Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

Published by sompongpok, 2019-06-14 00:56:56

Description: หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม ปก

Search

Read the Text Version

คาอธิบายรายวชิ า ๑๐๑ รหสั วชิ า ง รายวิชางานเชอื่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลมุ ๑ สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ จานวน ๔ ชวั่ โมง จานวน ๒.๐ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับ เคร่ืองมือ วัสดุ อปุ กรณ์ ในงานเชื่อม เทคนคิ งานเชื่อมอาร์กทังสเตนแกส๊ คลุม แผ่นเหลก็ กล้าคารบ์ อน ตาแหนง่ ท่าเชื่อม 1F, 2F, 3Fและ1G, 2G ตรวจสอบแนวเชื่อมดว้ ยการพินจิ โดยใช้ อปุ กรณ์ถกู ต้องตามหลกั ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ผลการเรยี นรู้ ๑. มีสามารถปฏบิ ัติงานเชอ่ื ม แผ่นเหลก็ กล้าคารบ์ อนตาแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3Fและ1G, 2G ๒. สามารถปฏิบตั งิ านตรวจสอบงานเชอื่ มด้วยการพินิจไดต้ ามมาตรฐาน ๓. มีกจิ นิสัยในการทางานท่ีดี ปฏบิ ัตกิ ารเชื่อม โดยใช้อปุ กรณ์ความปลอดภัยสว่ นบุคคลครบถว้ น รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวิชา ๑๐๒ รหัสวชิ า ง รายวชิ ากระบวนการเชือ่ ม สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ จานวน ๒ ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเก่ยี วกับ หลกั การเชื่อม เครื่องมือ อปุ กรณใ์ นกระบวนการเช่อื มอาร์กด้วยลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์ (SMAW) เชอ่ื มอารก์ ทังสเตนแกส๊ คลมุ (GTAW) เช่อื มอาร์กโลหะแกส๊ คลุม(GMAW)เชือ่ มใส้ฟลักซ์ (FCAW) เชอ่ื มใตฟ้ ลักซ์ (SAW) เชื่อมแก๊ส (OAW) แก๊สที่ใช้ในงานเชื่อม ตาแหน่งท่าเช่ือม รอยต่อในงานเชื่อม ลักษณะของ รอยเชอ่ื มตามมาตรฐาน ลักษณะจุดบกพร่อง สาเหตุและวิธีการแก้ไข ผลการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจ หลักการของกระบวนการเช่อื มแบบตา่ ง ๆ ๒. เขา้ ใจหลกั การใชง้ านของเครื่องมอื อุปกรณแ์ ละแก๊สท่ีใชใ้ นงานเชือ่ ม ๓. เข้าใจเกี่ยวกบั ตาแหนง่ ท่าเช่อื ม รอยตอ่ ในงานเชอ่ื ม ลกั ษณะของรอยเชือ่ มตามมาตรฐาน ๔. .เข้าใจลักษณะจุดบกพร่อง สาเหตุและวธิ ีการแก้ไข รวมท้งั หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๐๓ รหัสวิชา ง รายวชิ าคณติ ศาสตร์ชา่ งเชอื่ ม สาระการเรียนร้เู พ่ิมเตมิ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๕ จานวน ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเก่ยี วกบั ความสัมพนั ธ์ของหนว่ ยในระบบเอสไอ (SI Unit)การคานวณหาความยาวเส้นรอบรปู พน้ื ทป่ี ริมาตรและนา้ หนักของวสั ดรุ ูปทรงตา่ งๆการคานวณความเรว็ รอบ ความเร็วขอบ ความเร็วตดั ความ สน้ิ เปลืองในงานเชื่อมแกส๊ และงานเช่ือมอาร์กด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ การประมาณราคางานเชื่อม ระบบส่งกาลงั ทางกลเครื่องผ่อนแรง ผลการเรยี นรู้ ๑. เขา้ ใจความสัมพนั ธข์ องหน่วยระบบเอสไอ (SI Unit) ๒. คานวณหาความยาวเสน้ รอบรูปพืน้ ท่ี ปริมาตร นา้ หนักของวัสดรุ ูปทรงต่าง ๆ ๓. คานวณหาความเร็วรอบ ความเรว็ ขอบ ความเรว็ ตัด ระบบสง่ กาลงั ทางกล เครอ่ื งผ่อนแรง ๔. ประมาณราคาความสิ้นเปลืองในงานเชื่อมแก๊สและงานเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์รวม ท้งั หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวิชา ๑๐๔ รหสั วชิ า ง รายวิชากรรมวิธกี ารผลติ โลหะภณั ฑ์ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ จานวน ๒ ชว่ั โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเก่ยี วกบั กระบวนการผลติ ในงานโลหะภณั ฑ์งานโครงสร้างชนดิ ลักษณะการนาไปใช้งานของวัสดุ อุปกรณ์งานผลติ อปุ กรณ์จับยึดการวางแผนการดาเนนิ งานการตรวจสอบการควบคมุ คณุ ภาพ ผลการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจหลักการผลติ วธิ ีการผลติ งานโลหะรปู พรรณ ๒. มที ักษะในการวางแผนการจดั การกรรมวธิ ีการผลติ ผลิตโลหะภัณฑ์ ๓. มคี วามเข้าใจในการกาหนดกระบวนการผลิตในงานโลหะภัณฑ์งานโครงสร้าง ๔. มกี ิจนิสยั ในการทางานทด่ี ี โดยใชอ้ ุปกรณ์ความปลอดภัยสว่ นบุคคลครบถว้ น รวมทง้ั หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๐๕ รหสั วชิ า ง รายวิชางานเชอื่ มซ่อมบารุง สาระการเรียนรู้เพ่มิ เตมิ กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ จานวน ๔ ชวั่ โมง จานวน ๒ หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวชิ า วิชาบังคับกอ่ น :วิชาทตี่ ้องเรยี นก่อนงานเช่อื มโลหะเบ้ืองต้น ศกึ ษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการของงานเชื่อมซ่อมบารุงเชื่อมซ่อมแซมประเภทของการสึกหรอการ แตกรา้ ว การวางแผนการเชอ่ื ม การเลอื กกระบวนการเชือ่ มและวสั ดุสน้ิ เปลือง การเตรียมช้นิ งาน เครอื่ งมือและ อปุ กรณ์การเชื่อม การให้ความร้อนช้ินงานก่อน ระหว่างและหลงั การเชื่อมโดยใช้อปุ กรณ์ถกู ต้องตามหลักความ ปลอดภยั และอาชวี อนามยั ผลการเรียนรู้ ๑. เขา้ ใจหลักการงานเช่ือมซ่อมบารงุ เชือ่ มซ่อมแซม ๒. สามารถวเิ คราะห์ชนิดประเภทของการสึกหรอ การแตกร้าว ๓. สามารถวางแผนและปฏบิ ัติการเชอ่ื มซอ่ มบารงุ ๔. มกี จิ นสิ ัยทด่ี ใี นการทางานรบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา รักษาความสะอาดและปลอดภยั รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๐๖ รหัสวชิ า ง รายวิชางานเชือ่ มแก๊ส สาระการเรียนรเู้ พิม่ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ จานวน ๔ ชวั่ โมง จานวน ๒ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกี่ยวกับงานเช่อื มแกส๊ แผ่นเหล็กกลา้ คารบ์ อน ด้วยเทคนคิ การเชือ่ มแบบถอยหลงั (Backhand welding) รอยต่อชน รอยต่อแผน่ เหลก็ กับท่อ รอยต่อรปู ตวั ที ในตาแหน่งท่าเชอ่ื ม 2F, 3F งานแลน่ ประสานโลหะชนดิ เดียวกนั และตา่ งชนิด รอยต่อเกย รอยต่อรูปตวั ที โดยใชอ้ ุปกรณถ์ ูกต้องตามหลักความปลอดภัย และอาชีวอนามยั ผลการเรยี นรู้ ๑. สามารถปฏบิ ัตงิ านเช่อื มแก๊สแผ่นเหล็กกลา้ คารบ์ อนรอยต่อชนทุกตาแหน่งท่าเชื่อมด้วยเทคนคิ การ เชอื่ มแบบถอยหลงั (Backhand welding) ๒. สามารถปฏบิ ัตงิ านเชื่อมแกส๊ แผ่นและท่อ เหลก็ กล้าคาร์บอนรอยต่อรูปตวั ที ในตาแหน่งทา่ เช่อื ม 2F,3Fและรอยตอ่ แผน่ เหล็กกบั ท่อ ๓. สามารถปฏบิ ัตงิ านเชื่อมแลน่ ประสานโลหะชนดิ เดยี วกันและตา่ งชนิด ๔. มกี จิ นิสัยในการทางานที่ดี ปฏิบัติการเชอื่ ม โดยใชอ้ ุปกรณค์ วามปลอดภัยส่วนบคุ คลครบถว้ นรวม ทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๐๗ รหัสวชิ า ง รายวชิ างานทดสอบแบบไม่ทาลายสภาพ สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จานวน ๔ ชั่วโมง จานวน ๒ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั หลักการเบื้องต้นการตรวจสอบวสั ดแุ ละงานเชื่อม ด้วยวิธไี ม่ทาลายสภาพดว้ ย การพินิจ(VT) น้ายาแทรกซึม(PT) ผงแมเ่ หล็ก(MT) คลนื่ เสียงความถสี่ งู (UT) การตรวจจุดบกพร่องจาก ภาพถ่ายรงั สี (RT) โดยใช้อปุ กรณ์ถูกต้องตามหลักความปลอดภยั และอาชวี อนามัย ผลการเรียนรู้ ๑ เข้าใจในหลักการทดสอบวัสดแุ ละงานเชื่อมแบบไมท่ าลายสภาพ ๒. สามารถปฏบิ ตั กิ ารทดสอบวสั ดแุ ละงานเช่ือมแบบไมท่ าลายสภาพ ๓. มีกจิ นสิ ัยทด่ี ีในการทางานรับผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา รกั ษาความสะอาดและปลอดภัย รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรียนรู้

คาอธบิ ายรายวชิ า ๑๐๘ รหสั วชิ า ง รายวชิ าวสั ดุชา่ งเช่อื ม สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เตมิ กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จานวน ๒ ชัว่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเก่ยี วกบั ชนิดและสมบัติของโลหะกลุม่ เหล็ก นอกกลมุ่ เหลก็ ความสามารถในการเชื่อมของโลหะ (Weldability) เหลก็ กล้ารูปพรรณ สลักเกลยี ว สกรู หมุดย้า กาวสาหรบั งานโลหะ ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจหลกั การเกย่ี วกับรหัสการแบ่งกลมุ่ ชน้ั คุณภาพของโลหะกลุ่มเหลก็ และนอกกลุ่มเหล็ก ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย และมาตรฐานท่ีใช้ในงานอุตสาหกรรม ๒. เข้าใจหลกั การพิจารณาความสามารถในการเชื่อมของโลหะกลุ่มเหลก็ กล้าคารบ์ อน ๓. เข้าใจในการแบ่งประเภทและการใช้งานของเหลก็ กล้ารูปพรรณ ๔. เพ่ือใหม้ ีความเข้าใจในการประยุกต์ใชว้ ัสดุประกอบชน้ิ ส่วนโลหะ รวมทงั้ หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวิชา ๑๐๙ รหสั วิชา ง รายวชิ างานเชอ่ื มไฟฟ้า 3 สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ จานวน ๖ ชว่ั โมง จานวน ๓.๐ หน่วยกิต คาอธิบายรายวชิ า ปฏิบัติเก่ียวกับงานเชื่อมอาร์กลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์ ทอ่ เหล็กกล้าคาร์บอนตาแหนง่ ท่าเชอื่ มท่า 1G ,2G ,5Gงานตรวจสอบงานเช่ือมด้วยการพนิ จิ การอา่ น WPS (Welding Procedure Specification) และ PQR (ProcedureQualification Record) และมาตรฐานการทดสอบฝีมอื ช่างเชื่อม (WQT) ตามมาตรฐาน AWSโดยใช้ อปุ กรณ์ถูกต้องตามหลกั ความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ผลการเรยี นรู้ ๑. สามารถปฏิบตั งิ านเชื่อมอาร์กลวดเชอื่ มห้มุ ฟลักซ์ท่อเหล็กกล้าคารบ์ อน ๒. สามารถปฏิบัตงิ านตรวจสอบงานเชื่อมด้วยการพินิจ ๓. สามารถอา่ น WPS (Welding Procedure Specification) และ PQR (Procedure Qualification Record) ตามมาตรฐาน AWS และมาตรฐานการทดสอบฝมี อื ชา่ งเชอื่ ม(WQT) ๔ มกี จิ นสิ ัยในการทางานที่ดี ปฏบิ ตั กิ ารเชอ่ื ม โดยใช้อปุ กรณ์ความปลอดภยั ส่วนบคุ คลครบถ้วน รวมท้งั หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวิชา ๑๑๐ รหัสวิชา ง รายวิชาการเปน็ ผูป้ ระกอบการ สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๒ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเกย่ี วกับหลักการวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพการออมและการลงทุน การเปน็ ผ้ปู ระกอบการ การจดั หาและการวางแผนทางการเงนิ กฎหมายเกี่ยวกับการเปน็ ผูป้ ระกอบการ รูปแบบแผนธรุ กจิ หลักเบ้ืองต้นในการบริหารงานคณุ ภาพและเพม่ิ ผลผลิตในองค์กร และการประยุกต์ใชป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใน การเป็นผูป้ ระกอบการ ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจเกีย่ วกับหลักการวางแผนเป้าหมายชีวิตดว้ ยวงจรควบคุมคณุ ภาพ การเป็นผู้ประกอบการ การ วางแผนและการจัดการทางการเงิน หลกั การบรหิ ารเงินคณุ ภาพและเพมิ่ พลผลติ เบื้องตน้ และ กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง ๒. สามารถจัดทาแผนธรุ กจิ อย่างงา่ ย โดยประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และหลักการ บรหิ ารงานคณุ ภาพและเพ่ิมผลผลติ ๓. มเี จตคติที่ดีต่อการเปน็ ผู้ประกอบการ และมีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรับผิดชอบรอบคอบ ขยัน ประหยัดและอดทน รวมทงั้ หมด ๓ ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวิชา ๑๑๑ รหสั วชิ า ง รายวชิ าการฝกึ งาน สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จานวน ๘ ชวั่ โมง จานวน ๔.๐ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวชิ า ปฏบิ ัตงิ านที่สอดคล้องกับลกั ษณะของงานในสาขาวชิ าชพี ในสถานประกอบการ สถานประกอบ อาชีพอิสระหรือแหล่งวิทยาการ ให้เกดิ ความชานาญ มีทกั ษะและประสบการณ์งานอาชพี ในระดบั ฝีมือ โดย ผา่ นความเห็นชอบร่วมกันของผู้รบั ผิดชอบการฝึกงานในสาขาวชิ าน้นั ๆ และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ตลอดระยะเวลาการฝึกงาน ผลการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจขน้ั ตอนและกระบวนการปฏบิ ัตงิ านอาชีพอย่างเป็นระบบ ๒. ปฏบิ ัตงิ านอาชีพในสถานประกอบการ สถานประกอบอาชพี อิสระหรือแหล่งวิทยาการจนเกิดความ ชานาญ มีทักษะและประสบการณ์ นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านอาชีพระดบั ฝีมือ ๓. มเี จตคติท่ดี ตี ่อการปฏิบตั งิ านอาชพี และมีกจิ นสิ ัยในการทางานด้วยความรบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม ความคิดสร้างสรรค์และสามารถทางานรว่ มกับผ้อู ื่น รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๑๒ รหสั วิชา ง รายวิชาวสั ดชุ ่างอตุ สาหกรรม สาระการเรยี นรูเ้ พิ่มเติม กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ จานวน ๒ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวิชา ศึกษาลักษณะ ชนิด มาตรฐาน กรรมวิธีการผลิต การใช้งาน การจัดเก็บ วัสดุในงานอุตสาหกรรม ประกอบดว้ ย โลหะ อโลหะ โลหะผสม อิทธิพลของธาตทุ มี่ ีตอ่ โลหะผสม เชอื้ เพลิง วสั ดุหลอ่ ลื่นและ วัสดุหล่อเย็น วัสดุก่อสร้าง วัสดุสังเคราะห์ วัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์การกัดกร่อนและการป้องกัน การ ตรวจสอบ วสั ดเุ บอ้ื งต้น พลังงานในอนาคต ผลการเรียนรู้ ๑. เพอ่ื ให้มีความเข้าใจหลักการพื้นฐานในการจาแนก ชนดิ ลักษณะ มาตรฐาน การใช้งานของ วัสดชุ า่ งอตุ สาหกรรม ๒. เพ่ือให้สามารถเลือกวัสดุอุตสาหกรรมมาใชแ้ ละการจดั เกบ็ ได้ตรงตามมาตรฐาน ๓. เพ่ือให้ตระหนักถึงคณุ ค่าของวัสดุ นาวสั ดมุ าใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สงู สดุ รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรียนรู้

คาอธบิ ายรายวชิ า ๑๑๓ รหัสวชิ า ง รายวชิ า เขียนแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๓ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกยี่ วกบั การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรช์ ่วยเขียนแบบภาพสองมติ ิ เขียนภาพฉายมมุ ที่ 1 และมุมท่ี 3 เขียนภาพตัดเต็ม (Full section) ภาพตัดคร่ึง (Half section) ภาพตัดเล่ือนแนว (Offset section) ภาพตัดแตก (Broken section) ภาพตัดหมุน(Revole section) ภาพตัดย่อส่วนความยาว ภาพช่วย (Auxiliary view)ภาพขยายเฉพาะส่วน(Detail) กาหนดขนาด (Dimension) พิกัดความเผื่อ และพิกัดงานสวม ชิ้นส่วน มาตรฐาน สัญลักษณ์คุณภาพผิวงาน เขียนตารางรายการแบบสัญลักษณ์ เขียนแบบงานเคร่ืองจักรกล งานโลหะ แผน่ 3 มิติ ผลการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจหลักการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรช์ ว่ ยในงานเขียนแบบเคร่อื งกล ๒. มที ักษะในการเขียนภาพแยกช้ินสว่ น และภาพประกอบชนิ้ สว่ นเคร่ืองกล การกาหนดขนาด สญั ลกั ษณ์ และจดั ทาตารางรายการวัสดุ ๓. มีทกั ษะในการเขียนภาพสองมติ ิ และภาพสามมิติ งานเครื่องกล งานโลหะแผ่น ๔. มกี ิจนสิ ัยในการทางานท่มี ีระเบยี บแบบแผน มีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวม รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู้

๑๑๔ คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ง๓๓๒๖๓ รายวชิ างานออกแบบผลติ ภัณฑ์ สาระการเรยี นรูเ้ พ่มิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ จานวน ๔ ช่ัวโมง จานวน ๒ หน่วยกิต คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกย่ี วกับการออกแบบและการผลิตโดยจัดทาแบบร่างของผลติ ภัณฑ์เนน้ ความคดิ สรา้ งสรรคร์ ปู ทรงสีความสวยงามประโยชนก์ ารใช้สอยความเหมาะสมในการใชง้ านและความประหยดั เลือก กระบวนการผลติ ทเ่ี หมาะสมกับงาน โดยใชอ้ ุปกรณ์ถูกต้องตามหลกั ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจ หลกั การขั้นตอนการออกแบบและการผลติ ผลิตภัณฑ์ 2. เข้าใจหลักการเกย่ี วกับรปู ทรงสคี วามสวยงามการประหยดั และประโยชนใ์ ชส้ อย 3. สามารถปฏิบตั งิ านออกแบบวางแผนเลอื กใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ในงานออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 4. มีกจิ นสิ ยั ในการทางานท่ีดี โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภยั ส่วนบคุ คลครบถว้ น รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวิชา ๑๑๕ รหสั วชิ า ง๓๒๒๖๒ รายวชิ างานปม๊ั ขน้ึ รูปโลหะ สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๒ ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกติ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการ วิธีการ ข้ันตอนกระบวนการป๊ัมขึ้นรูปชิ้นงานโลหะแผ่นชนิดต่างๆ การตัดเฉือน (Shearing) การป๊ัมเจาะ (Blaking) การตัดเจาะรู (Piercing)และการดัด (Bending) การข้ึนรูป (Forming)การดึงข้ึนรูป (Drawing) การป๊ัมนูน (Embossing) การป๊ัมจม (Coining) การบีบอัด (Swaging) การ ฝานขอบ(Shaving) และการตัดขอบ(Trimming) ชนิด ลักษณะขนาดของเครื่องกดปั๊ม แบบข้อเหว่ียง (Crank) แบบเย้ืองศูนย์(Eccentric) แบบลูกเบี้ยว (Cam)แบบเฟืองรางและเกียร์ (Rack and Gear) ชนิด ลักษณะของ แม่พิมพ์แม่พิมพ์ธรรมดา(Simple die) แม่พิมพ์ผสม (Compound die)แม่พิมพ์รวม (Combination die) แม่พิมพ์แบบลาดับ (Progressive die)ควบคุมเคร่ืองป๊ัมข้ึนรูปโลหะโดยจัดความพร้อมวัสดุเคร่ืองมืออุปกรณ์ เคร่อื งจักรผลิตชนิ้ ส่วนงานปัม๊ ข้ึนรปู ปัม๊ ขนึ้ รปู โลหะติดตง้ั แมพ่ มิ พใ์ ห้พรอ้ มผลิตชิ้นงานทดลองป๊ัมชิ้นงานตัวอย่างหา ความผิดปรกติและถอดแม่พิมพ์ออกและเคลื่อนย้ายจัดเก็บตรวจสอบควบคุมการผลิตวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา การผลิตปรบั ปรงุ คุณภาพและลดตน้ ทุนการผลติ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการ วธิ ีการและขนั้ ตอนของการผลติ ช้ินงานด้วยการปมั๊ ขน้ึ รูป 2. มที ักษะในการเตรียมงาน ตดิ ตง้ั ปรบั ตงั้ ทดสอบแม่พมิ พ์ ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพชิ้นงาน 3. มคี วามละเอียดรอบคอบต้ังใจปฏบิ ัตงิ านคมู่ ือและ SSOP (Safety Standard Operation Procedure รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวชิ า ๑๑๖ รหัสวิชา ง รายวิชางานทอ่ ภายในอาคาร สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๔ ชว่ั โมง จานวน ๒.๐ หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของงานระบบงานท่อภายในอาคาร ระบบท่อน้าดี ระบบท่อน้าท้ิง ระบบทอ่ น้ารอ้ น ระบบท่อนา้ ดบั เพลงิ ระบบการส่งจ่ายของไหลด้วยท่อภายในอาคารความปลอดภยั เก่ยี วกับ ระบบงานทอ่ ภายในอาคาร วสั ดุอุปกรณ์และเครือ่ งมือ งานเดนิ ทอ่ ภายในอาคารตามหลกั มาตรฐานของ วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยใช้อปุ กรณถ์ กู ต้องตามหลักความปลอดภยั และอาชวี อนามัย ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลกั การระบบงานท่อและระบบส่งจา่ ยของไหลภายในอาคาร 2. เขา้ ใจเกีย่ วกบั ความปลอดภยั ของงานระบบท่อภายในอาคาร 3. สามารถเลือกใชว้ ัสดุอุปกรณ์และเครอื่ งมืองานระบบท่อภายในอาคาร 4. มีกิจนสิ ัยในการทางานที่ รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวิชา ๑๑๗ รหสั วิชา ง รายวชิ า งานสี สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เติม กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๔ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับงานพ่นสี สมบัติ ชนิด การใช้สีพ้ืน สีกันสนิม สีกันไฟ และสีทับหน้า เครื่องมือ อุปกรณ์ เตรียมผิวชิ้นงาน การเคาะขึ้นรูป การโปฺวสีแห้งช้า แห้งเร็ว เทคนิคในการพ่นสี การพ่นสีพ้ืน การพ่นสี สี แห้งช้าและสีแห้งเร็ว สีผง การอบและการขัดเงาการแก้ไข้ข้อบกพร่องในงานสี โดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลัก ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การจาแนกงานสีอุตสาหกรรมและการใช้สีอตุ สาหกรรมชนดิ ตา่ ง ๆ 2. สามารถเลือกใชเ้ คร่ืองมือ อปุ กรณ์ในการเตรยี มผวิ งานสาหรบั งานสีประเภทตา่ ง ๆ 3. สามารถปฏบิ ัติงานเคาะข้ึนรปู และโปฺวสแี หง้ ชา้ แห้งเร็ว 4. สามารถปฏบิ ัติงานพ่นสี ขัดเงาและแกไ้ ขข้อบกพร่องทเ่ี กิดจากการพน่ สี 5. มีกิจนิสยั ในการทางานท่ดี ี โดยใชอ้ ปุ กรณ์ความปลอดภยั สว่ นบคุ คลครบถว้ น รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวชิ า ๑๑๘ รหสั วชิ า ง รายวชิ าการออกแบบรอยตอ่ งานเชอ่ื ม สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ จานวน ๒ ชว่ั โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกบั หลักการออกแบบรอยตอ่ งานเชอื่ มเบอ้ื งต้น สัญลักษณ์ในงานเช่อื ม มาตรฐานการ ออกแบบรอยต่อแผ่นเหล็กและท่อเหล็ก เหล็กเสน้ เสรมิ คอนกรีตในการเช่ือม รอยตอ่ ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการเช่ือม ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการออกแบบรอยตอ่ งานเช่อื มตามมาตรฐานสากล 2. สามารถออกแบบรอยต่อชิ้นงานหนาและบางไดต้ ามมาตรฐาน 3. สามารถอ่านแบบสง่ั งานรอยต่องานเช่อื มประเภทตา่ ง ๆ 4. สามารถออกแบบงานรอยต่อเหลก็ เสน้ เสริมคอนกรีตในการเช่ือม รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวชิ า ๑๑๙ รหัสวชิ า ง รายวิชางานนวิ เมตกิ สไ์ ฮดรอลิกสเ์ บ้ืองต้น สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ จานวน ๔ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทางานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น ชนิด สัญลักษณ์ โครงสร้าง การทางานและการทดสอบอุปกรณ์นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ การอ่าน การเขียนวงจรและต่อวงจรควบคุมทิศทาง วงจรปรับความเร็ว วงจรเรียงลาดับ วงจรหน่วงเวลา วงจรควบคุมด้วยมือ (Manual) และวงจรควบคุมโดย อัตโนมตั (ิ Automatic) ของระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น ผลการเรยี นรู้ ๑. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบนิวเมตกิ และไฮดรอลิกส์เบ้อื งตน้ ๒. มที กั ษะเกยี่ วกับอ่านและเขียนวงจร ตอ่ วงจรควบคมุ การทางานระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์ ๓. มเี จตคติและกจิ นสิ ัยทดี่ ใี นการทางานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ ปลอดภยั เปน็ ระเบยี บ สะอาดตรงต่อ เวลามีความซ่ือสัตย์ รบั ผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวิชา ๑๒๐ รหสั วิชา ง รายวชิ า โครงการ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ จานวน ๘ ชวั่ โมง จานวน ๔ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการจัดทาโครงการ การวางแผน การดาเนินงาน การแก้ไข ปัญหา การ ประเมินผล การจัดทารายงานและการนาเสนอผลงาน โดยปฏิบัติจัดทาโครงการสร้างและหรือพัฒนางานที่ใ ช้ ความรู้และทักษะในระดับฝีมือสอดคล้องกับสาขาวิชาชีพท่ีศึกษา ดาเนินการเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มตาม ลักษณะของงานใหแ้ ลว้ เสร็จในระยะเวลา ที่กาหนด ผลการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจหลกั การและกระบวนการวางแผนจัดทาโครงการสร้างและหรอื พัฒนางาน ๒. ประมวลความรแู้ ละทักษะในการสร้างและหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพตามกระบวนการวางแผน ดาเนินงาน แกไ้ ขงาน แก้ไขปัญหา ประเมินผล ทารายงานและนาเสนอผลงาน ๓. มเี จตคติและกจิ นิสัยในการทางานด้วยความรบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ความคดิ ริเริ่ม สรา้ งสรรคแ์ ละสามารถทางานรว่ มกับผอู้ ื่น รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรียนรู้

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๑ ความหมาย กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น เป็นกจิ กรรมท่ีจดั อย่างเปน็ กระบวนการดว้ ยรูปแบบ วิธีการท่หี ลากหลาย ในการ พัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มุ่ง เสริมสร้างเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝัง คุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเองสร้างจิตสานึก และร่วมอนุรักษ์ พลังงาน และส่ิงแวดล้อม ปรับตัวและมีจิตสาธารณะโดยคานึงถึงประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและดารงชีวิต อยา่ งมคี วามสุข รวมทง้ั การนอ้ มนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นฐานในการดารงชีวิต ลกั ษณะของกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๑. ผเู้ รยี นได้รบั ประสบการณ์ท่ีหลากหลาย เกิดความรู้ ความชานาญ ทัง้ วชิ าการและวิชาชพี อยา่ ง กวา้ งขวางมากยง่ิ ข้นึ ๒. ผู้เรยี นค้นพบความสนใจ ความถนดั และพัฒนาความสามารถพเิ ศษเฉพาะตวั มองเห็นช่องทางใน การสร้างงานอาชีพในอนาคตได้เหมาะสมกับตนเอง ๓. ผู้เรยี นเห็นคณุ คา่ ขององค์ความรูต้ า่ ง ๆ สามารถนาความรแู้ ละประสบการณ์ไปใช้ในการพัฒนา ตนเอง และประกอบสมั มาชพี ๔.ผ้เู รียนพัฒนาบุคลกิ ภาพ เจตคตใิ นคา่ นิยมในการดารงชีวติ และเสรมิ สร้างศีลธรรม จริยธรรม ๕. ผเู้ รียนมจี ิตสาธารณะ และทาประโยชน์เพ่ือสังคม และประเทศชาติ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑. กิจกรรมแนะแนว ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ เรียนสปั ดาห์ละ ๑ ชวั่ โมง ๒. กจิ กรรมนักเรยี น ๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ เรยี นสัปดาห์ละ ๑ ชว่ั โมง ๒.๒ กิจกรรมพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผู้เรียน เป็นกจิ กรรมที่ จดั ใน เวลาเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ เรียนสปั ดาห์ละ ๑ ชั่วโมง ๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖ จัดบูรณาการไว้ในกิจกรรม ลกู เสือเนตรนารี จัดเรยี นปีละ ๑๐ ชวั่ โมง โดยจัดยืดหย่นุ เองตามความเหมาะสมและความจาเป็นในแตล่ ะระดบั ช้นั เรยี นท้ังนีใ้ หค้ รูผูส้ อนในระดบั ชน้ั เรียนนั้น ๆ รว่ มกนั ออกแบบกิจกรรมเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นไดบ้ รรลเุ ปาู หมายที่หลกั สูตร แกนกลาง ฯ กาหนด โดยคานึงถึงวยั และวฒุ ิภาวะของผูเ้ รียน ๔. กิจกรรมพฒั นาทักษะดารงชวี ิต ๘ กิจกรรมโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จดั กิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี น ดงั นี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมท่สี ่งเสริมและพฒั นาความสามารถของผู้เรียนใหเ้ หมาะสม ตาม ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล สามารถคน้ พบและพฒั นาศักยภาพของคน เสริมสร้างทักษะชวี ิต วุฒภิ าวะทาง อารมณ์ และการสร้างสัมพนั ธภาพทด่ี ี ซึง่ ผ้สู อนทุกคนต้องทาหนา้ ท่ีแนะแนวให้คาปรึกษา ดา้ นการเรียนรู้ ทักษะ ชีวติ การอยูร่ ่วมกันในสงั คม การศกึ ษาต่อและการพัฒนาตนเอง สโู่ ลกเพื่อการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างปกติสขุ กจิ กรรมแนะแนวเปน็ บทบาทของครทู ุกคน ท่จี ะต้องดาเนินการ คดั กรอง และจดั กิจกรรมหรอื บริการตา่ ง ๆ เพื่อสง่ เสรมิ พัฒนา ปอู งกนั แกไ้ ข โดยครูทุกคนดาเนินการดงั น้ี ๑. ศึกษาและรวบรวมข้อมลู ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ๒. คัดกรองผูเ้ รียนเพ่ือจาแนกผเู้ รยี นออกเปน็ ๒ กลุ่ม คอื กล่มุ ปกติ และกลมุ่ พเิ ศษ ๓. ดแู ลช่วยเหลือ ให้คาปรกึ ษาในด้านตา่ ง ๆ ให้ผ้เู รยี นได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๔. พฒั นาระบบขอ้ มูล และภูมคิ วามรู้ท่ที นั สมยั อนั จะเกิดประโยชน์ และจาเป็นในการดาเนินชีวิต

๑๒๒ ๕. ประสานงานกบั ผู้ปกครอง ชมุ ชน เพื่อการรว่ มมือในการดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น ๖. ประสานงานกับผเู้ กย่ี วข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพอื่ การดแู ลชว่ ยเหลอื และ การสง่ ต่อผ้เู รียน ๗. จัดกจิ กรรมทั้งในและนอกหอ้ งเรียน เพ่ือปูองกนั แก้ไข สง่ เสรมิ และพฒั นาผูเ้ รยี นทกุ คน รวมทั้งผ้ทู มี่ คี วามสามารถพิเศษ ผู้ด้อยโอกาส คนพกิ าร ตลอดจนผูม้ ปี ัญหาชีวติ และสงั คม ใหส้ ามารถพฒั นาตน ได้เต็มตามศักยภาพ ๘. รว่ มจัดบริการตา่ ง ๆ เชน่ - จัดบริการดา้ นสุขภาพ - จัดหาทนุ และอาหารกลางวัน - จดั ศนู ย์การเรียนรู้ให้ผูเ้ รยี น เพอ่ื การวางแผนชีวติ - จัดบริการช่วยผู้เรียนท่มี ีปัญหา หรือความต้องการ - ติดตามผลผ้เู รยี นทัง้ ในปจั จุบนั และจบการศึกษาแล้ว ๙. นเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล และประชาสัมพนั ธ์ กจิ กรรมแนะแนวทโี่ รงเรียนจัดมีดงั นี้ ๑. การศึกษาเด็กเปน็ รายบคุ คล ให้ครปู ระจาชน้ั และครปู ระจาวิชา มกี ารศกึ ษาเดก็ เป็น รายบุคคลอย่างต่อเน่อื ง ๒. การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ การสอนซอ่ มดว้ ยกิจกรรมทห่ี ลากหลายใหก้ บั เดก็ ที่เรยี นอ่อน และมปี ัญหา และสอนเสริมใหก้ ับเด็กทเ่ี รยี นเก่ง สามารถศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองได้ดว้ ยกลวธิ ที ห่ี ลากหลาย ทง้ั น้ีต้องเปน็ ไปตามความต้องการของผ้เู รียน ๓. การสง่ เสริมศักยภาพของนักเรยี น ซงึ่ ครผู ูร้ บั ผดิ ชอบจะใช้ขอ้ มูลพื้นฐานของนกั เรยี น รายบุคคลเป็นฐานในการส่งเสริมศักยภาพเฉพาะด้านใหก้ ับนักเรียนน้ัน ๆ และดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้ นกั เรียนไดร้ บั การส่งเสริมเต็มศักยภาพ ๔. การตรวจสขุ ภาพ มีการตรวจสุขภาพและวิเคราะห์ผลการเจรญิ เติบโตของนักเรยี น ทกุ คน อย่างเปน็ ระบบสามารถตรวจสอบได้ ๕. การจดั ทนุ การศึกษา และทุนอาหารกลางวัน ให้กบั นกั เรียนทีข่ าดแคลนทางด้านทุนทรัพย์ ๖. รวบรวมข้อมลู ข่าวสาร สารสนเทศ ของนกั เรียนเพื่อใหน้ ักเรียนได้สารวจตนเอง และ รู้จักตนเองในทุกด้าน ๗. การตดิ ตามผลผเู้ รียนในปัจจุบันและจบการศกึ ษาแลว้ ๘. การแนะแนวการศึกษา ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาการเรยี นไดเ้ ตม็ ศักยภาพ วางแผนการเรียนและ การศึกษาต่อไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๒. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมท่เี กิดจากความสมัครใจของผู้เรียนไดพ้ ัฒนาตามคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ิมเติมจากกิจกรรมในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เป็นกิจกรรมท่ีอาศยั ความรว่ มมือระหว่างครู นกั เรียน ผูป้ กครอง ทช่ี ว่ ยกนั คิด ช่วยกนั ทา ช่วยกนั แกป้ ัญหา สง่ เสรมิ ศกั ยภาพของผเู้ รียนอย่างเต็มท่ี รวมถงึ กิจกรรมท่ี ปลกู ฝังความมีระเบียบวินยั รับผดิ ชอบ รจู้ กั สิทธแิ ละหนา้ ทีข่ องตนเอง ซ่ึงแบง่ เป็นกจิ กรรมหลัก ๒ กจิ กรรม คอื ๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด เปน็ กจิ กรรมท่ีมุง่ ปลูกฝงั ระเบียบวินัย กฎกติกา เพ่ือ การอยูร่ ว่ มกันในสภาพชวี ติ ต่าง ๆ นาไปส่พู ้ืนฐานการทาประโยชนแ์ กส่ ังคม และวถิ ีชวี ิตในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

๑๒๓ ๒.๒ กิจกรรมพฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผู้เรยี น เป็นกจิ กรรมท่ี มุ่งเนน้ การเติมเต็มความรู้ความสามารถ ความชานาญ และประสบการณข์ องผู้เรยี นให้กวา้ งขวางยง่ิ ขึ้น เพื่อการ ค้นพบความถนัด ความสนใจของตนเองและพัฒนาตนเองใหเ้ ตม็ ศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทกั ษะทางสงั คม และปลูกฝงั จติ สานึกของการทาประโยชน์เพื่อสงั คม ๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ เปน็ กิจกรรมที่ต้องการปลูกฝังให้ผเู้ รยี นเลง็ เหน็ ถึง ความสาคัญของตนเองในการมีสว่ นรว่ มและชว่ ยเหลือสังคมตามระดับของวยั วุฒิ คณุ วุฒิ หรอื ตามศักยภาพของตน ทพ่ี ึงจะกระทาได้ จนเกิดเป็นกิจนสิ ัยทไี่ ดร้ ับการบม่ เพาะสิ่งทด่ี ีงามให้บังเกดิ ในตัวผู้เรียนตง้ั แต่วยั เยาว์ จนสง่ ผลให้ ผู้เรยี นเหล่าน้นั เป็นทรพั ยากรมนษุ ย์ท่ีมีคณุ ภาพของสังคม ๔. กิจกรรมพฒั นาทักษะดารงชวี ิต

การจดั การเรยี นรแู้ ละการส่งเสริมการเรยี นรู้ ๑๒๔ ตามหลกั สูตรโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้เปน็ กระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏบิ ัติ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เป็นหลกั สตู รทมี่ ีมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น เป็น เปูาหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณสมบตั ิตามเปูาหมายหลกั สตู ร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรยี นรู้ จัดการเรียนรโู้ ดยช่วยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ผา่ นสาระทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตร ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รวมท้ังปลกู ฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเปน็ สมรรถนะสาคญั ให้ผ้เู รียนบรรลุ ตามเปาู หมาย หลักการจดั การเรยี นร้ตู ามหลักสตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ การจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ยึดหลักการจดั การเรียนรตู้ ามแนวทางของ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ทีเ่ น้นผเู้ รียนมคี วามสาคัญที่สดุ เชอื่ ว่าทุกคนมีความสามารถ เรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชน์ทีเ่ กิดกับผูเ้ รียน โดยมีเปูาหมายให้ผ้เู รยี นเปน็ คนดี เกง่ มีความเป็นไทย และทางานรว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งมีความสุข ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ท้ัง ๘ กล่มุ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ต้อง ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ คานงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสาคญั ทั้งความรู้ และคุณธรรม คิดเป็นองคร์ วม และร่วมมือกันพัฒนาสงั คมไทย การจดั การเรียนร้เู พือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคณุ ลักษณะ อันพึงประสงค์ ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระบวนการจดั การเรยี นรตู้ อ้ งส่งเสริม ใหผ้ ูเ้ รียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสมอง เน้นให้ความสาคัญท้งั ความรู้ และคุณธรรม การจดั การเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นราช ประชานุเคราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จึงได้กาหนดแนวดาเนนิ การเพอ่ื ให้การจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรประสบความสาเรจ็ ตามจุดมุง่ หมาย ดงั น้ี ๑. จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้โดยยดึ หลกั การพฒั นาผเู้ รียนให้ถึงศักยภาพสงู สุด คือ ผู้เรียนได้ พฒั นา ตนเอง ทัง้ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มีความรู้สึกท่ดี ีเกีย่ วกับตนเอง ภาคภมู ิใจในผลการปฏิบตั ิ ๒. จดั ประสบการณ์การเรียนร้โู ดยยดึ ชีวิตจรงิ ของผูเ้ รยี นเป็นหลกั เนน้ ให้ผเู้ รียนมศี กั ยภาพในการคดิ เชิง ระบบ และคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มรี ปู แบบการคดิ ของตนเอง ค้นพบตนเอง ๓. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยยดึ หลกั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และหลกั การเรียนรูใ้ นเชงิ พหุ ปัญญา และใช้กระบวนการวิจยั ในการแก้ปัญหาและพัฒนาผเู้ รยี น ๔. จัดประสบการณ์โดยใช้คุณธรรมนาความรู้ บรู ณาการคุณธรรมในการจัดประสบการณท์ ุกกล่มุ สาระ การเรียนรู้ และทุกขน้ั ตอนในการจดั การเรยี นรู้ ถือว่าครทู ุกคนมีหนา้ ท่พี ัฒนาผเู้ รียนให้ประพฤติตนยึดหลัก คุณธรรม และพฒั นาตนให้มคี ่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ ๕. จดั บรรยากาศให้เอ้ือต่อการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มอี สิ ระในการคิด ไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ ครู พร้อมใหค้ าปรึกษา ให้กาลังใจ เสรมิ แรงใหผ้ ู้เรยี นมคี วามเชือ่ มน่ั วา่ ตนเองมีศักยภาพในการเรยี นรูใ้ นเชิงพหุ ปัญญา ไม่ด้านใดก็ดา้ นหนง่ึ หรอื หลายดา้ นพร้อมกนั

๑๒๕ ๖. จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูใ้ ห้มคี วามสัมพันธ์ เชอื่ มโยง หรอื บูรณาการทัง้ ภายในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ และระหว่างกลุ่มสาระการเรยี นร้ใู หม้ ากทีส่ ดุ ๗. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้ยืดหยุ่นตามเหตุการณ์ และสภาพท้องถิ่น โดยใช้แหลง่ การเรยี นรแู้ ละ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในการจดั การเรยี นรตู้ ามความเหมาะสม ๘. จดั ประสบการณ์การเรยี นร้โู ดยมงุ่ เนน้ กระบวนการเรยี นรู้ กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล และ สรา้ งสรรค์ กระบวนการกลุ่ม การจดั การเรยี นร้ทู ่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ผูเ้ รียนจะต้องอาศยั กระบวนการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เป็น เครือ่ งมอื ทจี่ ะนาพาตนเองไปส่เู ปาู หมายของหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรทู้ ีจ่ าเป็นสาหรับผเู้ รียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณจ์ รงิ กระบวนการปฏบิ ัติ ลงมอื ทาจรงิ กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นา ลกั ษณะนสิ ยั กระบวนการเหล่านีเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรู้ท่ผี เู้ รยี นควรได้รบั การฝึกฝน พฒั นา เพราะจะ สามารถช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ได้ดี บรรลุเปาู หมายของหลักสูตร ดงั นน้ั ผู้สอน จงึ จาเปน็ ตอ้ งศกึ ษาทาความ เข้าใจในกระบวนการเรียนรตู้ ่าง ๆ เพ่ือใหส้ ามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ผู้สอนต้องศกึ ษาหลกั สูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัด สมรรถนะสาคัญของ ผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับผ้เู รียน แลว้ จงึ พิจารณาออกแบบการ จัดการเรยี นรโู้ ดยเลือกใช้วิธสี อนและเทคนคิ การสอน สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผูเ้ รียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปาู หมายที่กาหนด ๑. บทบาทของผู้สอนและผู้เรยี น การจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื ให้ผู้เรยี นมีคุณภาพตามเปาู หมายของหลักสตู ร ทง้ั ผ้สู อนและผเู้ รยี นควรมบี ทบาท ดงั น้ี ๑.๑ บทบาทของผู้สอน ๑) ศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล แล้วนาขอ้ มูลมาใช้ในการวางแผน การจดั การเรียนรู้ ท่ีทา้ ทายความสามารถของผู้เรียน ๒) กาหนดเปาู หมายทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ขึ้นกบั ผูเ้ รียน ด้านความรู้และทักษะ กระบวนการ ทเี่ ปน็ ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทง้ั คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรยี นรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและ พฒั นาการทางสมอง เพ่ือนาผู้เรยี นไปสเู่ ปาู หมาย ๔) จัดบรรยากาศทีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนให้เกิดการเรียนรู้ ๕) จดั เตรียมและเลอื กใช้สื่อให้เหมาะสมกบั กจิ กรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมนิ ความก้าวหน้าของผเู้ รยี นดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวชิ าและระดับพัฒนาการของผเู้ รียน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผเู้ รียน รวมทั้ง ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง ๑.๒ บทบาทของผเู้ รียน

๑) กาหนดเปาู หมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง ๑๒๖ ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อความรู้ ตงั้ คาถาม คิดหาคาตอบหรอื หาแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ ๒) ลงมือปฏิบัติจริง สรปุ ส่ิงท่ีไดเ้ รยี นรดู้ ้วยตนเอง และนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ๓) มีปฏสิ ัมพนั ธ์ ทางาน ทากจิ กรรมร่วมกบั กลุ่มและครู ๔) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง การสง่ เสริมการเรยี นรู้ ปัจจัยสาคัญทเ่ี ป็นสว่ นหน่ึงของการจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพ และประสบความสาเร็จตามจุดม่งุ หมาย ของหลกั สูตร คือการพฒั นาระบบการส่งเสรมิ สนับสนนุ ของสถานศึกษาในดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีจะเอื้อให้สามารถจัดการ เรียนการสอนได้อยา่ งมคี ุณภาพ สาหรับแนวปฏิบตั ใิ นการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ และสนับสนุนการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนของสถานศกึ ษา ไดก้ าหนดแนวในการสง่ เสริมการเรียนรู้ ดังต่อไปน้ี ๑. การจดั สภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้เอ้ือตอ่ การใชห้ ลกั สูตร การจดั สภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษา ให้เอื้อตอ่ การใช้หลกั สตู รเป็นหนา้ ที่โดยตรงของบุคลากรทุกคนในสถานศกึ ษาที่จะต้อง รว่ มมอื กัน โดยยดึ เปูาหมาย หลกั การ และจดุ เนน้ ตา่ ง ๆ ของหลกั สูตรเป็นหลักในการดาเนินการ ทง้ั น้ีเพ่ือให้ ผู้เรยี นได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ ๒. การจัดใหม้ ีแหลง่ การเรียนรู้ ห้องสมดุ และมมุ หนังสือ หรอื แหล่งวชิ าท่ีจะให้ผเู้ รยี นได้ศึกษา คน้ คว้า หาความรูด้ ้วยตนเอง เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และความชานาญ โดยเฉพาะห้องสมุดเป็นแหลง่ การเรยี นร้ทู ่ี สาคัญยิง่ เพราะเป็นแหลง่ ท่รี วบรวมองค์ความรทู้ ่เี ปน็ ประโยชน์กบั ผูเ้ รยี นโดยตรง นอกจากนี้ยังจดั ให้มีแหล่งการ เรยี นรู้ในรปู ของศนู ยก์ ารเรยี นรู้แบบพง่ึ พาตนเอง คอมพิวเตอร์ ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา ห้องปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ๓. การจดั ให้มีบริเวณสาหรับใหผ้ ้เู รียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิกจิ กรรมในกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เพ่ือให้ผเู้ รยี น ไดเ้ รยี นร้จู ากประสบการณจ์ ริง ได้คดิ ได้ทา ไดแ้ สดงออก ไดเ้ รยี นรเู้ อง และคน้ พบความรดู้ ว้ ยตนเองตาม ศกั ยภาพของนักเรยี นแตล่ ะคน ๔. การจัดใหม้ ีแหล่งการเรยี นร้ใู นท้องถน่ิ และการใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร เนน้ การเรียนรจู้ ากแหล่งการเรยี นรทู้ ัง้ ในและนอกห้องเรียน ทงั้ น้ีเพ่ือผู้เรยี นจะไดม้ ีโอกาสที่จะสัมผัสกบั ชวี ติ จริง นอกห้องเรียนหรือนอกโรงเรียน ไดพ้ บปะกับผู้คน ผู้รู้ ภูมิปญั ญาของท้องถ่นิ เพื่อจะได้เรียนรสู้ ่ิงตา่ ง ๆ มากขน้ึ มี ประสบการณ์กวา้ งขวางข้นึ เรียนรู้ไดท้ กุ เวลาและทุกสถานทไี่ มจ่ ากดั ว่าจะต้องเรียนรจู้ ากผสู้ อนในสถานศึกษา เท่านนั้ ๕. การวจิ ยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพ การวิจัยเป็นกระบวนการทีค่ วบคกู่ บั กระบวนการเรียนรู้ และ กระบวนการทางานของผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา ซ่ึงเปน็ กลไกที่นาไปสูส่ ังคมแหง่ ภมู ิปัญญาและการเรยี นรู้ ดังน้นั ในการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องนากระบวนการวจิ ยั มาผสมผสานหรือบูรณาการเพื่อพฒั นาคุณภาพของ ผ้เู รียน และสามารถใชก้ ระบวนการการวจิ ยั เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนีผ้ ลการวิจัยยงั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การแกป้ ญั หาหรือพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี นได้เป็นอย่างดี ๖. การจัดเครือข่ายวชิ าการ ผู้สอนนบั ว่ามสี ว่ นสาคัญท่ีจะทาใหก้ ารจัดการเรียนรู้ประสบผลสาเรจ็ สถานศกึ ษาจึงจดั ให้มีเครือข่ายเชื่อมโยงกบั สถานศึกษาอื่น ซงึ่ เป็นสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนเครอื ขา่ ยการใช้ หลักสตู รสถานศกึ ษาของจังหวัดชลบุรี ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผู้สอนไดแ้ ลกเปลย่ี นเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการ จัดการเรยี นรซู้ ่ึงกนั และกัน ทาให้ไดร้ ับความรู้ และแนวคดิ ใหม่ ๆ ทหี่ ลากหลาย และกว้างขวาง ทส่ี ามารถนาไป

๑๒๗ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ นอกจากนย้ี งั สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้มกี ารแลกเปลยี่ น เรยี นรู้ทางวชิ าการ จากผู้สอนในสถานศึกษาเดียวกัน และสถานศึกษาอืน่ ๆ ตลอดจนชมรมวิชาการต่าง ๆ เพ่ือให้ ผูส้ อนได้รับการพัฒนาตนเองอยา่ งสม่าเสมอ

๑๒๘ ระเบียบโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ……………………………… โดยที่โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ไดป้ ระกาศใชห้ ลักสูตรสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอื่ ง ใหใ้ ช้ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และกระจายอานาจให้สถานศกึ ษากาหนดหลักสตู ร สถานศกึ ษาขน้ึ ใชเ้ อง เพื่อให้สอดคล้องกบั คาสงั่ ดังกลา่ ว ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ าร ราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงึ วางระเบียบไว้ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบยี บนเ้ี รียกว่า “ระเบียบสถานศกึ ษาว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑” ข้อ ๒ ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้บงั คับต้ังแต่ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ เป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ ระเบยี บข้อบังคบั หรือคาสั่งอน่ื ใดในสว่ นทีก่ าหนดไว้ในระเบียบน้ีหรือซึ่งขดั หรือแย้งกับ ระเบยี บนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบยี บนี้แทน ข้อ ๔ ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคู่กับหลักสตู รสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้อ ๕ ในระเบยี บนี้ “หลักสตู ร” หมายถึง หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ “โรงเรยี น” หมายถึง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ “ผู้อานวยการโรงเรียน” หมายถึง ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ “ครู” หมายถึง ครู ผปู้ ฏิบตั ิการสอนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ “นักเรียน” หมายถึง นักเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ข้อ ๖ ใหผ้ ู้อานวยการโรงเรยี นรกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บนี้

๑๒๙ หมวดที่ ๑ หลกั การในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น ข้อ ๗ การวดั และประเมินผลการเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการดังนี้ ๗.๑ ทกุ ระดับชั้นตงั้ แตช่ ้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ มีการวัดและประเมนิ ผล ตดั สนิ ผลการเรยี นตามรายวิชาเป็นรายปี ส่วนระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ มกี ารวัดและประเมินผล ตดั สนิ ผล การเรยี นตามรายวชิ าเป็นรายภาค ๗.๒ โรงเรยี นมีหนา้ ท่ีวัดและประเมินผลการเรยี นให้สอดคลอ้ งกบั วิธีการวัดและประเมนิ ผลการ เรยี น ๗.๓ การวัดและประเมนิ ผลการเรียน ตอ้ งสอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชว้ี ัด ท่กี าหนดในหลักสตู รแกนกลางฯ ๗.๔การวัดผลและประเมินผลการเรยี น เป็นสว่ นหน่งึ ของกระบวนการเรียนการสอน ต้อง ดาเนนิ การดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย เหมาะสม ตามสภาพจริง ธรรมชาติวชิ า และระดับชัน้ ของนกั เรยี น ๗.๕ วดั และประเมนิ ผล ท้ังเพือ่ ปรับปรงุ การเรยี นและเพื่อตัดสินผลการเรียน ๗.๖ ใหม้ กี ารวดั และประเมนิ ความรู้ความสามารถของนักเรียนดา้ นการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และ เขียนส่อื ความในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๗.๗ ใหม้ กี ารประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั เรียน ในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๗.๘ ใหม้ ีการวดั และประเมินผลคุณภาพนักเรยี น ท้ังระดับช้ันเรยี นและระดับ สถานศึกษาในแต่ละช้ันปี ๗.๙ ให้นกั เรยี นท่ีกาลังศึกษาในชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ถงึ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้า รบั การประเมินคณุ ภาพระดับตา่ ง ๆ ตามทโ่ี รงเรียน สานกั งานเขตพ้นื ท่ี หรือกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ๗.๑๐ ให้มกี ารเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศกึ ษาและรปู แบบการศึกษาตา่ งๆ หมวดท่ี ๒ วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี น การตัดสนิ ผลการเรยี น ขอ้ ๘ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น การตัดสินผลการเรยี นนี้ เปน็ การประเมนิ ผลระดบั ชน้ั เรยี น ปฏิบตั ิดังนี้ ๘.๑ การวดั และประเมนิ ผลการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๘.๑.๑ กอ่ นการเรียน ครูแจง้ ให้นกั เรียนทราบถึงวธิ ีการวดั และประเมนิ ผล ตวั ชี้วัด การ ประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสอ่ื ความ การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เกณฑก์ ารประเมิน และการตัดสินผลการเรยี น ๘.๑.๒ ครปู ระเมนิ ความรู้พ้ืนฐานของนักเรยี น ก่อนการเรียนการสอนสาระการเรียนรตู้ ่างๆ ๘.๑.๓ ครูวดั และประเมนิ ผลการเรียนเพื่อศึกษาผลการเรียน เพือ่ จัดการสอนซ่อมเสรมิ และประเมินผลตามตัวช้ีวดั เพ่ือตัดสนิ ผลการเรียน ดังนี้ ๘.๑.๓.๑ วดั และประเมินผลการเรยี นตามตวั ชี้วดั ของแต่ละสาระการเรียนรู้ ทีก่ าหนดในหลกั สตู ร ๘.๑.๓.๒ วัดและประเมินผลการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนส่อื ความ ที่ สอดคล้องกบั ตัวชี้วัดของแตล่ ะสาระการเรยี นรู้

๑๓๐ ๘.๑.๓.๓วดั และประเมินผลคุณลกั ษณ์อันพึงประสงคข์ องแต่ละสาระการ เรียนรูท้ ก่ี าหนดในหลกั สตู ร ๘.๑.๔ ครวู ัดและประเมินผลการเรยี นไดต้ ลอดในขณะเวลาทเี่ รยี น ตามตวั ช้ีวัดท่ีกาหนด โดยประเมินในรปู เกณฑ์คุณภาพ ๘ ระดบั โดยใช้สญั ลกั ษณ์เป็นเลขฮนิ ดูอารบกิ หรืออยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน ดงั น้ี ผลการประเมิน “๔” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ดีเยี่ยม หรือมผี ล การวัดตง้ั แตร่ ้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ผลการประเมิน “๓.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ดีมาก” หรือมผี ลการวัด ตง้ั แตร่ ้อยละ๗๕-๗๙ ผลการประเมิน “๓” หมายถึงเกณฑค์ ณุ ภาพ “ด”ี หรือมีผลการวดั ต้ังแต่ร้อยละ๗๐-๗๔ ผลการประเมิน “๒.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ค่อนข้างดี” หรอื มผี ลการวดั ต้ังแตร่ อ้ ยละ๖๕-๖๙ ผลการประเมิน “๒” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “นา่ พอใจ” หรอื มผี ลการวัด ตงั้ แต่ร้อยละ๖๐-๖๔ ผลการประเมิน “๑.๕” หมายถึงเกณฑค์ ุณภาพ “พอใช้” หรือมผี ล การวดั ตง้ั แต่ร้อยละ๕๕-๕๙ ผลการประเมนิ “ ๑” หมายถึงเกณฑค์ ณุ ภาพ “ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า” หรอื มผี ลการวดั ตัง้ แตร่ ้อยละ๕๐-๕๔ ผลการประเมนิ “๐” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “ต่ากวา่ เกณฑ์” หรือมีผลการวดั ต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ ๘.๑.๕ การตัดสนิ ผลการเรียน ผลการประเมนิ การเรียนรขู้ องสาระการเรยี นรู้น้ันๆ เปรียบเทียบตัวเลขแสดงความหมายระดบั ผลการเรยี นแต่ละรายวชิ า โดยใช้สัญลกั ษณ์เป็นเลขฮินดูอารบกิ ดังน้ี ผลการประเมิน “๔” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “ดีเย่ยี ม หรือมีผล การวัดต้ังแตร่ ้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ผลการประเมนิ “๓.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ดีมาก” หรอื มผี ลการวัด ตง้ั แตร่ ้อยละ๗๕-๗๙ ผลการประเมิน “๓” หมายถึงเกณฑค์ ุณภาพ “ด”ี หรอื มีผลการวดั ตั้งแต่ร้อยละ๗๐-๗๔ ผลการประเมนิ “๒.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “คอ่ นข้างดี” หรอื มผี ลการวดั ตง้ั แต่รอ้ ยละ๖๕-๖๙ ผลการประเมนิ “๒” หมายถึงเกณฑ์คณุ ภาพ “นา่ พอใจ” หรอื มผี ลการวดั ตั้งแต่รอ้ ยละ๖๐-๖๔ ผลการประเมนิ “๑.๕” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “พอใช้” หรอื มีผล การวดั ตง้ั แต่รอ้ ยละ๕๕-๕๙ ผลการประเมิน “ ๑” หมายถึงเกณฑค์ ณุ ภาพ “ผ่านเกณฑ์ขัน้ ตา่ ” หรอื มีผลการวัดต้งั แต่ร้อยละ๕๐-๕๔ ผลการประเมนิ “๐” หมายถึงเกณฑค์ ณุ ภาพ “ตา่ กวา่ เกณฑ์” หรอื มีผลการวัด ต่ากว่าร้อยละ ๕๐

๑๓๑ ๘.๑.๖ การประเมินผลการเรยี นเพื่อตัดสินผลการเรียน ใช้เฉพาะนักเรยี นผู้ท่มี เี วลา เรยี นตลอดปไี มน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นรายวิชานน้ั ๘.๑.๗ นักเรยี นที่มีเวลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในวิชานน้ั โรงเรยี น แต่งต้งั คณะกรรมการประกอบดว้ ยผ้บู ริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ครูประจาช้ัน ครูผสู้ อน และผูป้ กครอง พจิ ารณาให้มีโอกาสซ่อมเสรมิ เวลาเรยี น ปรับปรงุ แก้ไขการเรียน แลว้ ประเมนิ ผลใหม่ ภายใน ๙๐ วันของปีการศกึ ษาถดั มา หากระยะเวลาเกนิ กวา่ ที่กาหนด ให้เรยี นซา้ ในรายวชิ านั้น ๘.๑.๘ นักเรยี นที่มีผลการเรยี นเฉล่ียของปี ต่ากว่า “๑” หรอื มีผลการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ เขยี นสือ่ ความไม่ผ่านเกณฑ์ หรือ มีผลการประเมินคุณลกั ษณะพงึ ประสงค์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ หรือมีผลการ ประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นไม่ผ่านเกณฑ์ หรือไม่เอาใจใส่ในการเรียน คณะกรรมการ ตามขอ้ ๘.๑.๗ เห็นวา่ ควรเรียนซา้ ชน้ั ใหม้ กี ารเรียนซ้าช้ันในปถี ัดมา ๘.๑.๙ นกั เรียนท่ีมีการทจุ ริตในการสอบหรือทจุ รติ ในงานทม่ี อบหมายใหไ้ ด้คะแนน ๐หรอื มผี ลการประเมิน “ตก”ในการประเมินคร้ังน้ัน ข้อ ๙ การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นส่ือความ ในระดับสถานศึกษา เพอื่ ปรับปรงุ พัฒนา และจบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖โดยปฏิบัตดิ ังนี้ ๙.๑ โรงเรยี นแต่งต้งั คณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียนส่ือความขนึ้ คณะ หนงึ่ ในแตล่ ะปีการศึกษา ๙.๒ คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียนส่อื ความกาหนดแนวทาง วิธีการประเมนิ และเกณฑ์การตัดสนิ ตามท่หี ลักสูตรกาหนด ๙.๓ มกี ารประเมนิ เปน็ รายปี เพ่อื ปรับปรุงและพัฒนาในปีท่ี ๑-๕ การตัดสินจบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ให้ถือผลการประเมินปลายปขี องปที ี่ ๖ ๙.๔ ประเมินนักเรยี นเป็นรายบุคคลตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละเกณฑ์ที่กาหนด ๙.๕ นักเรยี นท่ีผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตัดสิน “ดี หรอื ดเี ยย่ี ม” แล้วแตก่ รณี ๙.๖ นกั เรียนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตัดสิน “ปรบั ปรงุ ” ๙.๗ นักเรยี นท่ีไดร้ บั การตัดสิน “ปรับปรุง” ตอ้ งดาเนนิ การซ่อมเสริมปรบั ปรุง แก้ไข ตาม แนวทางทคี่ ณะกรรมการกาหนด และมกี ารประเมินใหม่ ๙.๘ นักเรยี นท่ีได้รบั การตัดสิน “ปรบั ปรงุ ” และมีการประเมินใหม่แล้วผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ตดั สิน “ผา่ น” ๙.๙ นักเรียนทีไ่ ด้รับการตัดสิน “ดี หรอื ดเี ย่ียม หรอื ผา่ น” มสี ทิ ธไิ ด้รบั การพจิ ารณาการจบ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ข้อ ๑๐ การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของโรงเรียน การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของโรงเรียน ระดับสถานศกึ ษา เพื่อ ปรับปรงุ พัฒนา และจบชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ โดยปฏิบตั ดิ งั นี้ ๑๐.๑ โรงเรยี นแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ โรงเรยี นข้ึนคณะ หนง่ึ ในแตล่ ะปีการศึกษา ๑๐.๒ คณะกรรมการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของโรงเรียน กาหนดแนวทาง วิธกี ารประเมิน และเกณฑ์การตัดสนิ ตามทห่ี ลักสูตรกาหนด ๑๐.๓ มกี ารประเมนิ เปน็ รายปี เพ่อื ปรบั ปรุงและพัฒนาในปีท่ี ๑-๕ การตดั สินจบชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ให้ถือผลการประเมินปลายปขี องปที ี่ ๖ สาหรับมธั ยมศึกษามกี ารประเมินผลเปน็ รายภาค ๑๐.๔ ประเมนิ นักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ตามมาตรฐาน และเกณฑ์ทีก่ าหนดในหลกั สตู ร ๑๐.๕ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตดั สิน “ดี หรือ ดเี ย่ยี ม” แลว้ แต่กรณี

๑๓๒ ๑๐.๖ นักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ตดั สนิ “ปรบั ปรุง” ๑๐.๗ นกั เรียนทไี่ ด้รบั การตัดสิน “ปรับปรุง” ต้องดาเนินการปรับปรงุ ซอ่ มเสรมิ แก้ไข ตาม แนวทางทีค่ ณะกรรมการกาหนดและมีการประเมนิ ใหม่ ๑๐.๘ นกั เรียนทีไ่ ด้รบั การตดั สิน “ปรับปรุง” และไดร้ ับการประเมนิ ใหม่แล้วผา่ นเกณฑ์การ ประเมนิ ตดั สนิ “ผา่ น” ๑๐.๙ นกั เรยี นท่ไี ดร้ บั การตดั สิน “ดี หรอื ดเี ยยี่ ม หรอื ผ่าน” มสี ิทธิได้รบั การพจิ ารณาจบชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ขอ้ ๑๑ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ระดบั สถานศึกษา โดยปฏบิ ัติดังน้ี ๑๑.๑ โรงเรยี นแตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นของ โรงเรยี น ขนึ้ คณะหนงึ่ ในแตล่ ะปีการศึกษา ๑๑.๒ คณะกรรมการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนของโรงเรียน กาหนดแนว ทางวิธีการประเมนิ และเกณฑ์การตัดสนิ ตามท่หี ลักสูตรกาหนด ๑๑.๓ นักเรียน ตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรม ๓ กลุ่ม ดงั นี้ ๑๑.๓.๑ กจิ กรรมแนะแนว เวลาเรียน ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือแล ะให้คาปรึกษาแก่ ผู้ปกครองในการมีส่วนรว่ มพฒั นาผเู้ รยี น ๑๑.๓.๒ กจิ กรรมนักเรียน เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ความ รบั ผดิ ชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติ ดว้ ยตนเองในทกุ ขัน้ ตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะหว์ างแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้น การทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและ ท้องถ่ิน กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย ก. กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารหี รอื ยุวกาชาด หรอื ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ข. กจิ กรรมชุมนุม ชมรม ๑๑.๓.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เวลาเรยี น ช้ันปลี ะ ๑๐ ช่ัวโมง เป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นบาเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคม ชมุ ชน และ ท้องถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสงั คม มีจติ สาธารณะ เชน่ กจิ กรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กิจกรรมสรา้ งสรรค์สังคม ๑๑.๔ ครผู ู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมแนะแนว เปน็ ผปู้ ระเมินและตดั สนิ ผลกจิ กรรม แนะแนว

๑๓๓ ๑๑.๕ ครผู บู้ งั คับบัญชาในกจิ กรรมลกู เสือเนตรนารี ยวุ กาชาด หรอื ผบู้ าเพ็ญ ประโยชน์ เป็นผ้ปู ระเมนิ และตดั สินผลการพัฒนาผู้เรยี นในกจิ กรรมลกู เสือเนตรนารี ยุวกาชาด หรือผบู้ าเพ็ญ ประโยชนต์ ามแตก่ รณี ครทู ่ีปรึกษาในกจิ กรรมชุมนุม หรอื ชมรมเป็นผูก้ าหนดกจิ กรรม และประเมิน ผ้เู รยี นใน กิจกรรมนั้น โดยนาผลการประเมนิ ทั้ง ๒ กิจกรรม มาประเมินตดั สินรว่ มกัน ๑๑.๖ ครูผู้รบั ผิดชอบ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ป็นผู้ประเมินและ ตัดสนิ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๑.๗ นกั เรยี นท่มี ีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาร่วม กจิ กรรมรายปี และผ่านจดุ ประสงคส์ าคัญของกจิ กรรม มีผลการประเมนิ และตัดสนิ “ผา่ น” ๑๑.๘ นักเรียนท่ีมีเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมน้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลารว่ ม กจิ กรรมรายปี หรือไม่ผา่ นจดุ ประสงค์สาคัญของกจิ กรรม มีผลการประเมนิ และตดั สิน “ไม่ผ่าน” ๑๑.๙ นกั เรยี นทไ่ี ด้รับการตัดสนิ “ไม่ผ่าน” ตอ้ งดาเนินการปรบั ปรุง ซอ่ มเสรมิ แก้ไข ตามแนวทางท่คี รูปรกึ ษาหรอื บังคบั บัญชากาหนดและมีการประเมินใหม่ ๑๑.๑๐ นักเรียนทไ่ี ด้รบั การตัดสนิ “ไม่ผ่าน” และได้รบั การประเมินใหมแ่ ล้วผา่ นเกณฑ์ การประเมิน ตัดสนิ “ผ่าน” ๑๑.๑๑ นักเรยี นท่ีได้รับการตัดสนิ “ผ่าน” ทกุ กิจกรรมไดร้ ับสิทธิพิจารณาจบชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ หมวดท่ี ๓ เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร ขอ้ ๑๒ นกั เรียนจะไดร้ ับการพิจารณาอนุมตั ิให้จบช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิครบถ้วนทุกข้อดังนี้ ๑๒.๑ ตอ้ งมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด ๑๒.๒ ตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ทุกตัวชีว้ ัด และมีผลการประเมนิ แตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรไู้ ม่ ต่ากว่า ระดบั ผลการเรียน ๑ ๑๒.๓ ตอ้ งไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑๒.๔ ต้องไดร้ ับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ โี่ รงเรียนกาหนด ใน ๓ ดา้ นดงั น้ี ๑๒.๔.๑ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น ๑๒.๔.๒ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑๒.๔.๓ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ขอ้ ๑๓ ผู้อานวยการโรงเรยี นเปน็ ผอู้ นมุ ัตผิ ลการเรียนและการจบหลักสตู ร

หมวดที่ ๔ ๑๓๔ การเทยี บโอนผลการเรยี น ขอ้ ๑๔ โรงเรยี นจะรับเทยี บโอนผลการเรียน ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียน ที่เกดิ จากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาประเมินเปน็ สว่ นหน่ึงของ การศกึ ษา ตามหลักสตู รของโรงเรยี นตามแนวปฏิบัตติ อ่ ไปน้ี ๑๔.๑ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ๑๔.๑.๑ โรงเรียนแต่งตง้ั คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี นข้นึ คณะหน่ึง มี จานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน แต่ไม่เกนิ ๕ คน ประกอบด้วยหัวหน้ากลมุ่ วิชาการเป็นประธานกรรมการ ๑ คน ครู ประจาชั้น เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร ๑ คน และครูในโรงเรยี นผู้มีความรู้ประสบการณ์ในสาขาวชิ าการศึกษา รวมไมเ่ กิน ๓ คน เป็นกรรมการ ๑๔.๒ วธิ ีดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ๑๔.๒.๑ ผูข้ อเทียบโอนผลการเรยี น ตอ้ งขน้ึ ทะเบยี นเปน็ นักเรียนของโรงเรยี นราช ประชานเุ คราะห์ ๓๑ และโรงเรียนต้องดาเนินการเทยี บโอนในภาคเรียนแรกท่ขี อข้นึ ทะเบยี น ๑๔.๒.๒ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ตอ้ งพจิ ารณาจากสาระการเรยี นรู้/ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ของผู้เทียบโอน โดยเทยี บเคยี งกับโครงสรา้ งหลกั สตู ร สาระการเรยี นรแู้ ละมาตรฐานของโรงเรยี น โดยมีผลการพิจารณาแลว้ สอดคล้องกับโครงสร้างหลกั สูตร สาระการ เรียนรแู้ ละมาตรฐานของโรงเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ๑๔.๒.๓ การเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ ให้พจิ ารณาจากเอกสาร หลกั ฐาน (ถา้ มี) โดยให้มีการประเมินด้วยเคร่ืองมือทีห่ ลากหลาย และใหไ้ ด้ระดับผลการเรยี นตามเกณฑก์ าร ประเมินผลการเรียนของหลักสูตรโรงเรยี น ๑๔.๒.๔ จานวนกลุม่ วชิ า รายวชิ า ที่จะรับเทยี บโอนและอายุของผลการเรยี นท่ีจะ นามาเทียบโอนให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวชิ าการ ท้งั นี้ เมอ่ื เทยี บโอนแลว้ ผขู้ อ เทียบโอนตอ้ งมีเวลาเรยี นในโรงเรียนไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคเรียน ๑๔.๒.๕ ผลการพจิ ารณาและตดั สนิ ของคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น ใหเ้ สนอ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวิชาการพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบแลว้ เสนอผู้อานวยการพิจารณาตาม เกณฑ์กาหนด คือ มผี ลการเรียนเทียบโอนสอดคล้องกบั หลักสตู รของโรงเรยี นมากกว่าร้อยละ ๖๐ พจิ ารณาอนุมตั ิ ผลการเรยี นเทยี บโอนสอดคล้องกบั หลักสตู รของโรงเรียนนอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ พจิ ารณาไมอ่ นุมัติ ๑๔.๒.๖ การกาหนดรายละเอียดวธิ ีการและหลกั การเทยี บโอนให้เปน็ ไปอย่าง สอดคลอ้ งกับกฎกระทรวงและระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด

หมวดท่ี ๖ ๑๓๕ เอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อ ๑๕ โรงเรยี นจัดใหม้ ีเอกสารการประเมินผลการเรยี นต่าง ๆ ดังน้ี ๑๕.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ. ๑) ๑๕.๒ หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ประกาศนยี บัตร) (ปพ. ๒) ๑๕.๓ แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา (ปพ. ๓) ๑๕.๔ แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์(ปพ. ๔) ๑๕.๕ แบบบนั ทกึ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น(ปพ.๕) ๑๕.๖ แบบรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนรายบุคคล(ปพ. ๖) ๑๕.๗ ใบรบั รองผลการศกึ ษา(ปพ. ๗) ๑๕.๘ ระเบยี นสะสม(ปพ. ๘) ๑๕.๙ สมุด/คู่มือหลักสตู รโรงเรยี น(ปพ. ๙) เอกสาร ปพ. ๑ ปพ. ๒ ปพ. ๓ ให้ใช้รูปแบบทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกาหนด ข้อ ๑๖ โรงเรยี นอาจจดั ให้มเี อกสารอน่ื ๆ เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานการศึกษาเพมิ่ เติม ตามนโยบายและความ เหมาะสมกบั สถานการณ์ หรือบูรณาการเอกสารที่โรงเรียนจดั ทาตามสภาพความเหมาะสม หมวดที่ ๗ การปรบั ปรงุ และพัฒนาระเบียบ ข้อ ๑๗ ใหค้ ณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการ พิจารณาเสนอข้อมูล มติ เพ่ือปรับปรงุ และ พัฒนาระเบยี บนี้ตอ่ ผู้อานวยการโรงเรยี นพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ขอ้ ๑๘ การใชร้ ะเบียบ ระเบยี บนี้มผี ลบังคบั ใช้ ต้งั แต่วนั ท่ี ผอู้ านวยการโรงเรียน ลงนามประกาศเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผ้อู านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑๓๖ การบริหารจัดการหลกั สตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ การบริหารจดั การหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ กระบวนการในการบรหิ ารจัดการนาหลกั สูตรไปใชถ้ ือว่าเป็นปัจจยั ทสี่ าคญั เปน็ อย่างมากที่จะช่วย สนับสนนุ ส่งเสริมให้การใช้หลักสูตรของสถานศึกษาบรรลุผลสูงสุด ดงั น้นั สถานศึกษาจึงได้กาหนดแผนการ บริหารจดั การหลกั สูตรของสถานศกึ ษาข้ึน เพือ่ ใหผ้ ู้ทีม่ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาในทุก ๆ ส่วน และทกุ ระดับ เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับจุดหมายของหลักสูตร การพฒั นาการเรยี นการสอน การนเิ ทศ การศึกษา การบริหารหลักสตู ร การประเมินผล และแนวปฏิบัตขิ องสถานศกึ ษาที่จะต้องดาเนินการใหส้ อดคลอ้ ง และเหมาะสมกับสภาพความตอ้ งการของหลักสูตรสถานศึกษา สาหรบั การบรหิ ารจัดการหลักสูตรของสถานศึกษา โรงเรยี นพัฒนาการศึกษา กาหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การไว้ ๓ ขนั้ ตอน ๙ ภารกจิ ดงั นี้ ๑. แนวทางการบรหิ ารจัดการด้านวชิ าการ ขนั้ ตอนท่ี ๑ การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศกึ ษา ภารกจิ ท่ี ๑ การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ๑.๑ สร้างความตระหนักให้แก่บุคลากร ซ่ึงประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน ท้ังน้ีเพื่อให้เห็นความสาคัญ ความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือกันบริหารจัดการ หลักสตู รสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถานศึกษาตามระเบียบของ กระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ. ศ. ๒๕๕๒ ๑.๓ ประชาสัมพันธใ์ หน้ กั เรยี น ผ้ปู กครอง ชมุ ชน หน่วยงาน องค์กรในชุมชนทกุ ฝาุ ย ไดร้ บั ทราบ และความรว่ มมอื ในการบริหารจัดการหลกั สูตรของสถานศึกษา ๑.๔ จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ๑.๕ จัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๑.๖ พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ จัดทาสาระของหลกั สตู รสถานศึกษา ข้ันตอนท่ี ๒ การดาเนินการจัดทาสาระของหลกั สตู รสถานศึกษา ภารกิจท่ี ๒ จัดทาสาระของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๒.๑ ศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ีเกี่ยวข้อง ๒.๒ กาหนดปรัชญา และเปูาหมายของการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ๒.๓ กาหนดโครงสรา้ งของหลกั สูตรแต่ละรายชน้ั และจดั สัดสว่ นเวลาเรียน ๒.๔ กาหนดตัวชีว้ ัด และสาระการเรยี นรู้ของกลมุ่ วิชา ๒.๕ กาหนดสาระและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒.๖ กาหนดสื่อการเรยี นรู้ ๒.๗ กาหนดการวดั และประเมนิ ผล ภารกิจที่ ๓ การวางแผนบริหารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๓.๑ การบริหารการจัดการกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๒ การบริหารการจดั การกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๓.๓ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การกิจกรรมการเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

๑๓๗ ภารกิจที่ ๔ ปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศึกษา ดาเนินการบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามภารกิจท่ี ๒ และภารกจิ ที่ ๓ ทก่ี าหนดไว้ ขนั้ ตอนที่ ๓ การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงาน ภารกจิ ที่ ๕ การนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ๕.๑ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผลการบริหารหลักสตู ร และงานวชิ าการภายในสถานศกึ ษา ๕.๒ การนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการจากภายนอก สถานศึกษา ภารกิจท่ี ๖ สรุปผลการดาเนนิ การบรหิ ารจดั การหลักสตู รของสถานศึกษา ๖.๑ สถานศกึ ษาสรปุ ผลการดาเนนิ การ และเขียนรายงาน ๖.๒ สรุปผลการดาเนินงานรูปแบบบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษา ภารกจิ ท่ี ๗ ปรับปรุง และพัฒนากระบวนการบรหิ ารจัดการหลกั สูตร ๗.๑ สถานศึกษานาผลการดาเนินการ ปัญหา และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การวางแผนปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสตู รของสถานศกึ ษา ๗.๒ สถานศึกษาดาเนินการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อให้เกิด ประโยชนม์ ากขึ้น ข้ันตอนที่ ๔ การบริหารท่วั ไปตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ภารกิจท่ี ๘ การสนบั สนนุ กระบวนการบริหารจัดการหลกั สตู ร เป็นภารกิจการสนับสนนุ การบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ โดยมี กจิ กรรมทส่ี าคญั ดงั น้ี ๘.๑ การพฒั นาบุคลากรของสถานศึกษา ดาเนินการพฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามรู้ ทกั ษะความสามารถและเจตคติทีถ่ ูกต้องต่อการ จัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญตามนโยบายปฏริ ปู การเรียนรู้ สามารถจัดการเรียนการสอนไดต้ าม จดุ เนน้ ทีห่ ลกั สูตรสถานศึกษากาหนด มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทเ่ี หมาะสมกบั อาชีพและเป็นท่ียอมรบั ของนักเรยี น ผู้ปกครอง ๘.๒ การใชห้ ้องเรยี น อาคารเรยี น และสถานท่ี เพื่อให้ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาของ โรงเรียน ๑) สนับสนุนการจดั ห้องเรยี นให้สามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ด้หลากหลายลักษณะ สวยงาม น่าอยู่ มีการส่ือการเรยี นและส่ือสนับสนุนการเรียนรทู้ เี่ พยี งพอ ๒) สนับสนนุ ใหค้ รูใช้และอานวยความสะดวกในการใชห้ อ้ งปฏิบัตกิ าร สถานทป่ี ฏิบตั งิ าน จดุ ศึกษาและแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน เพื่อเนน้ ให้ได้เรียนรูด้ ว้ ยการปฏิบัติจรงิ ๓) การสร้างความสะอาด สวยงาม ร่มรืน่ และความปลอดภยั ในโรงเรียน โดยการจดั ใหโ้ รงเรยี นมคี วามสวยงาม ร่มร่ืนด้วยไมย้ ืนต้น ไม้ดอก ไม้ประดบั ใหน้ ักเรยี นเป็นผรู้ บั ผิดชอบในการรักษาความ สะอาดในบริเวณโรงเรียน ใหโ้ รงเรยี นเป็นสถานทพี่ ักผอ่ นหย่อนใจและเล่นกฬี าของนกั เรียน มีความปลอดภยั ใน การใช้ชวี ิตในโรงเรียนและความปลอดภยั ในทรัพย์สนิ ของทางราชการและเปน็ เขตปลอดสิ่งเสพติดทุกประเภท ๘.๓ การบริหารจดั การงบประมาณในการจดั การเรียนการสอน โรงเรยี นเนน้ ให้การจัดสรรงบประมาณคา่ วัสดุการศกึ ษา (รายหัว) และงบประมาณอน่ื ๆ ที่ เก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาให้เป็นประโยชนต์ อ่ นักเรียนและการจัดการเรียนการสอนตาม หลกั สูตรสถานศึกษา

๑๓๘ ๘.๔ การขอรับการสนับสนุนช่วยเหลอื การจัดการศึกษาของโรงเรยี น มีกิจกรรมการ ดาเนนิ งาน ดังนี้ ๑) การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานของโรงเรียน เพื่อให้การปฏิบตั งิ านตาม ภารกิจ หนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เกดิ ประโยชนแ์ ละมปี ระสทิ ธิภาพ สงู สดุ ตอ่ การจดั การศึกษาของโรงเรียน ๒) การประชมุ ผปู้ กครองนักเรยี น เพื่อการชีแ้ จงการดาเนินงานของโรงเรยี น การ ประสานงานการจัดการศึกษาและพัฒนางาน ๓) การร่วมกิจกรรมกับชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ องคก์ รปกครองท้องถิ่น และหน่วยงานในท้องถิ่น ๘.๕ การประกันคุณภาพการจดั การศกึ ษาภายในของสถานศึกษา เป็นการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาทร่ี ว่ มมือกบั ชมุ ชนและหน่วยงานต้นสังกดั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ใหเ้ ปน็ ทีเ่ ชือ่ มัน่ ได้ว่าผเู้ รียนทุกคนจะไดร้ ับบริการด้านการศึกษาท่ีมีคุณภาพจากสถานศึกษา สามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามที่กาหนดในมาตรฐานหลักสตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โดยมกี าร ดาเนินงาน ดงั นี้ ๑) การประเมนิ ตนเองประจาปีของครูผู้สอน ๒) การประเมนิ ตนเองประจาปีของสถานศึกษา ๓) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี เสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน ผปู้ กครองนักเรยี นและชุมชน เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. ระดับประถมศกึ ษา ๑.๑ การตดั สินผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดหลกั เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล การเรียนรู้ เพ่ือตัดสินผลการเรียนของผู้เรยี น ดังน้ี ๑) ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒) ผ้เู รยี นต้องไดร้ ับการประเมินทุกตวั ชวี้ ัดและผ่านตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากาหนด ๓) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั การตดั สินผลการเรยี นทุกรายวชิ า ๔) ผ้เู รียนต้องไดร้ ับการประเมินและมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนดในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน การตัดสินผลการเรยี น ตดั สนิ เป็นรายวิชา โดยใชผ้ ลการประเมินระหวา่ งปแี ละปลายปีตามสัดสว่ นท่ี สถานศึกษากาหนด ทกุ รายวิชาตอ้ งได้รับการตัดสนิ ใหผ้ ลการเรียนตามแนวทางการให้ระดับผลการเรยี นตามท่ี สถานศึกษากาหนด และผูเ้ รียนตอ้ งผ่านทุกรายวิชาพนื้ ฐาน

๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรียน ๑๓๙ การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนรู้รายวชิ า ตามผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ของรายวิชา ซ่ึงสถานศกึ ษา วิเคราะหจ์ ากตวั ชี้วัดชนั้ ปี การประเมินสาระการเรียนรู้รายวชิ า ให้ตดั สนิ ผลการประเมนิ ระดบั ผลการเรยี น ๘ ระดบั คือ “๔” หมายถึง ผลการเรียนดีเยย่ี ม “๓.๕” หมายถึง ผลการเรียนดมี าก “๓” หมายถึง ผลการเรยี นดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี “๒” หมายถึง ผลการเรียนนา่ พอใช้ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรยี นพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่า “๐” หมายถึง ผลการเรียนตา่ กวา่ เกณฑ์ การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์นัน้ ให้ผลการประเมิน เป็นผา่ นและไมผ่ า่ น กรณที ผ่ี า่ นให้ระดับผลการประเมินเป็นดเี ย่ียม ดี และผ่าน ๑. ในการสรุปผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน เพอ่ื การเลือ่ นชัน้ และจบการศึกษา กาหนดเกณฑ์การตดั สนิ เปน็ ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังน้ี ดเี ยยี่ ม หมายถงึ มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนท่ีมีคุณภาพดเี ลิศอย่เู สมอ ดี หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนท่ีมี คุณภาพเปน็ ทย่ี อมรับ ผา่ น หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ทมี่ ีคุณภาพเป็นทย่ี อมรับ แต่ยังมขี ้อบกพร่องบางประการ ไม่ผ่าน หมายถึง ไมม่ ีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นหรือถา้ มีผลงาน ผลงานนนั้ ยงั มขี ้อบกพร่องท่ีต้องได้รบั การ ปรบั ปรุงแก้ไขหลายประการ ๒. ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงคร์ วมทุกคณุ ลกั ษณะเพื่อการเลื่อนช้นั และ จบการศึกษา กาหนดเกณฑ์การตัดสนิ เปน็ ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดีเย่ยี ม หมายถึง ผูเ้ รียนปฏิบตั ิตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวันเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสงั คม โดยพิจารณาจาก ผลการประเมนิ ระดบั ดเี ย่ยี ม จานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะ และไม่มี คณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดบั ดี ดี หมายถงึ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะในการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ เพื่อใหเ้ ป็นการ ยอมรบั ของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดเี ยี่ยม จานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และ ไมม่ ี คณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมินต่ากวา่ ระดับดี หรือ ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ยยี่ ม จานวน ๔ คณุ ลกั ษณะ และไม่มี คณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมินตา่ กวา่ ระดับผา่ น หรือ ๓. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มี คณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรบั รู้และปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขทส่ี ถานศึกษา กาหนดโดยพิจารณาจาก

๑๔๐ ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดับผา่ น จานวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่ มี คุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตา่ กว่าระดบั ผา่ น หรือ ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดี จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มี คณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กวา่ ระดบั ผา่ น ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรบั ร้แู ละปฏบิ ตั ิได้ไม่ครบตามกฎเกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขท่ี สถานศกึ ษากาหนดโดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดับไมผ่ ่าน ต้ังแต่ ๑ คุณลักษณะ การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม การปฏบิ ัติกจิ กรรม และผลงานของผเู้ รยี นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด และให้ผลการประเมนิ เปน็ ผา่ นและไม่ผ่าน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน มี ๓ ลักษณะ คอื ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรยี น ซง่ึ ประกอบดว้ ย (๑) กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี และผบู้ าเพ็ญประโยชน์ โดยผเู้ รยี นเลือกอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ๑ กจิ กรรม (๒) กิจกรรมชุมนุมหรอื ชมรมอกี ๑ กิจกรรม ๓) กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ชต้ ัวอกั ษรแสดงผลการประเมนิ ดงั นี้ “ผ” หมายถึง ผเู้ รยี นมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด “มผ” หมายถงึ ผ้เู รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ปฏิบัตกิ ิจกรรม และมผี ลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด ในกรณีทผี่ เู้ รยี นไดผ้ ลของกจิ กรรมเป็น “มผ” สถานศกึ ษาต้องจดั ซ่อมเสริมให้ผู้เรยี นทากิจกรรมในส่วน ทผ่ี ู้เรียนไม่ไดเ้ ขา้ รว่ มหรือไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ น แล้วจึงเปล่ยี นผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทัง้ น้ี ต้องดาเนินการให้ เสรจ็ ส้ินภายในปีการศกึ ษานั้น ยกเว้นมเี หตุสุดวสิ ัยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ๑.๓ การเล่อื นชน้ั เม่ือส้ินปีการศึกษา ผู้เรยี นจะได้รบั การเลอ่ื นช้นั เมื่อมีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ดังต่อไปน้ี ๑) ผู้เรียนมเี วลาเรียนตลอดปีการศึกษาไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด ๒) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ผา่ นทกุ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๓) ผเู้ รยี นมีผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรม พฒั นาผู้เรยี นผา่ นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด ทง้ั น้ี ถ้าผูเ้ รียนมขี ้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพฒั นาและสอน ซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษาทจี่ ะผอ่ นผนั ให้เล่อื นชั้นได้ อน่งึ ในกรณีทีผ่ ู้เรียนมีหลักฐานการเรยี นรู้ที่แสดงวา่ มีความสามารถดเี ลศิ สถานศกึ ษาอาจใหโ้ อกาส ผู้เรยี นเลอื่ นชั้นกลางปกี ารศกึ ษา โดยสถานศกึ ษาแต่งตง้ั คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย ฝุายวชิ าการของสถานศึกษา และผแู้ ทนของเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาหรือตน้ สังกัด ประเมินผเู้ รียนและตรวจสอบคุณสมบัติใหค้ รบถ้วนตามเงื่อนไขทง้ั ๓ ประการ ตอ่ ไปนี้ ๑. มผี ลการเรยี นในปีการศึกษาทีผ่ า่ นมาและมีผลการเรียนระหว่างปีทกี่ าลังศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ดเี ยย่ี ม ๒. มวี ฒุ ภิ าวะเหมาะสมทจ่ี ะเรียนในชนั้ ทส่ี งู ขน้ึ ๓. ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถทกุ รายวิชาของช้ันปีท่เี รยี นปจั จบุ นั และความรู้ ความสามารถทกุ รายวิชาในภาคเรยี นแรกของชั้นปีทจ่ี ะเลื่อนขน้ึ การอนมุ ัตใิ ห้เลือ่ นชั้นกลางปกี ารศกึ ษาไปเรยี นช้นั สงู ขนึ้ ได้ ๑ ระดับชั้นน้ี ต้องได้รับการยินยอมจาก ผเู้ รียนและผู้ปกครอง และต้องดาเนนิ การให้เสร็จสน้ิ ก่อนเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ของปีการศึกษานนั้

๑๔๑ สาหรับในกรณีที่พบวา่ มผี เู้ รยี นกลมุ่ พเิ ศษประเภทตา่ ง ๆ มปี ัญหาในการเรยี นรู้ ให้สถานศึกษา ดาเนินงานรว่ มกบั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั /ศูนย์การศึกษาพิเศษเขต การศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด โรงเรยี นเฉพาะความพิการ หาแนวทางการแก้ไขและพัฒนา ๑.๔ การเรยี นซ้าช้นั ผ้เู รยี นที่ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปัญหาตอ่ การเรยี นในระดบั ชั้นทสี่ งู ขนึ้ สถานศกึ ษาอาจตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รยี นซ้าช้ันได้ ท้งั น้ี ให้คานงึ ถงึ วฒุ ภิ าวะและความรคู้ วามสามารถของ ผู้เรียน เปน็ สาคญั ผเู้ รยี นที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนช้นั สถานศึกษาควรให้เรียนซ้าช้นั ทงั้ นี้ สถานศึกษา อาจใชด้ ุลยพนิ ิจให้เลื่อนชั้นได้ หากพจิ ารณาว่าผเู้ รยี นมีคณุ สมบตั ิข้อใดข้อหน่งึ ดังตอ่ ไปนี้ ๑) มีเวลาเรยี นไมถ่ ึงรอ้ ยละ ๘๐ อนั เน่ืองจากสาเหตจุ าเป็นหรอื เหตสุ ุดวสิ ยั แตม่ คี ุณสมบัติตามเกณฑ์ การเล่อื นชนั้ ในข้ออื่น ๆ ครบถ้วน ๒) ผ้เู รยี นมีผลการประเมินผา่ นมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ัดไม่ถงึ เกณฑต์ ามทสี่ ถานศึกษากาหนดใน แตล่ ะรายวชิ า แตเ่ หน็ ว่าสามารถสอนซ่อมเสริมไดใ้ นปีการศึกษานนั้ และมคี ุณสมบตั ติ ามเกณฑ์การเล่อื นชัน้ ในขอ้ อ่ืน ๆ ครบถว้ น ๓) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินรายวิชาในกลมุ่ สาระภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอยู่ในระดับผา่ นก่อนท่ีจะใหผ้ ู้เรียนเรียนซา้ ชนั้ สถานศกึ ษาควรแจง้ ใหผ้ ู้ปกครองและผเู้ รียน ทราบเหตุผลของการเรยี นซา้ ช้ัน ๑.๕ การสอนซ่อมเสรมิ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดให้สถานศึกษาจดั สอนซอ่ มเสรมิ เพ่ือพฒั นาการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นเต็มตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสรมิ เป็นการสอนเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีทผ่ี เู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรือ เจตคติ/คณุ ลกั ษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด สถานศกึ ษาต้องจัดสอนซ่อมเสริมเปน็ กรณีพเิ ศษอก เหนือไปจากการสอนตามปกติ เพอ่ื พฒั นาให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัดที่กาหนดไว้ เป็น การใหโ้ อกาสแกผ่ ้เู รยี นไดเ้ รียนรแู้ ละพัฒนา โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายและตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๑.๖ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ๑. ผเู้ รยี นเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน จานวน............ชว่ั โมง และรายวิชาเพ่มิ เตมิ / กจิ กรรมเพ่ิมเติม จานวน .........ชว่ั โมงและมีผลการประเมนิ รายวิชาพนื้ ฐานผ่านทกุ รายวชิ า ๒. ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั “ผ่าน” ขึน้ ไป ๓. ผู้เรยี นต้องมลี การประเมิน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผ่าน” ข้นึ ไป ๔. ผู้เรียนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น และไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี น “ผ่าน” ทุกกจิ กรรม ๒. ระดบั มัธยมศึกษา ๒.๑ การตดั สนิ ผลการเรยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดหลักเกณฑก์ ารวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อตัดสนิ ผลการเรียนของผ้เู รยี น ดงั นี้ ๑) ตัดสนิ ผลการเรียนเป็นรายวชิ า ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมดในรายวิชานั้น ๆ ๒) ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัดและผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด ๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา ๔) ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมินและมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากาหนดในการอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

๑๔๒ การตัดสินผลการเรียน ตดั สนิ เปน็ รายวิชา โดยใชผ้ ลการประเมินระหวา่ งภาคและปลายภาคตาม สดั สว่ นท่สี ถานศกึ ษากาหนด ทุกรายวชิ าตอ้ งไดร้ ับการตดั สินและให้ระดับผลการเรียน ทั้งน้ี ผ้เู รยี นต้องผา่ นทุก รายวิชาพนื้ ฐาน ๒.๒ การให้ระดับผลการเรียน การตัดสนิ ผลการเรียนในระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานใชร้ ะบบผ่านและไมผ่ ่าน โดยกาหนดเกณฑ์การ ตดั สนิ ผา่ นแตล่ ะวชิ าทร่ี อ้ ยละ ๕๐ จากนัน้ จงึ ใหร้ ะดบั ผลการเรียนทผี่ ่าน สาหรับระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และ ตอนลาย ใชต้ ัวเลขแสดงระดับผลการเรยี นเป็น ๘ ระดับ แนวการให้ระดบั ผลการเรียน ๘ ระดบั และความหมาย ของแตล่ ะระดบั ดังน้ี “๔” หมายถงึ ผลการเรียนดีเย่ยี ม “๓.๕” หมายถึง ผลการเรียนดมี าก “๓” หมายถึง ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถงึ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี “๒” หมายถึง ผลการเรียนนา่ พอใช้ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถึง ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ข้ันต่า “๐” หมายถงึ ผลการเรยี นต่ากวา่ เกณฑ์ ในกรณที ี่ไมส่ ามารถให้ระดบั ผลการเรยี นเป็น ๘ ระดับได้ให้ใชต้ วั อกั ษรระบุเงื่อนไขของผลการเรยี น ดงั นี้ “มส” หมายถงึ ผเู้ รียนไมม่ ีสิทธเิ ขา้ รบั การวัดผลปลายภาคเรยี น เน่อื งจาก ผู้เรียนมีเวลาเรยี นไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละ รายวิชา และไมไ่ ดร้ ับการผ่อนผันใหเ้ ขา้ รบั การวัดผล ปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตดั สินและยงั ตัดสนิ ผลการเรยี นไม่ได้ เนอื่ งจาก ผู้เรยี นไม่มขี ้อมลู ผลการเรยี นรายวิชาน้นั ครบถ้วน ไดแ้ ก่ ไมไ่ ดว้ ดั ผลระหว่างภาคเรยี น/ปลายภาคเรยี น ไม่ไดส้ ่งงาน ทีม่ อบหมายใหท้ า ซ่งึ งานนั้นเป็นส่วนหนง่ึ ของการตัดสิน ผลการเรียนหรือมเี หตสุ ดุ วิสยั ที่ทาใหป้ ระเมินผลการเรียน ไม่ได้ การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้นให้ระดบั ผลการประเมนิ เปน็ ผา่ นและไม่ผา่ น กรณีทผ่ี ่านให้ระดบั ผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน ๑. ในการสรุปผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพอ่ื การเลอ่ื นชั้นและจบการศกึ ษา กาหนดเกณฑ์ การตัดสินเปน็ ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังน้ี ดเี ยี่ยม หมายถงึ มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนที่มคี ุณภาพดเี ลิศอยู่เสมอ ดี หมายถงึ มีผลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ที่มคี ณุ ภาพเป็นท่ยี อมรบั

ผา่ น หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด ๑๔๓ วเิ คราะห์ และเขียนที่มคี ุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยงั มขี ้อบกพร่องบาง ประการ ไม่ผ่าน หมายถึง ไมม่ ผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น หรือถา้ มีผลงาน ผลงานนัน้ ยงั มี ขอ้ บกพร่องท่ีต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ ๒. ในการสรุปผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์รวมทุกคณุ ลกั ษณะเพ่ือการเล่ือนชนั้ และจบ การศึกษา กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดเี ย่ยี ม หมายถงึ ผู้เรยี นปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสยั และนาไปใช้ ในชวี ิตประจาวนั เพอ่ื ประโยชน์สุขของตนเองและสงั คม โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับดเี ยย่ี ม จานวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ากว่า ระดบั ดี ดี หมายถงึ ผู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ เพื่อให้ เป็นการยอมรับของ สังคม โดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเย่ียม จานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และไมม่ ี คุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมิน ตา่ กวา่ ระดับดี หรอื ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ยี่ยม จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดบั ผา่ น หรือ ๓. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไมม่ ีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ากว่าระดับผา่ น ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ สถานศึกษากาหนดโดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดบั ผา่ น จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไมม่ ี คุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ากวา่ ระดับ ผ่าน หรอื ไมผ่ า่ น หมายถึง ๓. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จานวน ๔ คณุ ลักษณะ และ ไมม่ ีคุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กว่าระดบั ผ่าน ผ้เู รียนรบั ร้แู ละปฏบิ ตั ไิ ด้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และ เงอ่ื นไขท่สี ถานศึกษากาหนด โดยพิจารณาจากผลการ ประเมนิ ระดับไม่ผา่ น ตง้ั แต่ ๑ คณุ ลักษณะ

๑๔๔ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน จะตอ้ งพจิ ารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด และให้ผลการประเมนิ เป็นผา่ นและไมผ่ า่ น กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น มี ๓ ลกั ษณะ คอื ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรยี น ซงึ่ ประกอบดว้ ย (๑) กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร โดยผ้เู รียนเลอื กอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ (๒) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรม ทง้ั นี้ ผ้เู รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จะตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมทง้ั ข้อ (๑) และ (๒) ๓) กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ชต้ วั อักษรแสดงผลการประเมิน ดังนี้ “ผ” หมายถึง ผเู้ รียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏบิ ัติกิจกรรม และมผี ลงานตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด “มผ” หมายถงึ ผูเ้ รยี นมีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และมผี ลงานไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด ๒.๓ การเปลย่ี นผลการเรยี น ๒.๓.๑ การเปลยี่ นผลการเรียน “๐” สถานศกึ ษาจัดใหม้ ีการสอนซ่อมเสรมิ ในมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั ทีผ่ เู้ รยี นสอบไมผ่ ่านก่อนแล้วจงึ สอบแกต้ วั ได้ไม่เกนิ ๒ ครั้ง ถ้าผู้เรยี นไมด่ าเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาทส่ี ถานศึกษากาหนด ใหอ้ ยใู่ นดลุ ย พินิจของสถานศกึ ษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ภาคเรียน สาหรบั ภาคเรียนท่ี ๒ ตอ้ งดาเนินการให้เสร็จ สิ้นภายในปีการศกึ ษานนั้ ถ้าสอบแก้ตัว ๒ คร้ังแล้ว ยงั ได้ระดับผลการเรียน “๐” อีก ใหส้ ถานศกึ ษาแต่งต้ัง คณะกรรมการดาเนินการเกยี่ วกับการเปลย่ี นผลการเรยี นของผเู้ รียน โดยปฏบิ ัติดงั นี้ ๑) ถา้ เปน็ รายวิชาพนื้ ฐาน ใหเ้ รยี นซ้ารายวชิ านน้ั ๒) ถา้ เป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซา้ หรือเปลีย่ นรายวชิ าเรียนใหม่ ทัง้ น้ี ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของ สถานศกึ ษาในกรณีที่เปลี่ยนรายวชิ าเรยี นใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวชิ าใด ๒.๓.๒ การเปลย่ี นผลการเรียน “ร” การเปล่ียนผลการเรียน “ร” ใหด้ าเนนิ การดังนี้ ใหผ้ เู้ รยี นดาเนนิ การแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เม่ือผู้เรียนแก้ไขปัญหาเสรจ็ แล้วใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรียน ตามปกติ(ต้ังแต่ ๐-๔)ถา้ ผู้เรียนไม่ดาเนนิ การแกไ้ ข “ร” กรณีที่สง่ งานไมค่ รบ แต่มผี ลการประเมนิ ระหว่างภาคเรียน และปลายภาคให้ผสู้ อนนาขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่ตดั สนิ ผลการเรยี น ยกเวน้ มีเหตุสุดวสิ ยั ให้อยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ี จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไมเ่ กิน ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรียนท่ี ๒ ตอ้ งดาเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปี การศกึ ษาน้ัน เม่อื พ้นกาหนดน้แี ลว้ ใหเ้ รียนซ้า หากผลการเรยี นเปน็ “๐” ให้ดาเนินการแกไ้ ขตามหลักเกณฑ์ ๒.๓.๓ การเปลย่ี นผลการเรียน “มส” การเปล่ียนผลการเรยี น “มส” มี ๒ กรณี ดังน้ี ๑) กรณีผเู้ รยี นไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อย ละ ๖๐ ของเวลาเรียนในรายวชิ านั้น ให้สถานศึกษาจัดใหเ้ รยี นเพมิ่ เตมิ โดยใชช้ วั่ โมงสอนซ่อมเสรมิ หรือใช้เวลาวา่ ง หรอื ใชว้ นั หยุด หรือมอบหมายงานให้ทา จนมเี วลาเรยี นครบตามที่กาหนดไว้ สาหรับรายวชิ าน้ัน แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเปน็ กรณพี เิ ศษผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการ เรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีนีใ้ ห้กระทาใหเ้ สร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษานั้น ถา้ ผ้เู รียนไม่มา ดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาทก่ี าหนดไว้นีใ้ หเ้ รยี นซา้ ยกเว้นมีเหตุสดุ วสิ ัย ใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอกี ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรยี น แตเ่ ม่ือพน้ กาหนดนี้ แล้ว ใหป้ ฏิบัติดงั นี้

๑๔๕ (๑) ถ้าเปน็ รายวชิ าพ้ืนฐานให้เรยี นซา้ รายวิชาน้ัน (๒) ถา้ เป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ให้เรียนซ้าหรือเปลย่ี น รายวชิ าเรยี นใหม่ ๒) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนนอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรยี น ทง้ั หมด ให้สถานศกึ ษาดาเนินการดังนี้ (๑) ถา้ เป็นรายวชิ าพื้นฐาน ใหเ้ รยี นซ้ารายวิชานน้ั (๒) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษา ให้เรียนซา้ หรอื เปลยี่ นรายวชิ า เรียนใหม่ ในกรณที ่เี ปลย่ี นรายวิชาเรยี นใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรยี นว่าเรียนแทนรายวิชาใด การเรียนซา้ รายวชิ า ผู้เรยี นท่ีได้รบั การสอนซ่อมเสรมิ และสอบแกต้ ัว ๒ ครั้งแล้วไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน ให้ เรียนซา้ รายวิชาน้ัน ทัง้ นี้ ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาในการจัดใหเ้ รียนซ้าในชว่ งใดชว่ งหนึ่งท่สี ถานศึกษาเหน็ ว่าเหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วันหยุด ชว่ั โมงว่างหลังเลกิ เรยี น ภาคฤดูรอ้ น เป็นตน้ ในกรณีภาคเรยี นท่ี ๒ หากผู้เรยี นยงั มีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปดิ เรียนปกี ารศกึ ษาถัดไป สถานศกึ ษาอาจเปิดการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่อื แก้ไขผลการเรยี นของผูเ้ รียนได้ ทัง้ นหี้ ากสถานศึกษาใดไม่สามารถดาเนนิ การเปิดสอนภาคฤดูรอ้ นได้ ใหส้ านกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา/ตน้ สงั กดั เป็น ผู้พิจารณาประสานงานใหม้ ีการดาเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผูเ้ รยี น ๒.๓.๔ การเปลยี่ นผล “มผ” กรณีท่ีผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซอ่ มเสริมใหผ้ ู้เรยี นทากจิ กรรมในสว่ นทผ่ี ู้เรยี นไม่ได้เข้ารว่ ม หรอื ไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปล่ียนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ท้งั นี้ ดาเนินการให้เสร็จส้ินภายในภาคเรยี นนั้น ๆยกเว้นมีเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้อยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรียนที่ ๒ต้องดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายในปีการศกึ ษานน้ั ๒.๔ การเล่อื นช้นั เมอื่ ส้นิ ปีการศกึ ษา ผ้เู รยี นจะไดร้ ับการเลอ่ื นชน้ั เมื่อมคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้ ๒.๔.๑ รายวชิ าพ้นื ฐานและรายวิชาเพิม่ เติมได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียนผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กาหนด ๒.๔.๒ ผ้เู รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินและมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนดในการ อ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๒.๔.๓ ระดบั ผลการเรยี นเฉล่ียในปกี ารศึกษานน้ั ควรได้ไม่ต่ากวา่ ๑.๐๐ ท้งั นี้ รายวิชาใดท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ สถานศกึ ษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรยี นให้ไดร้ บั การแก้ไข ในภาคเรยี นถดั ไป ทง้ั นีส้ าหรับภาคเรียนท่ี ๒ ต้องดาเนนิ การให้เสร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษานัน้ ๒.๕ การสอนซ่อมเสรมิ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดให้สถานศึกษาจดั สอนซ่อมเสรมิ เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รียนเต็มตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสริม เปน็ การสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณที ี่ผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรอื เจตคติ/คณุ ลกั ษณะ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด สถานศกึ ษาต้องจดั สอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษอก เหนือไปจากการสอนตามปกติ เพื่อพฒั นาใหผ้ ้เู รียนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัดทก่ี าหนดไว้ เป็น การให้โอกาสแก่ผ้เู รยี นได้เรยี นรแู้ ละพฒั นา โดยจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีหลากหลายและตอบสนองความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคลการสอนซ่อมเสรมิ สามารถดาเนินการไดใ้ นกรณี ดังตอ่ ไปน้ี

๑๔๖ ๑) ผเู้ รยี นมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอท่ีจะศึกษาในแตล่ ะรายวชิ านัน้ ควรจดั การสอนซ่อม เสรมิ ปรับความรู้/ทักษะพืน้ ฐาน ๒) ผเู้ รยี นไม่สามารถแสดงความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรอื เจตคติ/คุณลักษณะท่ีกาหนดไวต้ าม มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ในการประเมินผลระหวา่ งเรียน ๓) ผเู้ รยี นท่ไี ด้ระดบั ผลการเรียน “๐” ใหจ้ ดั การสอนซอ่ มเสริมก่อนสอบแก้ตวั ๔) กรณผี ้เู รยี นมีผลการเรียนไมผ่ า่ น สามารถจดั สอนซ่อมเสรมิ ในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียนทั้งน้ี ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษา ๒.๖ การเรยี นซ้าช้ัน ผูเ้ รียนทไี่ มผ่ ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาตอ่ การเรยี นในระดบั ช้นั ทีส่ งู ข้นึ สถานศกึ ษาอาจตัง้ คณะกรรมการพิจารณาให้เรยี นซ้าชน้ั ได้ ท้งั น้ี ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั การเรียนซ้าช้นั มี ๒ ลักษณะ คือ ๑) ผู้เรียนมีระดบั ผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานน้ั ตา่ กว่า ๑.๐๐ และมแี นวโนม้ ว่าจะเป็นปัญหาต่อ การเรียนในระดับชั้นทีส่ ูงข้ึน ๒) ผู้เรยี นมผี ลการเรียน ๐, ร, มส เกนิ ครึง่ หนง่ึ ของรายวิชาที่ลงทะเบยี นเรยี นในปีการศึกษานัน้ ท้งั น้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ หรอื ทัง้ ๒ ลกั ษณะ ให้สถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการพจิ ารณา หากเหน็ วา่ ไม่มีเหตุผลอนั สมควรก็ใหซ้ า้ ชั้น โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดิมและให้ใชผ้ ลการเรยี นใหม่แทน หาก พจิ ารณาแล้วไม่ต้องเรยี นซา้ ช้ัน ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาในการแกไ้ ขผลการเรยี น ๒.๗ เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑. ผเู้ รยี นเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชาเพมิ่ เติม จานวน..........หน่วยกติ โดยเปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเตมิ จานวน..........หนว่ ยกติ ๒. ผเู้ รยี นต้องได้หน่วยกติ ตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ ๗๗ หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพ้ืนฐาน จานวน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เติม ไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ หน่วยกติ ๓. ผเู้ รียนต้องมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดับ “ผ่าน” ขนึ้ ไป ๔. ผ้เู รยี นตอ้ งมผี ลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ขึ้นไป ๕. ผู้เรยี นตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน และได้รบั การตดั สินผลการเรยี น “ผ่าน” ทุกกิจกรรม

๑๔๗ บทท่ี ๔ การโอนผลการเรยี นเข้าสู่หลกั สูตรการอาชวี ศกึ ษา การโอนผลการเรยี นจากหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย รายวิชาพน้ื ฐาน และจากหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชาบังคับ เข้าสูห่ ลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ หมวดวิชา ทกั ษะชีวิต และหมวดวิชาเลอื กเสรี มีแนวทางในการดาเนนิ การ ดังนี้ ๑. วเิ คราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรยี นรู้ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เปรยี บเทียบกบั จดุ ประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคาอธิบายรายวชิ า หมวดวิชาทกั ษะชวี ติ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ ๒. พจิ ารณาแนวทางการเทียบรายวชิ าตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาและ ประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๖ คือ ตอ้ งเป็นรายวิชา หรือ กลุม่ วชิ าที่มจี ุดประสงค์และเนอ้ื หาใกล้เคยี งกัน ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๖๐ และมีจานวนหน่วยกิตไมน่ ้อยกว่าหน่วยกิตของ รายวิชาทร่ี ะบไุ วใ้ นหลักสตู ร โดยมแี นวทางในการพจิ ารณาไดห้ ลายกรณี ดงั น้ี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน/ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา รายวิชา ข้ันพ้ืนฐาน ๓. การโอนผลการเรยี นรายวชิ า รายวิชาท่นี ามาขอโอนผลการเรยี นจะตอ้ งเป็นรายวิชาทไี่ ด้ระดบั ผลการเรยี น ไมต่ ่ากว่า ๒.๐ กรณที ่ไี ด้ระดับผลการเรยี นต่ากวา่ ๒.๐ ใหส้ ถานศึกษาทีร่ บั โอนผลการเรียนทาการประเมนิ ใหม่ ถา้ มีผล ตามเกณฑม์ าตรฐานแล้วจงึ รับโอนรายวชิ านน้ั รายวชิ าทไี่ ดร้ ะดบั ผลการเรยี นตง้ั แต่ ๒.๐ ข้นึ ไป สถานศึกษาจะรบั โอนผล การเรยี นหรือจะทาการประเมินใหมแ่ ลว้ จึงรบั โอนรายวชิ าน้นั กไ็ ด้ กรณีมกี ารประเมนิ ใหม่ ระดับผลการเรียนให้เปน็ ไปตามทไ่ี ดจ้ ากการประเมินใหม่ แต่ต้องไมส่ งู ไปกว่าเดมิ ๔. การให้ระดบั ผลการเรียนเฉพาะรายวชิ า ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรยี นตามระเบยี บกระทรวง ศึกษาธิการ วา่ ด้วยการจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการเรยี นตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๕6 ดงั นี้ ๔.๐ หมายถงึ ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยยี่ ม ๓.๕ หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ๓.๐ หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี ๒.๕ หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ พี อใช้ ๒.๐ หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ๑.๕ หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ออ่ น ๑.๐ หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ อ่ นมาก ๐ หมายถึง ผลการเรียนตก ชี

พ หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๑๔๘ พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ ๓ นก. พ้ืนฐาน กลุ่มวิชาภาษาไทย ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๑๐๑ ภาษาไทยพนื้ ฐาน ๑-๐-๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒๐๐๐-๑๑๐๒ ภาษาไทยเพอ่ื อาชพี * ๑-๐-๑ ๒๐๐๐-๑๑๐๔ การพดู ในงานอาชพี * ๑-๐-๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๖ ๒๐๐๐-๑๑๐๕ การเขยี นในงานอาชีพ * ๑-๐-๑ นก. ๒๐๐๐-๑๑๐๖ ภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ หมายเหตุ ๖ นก. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๖ * หมายถึง นาไปเทียบเปน็ รายวชิ าในหมวดวชิ าเลอื กเสรี ๒-๐-๒ ภาษาต่างประเทศ กล่มุ วิชาภาษาต่างประเทศ ๒-๐-๒ นก. ๒๐๐๐-๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษในชวี ติ จริง ๑ ๐-๒-๑ ๒๐๐๐-๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษในชีวติ จรงิ ๒ ๐-๒-๑ ๒๐๐๐-๑๒๐๕ การอา่ นสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ในชีวิตประจาวนั ๒๐๐๐-๑๒๐๖ การเขยี นในชีวติ ประจาวนั กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ๖ กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ๔ นก. นก. ๒๐๐๐-๑๓๐๑ วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๒ วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาอาชพี ชา่ งอุตสาหกรรม ** ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๓ วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาอาชพี ธรุ กจิ และบรกิ าร ** ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๔ วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื พฒั นาอาชีพศิลปกรรม ** ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๕ วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม ** ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๖ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ * ๐-๒-๑ หมายเหตุ * หมายถงึ นาไปเทียบเปน็ รายวชิ าในหมวดวชิ าเลือกเสรี ** หมายถงึ เลือกตามสาขาวชิ าทเี่ รยี นเพือ่ นาไปเทียบเปน็ รายวชิ า ในหมวดวชิ าทักษะชวี ติ

๑๔๙ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ วิชาคณติ ศาสตร์ ๔ นก. กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ๖ นก.ช ๒๕๕๑ ๒๐๐๐-๑๔๐๑ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๒ คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐานอาชีพ * ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๓ คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานอุตสาหกรรม ๑ ** ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๕ เรขาคณติ วิเคราะหแ์ ละแคลคูลัสเบอื้ งตน้ ** ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๖ คณิตศาสตร์พาณิชยกรรม ** ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๗ คณติ ศาสตร์เพ่อื การออกแบบ ** ๒-๐-๒ หมายเหตุ * หมายถงึ นาไปเทยี บเปน็ รายวชิ าในหมวดวชิ าเลอื กเสรี ** หมายถงึ เลอื กตามสาขาวชิ าทเี่ รยี นเพื่อนาไปเทียบเปน็ รายวชิ า ในหมวดวิชาทักษะชีวติ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ๘ กลุม่ วิชาสงั คมศึกษา ๓ นก. นก. ศาสนาและวฒั นธรรม ๒๐๐๐-๑๕๐๑ หนา้ ที่พลเมอื งและศีลธรรม ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๕๐๒ ทกั ษะชวี ติ และสงั คม * ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๕๐๓ ภมู ิศาสตรแ์ ละประวตั ิศาสตร์ไทย * ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๕๐๗ ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย ๑-๐-๑ หมายเหตุ * หมายถึง นาไปเทยี บเปน็ รายวชิ าในหมวดวชิ าเลอื กเสรี กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษา ๓ กลมุ่ วชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ นก. นก. และพลศึกษา ๒๐๐๐-๑๖๐๓ การออกกาลังกายเพ่ือเสรมิ สร้าง ๐-๒-๑ สมรรถภาพในการทางาน ๒๐๐๐-๑๖๐๖ การจดั ระเบยี บชวี ติ เพ่ือความสขุ ๑-๐-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๓ - นก. กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงาน ๓ - นก. อาชีพและเทคโนโลยี จานวนหน่วยกติ รวม ๔๑ หน่วยกติ รวม หมวดวิชาทักษะชีวติ ๒๒ หนว่ ยกิต หมวดวิชาเลอื กเสรี ๑๐ หนว่ ยกิต

๑๕๐ ตารางการเทยี บรายวิชา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาบังคบั กับหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ หมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวชิ าเลอื กเสรี หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ วชิ าภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาไทย ๓ พท๓๑๐๐๑ ภาษาไทย ๕ นก. นก. ๒๐๐๐-๑๑๐๑ ภาษาไทยพ้นื ฐาน ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๑๐๒ ภาษาไทยเพื่ออาชพี ๑-๐-๑ ๒๐๐๐-๑๑๐๔ การพูดในงานอาชีพ * ๑-๐-๑ ๒๐๐๐-๑๑๐๕ การเขยี นในงานอาชพี * ๑-๐-๑ หมายเหตุ * หมายถงึ นาไปเทียบเปน็ รายวชิ าในหมวดวชิ าเลือกเสรี วชิ าภาษาต่างประเทศ กลมุ่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ ๖ พต๓๑๐๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือชวี ติ ๕ นก. นก. และสงั คม ๒๐๐๐-๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษในชวี ติ จรงิ ๑ ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษในชีวติ จริง ๒ ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๒๐๕ การอ่านส่ือสง่ิ พมิ พ์ในชีวติ ประจาวนั ๐-๒-๑ หมายเหตุ ต้องเรียนรายวิชาภาษาตา่ งประเทศเพมิ่ ในกลมุ่ ทกั ษะวิชาชพี เลอื ก อกี ๑ รายวชิ า จานวน ๑ หนว่ ยกติ วิชาวิทยาศาสตร์ กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์ ๔ นก. พว๓๑๐๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ ๒๐๐๐-๑๓๐๑ วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ ๑-๒-๒ นก. ๒๐๐๐-๑๓๐๒ วิทยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาอาชีพ ๑-๒-๒ ชา่ งอตุ สาหกรรม *** ๒๐๐๐-๑๓๐๓ วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาอาชีพธรุ กจิ ๑-๒-๒ และบรกิ าร ** ๒๐๐๐-๑๓๐๔ วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาอาชพี ศิลปกรรม ** ๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๕ วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม *๑-๒-๒ ๒๐๐๐-๑๓๐๖ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ * ๐-๒-๑ หมายเหตุ * หมายถึง นาไปเทียบเปน็ รายวชิ าในหมวดวิชาเลือกเสรี ** หมายถงึ เลอื กตามสาขาวชิ าทีเ่ รยี นเพ่ือนาไปเทยี บเปน็ รายวิชา ในหมวดวชิ าทกั ษะชวี ิต *** หมายถงึ กรณีเรียนประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ตอ้ งเรียนเพม่ิ วชิ าคณติ ศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ๔ พค๓๑๐๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ นก. นก. ๒๐๐๐-๑๔๐๑ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๔๐๒ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐานอาชพี ๒-๐-๒ หมายเหตุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook