Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วาดเส้น5-นิทัศน์

แผนการจัดการเรียนรู้วาดเส้น5-นิทัศน์

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วาดเส้น5-นิทัศน์

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชา วาดเสน้ 5 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จดั ทำโดย นายนทิ ัศน์ อนิ ถานันท์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง วาดเส้นคนเหมือน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง อนาโตม่ี Anatomy รายวชิ า วาดเสน้ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 นำ้ หนกั เวลาเรยี น 2.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 5 ชว่ั โมง .......................................................................................... ................................................................ 1. ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง 1.1 นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของอนาโตม่ี Anatomyอย่างถูกต้อง (K) 1.2 นกั เรียนสามารถปฏิบตั งิ านวาดภาพอนาโตมี่กะโหลกศีรษะไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและสวยงาม (P) 1.3 นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการวาดอนาโตมี่Anatomy ช่ืนชมในผลงานของตนเองและผู้อ่นื (A) 2. สาระสำคญั การวาดอนาโตม่ี Anatomy เปน็ พน้ื ฐานเร่ิมต้นในการฝกึ วาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความหมายของอนาโตม่ี Anatomy 3.2 กระดูกกะโหลกศรี ษะ 3.3 การวาดกะโหลกศรี ษะ 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลกั ษณะของวชิ า ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน - กจิ กรรม อนาโตมี่ Anatomy ใบงานที่ วาดเสน้ กะโหลกศีรษะ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น/ขัน้ ตั้งคำถาม ครูถามนักเรียนวา่ ครใู หน้ ักเรียนสัมผสั ใบหน้าของตนเอง แล้วให้นักเรียนบอกวา่ นักเรียน สัมผัสกับอะไรบ้าง (เด็กร่วมกันแสดงความคิดเห็น) เมื่อเราจับใบหนา้ ของเราเราจะรู้สึกได้วา่ มันมีกระดกู อยขู่ า้ ง ใน กระดูกเหลา่ นนั้ เปน็ โครงรางของใบหน้า วนั นีเ้ ราจะมาเรยี นรเู้ กี่ยวกบั อนาโตมี่ Anatomy หรือกระดูกบน ใบหน้าของเรา

8.2 ขัน้ สอนอธิบาย ครสู อนและอธบิ ายเก่ยี วกับความหมายของอนาโตม่ี Anatomy ,กะโหลกศีรษะและการวาด กรกะโหลกศรี ษะใหน้ กั เรียนฟัง โดยมกี ารใช้สอ่ื ใหน้ ักเรียนดูประกอบการสอน 8.3 ข้ันปฏิบตั ิ ครูสาธติ การวาดกะโหลกใหน้ ักเรียนดบู นกระดาน ครมู อบหมายงานให้นักเรยี นทำใบงาน วาดกะโหลกศรี ษะด้านหนา้ และดา้ นขา้ ง โดยใช้ดินสอ EE วาดลงในกระดาษปร๊บุ 8.4 ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล ครใู หน้ ักเรียนตอบคำถามเก่ยี วกบั เรื่องท่เี รียน และสรปุ ความรู้ร่วมกัน ชวั่ โมงท่ี 1 (การนำเข้าสูบ่ ทเรียนและการสอนอธบิ าย) 1. พูดคุยกบั นักเรียนเรอ่ื งเกย่ี วกับเรือ่ งการวาดคน 2. สอนและอธบิ ายเกยี่ วกับเรื่อง อนาโตมี่ Anatomy 3. สอนเกยี่ วกบั กระดูกกะโหลกศรี ษะ 4. ให้นักเรยี นจดบนั ทึกเนื้อหาท่ีสอนเกีย่ วกบั กระดูกกะโหลกศีรษะ ชัว่ โมงที่ 2-5 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝเ่ รยี นร)ู้ 1. นกั เรยี นทำใบงาน 2 ชน้ิ คือวาดเสน้ กระโหลกศรี ษะ วาดเส้นกะโหลกศีรษะดา้ นหน้าด้านและดา้ นขา้ ง ชัว่ โมงที่ 6 (สรุปบทเรยี น) 1. ให้ตอบคำถามเกย่ี วกับบทเรยี น 2. ให้นกั เรยี นออกมาอธิบายเกีย่ วกบั การวาดกระดูกกะโหลกศรี ษะหนา้ ชนั้ 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการส่อื จำนวน สภาพการใชส้ อ่ื 1.สือ่ ข้นั ตอนการวาดเส้นกะโหลกศีรษะ 1 ชดุ ขนั้ การปฏบิ ตั ิ 2.ภาพวาดเสน้ กะโหลกศรี ษะดา้ นหน้าและดา้ นข้าง 1 ชุด ข้ันการปฏบิ ัติ 10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 เกณฑก์ ารวัดผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถูกต้องสวยงาม 10 คะแนน การจัดองคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ได้คะแนน 13-15 ดมี าก ได้คะแนน 10-12 ดี ได้คะแนน 7- 9 พอใช้ ได้คะแนน 1-6 ปรับปรุ่ง

11. จดุ เน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผ้เู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ รจู้ ักใช้เทคโนโลยมี าผลิตส่ือทเี่ หมาะสม 2. ความมเี หตผุ ล มจี ติ สำนึกทดี่ ี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอม และสอดคล้องเนือ้ หาเปน็ ประโยชน์ตอ่ นกึ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่ 3. มีภมู ิคมุ กนั ในตัวทด่ี ี ผู้เรยี นและพัฒนาจากภมู ิปญั ญาของผ้เู รยี น 4. เงื่อนไขความรู้ - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ด้วยความถกู ตอ้ ง ไมห่ ยดุ นงิ่ ที่หาหนทางในชีวติ หลดุ พ้นจาก 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม สุจรติ แม้จะตกอยใู่ นภาวะขาดแคลน ใน ความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชีวติ หลุดพน้ จากความไม่รู)้ - การเกิดงานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลงั การไดเ้ ปรียบ - ปฏบิ ัติตนในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ สิง่ ยั่ว เชงิ กล กเิ ลสใหห้ มดส้ินไป ไมก่ ่อความชัว่ ให้ เป็น เครือ่ งทำลายตวั เอง ทำลายผูอ้ ืน่ พยายาม เพ่มิ พูนรกั ษาความดี ทม่ี อี ย่ใู หง้ อกงาม สมบรู ณ์ยงิ่ ขึน้ ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภูมธิ รรม : ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ภูมิธรรม : ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ขยันอดทน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปนั ตรงต่อเวลา เสยี สละและ แบง่ ปนั ความรอบรู้ เรอ่ื ง งานและกำลัง ที่ ความรอบรู้ เรอ่ื ง งานและกำลงั กรณที ี่ เกีย่ วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบท่จี ะนำ เกดิ งาน ปริมาณทเี่ ก่ยี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความรเู้ หล่าน้ันมาพจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน ท่ีต้องใช้ สามารถนำความรเู้ หล่านนั้ มา เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การจัด พจิ ารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั สามารถประยุกต์ กจิ กรรมการเรียนรใู้ หก้ บั ผูเ้ รียน ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซื่อสตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ซ่อื สัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ชีวติ ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนินชวี ิต งานและกำลัง งานและกำลัง - ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเกิดงาน - ระบปุ จั จยั ท่ีมผี ลต่อการเกดิ งาน - ปริมาณทเี่ กยี่ วข้องกับการเกิดงานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกดิ งานและ กำลัง กำลงั พร้อมคำนวณปริมาณท่ีเกี่ยวข้อง

ข้อคน้ พบระหว่าง แบบบนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ท่ีมีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปญั หาทพี่ บ เนือ้ หา กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รยี น ลงชือ่ …..........………….......................…….. ครผู ้จู ดั กจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม อนาโตม่ี Anatomy ใบงานที่ วาดเส้นกะโหลกศีรษะ ชอ่ื .............................................................นามสกุล ..........................................ช้ัน..................... เลจท่.ี ........... คำช้ีแจง ให้นักเรียนทำใบงาน วาดเส้นกรโหลกศรี ษะ 2 ภาพ คือ ดา้ นหนา้ และด้านข้าง ใบความรเู้ ร่อื ง

อนาโตมี่ Anatomy 1. ความหมายของอนาโตม่ี Anatomy อนาโตมี(Anatomy) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับร่างกายของมนุษย์ซึงมีความจำเป็นอย่างมากกับนักศึกษาที่ ศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพราะอนาโตมีถือเป็นวิชาพื้นฐานของทุกวิชาที่จะเรียนต่อไป ร่างการ มนุษยเ์ ปน็ สิ่งที่ซับซ้อนและเปน็ ความลับ 2. กระดูกกะโหลกศรี ษะ คอื โครงกระดูกศีรษะและใบหนา รวมท้งั กระดูกขากรรไกรลาง (mandible) ถาโครงกระดกู ของ ศีรษะและใบหนาไมรวมขากรรไกรลางเรยี ก cranium (โดยทั่ว ๆ ไปอาจมกี ารใช skull แทน cranium ได) skull ประกอบดวยกระดูก 22 ชิ้น, กระดูกขากรรไกรลางเปนกระดูกของใบหนาสวนล่างและเปนกระดูกช้ิน เดียวที่เคลื่อนไหวได, โดย mandible นี้ยึดติดกับฐานกะโหลก (base of skull) ดวยขอตอที่เรียกว า temporomandibular joint สวนกระดูกอีก 21 ชิ้นจะเชื่อมตอกันอยางแนนหนาดวยขอตอท ่ีเรียกวา sutures ซึ่งเปนขอตอที่เคลื่อนไหวไมได และยากที่จะแยกกระดูกเหลานออกจากกัน, suture เห็นไดงายใน กะโหลกศรี ษะของคนวัยหนุมสาว แตเม่ือมีอายุมากข้ึนกระดกู ท่อี ยูใกลช ิดกันจะเช่อื มติดกนั น

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง วาดเสน้ คนเหมือน แผนจัดการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรือ่ ง วาดเสน้ คนหุ่นเหลย่ี ม รายวชิ า วาดเส้น ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 น้ำหนักเวลาเรียน 2.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 5 ชว่ั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง 1.1 นักเรยี นสามารถอธิบายความสำคัญของการวาดห่นุ เหลี่ยมได้อยา่ งถูกต้อง (K) 1.2 นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติงานวาดภาพห่นุ เหลี่ยมได้อย่างถูกตอ้ งและสวยงาม (P) 1.3 นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการวาดหุน่ เหลย่ี ม ชน่ื ชมในผลงานของตนเองและผู้อื่น (A) 2. สาระสำคญั การวาดหนุ่ เหลี่ยม เป็นพนื้ ฐานเร่ิมต้นในการฝึกวาดภาพคนเหมอื น 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความสำคัญของการวาดหุ่นเหล่ียม 3.2 วาดหนุ่ เหลี่ยม วาดเพือ่ อะไร? 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คณุ ลักษณะของวชิ า - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1 มุง่ มั่นในการทำงาน 6.2 มีวินยั 6.3 ใฝเ่ รยี นรู้ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเสน้ หนุ่ หนา้ เหลยี่ ม ใบงานท่ี วาดหุน่ หนา้ เหลีย่ ม 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน/ขน้ั ตั้งคำถาม ครถู ามนักเรยี นว่า ครใู ห้นักเรียนสัมผสั ใบหนา้ ของตนเองพรอ้ มกบั ให้สงั เกตดูหุ่นเหลย่ี มว่า ใบหน้าของเรามีเหลีย่ มมมี มุ เหมือนหุ่นอย่างไร ให้นักเรยี นทำความเข้าใจ 8.2 ขนั้ สอนอธบิ าย ครูสอนและอธิบายเก่ียวกบั ความสำคัญของการวาดหุ่นเหลย่ี ม และข้นั ตอนการวาดหนุ่ เหลีย่ มให้นกั เรียนฟัง โดยมีการใช้สอ่ื ให้นักเรียนดปู ระกอบการสอน

8.3 ขน้ั ปฏบิ ตั ิ ครูสาธิตการวาดหนุ่ เหลี่ยมให้นกั เรียนดูบนกระดาน ครูมอบหมายงานใหน้ ักเรยี นทำใบงาน วาดหุ่นเหลย่ี มดา้ นหน้าและด้านข้าง โดยใชด้ ินสอ EE ลงในวาดกระดาษปรุ๊บ 8.4 ขั้นสรปุ และประเมินผล ครูให้นักเรียนตอบคำถามเกย่ี วกับเรอ่ื งทีเ่ รยี น และสรปุ ความรรู้ ว่ มกัน ช่ัวโมงที่ 1 (การนำเข้าสู่บทเรียนและการสอนอธิบาย) 1. พดู คุยกับนักเรยี นเรอ่ื งเกี่ยวกบั เรอ่ื งการวาดคนหนุ่ เหล่ียม 2. สอนและอธบิ ายเกยี่ วกับเร่ือง การวาดเสน้ คนหุน่ เหลี่ยม 3. สอนและอธิบายขน้ั ตอนในการวาดเสน้ คนหุ่นเหลยี่ ม 4. ให้นกั เรยี นจดบันทกึ เนื้อหาทส่ี อนเก่ยี วกับกระดกู กะโหลกศรี ษะ ชั่วโมงที่ 2-5 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรยี นรู)้ 1. นกั เรยี นทำใบงาน 2 ชิน้ วาดเส้นคนหนุ่ เหลีย่ ม วาดเสน้ คนห่นุ เหลยี่ มดา้ นหน้า วาดเส้นคนหุ่นเหลย่ี มดา้ นข้าง ชว่ั โมงท่ี 6 (สรปุ บทเรียน) 1. ให้ตอบคำถามเกี่ยวกับบทเรียน 2. ให้นักเรียนออกมาอธิบายเกี่ยวกับวาดเส้นคนหุ่นเหลีย่ ม 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จำนวน สภาพการใชส้ ่ือ รายการส่อื 1 ชุด ขน้ั ปฏิบัติ 1.สือ่ ข้ันตอนการวาดเส้นหนุ่ เหล่ียม 1 ชุด ขนั้ ปฏบิ ัติ 2.ภาพวาดเสน้ ห่นุ เหล่ียมด้านหนา้ และดา้ นข้าง 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑ์การวัดผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถกู ตอ้ งสวยงาม 10 คะแนน การจัดองคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑ์การประเมินผล ไดค้ ะแนน 13-15 ดมี าก ได้คะแนน 10-12 ดี ไดค้ ะแนน 7- 9 พอใช้ ได้คะแนน 1-6 ปรับปรุง

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ตัวอย่าง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผู้เรียน 6. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ 7. ความมีเหตุผล รูจ้ กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลิตสอ่ื ท่เี หมาะสม มจี ติ สำนึกทด่ี ี เอ้อื อาทร ประนีประนอม 8. มภี ูมิคมุ กนั ในตวั ทดี่ ี และสอดคล้องเน้ือหาเปน็ ประโยชน์ต่อ นกึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กลุ่ม 9. เงื่อนไขความรู้ ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิปญั ญาของผูเ้ รียน 10. เงื่อนไขคณุ ธรรม - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ด้วยความถกู ต้อง ไมห่ ยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลดุ พ้นจาก สุจรติ แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบเพอ่ื ให้ การดำรงชีวิต หลดุ พน้ จากความไมร่ )ู้ - ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ ส่ิงยว่ั กเิ ลสใหห้ มดส้ินไป ไม่ก่อความชั่วให้ เปน็ เคร่อื งทำลายตวั เอง ทำลายผ้อู น่ื พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ทมี่ อี ยู่ใหง้ อกงาม สมบูรณย์ ่ิงขึน้ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภูมธิ รรม : ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ขยนั อดทน ภมู ิธรรม : ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงตอ่ เวลาและแบง่ ปนั ตรงตอ่ เวลา เสยี สละและ แบ่งปนั ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลัง ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เก่ยี วขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบทจี่ ะนำ เกิดงาน ปรมิ าณที่เกย่ี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความรู้เหลา่ น้ันมาพิจารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน ท่ีต้องใช้ สามารถนำความรูเ้ หล่านน้ั มา เพ่อื ประกอบการวางแผน การดำเนินการจดั พิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน สามารถประยกุ ต์ กิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้กับผเู้ รยี น ใช้ในชวี ิตประจำวัน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดำเนินชวี ิต ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต งานและกำลงั งานและกำลัง งานและกำลงั - การเกิดงานแตล่ ะกรณี - ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการเกดิ งาน - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปรมิ าณทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเกิดงานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกดิ งานและ เชิงกล กำลัง กำลงั พรอ้ มคำนวณปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบบนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปญั หาท่ีพบ ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่อื …..........………….......................…….. ครผู ูจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

กิจกรรม วาดเส้นคนหุ่นเหลี่ยม ใบงานท่ี วาดหุ่นหนา้ เหลยี่ ม ช่ือ ............................................................นามสกลุ ..........................................ชน้ั ..................... เลขท.ี่ ........... คำช้ีแจง ให้นกั เรียนทำใบงาน วาดเสน้ หนุ่ หนา้ เหลีย่ ม 2 ภาพ คอื ด้านหน้าและดา้ นข้าง ใบความรู้เรือ่ ง ใบความรเู้ รื่อง วาดเส้นคนหุ่นเหลีย่ ม 1. ความสำคัญของการวาดหนุ่ เหลย่ี ม

หุ่นเหลีย่ มมีความสำคัญมากในการวาดภาพเหมือนเพราะหากเราศึกษาและหัดวาดหุ่นเหลี่ยมจน เข้าใจและชำนาญกจ็ ะทำให้ง่ายต่อการวาดภาพส่วนตา่ งๆบนใบหนา้ และง่ายตอ่ การลงแสงเงาด้วย 2. วาดหนุ่ เหลี่ยม วาดเพื่ออะไร? หุ่นเหลี่ยมเปน็ แนวทางในการวาดรปู ทรงหนา้ คนมาตรฐานโดยทว่ั ไป ตา หูจมกู ปาก ท่ีมีสัดส่วนเปน็ มาตรฐาน การเป็นกลุ่มก้อนของสดั ส่วนรูปทรง และนำ้ หนักแสงเงา จึงทำใหก้ ารวาดหุ่นเหล่ยี มชว่ ยใหเ้ รา สามารถเรียนรู้การวาดหนา้ คนได้อย่างเข้าใจมากข้ึน ผู้ทจี่ ะเร่มิ ฝกึ วาดportrait จงึ ควรท่จี ะเรมิ่ จากวาดหุ่น เหล่ยี มเป็นอนั ดับแรกนั่นเองข้ันตอนการวาด

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง วาดเสน้ คนเหมอื น แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง วาดเสน้ อวยั วะตา รายวชิ า วาดเสน้ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 น้ำหนกั เวลาเรยี น 2.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 ชว่ั โมง .......................................................................................... ................................................................ 1. ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการวาดดวงตาไดอ้ ย่างถูกต้อง (K) 3.2 นักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิงานวาดตาได้อย่างถูกต้องและสวยงาม (P) 3.3 นกั เรียนเหน็ ความสำคัญของการฝกึ เขียนตา ชนื่ ชมในผลงานของตนเองและผู้อน่ื (A) 2. สาระสำคัญ การวาดตา เป็นสง่ิ สำคญั ในการฝึกวาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความสำคัญของการวาดดวงตา 3.2 จุดสำคัญในการวาดตา 3.3 การวาดตาในแบบและอารมณต์ า่ งๆ 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2. มวี นิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเส้นอวัยวะตา ใบงานที่ วาดตาในลกั ษณะต่างๆ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคำถาม ครูถามนักเรียนว่า อวัยวะใดบนใบหนา้ ทบ่ี ง่ บอกไดถ้ ึงความร้สู ึกท่แี สดงออกมาได้ (เด็ก ร่วมกนั แสดงความดกิ เห็น) 8.2 ขน้ั สอนอธบิ าย ครูสอนและอธิบายเกย่ี วกบั ความสำคญั ของการวาดดวงตา,จุดสำคัญในการวาดตา,การวาด ตาในแบบและอารมณ์ตา่ งๆใหน้ ักเรยี นฟัง โดยมีการใชส้ ่ือให้นักเรียนดูประกอบการสอน

8.3 ขนั้ ปฏบิ ัติ ครสู าธติ การวาดตาให้นักเรยี นดูบนกระดาน ครมู อบหมายงานให้นักเรียนทำใบงาน วาดเส้นตาในลักษณะต่างๆโดยใช้ดินสอ EE ลงในวาด กระดาษปรุ๊บ 8.4 ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล ครูให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีเรยี น และสรปุ ความร้รู ว่ มกัน ช่วั โมงที่ 1 (การนำเข้าสู่บทเรียนและการสอนอธบิ าย) 1. พูดคยุ กับนักเรียนเรือ่ งเก่ยี วกับเรอ่ื งอวยั วะบนใบหนา้ 2. สอนและอธบิ ายเกีย่ วกับเรื่อง การวาดตา 3. สอนและอธบิ ายข้ันตอนในการวาดตา 4. ใหน้ ักเรียนจดบันทึกเนื้อหาท่ีสอนเกี่ยวกับการวาดตา ชวั่ โมงท่ี 2-5 (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝเ่ รยี นร)ู้ 1. นักเรียนทำใบงาน 1 ชน้ิ วาดเสน้ ตาในลักษณะแบบต่างๆ ช่ัวโมงท่ี 6 (สรุปบทเรียน) 1. ให้ตอบคำถามเกย่ี วกบั บทเรยี น 2. ให้นักเรียนออกมาอธิบายเก่ียวกบั วาดตา 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสอ่ื จำนวน สภาพการใชส้ ื่อ 1 ชุด ข้ันปฏบิ ัติ 1.สื่อขนั้ ตอนการวาดตา 1 ชดุ ขนั้ ปฏบิ ัติ 2.ภาพวาดตาในลักษณะต่างๆ 11.การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑ์การวดั ผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถกู ตอ้ งสวยงาม 10 คะแนน การจัดองคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑ์การประเมินผล ได้คะแนน 13-15 ดมี าก ได้คะแนน 10-12 ดี ได้คะแนน 7- 9 พอใช้ ไดค้ ะแนน 1-6 ปรบั ปรุง

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ตัวอย่าง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 11. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ทีเ่ หมาะสม 12. ความมเี หตผุ ล มจี ติ สำนึกทด่ี ี เอ้อื อาทร ประนีประนอม และสอดคล้องเนอ้ื หาเป็นประโยชนต์ อ่ นกึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กลุ่ม 13. มีภมู คิ มุ กนั ในตัวทดี่ ี ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิปญั ญาของผเู้ รียน 14. เงือ่ นไขความรู้ - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง ไม่หยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลดุ พ้นจาก 15. เง่ือนไขคุณธรรม สจุ รติ แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชีวิต หลุดพน้ จากความไมร่ )ู้ - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ี ลด เลกิ ส่งิ ยว่ั เชิงกล กเิ ลสใหห้ มดส้นิ ไป ไม่กอ่ ความช่วั ให้ เปน็ เคร่ืองทำลายตวั เอง ทำลายผ้อู ่นื พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ท่ีมอี ยู่ใหง้ อกงาม สมบรู ณย์ ่งิ ขึ้น ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยันอดทน ภมู ิธรรม : ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปนั ตรงตอ่ เวลา เสยี สละและ แบ่งปนั ความรอบรู้ เรื่อง งานและกำลงั ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เก่ียวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนำ เกดิ งาน ปรมิ าณที่เกย่ี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความร้เู หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกัน ทต่ี ้องใช้ สามารถนำความรูเ้ หล่านน้ั มา เพ่อื ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด พิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน สามารถประยกุ ต์ กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้กับผ้เู รยี น ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวิต ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต งานและกำลัง งานและกำลงั - ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการเกดิ งาน - ปรมิ าณทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเกดิ งานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกดิ งานและ กำลัง กำลงั พรอ้ มคำนวณปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวทางแกไ้ ข ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรม วาดเสน้ อวยั วะตา ใบงานที่ วาดตาในลักษณะต่างๆ ชื่อ ............................................................นามสกลุ ..........................................ชั้น..................... เลจที่....... คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน วาดเสน้ ตาในลักษณะตา่ งๆ ใบความรู้เรอ่ื ง วาดเส้นอวัยวะตา

1. ความสำคญั ของการวาดดวงตา ดวงตาเป็นจุดทส่ี ำคัญมากบนใบหนา้ มคี วามสำคัญมากในการเขยี นรูปเหมอื น หากเขียนตาไมส่ วย รปู ทีว่ าดก็จะไม่สวยและดูไม่มชี ีวิต 2. จดุ สำคญั ในการวาดตา จดุ สำคญั คือส่วนทแี่ สงกระทบแกว้ ตานั้นเปน็ จุดท่สี ว่างที่สุดควรปลอ่ ยขาวเลยไม่ตอ้ งลงน้ำหนักและใน จดุ ทดี่ ำก็ควรดำใหไ้ ด้นำ้ หนัก เพราะการจะเขียนตาน้ำหนักความดำเปน็ ตวั ทำใหต้ าใสและเด่นชดั ดมู ีชีวติ มาก ย่งิ ขน้ึ 3. ตาในแบบและอารมณต์ า่ งๆ

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง วาดเสน้ คนเหมอื น แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 เรื่อง วาดเสน้ อวัยวะจมูก รายวิชา วาดเสน้ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 น้ำหนกั เวลาเรยี น 2.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 5 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 5 ชว่ั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 นักเรยี นสามารถอธบิ ายความสำคญั ของการวาดจมกู ได้อย่างถูกต้อง (K) 1.2 นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิงานวาดภาพจมูกไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและสวยงาม (P) 1.3 นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการเขยี นจมูก ชน่ื ชมในผลงานของตนเองและผอู้ นื่ (A) 2. สาระสำคัญ การวาดจมกู เปน็ สง่ิ สำคญั ในการฝกึ วาดภาพคนเหมือน 3.สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความสำคญั ของการวาดจมกู 3.2 จดุ สำคัญในการวาดจมูก 3.3 เทคนคิ ขั้นตอนวาดจมกู 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มงุ่ มั่นในการทำงาน 2. มวี ินยั 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน - กจิ กรรม วาดเสน้ อวยั วะจมูก ใบงานที่ วาดจมกู ในลักษณะตา่ งๆ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ข้ันนำเข้าส่บู ทเรียน/ขั้นตั้งคำถาม ครูถามนักเรยี นว่า อวัยวะส่วนใดบนใบหนา้ ทย่ี ่ืนออกมามากท่ีสุด (เด็กรว่ มกนั แสดงความดิก เห็น) 8.2 ขนั้ สอนอธบิ าย ครูสอนและอธิบายเกีย่ วกับความสำคญั ของการวาดจมกู ,จุดสำคัญในการวาดจมกู ,และ เทคนคิ ข้นั ตอนวาดจมูก ใหน้ ักเรยี นฟงั โดยมีการใช้ส่อื ใหน้ กั เรียนดปู ระกอบการสอน

8.3 ข้นั ปฏบิ ตั ิ ครูสาธติ การวาดจมูกให้นักเรียนดูบนกระดาน ครมู อบหมายงานใหน้ ักเรียนทำใบงาน วาดจมูกในลกั ษณะต่างๆโดยใชด้ นิ สอ EE ลงในวาด กระดาษปร๊บุ 8.4 ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล ครูใหน้ ักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกบั เร่อื งที่เรียน และสรุปความร้รู ว่ มกนั ชว่ั โมงท่ี 1 (การนำเขา้ ส่บู ทเรียนและการสอนอธิบาย) 1. พูดคยุ กับนักเรยี นเรอ่ื งเก่ียวกับเร่ืองอวยั วะบนใบหนา้ 2. สอนและอธิบายเกี่ยวกบั เร่ือง การวาดจมูก 3. สอนและอธิบายขน้ั ตอนในการวาดจมูก 4. ให้นกั เรยี นจดบนั ทกึ เน้ือหาที่สอนเก่ยี วกบั การวาดจมูก ชั่วโมงท่ี 2-5 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรยี นรู้) 1. นกั เรยี นทำใบงาน 1 ชิ้น วาดจมกู ในลักษณะแบบต่างๆ ช่ัวโมงที่ 6 (สรุปบทเรียน) 1. ให้ตอบคำถามเกี่ยวกับบทเรียน 2. ให้นักเรยี นออกมาอธบิ ายเกยี่ วกับวาดเส้นการเขียนจมกู 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ รายการสอ่ื จำนวน สภาพการใช้สอื่ 1 ชดุ ขัน้ ปฏิบัติ 1.สอ่ื ขั้นตอนการวาดจมูก 1 ชุด ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 2.ภาพวาดจมูกในลักษณะตา่ งๆ 10.การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑ์การวดั ผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถูกต้องสวยงาม 10 คะแนน การจัดองคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ได้คะแนน 13-15 ดีมาก ไดค้ ะแนน 10-12 ดี ได้คะแนน 7- 9 พอใช้ ไดค้ ะแนน 1-6 ปรับปรงุ

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ตัวอย่าง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 16. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ทีเ่ หมาะสม 17. ความมเี หตผุ ล มจี ติ สำนึกทด่ี ี เอ้อื อาทร ประนีประนอม และสอดคล้องเนอ้ื หาเป็นประโยชนต์ อ่ นกึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กลุ่ม 18. มีภมู คิ มุ กนั ในตัวทดี่ ี ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิปญั ญาของผเู้ รียน 19. เงือ่ นไขความรู้ - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง ไม่หยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลดุ พ้นจาก 20. เง่ือนไขคุณธรรม สจุ รติ แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชีวิต หลุดพน้ จากความไมร่ )ู้ - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ี ลด เลกิ ส่งิ ยว่ั เชิงกล กเิ ลสใหห้ มดส้นิ ไป ไม่กอ่ ความช่วั ให้ เปน็ เคร่ืองทำลายตวั เอง ทำลายผ้อู ่นื พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ท่ีมอี ยู่ใหง้ อกงาม สมบรู ณย์ ่งิ ขึน้ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยันอดทน ภมู ิธรรม : ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปนั ตรงตอ่ เวลา เสยี สละและ แบ่งปนั ความรอบรู้ เรื่อง งานและกำลงั ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เก่ียวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนำ เกดิ งาน ปรมิ าณที่เกย่ี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความร้เู หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกัน ทต่ี ้องใช้ สามารถนำความรูเ้ หล่านน้ั มา เพ่อื ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด พิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน สามารถประยกุ ต์ กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้กับผ้เู รยี น ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวิต ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต งานและกำลัง งานและกำลงั - ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการเกดิ งาน - ปรมิ าณทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเกดิ งานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกดิ งานและ กำลัง กำลงั พรอ้ มคำนวณปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม วาดเสน้ อวัยวะจมูก ใบงานที่ วาดจมูกในลักษณะตา่ งๆ ช่ือ .................................................................นามสกลุ ......................................ชั้น..................... เลขที่............ คำชี้แจง ให้นักเรยี นทำใบงาน วาดเสน้ ในลกั ษณะตา่ งๆ ใบความรู้เรือ่ ง วาดเส้นการเขียนจมกู 1. ความสำคญั ของการวาดจมกู

จมกู เป็นส่วนสำคญั ทีจ่ ะทำให้หน้าดแู บนหรอื มีมติ ิรปู รา่ ง เพราะจมูกจะเปน็ สว่ นท่ีโผลข่ ึน้ มามากสดุ บนใบหน้า 2. จดุ สำคัญในการวาดจมูก จดุ สำคัญในการวาดจมกู คือ ต้องมีแสงสะท้อนทป่ี ลายจมูกจะชว่ ยทำให้จมูกดูมีปรมิ านดูสมจริงมาก ยง่ิ ขึน้ และส่วนที่รจู มูกจะต้องมนี ้ำหนักทเ่ี ข้มทสี่ ุด เพราะจะช่วยทำให้ดูลกึ เข้าไปดูสมจริงมากยิ่งขึ้น 4 เทคนิคขน้ั ตอนวาดจมกู 1. รา่ งโครงสรา้ งของจมกู ดว้ ยเสน้ แบบงา่ ยๆ 2. เม่ือไดโ้ ครงสรา้ งแลว้ กใ็ หแ้ บง่ รายละเอยี ดของสว่ นตา่ งๆ 3. เรม่ิ วาดเก็บรายละเอียดโครงสรา้ งมือ แลว้ ลงนา้ หนกั แสงเงาโดยรวม 4. ลงนา้ หนกั แสงเงาและเก็บลายละเอยี ด

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง วาดเสน้ คนเหมือน แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่อื ง วาดเส้นอวัยวะปาก รายวชิ า วาดเสน้ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 นำ้ หนักเวลาเรยี น 2.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ช่วั โมง ........................................................................................................................................................ .. 1. ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง 1.1 นักเรยี นสามารถอธิบายข้อสงั เกตในการวาดปากได้อย่างถกู ต้อง (K) 1.2 นกั เรียนสามารถปฏิบัติงานวาดปากได้อยา่ งถูกต้องและสวยงาม (P) 1.3 นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการเขียนปาก ชืน่ ชมในผลงานของตนเองและผ้อู ื่น (A) 2. สาระสำคัญ การวาดปาก เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกวาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ข้อสังเกตในการวาดปาก 3.2 ขัน้ ตอนการวาดปาก 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวชิ า - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ 6. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 2. มีวนิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเส้นอวยั วะปาก ใบงานท่ี วาดปากในลักษณะต่างๆ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น/ขนั้ ตั้งคำถาม ครูถามนักเรยี นวา่ ริมฝปี ากบนกับรมิ ฝีปากล่างมคี วามแตกต่างกันอยา่ งไร (เด็กรว่ มกนั แสดง ความดิกเหน็ ) 8.2 ขั้นสอนอธบิ าย ครูสอนและอธิบายเกีย่ วกับข้อสงั เกตในการวาดปากและขั้นตอนการวาดปากใหน้ ักเรียนฟงั โดยมีการใช้สอื่ ให้นักเรียนดปู ระกอบการสอน 8.3 ขน้ั ปฏิบัติ ครูสาธติ การวาดปากให้นกั เรียนดูบนกระดาน

ครมู อบหมายงานให้นักเรียนทำใบงาน วาดปากในลกั ษณะตา่ งๆโดยใช้ดนิ สอ EE ลงในวาด กระดาษปรบุ๊ 8.4 ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล ครูใหน้ กั เรยี นตอบคำถามเกยี่ วกบั เรื่องท่ีเรยี น และสรปุ ความรรู้ ว่ มกนั ช่วั โมงที่ 1 (การนำเขา้ สบู่ ทเรียนและการสอนอธบิ าย) 1. พูดคุยกับนักเรยี นเร่ืองเก่ยี วกับเร่ืองอวยั วะบนใบหน้า 2. สอนและอธิบายเก่ยี วกบั เรื่อง การวาดปาก 3. สอนและอธบิ ายขั้นตอนในการวาดปาก 4. ใหน้ ักเรยี นจดบนั ทึกเน้ือหาท่ีสอนเก่ียวกบั การวาดปาก ช่ัวโมงที่ 2-5 (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรียนร)ู้ 1. นักเรียนทำใบงาน 1 ชิ้น วาดปากในลักษณะแบบต่างๆ ชัว่ โมงที่ 6 (สรุปบทเรยี น) 1. ใหต้ อบคำถามเกีย่ วกับบทเรยี น 2. ใหน้ กั เรยี นออกมาอธิบายเก่ียวกับวาดเส้นการเขยี นปาก 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสอื่ จำนวน สภาพการใชส้ อ่ื 1.สือ่ ขัน้ ตอนการวาดปาก 1 ชดุ ขนั้ สรา้ งความสนใจ 2.ภาพวาดปากในลักษณะต่างๆ 1 ชุด ข้นั สรา้ งความเข้าใจ 10.การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑก์ ารวดั ผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถูกต้องสวยงาม 10 คะแนน การจัดองค์ประกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ไดค้ ะแนน 13-15 ดมี าก ได้คะแนน 10-12 ดี ได้คะแนน 7- 9 พอใช้ ไดค้ ะแนน 1-6 ปรบั ปรุง

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน (ตัวอย่าง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 21. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สื่อที่เหมาะสม 22. ความมเี หตผุ ล มีจิตสำนึกที่ดี เอือ้ อาทร ประนีประนอม และสอดคลอ้ งเนอื้ หาเป็นประโยชน์ตอ่ นึกถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กล่มุ 23. มีภมู คิ มุ กนั ในตัวทดี่ ี ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภูมิปญั ญาของผเู้ รียน 24. เงือ่ นไขความรู้ - ยึดถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความถูกตอ้ ง ไม่หยดุ นิ่งทหี่ าหนทางในชีวติ หลดุ พ้นจาก 25. เง่ือนไขคุณธรรม สจุ รติ แมจ้ ะตกอย่ใู นภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชวี ติ หลุดพน้ จากความไมร่ )ู้ - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ ส่งิ ยว่ั เชิงกล กเิ ลสใหห้ มดสน้ิ ไป ไม่ก่อความช่ัวให้ เปน็ เคร่ืองทำลายตัวเอง ทำลายผอู้ ่ืน พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ท่มี ีอยใู่ หง้ อกงาม สมบรู ณย์ ิง่ ขึ้น ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ขยนั อดทน ภมู ิธรรม : ซื่อสัตย์ สจุ รติ ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปนั ตรงต่อเวลา เสยี สละและ แบ่งปนั ความรอบรู้ เรื่อง งานและกำลงั ที่ ความรอบรู้ เร่ือง งานและกำลงั กรณที ี่ เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบทจ่ี ะนำ เกดิ งาน ปรมิ าณทเี่ กี่ยวข้อง การคำนวณสตู ร ความร้เู หล่าน้ันมาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกัน ทตี่ ้องใช้ สามารถนำความรู้เหล่านน้ั มา เพ่อื ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด พจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั สามารถประยุกต์ กิจกรรมการเรยี นร้ใู หก้ บั ผ้เู รียน ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ ซอื่ สัตยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนนิ ชวี ติ ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวติ งานและกำลัง งานและกำลงั - ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเกิดงาน - ระบปุ จั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ปรมิ าณทเ่ี กีย่ วข้องกับการเกดิ งานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกิดงานและ กำลัง กำลงั พรอ้ มคำนวณปรมิ าณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม วาดเสน้ อวยั วะปาก ใบงานที่ วาดปากในลกั ษณะตา่ งๆ ชอ่ื .................................................................นามสกุล ......................................ช้นั ..................... เลขท่.ี ........... คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน วาดเสน้ รปู ปากในลกั ษณะต่างๆ ใบความรเู้ รื่อง วาดเส้นการเขยี นปาก

1 ขอ้ สังเกตในการวาดปาก ในการวาดปาก แตล่ ะคนจะมีริมฝีปากท่ีแตกต่างกนั จะต้องสงั เกตลกั ษณะของปากว่า ปากบาง หรือ หนา ปากเล็ก ปากกวา้ ง มีมุมปากเป็นแบบไหน ตอ้ งใหส้ งั เกตให้ดี 2 ขน้ั ตอนการวาดปาก 1. มองแบบใหเ้ ปน็ รูปทรงเลขาคณิตก่อนแลว้ บรรจงร่างเบาๆลงไป 2. ร่างเก็บลายละเอียด 3. ลงน้ำหนักออ่ น 4. ลงนำ้ หนกั โดยรวมกำหนดแสงและเงา 5. ลงนำ้ หนักเขม้ 6. เกบ็ ลายละเอียด

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง วาดเส้นคนเหมอื น แผนจดั การเรียนรูท้ ี่ 6 เรื่อง วาดเสน้ อวยั วะหู รายวิชา วาดเส้น ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 นำ้ หนกั เวลาเรียน 2.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 5 ชว่ั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง 1.1 นกั เรียนสามารถอธบิ ายข้อสงั เกตในการวาดหูได้อยา่ งถูกต้อง (K) 1.2 นักเรียนสามารถปฏบิ ตั งิ านวาดภาพหไู ด้อย่างถูกต้องและสวยงาม (P) 1.3 นักเรียนเหน็ ความสำคญั ของการเขียนหู ชนื่ ชมในผลงานของตนเองและผูอ้ ่ืน (A) 2. สาระสำคญั การวาดปาก เป็นส่ิงสำคัญในการฝึกวาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ข้อสงั เกตในการวาดหู 3.2 ขน้ั ตอนการวาดหู 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ 6. คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2. มีวินัย 3. ใฝเ่ รียนรู้ . ชนิ้ งาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเสน้ อวยั วะหู ใบงานท่ี วาดหูในลักษณะตา่ งๆ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรยี น/ข้นั ตั้งคำถาม ครถู ามนักเรียนวา่ อวัยวะส่วนใดบนใบหนา้ ทย่ี ื่นออกมามากที่สุด (เด็กร่วมกนั แสดงความดิก เห็น) 8.2 ขัน้ สอนอธบิ าย ครูสอนและอธบิ ายเกี่ยวกับความสำคญั ของการวาดจมกู ,จุดสำคัญในการวาดจมูก,การวาก จมูกในแบบและอารมณต์ า่ งๆและเทคนิคขั้นตอนวาดจมูกใหน้ ักเรียนฟัง โดยมีการใช้สือ่ ใหน้ ักเรยี นดู ประกอบการสอน

8.3 ขัน้ ปฏิบัติ ครสู าธติ การวาดจมูกใหน้ ักเรียนดูบนกระดาน ครูมอบหมายงานให้นักเรยี นทำใบงาน วาดจมูกในลักษณะต่างๆโดยใชด้ ินสอ EE ลงในวาด กระดาษปรุ๊บ 8.4 ข้นั สรปุ และประเมินผล ครูใหน้ ักเรียนตอบคำถามเกยี่ วกบั เรื่องทีเ่ รียน และสรุปความรูร้ ่วมกนั ชวั่ โมงท่ี 1 (การนำเขา้ สู่บทเรียนและการสอนอธบิ าย) 1. พูดคยุ กบั นักเรียนเรื่องเกีย่ วกบั เรอื่ งอวยั วะบนใบหน้า 2. สอนและอธิบายเกยี่ วกับเรื่อง การวาดจมูก 3. สอนและอธิบายข้นั ตอนในการวาดจมูก 4. ให้นกั เรยี นจดบนั ทกึ เนื้อหาท่ีสอนเกยี่ วกับการวาดจมูก ชั่วโมงที่ 2-5 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝเ่ รียนรู้) 1. นักเรยี นทำใบงาน 1 ชิ้น วาดจมูกในลักษณะแบบตา่ งๆ ชัว่ โมงท่ี 6 (สรปุ บทเรยี น) 1. ใหต้ อบคำถามเกี่ยวกบั บทเรยี น 2. ให้นักเรียนออกมาอธบิ ายเกย่ี วกับวาดเส้นการเขียนจมกู 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จำนวน สภาพการใช้สื่อ รายการส่อื 1 ชดุ ข้ันสร้างความสนใจ 1 ชุด ขั้นสร้างความเข้าใจ 1.สื่อขัน้ ตอนการวาดหู 2.ภาพวาดหูในลกั ษณะต่างๆ 10.การวัดผลและประเมินผล 10.1 เกณฑ์การวัดผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถกู ต้องสวยงาม 10 คะแนน การจัดองคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ไดค้ ะแนน 13-15 ดีมาก ไดค้ ะแนน 10-12 ดี ไดค้ ะแนน 7- 9 พอใช้ ได้คะแนน 1-6 ปรับปรงุ

11. จุดเนน้ ของโรงเรยี น การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผ้เู รยี น 26. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 27. ความมเี หตผุ ล รู้จักใช้เทคโนโลยมี าผลติ ส่อื ท่ีเหมาะสม มจี ติ สำนึกทดี่ ี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอม 28. มีภูมิคมุ กนั ในตัวทีด่ ี และสอดคล้องเนื้อหาเปน็ ประโยชน์ตอ่ นกึ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่ 29. เงื่อนไขความรู้ ผู้เรยี นและพฒั นาจากภูมิปญั ญาของผูเ้ รียน 30. เงอื่ นไขคุณธรรม - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ตอ้ ง ไม่หยดุ นิง่ ที่หาหนทางในชีวติ หลดุ พ้นจาก สจุ รติ แม้จะตกอยใู่ นภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การคน้ หาคำตอบเพอ่ื ให้ การดำรงชวี ิต หลดุ พ้นจากความไม่ร)ู้ - ปฏบิ ัติตนในแนวทางท่ดี ี ลด เลกิ สิ่งยว่ั กิเลสใหห้ มดสิ้นไป ไม่กอ่ ความชัว่ ให้ เปน็ เครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผ้อู น่ื พยายาม เพิม่ พนู รักษาความดี ท่ีมีอย่ใู ห้งอกงาม สมบูรณ์ย่ิงข้ึน ภมู ปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน ภมู ธิ รรม : ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ขยันอดทน ตรงต่อเวลาและแบง่ ปนั ตรงต่อเวลา เสยี สละและ แบ่งปัน ความรอบรู้ เรือ่ ง งานและกำลัง ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เกย่ี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่จี ะนำ เกดิ งาน ปริมาณท่ีเก่ยี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความรเู้ หลา่ นั้นมาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกนั ทต่ี ้องใช้ สามารถนำความรเู้ หล่านนั้ มา เพอื่ ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การจดั พจิ ารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั สามารถประยุกต์ กจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้กบั ผเู้ รยี น ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ซื่อสตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชีวติ ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดำเนินชวี ิต งานและกำลงั งานและกำลัง งานและกำลัง - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการเกดิ งาน - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปริมาณทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการเกดิ งานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกดิ งานและ เชงิ กล กำลัง กำลงั พร้อมคำนวณปริมาณท่ีเกี่ยวข้อง

แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม วาดเส้นอวัยวะหู ใบงานที่ วาดหูในลกั ษณะต่างๆ ชอ่ื .................................................................นามสกลุ ......................................ชั้น..................... เลขท่.ี ........... คำชี้แจง ให้นักเรยี นทำใบงาน วาดหใู นลกั ษณะต่างๆ ใบความรเู้ ร่อื ง วาดเส้นการเขียนปาก ใบความรเู้ รือ่ ง วาดเสน้ การเขียนหู

1 ข้อสังเกตในการวาดหู ในการวาดหู แตล่ ะคนจะหูท่ีแตกต่างกนั จะต้องสงั เกตลกั ษณะวา่ ใบหูกางหรอื ไม่ เลก็ ใหญ่ไมเ่ ท่ากัน บางคนมี ตง่ิ หู แต่บางคนอาจไม่มี 2 ขั้นตอนการวาดหู 1. รา่ งโครงสรา้ งของหดู ว้ ยเสน้ แบบงา่ ยๆ 2. เม่ือไดโ้ ครงสรา้ งแลว้ กใ็ หแ้ บ่งรายละเอียดของสว่ นตา่ งๆ 3. เร่มิ วาดเกบ็ รายละเอยี ดโครงสรา้ งมือ แลว้ ลงนา้ หนกั แสงเงาโดยรวม 4. ลงนา้ หนกั แสงเงาและเก็บลายละเอยี ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง วาดเส้นคนเหมอื น แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 7 เร่ือง วาดเส้นภาพเดก็ 1 รายวิชา วาดเส้น ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 นำ้ หนกั เวลาเรียน 2.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 5 ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายเกีย่ วกับสดั ส่วนในการวาดภาพเด็กได้อยา่ งถูกต้อง (K) 1.2 นักเรียนสามารถปฏิบตั งิ านวาดภาพเหมอื นเดก็ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและสวยงาม (P) 1.3 นักเรียนความสขุ ในการวาดเดก็ ชน่ื ชมในผลงานของตนเองและผู้อืน่ (A) 2. สาระสำคัญ การวาดเดก็ เป็นสิ่งท่ีต้องฝึกในการฝึกวาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สัดสว่ นในการวาดภาพเด็ก 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2. มวี นิ ัย 3. ใฝ่เรยี นรู้ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเสน้ ภาพเด็ก 1 ใบงานท่ี วาดภาพเดก็ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น/ข้ันตั้งคำถาม ครูถามนักเรยี นวา่ เดก็ มีอะไรทแ่ี ตกตา่ งไปจากผใู้ หญ่ (เด็กร่วมกันแสดงความดกิ เห็น) 8.2 ขน้ั สอนอธบิ าย ครูสอนและอธบิ ายเกี่ยวกบั สัดสว่ นในการวาดภาพเดก็ ให้นักเรยี นฟัง โดยมีการใชส้ ่ือให้ นกั เรยี นดปู ระกอบการสอน 8.3 ขั้นปฏบิ ตั ิ ครสู าธติ การวาดภาพเด็กใหน้ ักเรยี นดบู นกระดาน ครมู อบหมายงานให้นักเรียนทำใบงาน วาดภาพเหมือนเด็ก 1 ภาพ โดยใชด้ นิ สอ EE ลงใน วาดกระดาษปร๊บุ

8.4 ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล ครูใหน้ ักเรียนตอบคำถามเกย่ี วกบั เรอื่ งท่ีเรยี น และสรุปความร้รู ว่ มกนั ชัว่ โมงท่ี 1 (การนำเข้าสู่บทเรียนและการสอนอธิบาย) 1. พูดคุยกับนักเรยี นเรื่องเกี่ยวกบั ความแตกต่างของเด็กกับผ้ใู หญ่ 2. สอนและอธิบายเกี่ยวกบั เรื่อง สัดส่วนในการวาดภาพเด็ก 3. สอนและอธบิ ายข้ันตอนในการวาดภาพเด็ก 4. ให้นักเรียนจดบันทึกเน้ือหาทีส่ อนเกยี่ วกบั สัดส่วนในการวาดภาพเดก็ ช่ัวโมงที่ 2-5 (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝเ่ รยี นร)ู้ 1. นักเรียนทำใบงาน 1 ชนิ้ วาดภาพเหมือนเดก็ ชว่ั โมงที่ 6 (สรปุ บทเรียน) 1. ให้ตอบคำถามเกย่ี วกับบทเรยี น 2. ให้นักเรียนออกมาอธบิ ายเกี่ยวกับวาดเส้นการเขยี นภาพเดก็ 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสอื่ จำนวน สภาพการใชส้ ่อื 1.ตัวอยา่ งภาพวาดเด็ก 1 ชดุ ข้นั สร้างความเข้าใจ 10.การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑ์การวัดผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถูกตอ้ งสวยงาม 10 คะแนน การจัดองค์ประกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ได้คะแนน 13-15 ดีมาก ไดค้ ะแนน 10-12 ดี ได้คะแนน 7- 9 พอใช้ ได้คะแนน 1-6 ปรบั ปรุง

11. จุดเนน้ ของโรงเรยี น การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผ้เู รยี น 31. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ รู้จักใช้เทคโนโลยมี าผลติ สือ่ ทีเ่ หมาะสม 32. ความมเี หตผุ ล มจี ติ สำนึกทดี่ ี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอม และสอดคลอ้ งเนื้อหาเปน็ ประโยชน์ตอ่ นกึ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่ 33. มีภูมิคมุ กนั ในตัวทีด่ ี ผู้เรยี นและพฒั นาจากภูมปิ ญั ญาของผูเ้ รียน 34. เงื่อนไขความรู้ - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความถกู ตอ้ ง ไม่หยดุ นิง่ ที่หาหนทางในชีวติ หลดุ พ้นจาก 35. เงอื่ นไขคุณธรรม สจุ รติ แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การคน้ หาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชวี ิต หลดุ พ้นจากความไม่ร)ู้ - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปฏบิ ัติตนในแนวทางทด่ี ี ลด เลกิ สิ่งยว่ั เชงิ กล กิเลสใหห้ มดสิ้นไป ไม่ก่อความช่ัวให้ เปน็ เครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผูอ้ ่ืน พยายาม เพิม่ พนู รักษาความดี ท่ีมอี ยู่ใหง้ อกงาม สมบูรณ์ย่ิงขึ้น ภมู ปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวงั ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซ่ือสัตย์ สจุ ริต ขยันอดทน ภมู ธิ รรม : ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ขยันอดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปนั ตรงต่อเวลา เสยี สละและ แบ่งปัน ความรอบรู้ เรื่อง งานและกำลัง ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เกย่ี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่จี ะนำ เกดิ งาน ปริมาณท่ีเก่ยี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความรเู้ หลา่ นั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั ทต่ี ้องใช้ สามารถนำความรเู้ หล่านนั้ มา เพอื่ ประกอบการวางแผน การดำเนินการจดั พจิ ารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั สามารถประยุกต์ กจิ กรรมการเรียนร้ใู หก้ ับผ้เู รยี น ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซื่อสตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดำเนินชวี ิต งานและกำลัง งานและกำลัง - ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการเกดิ งาน - ปริมาณทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การเกิดงานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกดิ งานและ กำลัง กำลงั พร้อมคำนวณปริมาณท่ีเกี่ยวข้อง

แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม วาดเส้นภาพเด็ก 1 ใบงานที่ วาดภาพเด็ก ช่ือ .................................................................นามสกลุ ......................................ชั้น..................... เลขท่.ี ........... คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน วาดภาพเหมือนเด็กคนล่ะ 1 ภาพ ใบความรู้เรื่อง วาดเส้นการเขียนปาก

ใบความร้เู รอื่ ง วาดเส้นภาพเด็ก 1 สดั ส่วนศีรษะของเดก็ มกี ารแบ่งสดั ส่วนท่แี ตกตา่ งกบั ใบหนา้ ผใู้ หญ่ โดยแบง่ ครง่ึ สว่ นระหวา่ งปลายคางถงึ ศรี ษะ ดา้ นบน คอื ตาแหน่งของควิ้ จากตาแหนง่ คิว้ ถงึ ปลายคางแบง่ ออกเป็นสสี่ ว่ นท่เี ทา่ กนั คือตาแหนง่ ของตา จมกู ปาก กะโหลกศรี ษะของเด็กจะมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่กวา่ กะโหลกศีรษะของผใู้ หญ่

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง วาดเสน้ คนเหมอื น แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 8 เรอ่ื ง วาดเส้นภาพเดก็ 2 รายวชิ า วาดเส้น ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 นำ้ หนกั เวลาเรียน 2.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 5 ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง 1.1 นกั เรยี นสามารถอธิบายเกย่ี วกบั สดั ส่วนในการวาดภาพเดก็ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (K) 1.2 นกั เรยี นสามารถปฏิบตั งิ านวาดภาพเหมอื นเด็กได้อยา่ งถกู ตอ้ งและสวยงาม (P) 1.3 นกั เรียนความสขุ ในการวาดเดก็ ช่นื ชมในผลงานของตนเองและผ้อู ื่น (A) 2. สาระสำคัญ การวาดเดก็ เป็นสงิ่ ท่ีต้องฝึกในการฝกึ วาดภาพคนเหมือน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สัดสว่ นในการวาดภาพเด็ก 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวชิ า - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มุ่งม่นั ในการทำงาน 2. มวี นิ ยั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 7. ช้ินงาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเส้นภาพเด็ก 2 ใบงาน วาดภาพเดก็ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน/ขน้ั ตั้งคำถาม ครถู ามนักเรียนวา่ เด็กมีอะไรที่แตกต่างไปจากผู้ใหญ่ (เด็กร่วมกนั แสดงความดิกเหน็ ) 8.2 ข้ันสอนอธิบาย ครสู อนและอธิบายเกี่ยวกับสัดส่วนในการวาดภาพเดก็ ให้นักเรียนฟัง โดยมีการใช้สือ่ ให้ นกั เรียนดูประกอบการสอน 8.3 ขน้ั ปฏบิ ตั ิ ครสู าธิตการวาดภาพเด็กใหน้ ักเรียนดบู นกระดาน ครูมอบหมายงานให้นักเรยี นทำใบงาน วาดภาพเหมือนเด็ก 1 ภาพ โดยใชด้ นิ สอ EE ลงใน วาดกระดาษปรุ๊บ

8.4 ขั้นสรปุ และประเมินผล ครูใหน้ กั เรยี นตอบคำถามเกีย่ วกบั เรื่องที่เรยี น และสรปุ ความรูร้ ว่ มกนั ช่ัวโมงท่ี 1 (การนำเข้าสบู่ ทเรียนและการสอนอธบิ าย) 1. พูดคยุ กับนักเรยี นเร่ืองเกย่ี วกับความแตกต่างของเดก็ กับผใู้ หญ่ 2. สอนและอธบิ ายเก่ียวกบั เร่ือง สดั ส่วนในการวาดภาพเด็ก 3. สอนและอธิบายข้นั ตอนในการวาดภาพเด็ก 4. ให้นกั เรียนจดบนั ทึกเน้ือหาทีส่ อนเกีย่ วกบั สัดส่วนในการวาดภาพเด็ก ชว่ั โมงท่ี 2-5 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝเ่ รียนร)ู้ 1. นักเรยี นทำใบงาน 1 ชิ้น วาดภาพเหมือนเดก็ ชว่ั โมงที่ 6 (สรุปบทเรียน) 1. ใหต้ อบคำถามเกีย่ วกบั บทเรยี น 2. ใหน้ ักเรียนออกมาอธบิ ายเกีย่ วกบั วาดเส้นการเขยี นภาพเดก็ 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสอ่ื จำนวน สภาพการใชส้ อ่ื 1.สื่อขน้ั ตอนการวาดภาพเดก็ 1 ชุด ข้นั สร้างความสนใจ 2.ตัวอยา่ งภาพวาดเด็ก 1 ชดุ ข้นั สรา้ งความเข้าใจ 10.การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 เกณฑ์การวดั ผล ความตรงต่อเวลา 3 คะแนน ความถกู ต้องสวยงาม 10 คะแนน การจดั องคป์ ระกอบ 2 คะแนน รวม 15 คะแนน 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ได้คะแนน 13-15 ดมี าก ไดค้ ะแนน 10-12 ดี ไดค้ ะแนน 7- 9 พอใช้ ได้คะแนน 1-6 ปรับปรงุ

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ตัวอย่าง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 36. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ทีเ่ หมาะสม 37. ความมเี หตผุ ล มจี ติ สำนึกทด่ี ี เอ้อื อาทร ประนีประนอม และสอดคล้องเนอ้ื หาเป็นประโยชนต์ อ่ นกึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กลุ่ม 38. มีภมู คิ มุ กนั ในตัวทดี่ ี ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิปญั ญาของผเู้ รียน 39. เงือ่ นไขความรู้ - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง ไม่หยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลดุ พ้นจาก 40. เง่ือนไขคุณธรรม สจุ รติ แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบเพอ่ื ให้ งานและกำลงั การดำรงชีวิต หลุดพน้ จากความไมร่ )ู้ - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - การเกดิ กำลัง การได้เปรยี บ - ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ี ลด เลกิ ส่งิ ยว่ั เชิงกล กเิ ลสใหห้ มดส้นิ ไป ไม่กอ่ ความช่วั ให้ เปน็ เคร่ืองทำลายตวั เอง ทำลายผ้อู ่นื พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ท่ีมอี ยู่ใหง้ อกงาม สมบรู ณย์ ่งิ ขึน้ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยันอดทน ภมู ิธรรม : ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปนั ตรงตอ่ เวลา เสยี สละและ แบ่งปนั ความรอบรู้ เรื่อง งานและกำลงั ที่ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกำลงั กรณที ี่ เก่ียวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนำ เกดิ งาน ปรมิ าณที่เกย่ี วขอ้ ง การคำนวณสตู ร ความร้เู หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้เช่ือมโยงกัน ทต่ี ้องใช้ สามารถนำความรูเ้ หล่านน้ั มา เพ่อื ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด พิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน สามารถประยกุ ต์ กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้กับผ้เู รยี น ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนินชีวิต ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต งานและกำลัง งานและกำลงั - ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการเกดิ งาน - ปรมิ าณทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเกดิ งานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกดิ งานและ กำลัง กำลงั พรอ้ มคำนวณปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

แบบบันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขอ้ ค้นพบระหว่าง ปัญหาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน ลงช่ือ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

กจิ กรรม วาดเส้นภาพเด็ก 2 ใบงานที่ วาดภาพเด็ก ช่ือ .................................................................นามสกลุ ......................................ชั้น..................... เลขท่.ี ........... คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน วาดภาพเหมือนเด็กคนล่ะ 1 ภาพ ใบความรู้เรื่อง วาดเส้นการเขียนปาก

ใบความร้เู รอื่ ง วาดเส้นภาพเด็ก 2 สดั ส่วนศีรษะของเดก็ มกี ารแบ่งสดั ส่วนท่แี ตกตา่ งกบั ใบหนา้ ผใู้ หญ่ โดยแบง่ ครง่ึ สว่ นระหวา่ งปลายคางถงึ ศรี ษะ ดา้ นบน คอื ตาแหน่งของควิ้ จากตาแหนง่ คิว้ ถงึ ปลายคางแบง่ ออกเป็นสสี่ ว่ นท่เี ทา่ กนั คือตาแหนง่ ของตา จมกู ปาก กะโหลกศรี ษะของเด็กจะมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่กวา่ กะโหลกศีรษะของผใู้ หญ่

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง วาดเส้นคนเหมือน แผนจัดการเรียนรูท้ ี่ 9 เรอื่ ง วาดเส้นภาพผชู้ าย 1 รายวชิ า วาดเส้น ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 นำ้ หนักเวลาเรยี น 2.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 5 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 5 ชั่วโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง 1.1 นกั เรียนสามารถอธิบายเกีย่ วกับเทิดนิคในการวาดภาพเหมือนผู้ชายได้อย่างถกู ต้อง (K) 1.2 นกั เรียนสามารถปฏิบัติงานวาดภาพเหมอื นผู้ชายได้อย่างถูกต้องและสวยงาม (P) 1.3 นักเรียนความสุขในการปฏบิ ตั งิ าน ชน่ื ชมในผลงานของตนเองและผู้อ่นื (A) 2. สาระสำคัญ การวาดภาพคนผชู้ าย เป็นส่ิงท่ตี ้องฝึกในการฝึกวาดภาพคนเหมอื น 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เทคนิคในการวาดภาพเหมือนผชู้ าย 4. สมรรถนะสำคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 2. มีวินัย 3. ใฝเ่ รียนรู้ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน - กิจกรรม วาดเสน้ ภาพผชู้ าย 1 ใบงานท่ี วาดภาพเหมอื นผู้ชาย 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น/ขนั้ ตั้งคำถาม ครูถามนักเรียนว่า ลักษณะเด่นของผชู้ ายทเ่ี ราสงั เกตเห็นมีอะไรบ้าง (เด็กร่วมกันแสดงความ ดกิ เหน็ ) 8.2 ขน้ั สอนอธบิ าย ครสู อนและอธิบายเก่ยี วกบั เทคนิคในการวาดภาพเหมือนผู้ชายใหน้ กั เรยี นฟัง โดยมีการใช้สื่อ ให้นกั เรียนดูประกอบการสอน