานทม่ี อบหมาย/ผลงาน/ชนิ้ งาน 1.ก่อนเรียน 1. ครชู ้ีแจงแนวทางการปฏิบัติกจิ กรรมกลมุ่ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหน่วย 3. นกั ศกึ ษาแบง่ กลมุ่ ทากิจกรรม พรอ้ มรับเกณฑป์ ระเมนิ 2.ขณะเรียน ครูแนะนาเนื้อหาในเร่ือง ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับระบบฐานขอ้ มลู ตามหวั ข้อดังนี้ 1. บอกความหมายของระบบฐานขอ้ มลู 2. บอกโครงสรา้ งของระบบฐานขอ้ มูล 3. อธบิ ายคาศพั ทพ์ ้นื ฐานที่เก่ียวกับระบบฐานข้อมูล 4. บอกประโยชนข์ องฐานข้อมูล 5. อธบิ ายเกย่ี วกับระบบจัดการฐานขอ้ มูล 6. บอกโปรแกรมฐานขอ้ มูลท่นี ยิ มใชใ้ นปจั จบุ ัน 3.หลังเรียน 1. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนประจาหนว่ ย 3. นักศกึ ษาทาการประเมินผลปฏบิ ัติงานของตนเอง 4. บนั ทึกคะแนนและคุณธรรมจริยธรรมในดา้ นบวกและด้านลบ 5. สรุปคะแนนผลการเรียนของนักศกึ ษาประจาหน่วย 4. ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น - สุมดจดบันทกึ เนื้อหาระการเรียนรู้ในช้นั เรยี น - ทาแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกบั ระบบฐานข้อมลู ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80 ของแบบทดสอบ สื่อการเรียน/การสอน - Power Point เรอ่ื ง ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู - รปู ภาพ ประกอบเกย่ี ว กบั คีย์ของข้อมลู และความสัมพันธ์ของข้อมูล - สอื่ การเรียนรู้ออนไลน์ แหลง่ การเรียนรู้ /สถานท่ี - ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาออมสินอุปถมั ถ์ - หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาออมสินอุปถัมถ์ การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอ่ืน

1. วชิ าภาษาไทย ด้านการอ่านจบั ใจความ การคิดวิเคราะห์ 2. วชิ าภาษาอังกฤษทเี่ ก่ียวกับคาศัพท์เฉพาะ 3. วิชาวทิ ยาศาสตร์ ด้านการมเี หตุผล และกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ การวดั และประเมนิ ผล 1. กอ่ นเรียน เพื่อทดสอบพ้ืนฐานเก่ียวกับระบบฐานข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนให้ เหมาะสมกบั ผ้เู รยี น 2. ขณะเรียน เพ่ือวัดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบจัดการฐานข้อมูล รวมถึงสื่อท่ีใช้รวมท้ังเทคนิควิธีการ พัฒนาการของผเู้ รียน 3. หลังเรียน เพอ่ื ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ขิ องผู้เรยี นให้เปน็ ไปตามสมรรถนะประจาหน่วย กจิ กรรมเสนอแนะ - เพิ่มความสนใจ ในการนารูปภาพประกอบที่น่าสนใจ เหมาะกับการเรยี นรู้ มาประกอบใน การสอน เพอ่ื สร้างทักษะในการเรียนรู้และจดจา - หลังจากจบการเรียน การสอนในชั้นเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทาการศึกษาทบทวน เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ที่สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซึ่งทาให้ผู้เรียนนั้นสามารถทราบผลความคืบหน้าของตนเองเกี่ยวกับการเรียน ในแตล่ ะคร้ัง

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยท่ี 2 จานวน 18 ชัว่ โมง รหัส 2204-2008 วิชา โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล หนว่ ยกติ 3 ชือ่ หน่วย การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล 1. สาระสาคญั ก่อนที่จะมีการเร่มิ ต้นใชง้ านฐานขอ้ มูล จะตอ้ งมีการศกึ ษาและออกแบบฐานข้อมลู ให้มีความสัมพันธ์ เก่ยี วข้องกันเสียกอ่ น โดยออกแบบตารางในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เพ่อื ใหม้ ีความสัมพนั ธ์กันและจัดรูปแบบ ของตารางท่ีออกแบบให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน หรือ Normal form โดยผ่านกระบวนการ Normalization เพ่ือให้ข้อมูลในตารางถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบและมีความสัมพันธ์กัน เพ่ือความสะดวกใน การบริหารจัดการฐานข้อมูลโดยระบบฐานข้อมูลนั้นมีความสาคัญในปัจจุบันมาก เน่ืองจากข้อมูลและ สารสนเทศต่าง ๆ มีจานวนมาก ดังน้ันจึงจ้องอาศัยความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมลู เพอื่ ท่ีจะสามารถลดความซา้ ซ้อนของข้อมลู และสามารถเพ่ิมความปลอดภัยในการเข้าถึงขอ้ มูลโดย ใช้โปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู เข้ามาช่วยบรหิ ารจดั การระบบให้มปี ระสิทธิภาพมากข้นึ 2. สมรรถนะการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. แสดงความรู้เก่ียวกับการวเิ คราะห์และออกแบบฐานข้อมูล 2. ปฏิบัตกิ ารออกแบบตารางเกบ็ ขอ้ มลู ด้วยโปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายของการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบฐานขอ้ มูล 2. บอกความหมายของฐานข้อมลู เชิงสมั พนั ธ์ 3. อธบิ ายข้ันตอนในการออกแบบฐานข้อมูล 4. อธบิ ายเกยี่ วกบั การจดั การขอ้ มูลใหอ้ ยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน ( Normalization) 5. บอกความสมั พันธข์ องรีเลชนั 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ ( Profession Ethic ) ตามค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 1. ซ่อื สตั ย์ เสียสละ อดทน 2. ใฝห่ าความรู้ หมั่นศึกษาเลา่ เรียน ท้ังทางตรงและทางอ้อม 3. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผู้อ่นื เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน 4. คานงึ ถึงประโยชนข์ องส่วนรวมมากกวา่ ผลประโยชน์ของตน

ตารางวเิ คราะหจ์ ุดประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จดุ ประสงคก์ ารสอน 2 เงื่อนไข หน่วยที่ 2 ความรู้ คณุ ธรรม เร่ือง การวเิ คราะห์และออกแบบฐานข้อมูล พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1. ความหมายของการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ  8 2 ฐานข้อมูล 2.ความของฐานข้อมลู เชิงสัมพนั ธ์  8 3  9 1 3.ข้ันตอนในการออกแบบฐานขอ้ มูล  8 2 4.การจดั การฐานข้อมลู ให้อยู่ในรปู แบบ  8 3 บรรทัดฐาน 5.ความสมั พนั ธข์ องรีเลชนั่ 1 5 45 5 5 5 5 5 1 3131111112 รวม ลาดับความสาคัญ

แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 2 จงเลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดต่อไปนีไ้ มใ่ ชข่ ัน้ ตอนการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ ข.การกาหนดความตอ้ งการของผใู้ ช้ 2. ข้อใดต่อไปนกี้ ลา่ วผิดเกีย่ วกับการ Normalization ค.การกาจดั ความซ้าซอ้ นของข้อมูล 3. การกากดั กลมุ่ ขอ้ มูลซ้าในตารางเป็นการ Normalization ระดับใด ค.1NF 4. Multivalued Dependency หมายถึงข้อใด ง.ถกู ทกุ ขอ้ 5. ขอ้ ใดคือความผดิ ปกติในการจัดการข้อมลู ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ ได้ ง.ถกู ทุกข้อ 6. ข้ันตอนในการออกแบบฐานขอ้ มลู มีทั้งหมดกขี่ ั้นตอน ง.5 ข้ันตอน 7. ขน้ั ตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมลู คือข้อใด ค.สุนีย์รวบรวมเอกสารทั้งหมดทเี่ กีย่ วกบั พนักงานในบริษทั และกาหนดเอนทติ ้ี yy PRODUTS CUSTOMERS ORDER EMPLOYEES 8. จากรปู ดา้ นบน คือข้ันตอนใดในขน้ั ตอนการออกแบบฐานข้อมลู ก.กาหนดโครงสร้างของตาราง EMPLOYEES PROUDUCTS EMP-ID PRO-ID NAME NAME ADDRESS RPICE TEL UNIT SALE-PER 9. จากรูปด้านบน คือข้ันตอนใดในการออกแบบฐานข้อมลู ก. กาหนดโครงสร้างของตาราง 10. Partial Function Dependency คอื ข้อใด ค. การท่แี อตทรบิ วิ ทท์ ีไ่ ม่ใชค่ ยั ์ใด ๆ ขน้ึ อยู่กับเฉพาะส่วนใดส่วนหนงึ่ ของคยี ห์ ลกั

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล การ Normalization เป็นทฤษฎีที่ใชใ้ นการทาใหเ้ อนทิตี้ และแอตทรบิ ิวตท์ ่ีได้ออกแบบไว้ ถูกจัดกลมุ่ เปน็ ตารางที่มี ความสมั พนั ธ์ จุดประสงคข์ องการ Normalization คอื 1. ลดความซ้าซอ้ นของข้อมูลในตาราง เพ่ือจะไดไ้ มต่ ้องไขข้อมลู ในหลายๆ ที่ 2. ทาให้การเปล่ียนแปลงแกไ้ ขโครงสรา้ งของตารางในภายหลงั ทาให้ง่าย 3. ทาใหก้ ารเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลมีผลกระทบตอ่ แอพพลเิ คชั่นทเ่ี ข้าถึงข้อมูลในฐานขอ้ มูลน้อย ที่สุด ในการ Normalization ให้ได้ผลดีที่สุด เราต้องนาทั้งทฤษฎี และจุดประสงค์ในการทางานมาใช้ ร่วมกัน เช่น ในตัวอย่างน้ี ใบส่ังซ้ือแต่ละใบ จะสั่งสินค้าชนิดเดียวกันเกิน 1 รายการไม่ได้ แต่ในระบบ อาจจะทาไดก้ ็ได้ เปน็ ตน้ ดังน้นั การออกแบบจึงควรยึดถือหลักความจริง ควบคู่กบั การใช้ทฤษฎดี ้วย ในหัวข้อนี้ เราจะออกแบบจากข้อมูลการสั่งซื้อสินค้าที่มีอยู่จริงมาใช้ โดยเป็นข้อมูลที่ยังไม่ได้ รับการ Normalization และเราจะแสดงการใช้กฎ Normalization ออกแบบตาราง จนได้ตารางที่มีการ ซ้าซ้อนนอ้ ยทสี่ ดุ ตัวอย่างตารางข้อมูลในระบบการส่ังซื้อที่จะใช้แสดงการ Normalization โดยในตาราง ตัวอยา่ งทยี่ กมาแสดงน้ีเปน็ ขอ้ มลู จริง โดยมขี อ้ มูลแบง่ ออกเปน็ สว่ นต่างๆ ต่อไปนี้ ขอ้ มูลสินคา้ รหัสสนิ คา้ ชอ่ื สินคา้ ราคาตอ่ ภาษี จานวน รหัส ชอ่ื ชนิด หนว่ ย ในคลงั ชนดิ สินคา้ สินคา้ 0005 ค่มู ือสาหรับผ้นู าในยุค 90 219.63 Yes 409 01 หนังสอื 0100 พูดอย่างมวี าทะ 219.63 Yes 155 02 CD – ROM 0125 SALES MANAGER FACTOMATIC 700.93 No 169 03 Hardware 0051 SECRETS OF STARGATE 1,842.99 No 197 0010 US ATLAS 540.19 No 159 0007 VIDEOCONVERENCING CARD – 369.16 Yes 205 FLY VIDEO 0008 ชุดกลอ้ งถ่าย 260.00 Yes 177 วดี โี อ Panasonic Model VHS รนุ่ NV – VX3

04 Multimedia 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 No 326 0055 JAPANESE 2, LIYC 278.00 No 159 ข้อมูลการสงั่ ซอ้ื วันท่ีสงั่ วันที่สง่ รหัสสินคา้ จานวน ส่วนลด รหสั การ รหสั ลกู คา้ สนิ คา้ สนิ คา้ สินคา้ ที่ (%) ส่งั ซื้อ 21/10/94 28/10/94 0005 สงั่ ซ้ือ 0100 25.00% 102258 015 21/10/94 27/10/44 0125 8 0.00% 24/10/94 3/11/94 0005 8 0.00% 10265 181 0010 15 0.00% 0007 31 0.00% 10278 213 0008 15 0.00% 0023 16 25.00% 31 0.00% 4 ข้อมูลลูกค้า ทอ่ี ยู่ลูกคา้ รหัสไปรษณีย์ หมายเล รหสั ชอ่ื ลกู คา้ ข ลูกคา้ ชน้ั 1 อาจารเสิรมมิตรทาว 10330 เวอร์ 159 สขุ ุมวทิ 21 โทรศัพท์ 003 P & S STORE (อโศก) คลองเตย กทม. 10110 250- สมาคมผรงั่ เศส 29 ถ.สาธรใต้ ยาน 10330 0750 015 Hope Shop นาวา กทม. Asia Hotel 296 ถ.พญาไท กทม. 240- 181 The Book Sh 2865-75 op 2675 หมู่ 9 ลาดพร้าว ซ.95 วัง 10330 267- 8850-5 213 P’S Line ทองหลาง บางกะปิ กทม. 253- 0123 008 The Booksell 428 Rama I Road, Siam Square Ban 10500 233- er 1717 gkok

กฎการ Normalization กฎการ Normalization เป็นกฎท่ีใช้ในการออกแบบตาราง โดยทั่วไปเราจะใช้กฎ การ Normalization น้ี เพียงแค่ 3 ข้อ ก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยท่ัวไปแล้ว และถา้ ตารางน้ัน ผ่านกฎข้อที่ 3 ตารางนนั้ ก็จะต้องผ่านกฎข้อท่ี 1 และ 2 ด้วย แผนภูมิแสดงการ Normalization ใน แตล่ ะขนั้ ตอน ดงั รูป รปู ภาพที่ แสดงแผนภมู แิ สดงการ Normalization รายละเอยี ดของการใชก้ ฎ Normalization แต่ละข้อดงั ต่อไปน้ี กฎข้อที่ 1 (First Normal Form) กฎข้อที่ 1 กล่าวว่า จะต้องไม่มีเซลใดในตารางที่มีค่าเกินหนึ่งค่า ดังน้ันเราสามารถ ทาให้ ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้ด้วยการแยกเซลท่ีมีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคอร์ดใหม่ เราอธิบายการใช้กฎข้อ ที่ 1 กบั ตารางตวั อย่างทผ่ี า่ นมาเรียนไปท่ีละตารางตอ่ ไปนี้ 1.ตาราง Products จากตารางนี้ เราสามารถแยกออกเป็นเรคอร์ดใหม่ได้ โดยมีฟิลด์รหัสสินค้า ช่ือ ชนิดสินค้า ซึ่ง เป็ น ฟิ ลด์ ที่ เก็บ ค่ าใน เซล เกิน ห น่ึ งค่ า เพ่ิ ม เข้ าไป ใน แต่ ละเรคอ ร์ด ให ม่ และต ารางให ม่ น้ี มี คยี ์หลกั คอื รหัสสินคา้ เราไดต้ ารางใหม่ดงั นี้

ก่อนการใช้กฎขอ้ ท่ี 1 รหสั ชอ่ื ชนิด รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อ ภาษี จานวน ชนิด สินค้า หนว่ ย ในคลงั สินค้า 01 หนังสอื 005 คู่มอื สาหรับผู้นาในยุค 90 219.63 Yes 409 0100 พูดอยา่ งมีวาทะ 219.63 Yes 155 02 CD-ROM 0125 SALES MANAGER FACTOMATIC 700.00 No 169 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.99 No 197 0010 US ATLAS 540.19 No 159 03 Hardware 0007 VIDEOCONVERENCING CARD- 369.16 Yes 205 FLY VIDEO 0008 ชุดกลอ้ งถา่ ยวดี โี อ Panasonic 260.00 Yes 177 Mode VHS 04 Multimedia 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 No 326 0055 JAPANESE 2, LIYC 278.00 No 159 หลังการใช้กฎข้อที่ 1 รหัส ช่ือชนดิ รหสั สนิ ค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อ ภาษี จานวน ชนดิ สินค้า หนว่ ย ในคลัง สนิ ค้า 01 หนังสือ 005 คู่มอื สาหรับผนู้ าในยุค 90 219.63 Yes 409 01 หนงั สอื 0100 พดู อย่างมวี าทะ 219.63 Yes 155 02 CD-ROM 0125 SALES MANAGER FACTOMATIC 700.00 No 169 02 CD-ROM 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.99 No 197 02 CD-ROM 0010 US ATLAS 540.19 No 159 03 Hardware 0007 VIDEOCONVERENCING CARD- 369.16 Yes 205 FLY VIDEO 03 Hardware 0008 ชุดกลอ้ งถา่ ยวดี ีโอ Panasonic 260.00 Yes 177 Mode VHS 04 Multimedia 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 No 326 04 Multimedia 0055 JAPANESE 2, LIYC 278.00 No 159

2. ตาราง Orders จากตารางน้ี เราสามารถแยกเป็นเรคอร์ดใหม่ได้ โดยมีฟิลด์ รหัสการสั่งซื้อ รหัสลูกค้า วันท่ี สง่ั และวันท่ีส่ง ซ่ึงเป็นฟิลด์ท่ีเก็บค่าในเซลเกินหนึ่งค่า เพ่ิมเข้าไปในแต่ละเรคอร์ดใหม่ และตารางใหม่นี้มี คีย์หลัก คือ ฟิลด์รหัสการส่ังซ้ือ และรหัสสินค้า เนื่องจากฟิลด์รหัสการสั่งซ้ือ จะไม่ซ้ากันในแต่ละการ สงั่ ซอ้ื และในแตล่ ะการสัง่ ซ้อื จะไมส่ ามารถสัง่ สนิ คา้ ชนดิ เดียวกันซ้ากนั ได้ เราไดต้ ารางดงั น้ี ก่อนการใชก้ ฎข้อท่ี 1 รหัสการ รหัสลกู คา้ วันทส่ี ั่ง วนั ท่ีสง่ รหัสสินค้า จานวน ส่วนลด สัง่ ซื้อ สินค้า สินคา้ สินค้าท่ี (%) สง่ั ซ้ือ 102258 015 21/10/94 28/10/94 0005 8 25.00% 0100 8 0.00% 0125 15 0.00% 10265 181 21/10/94 27/10/44 0005 31 0.00% 0010 15 0.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 0007 16 0.00% 0008 31 25.00% 0023 4 0.00% หลงั การใช้กฎข้อที่ 1 วันทส่ี ั่ง วันท่สี ่ง รหสั สนิ ค้า จานวน สว่ นลด รหัสการ รหสั ลกู ค้า สนิ คา้ สนิ คา้ สนิ ค้าท่ี (%) สงั่ ซื้อ 0005 ส่ังซื้อ 21/10/94 28/10/94 0100 25.00% 102258 015 21/10/94 28/10/94 0125 8 0.00% 102258 015 21/10/94 28/10/94 0005 8 0.00% 102258 015 21/10/94 27/10/44 0010 15 0.00% 10265 181 21/10/94 27/10/44 0007 31 0.00% 10265 181 24/10/94 3/11/94 0008 15 0.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 0023 16 25.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 31 0.00% 10278 213 4

3. ตาราง Customers ตารางน้จี ะไมม่ ีกลุ่มของฟลิ ด์ที่ซา้ กนั อยูแ่ ล้ว กฎขอ้ ท่ี 2 (Second Normal Form) กฎข้อที่ 2 กล่าวว่า ตารางท่ีผ่านกฎข้อที่ 2 จะต้องไม่มีแอททริบิวต์ท่ีไม่ใช่คีย์ตัวใด (เรา เรียกว่า Non-key Attribute) ข้ึนกับส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก จะต้องข้ึนกับคีย์หลักแบบ เต็มๆ เท่าน้นั เราสามารถทาใหต้ ารางผา่ นกฎข้อท่ี 2 โดยการแยกฟิลดท์ ่ีขึน้ เฉพาะกับส่วนหนงึ่ ของคยี ์กับ ฟิลดท์ ีม่ นั ขนึ้ ด้วย ออกมาสร้างเปน็ ตารางใหม่ เราจะแสดงการใชก้ ฎข้อที่ 2 ดงั ต่อไปน้ี 1.ตาราง Product และ Customer ตารางทผี่ ่านกฎข้อท่ี 2 เน่อื งจากคยี ห์ ลักคือ ฟลิ ด์รหัสสินค้าของตาราง Products และรหัส-ลกู คา้ ของ ตาราง Customers ซ่งึ ฟลิ ด์อืน่ ๆ ทกุ ฟลิ ดข์ น้ึ กับคียห์ ลักนี้ทกุ ฟลิ ด์ 2. ตาราง Orders ตารางนีไ้ ม่ผ่านกฎข้อที่ 2 เนอื่ งจากมฟี ลิ ดร์ หัสลูกค้า วันท่สี ง่ และวันทสี่ ่ง จะข้ึนกับฟิลดร์ หัสส่งั ซื้อ เทา่ นั้น ซ่ึงเป็นสว่ นหน่งึ ของคียห์ ลกั (รหสั การสัง่ ซอื้ และรหัสสินค้า เปน็ คยี ์หลกั แบบ Composite Key) เมอื่ ใช้กฎข้อท่ี 2 แล้วเราจะได้ตาราง 2 ตาราง คือ - ตารางที่ 1 ชอื่ ตาราง Orders เปน็ ตารางที่ประกอบด้วยฟลิ ด์รหัสการส่ังซอ้ื ซึ่งเปน็ คีย์ หลักของตารางใหม่ และฟลิ ดท์ ข่ี น้ึ กบั ฟิลด์รหสั การสงั่ ซ้ือเท่าน้นั - ต ารางที่ 2 ชื่ อ ต าราง OrderDetails เป็ น ต ารางที่ ป ระก อ บ ด้ วย ฟิ ลด์ รหั ส การส่ังซื้อ และรหัสสินค้า ซึ่งเป็นคีย์หลักของตารางเดิม และฟิลด์ท่ีเหลือจากตารางแรก ตารางนี้จะเก็บ ขอ้ มลู การส่งั ซ้ือแตล่ ะรายการ ในการส่งั ซอ้ื แต่ละคร้ังไว้ เราได้ตารางใหม่ดังตาราง ขา้ งล่างนี้ กอ่ นการใชก้ ฎข้อท่ี 2 รหัสการ รหัสลูกค้า วันทสี่ ่ัง วนั ท่สี ง่ รหัสสินคา้ จานวน ส่วนลด สง่ั ซ้ือ สินคา้ สนิ ค้า สนิ คา้ ท่ี (%) สง่ั ซื้อ 102258 015 21/10/94 28/10/94 0005 8 25.00% 102258 015 21/10/94 28/10/94 0100 8 0.00% 102258 015 21/10/94 28/10/94 0125 15 0.00% 10265 181 21/10/94 27/10/44 0005 31 0.00% 10265 181 21/10/94 27/10/44 0010 15 0.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 0007 16 0.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 0008 31 25.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 0023 4 0.00%

หลงั การใชก้ ฎข้อที่ 2 วันทส่ี ่ง รหัสการ รหัสสินคา้ จานวน ส่วนลด รหัสการ รหสั วันที่ส่ัง สนิ ค้า สงั่ ซ้ือ สนิ ค้าที่ (%) สั่งซ้ือ ลูกค้า สินคา้ สง่ั ซื้อ 102258 25.00% 102258 015 21/10/94 28/10/94 102258 0005 8 0.00% 10265 181 21/10/94 27/10/94 102258 0100 8 0.00% 10278 213 24/10/94 3/11/94 10265 0125 15 0.00% 10265 0005 31 0.00% 10278 0010 15 0.00% 10278 0007 16 25.00% 10278 0008 31 0.00% 0023 4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตารางท้ัง 2 จะเป็นแบบ One – to – Many จากตาราง Orders ไปยัง ตาราง OrderDetails เนอ่ื งจากการส่ังสนิ คา้ 1 คร้ัง จะสัง่ สินคา้ ได้หลายรายการ กฎขอ้ ท่ี 3 (Third Normal Form) กฎข้อที่ 3 กล่าววา่ ตารางทผ่ี ่านกฎข้อท่ี 3 จะต้องไม่มีแอททริบวิ ต์ใดในตารางข้ึนกบั แอทท ริบิวต์อื่นที่ไม่ใช่คียห์หลัก หรือคีย์คู่แข่ง จากท่ีกล่าวมา เราสามารถทาให้ตารางของเราผ่านกฎข้อ ที่ 3 ด้วยการแยกฟลิ ด์ที่ขน้ึ กับฟิลด์อน่ื ๆ นั้นออกมาเป็นตารางใหม่ และคียห์ ลักของตารางใหม่จะเป็นฟลิ ด์ ที่ฟลิ ด์น้ันขน้ึ ด้วย เราจะแสดงการใช้กฎข้อท่ี 3 ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.ตาราง Products ตารางน้ีไม่ผ่านกฎข้อที่ 3 เนือ่ งจากฟลิ ด์ชื่อชนดิ สินค้าข้นึ กับฟลิ ด์รหัสชนดิ สนิ ค้าทไี่ ม่ใช่คีย์หลักหรือ คีย์คู่แข่ง จากที่กล่าวมา เราสามารถทาให้ตารางของเราผ่านกฎข้อท่ี 3 ด้วยการแยกฟิลด์ท่ีข้ึนกับฟิลด์ อ่ืนๆ นั้นออกมาเป็นตารางใหม่ และคีย์หลักของตางใหม่จะเป็นฟิลด์ท่ีฟิลด์นั้นข้ึนด้วย เราจะแสดงการใช้ กฎข้อท่ี 3 ดงั ต่อไปนี้ - ตารางท่ี 1 ชื่อ ตาราง Categories เป็นตารางท่ีประกอบด้วยฟิลด์รหัสชนิด สนิ คา้ (ทีเ่ ป็นคยี หห์ ลกั ของตารางใหม)่ และชือ่ ชนดิ สินค้า ซงึ่ เปน็ ข้อมลู ทเี่ กี่ยวกับชนิดสนิ ค้าเทา่ น้นั - ตารางที่ 2 ช่ือตาราง Products เปน็ ตารางท่ีประกอบด้วยฟิลด์ทมี่ ีทั้งหมด ยกเว้น ฟลิ ด์ชื่อชนิดสินค้า โดยมีคยี ห์ ลักเปน็ รหัสสนิ คา้ เหมอื นตารางเดมิ ดงั ตารางข้างล่างน้ี

กอ่ นการใช้กฎขอ้ ที่ 3 รหสั ชือ่ ชนิด รหสั สนิ ค้า ช่ือสนิ ค้า ราคาต่อ ภาษี จานวน ชนดิ สินคา้ หนว่ ย ในคลงั สนิ คา้ 01 หนงั สอื 005 คู่มือสาหรบั ผ้นู าในยุค 90 219.63 Yes 409 01 หนังสือ 0100 พดู อยา่ งมีวาทะ 219.63 Yes 155 02 CD-ROM 0125 SALES MANAGER 700.00 No 169 FACTOMATIC 02 CD-ROM 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.99 No 197 02 CD-ROM 0010 US ATLAS 540.19 No 159 03 Hardware 0007 VIDEOCONVERENCING CARD- 369.16 Yes 205 FLY VIDEO 03 Hardware 0008 ชดุ กล้องถา่ ยวีดีโอ Panasonic 260.00 Yes 177 Mode VHS 04 Multimedia 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 No 326 04 Multimedia 0055 JAPANESE 2, LIYC 278.00 No 159 หลงั การใช้กฎข้อที่ 3 รหัส รหัสสินค้า ชอื่ สินคา้ ราคาตอ่ ภาษี จานวน รหสั ชือ่ ชนิด ชนิด สนิ ค้า ชนิด หนว่ ย ในคลงั สินค้า 01 หนงั สือ สินค้า 02 CD-ROM 03 Hardware 01 0005 คมู่ อื สาหรบั ผูน้ าในยุค 90 219.63 Yes 409 04 Multimedia 01 0100 พดู อย่างมีวาทะ 219.63 Yes 155 02 0125 SALES MANAGER 700.00 No 169 FACTOMATIC 02 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.9 No 197 9 02 0010 US ATLAS 540.19 No 159 03 0007 VIDEOCONVERENCING CARD 369.16 Yes 205 -FLY VIDEO 03 0008 ชุดกลอ้ งถ่ายวีดีโอ Panasonic 260.00 Yes 177 Mode VHS