Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

Published by sompongpok, 2019-06-14 00:56:56

Description: หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม ปก

Search

Read the Text Version

๑๕๑ กรณเี รียนประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ใหเ้ รยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์ พนื้ ฐานวชิ าชีพเพมิ่ เติมตามเง่ือนไข ของหลกั สูตร หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ วิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา กล่มุ วิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ นก. ทช๓๑๐๐๒ สขุ ศึกษา พลศึกษา ๒ นก. ๒๐๐๐-๑๖๐๓ การออกกาลงั กายเพื่อเสริมสรา้ ง ๐-๒-๑ สมรรถภาพในการทางาน ๒๐๐๐-๑๖๐๖ การจัดระเบยี บชวี ติ เพ่อื ความสุข ๑-๐-๑ วชิ าสังคมศกึ ษา กลุ่มวิชาสังคมศกึ ษา ๓ นก. สค๓๑๐๐๑ สงั คมศึกษา ๓ นก. ๒๐๐๐-๑๕๐๒ ทกั ษะชวี ติ และสงั คม * ๒-๐-๒ ๒๐๐๐-๑๕๐๗ ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย ๑-๐-๑ ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง สค๓๑๐๐๒ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๒ ๒๐๐๐-๑๕๐๑ หน้าทพี่ ลเมืองและศีลธรรม ๒-๐-๒ นก. หมายเหตุ * หมายถึง นาไปเทียบเปน็ รายวิชาในหมวดวิชาเลอื กเสรี การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม ๑ นก. - ทกั ษะการขยายอาชพี โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อช๓๑๐๐๒ ทกั ษะการขยายอาชพี ๔ นก. ๒๕๐๑-๘๕๐๑ โครงการ *-*-๔ พัฒนาอาชีพใหม้ ีความมั่นคง ๒ นก. - ทกั ษะการเรยี นรู้ วชิ าเลือกเสรี ทร๓๑๐๐๑ ทักษะการเรยี นรู้ ๕ นก. ๒๐๐๐*๙๓๐๑ ทักษะการเรียนรู้ * ๒-๐-๒ หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าพัฒนาเพิ่มเติม นาไปเทียบเป็นรายวิชา ในหมวดวิชาเลอื กเสรี ชอ่ งทางการขยายอาชีพ ๒ - นก. วชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ๒๐๐๐*๙๕๐๑ เศรษฐกิจพอเพียง ๑-๐-๑ ทช๓๑๐๐๑ เศรษฐกิจพอเพียง ๑ นก. หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าพัฒนาเพิ่มเตมิ นาไปเทียบเป็นรายวชิ า ในหมวดวิชาเลอื กเสรี ศลิ ปศกึ ษา ๒๐๐๐*๙๕๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๒-๐-๒ ทช๓๑๐๐๓ ศลิ ปศึกษา ๒ นก. หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าพฒั นาเพิ่มเติม จานวนหน่วยกิตรวม ๔๔ หน่วยกติ รวม หมวดวิชาทักษะชีวติ ๒๑ หนว่ ยกติ หมวดวชิ าชีพ ๔ หน่วยกติ โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี หมวดวิชาเลือกเสรี ๑๐ หน่วยกิต

๑๕๒ บทที่ ๕ การวดั และประเมนิ ผล การวัดและประเมนิ ผล เนน้ การประเมนิ สภาพจริง ทงั้ นี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ยการจดั การศึกษา และการประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทท่ี ๖ การโอนผลการเรยี น การโอนผลการเรียน ๑ หมวดวิชาทักษะชวี ติ เป็นการจัดการเรยี นการสอนในรายวิชาพ้ืนฐาน ๔๑ หนว่ ยกิต ของสถานศึกษาในสงั กดั สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และรายวิชาบังคับ ๔๔ หนว่ ยกติ ในสถานศกึ ษาสังกัดสานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ซง่ึ จัดการเรยี นการสอนโดยสถานศึกษาต้นสงั กัดแล้วใช้วธิ ีการโอน ผลการเรียน เข้าส่หู ลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ ในหมวดวชิ าทักษะชีวิต แตเ่ ง่อื นไขของการเรยี น รายวิชาในหมวดวชิ าทกั ษะชวี ิต กาหนดใหเ้ รียนรายวชิ าลาดับแรกของกลุ่มวิชา หรือตามที่กล่มุ วิชากาหนด และ เลอื กเรียนรายวิชาส่วนท่เี หลือตามที่กาหนดในแต่ละกลุม่ วิชา ใหส้ อดคล้องหรือสมั พนั ธ์กับสาขาวชิ าท่เี รียนอีกรวม ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๒ หน่วยกติ ซงึ่ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาไดด้ าเนินการจัดทาตารางเทยี บโอนรายวชิ า จากมาตรฐาน การเรียนรู้ ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดบั มัธยมศึกษาตอน ปลาย รายวิชาพน้ื ฐาน และหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ าบังคบั สู่หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ หมวดวชิ าทกั ษะชีวติ และหมวดวิชาเลอื กเสรี ตามตารางเทยี บ รายวชิ า ในบทท่ี ๔ ประกอบด้วย ๖.๑.๑ กลมุ่ วิชาภาษาไทย ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกติ ๖.๑.๒ กล่มุ วชิ าภาษาต่างประเทศ ไมน่ ้อยกว่า ๖ หน่วยกิต ๖.๑.๓ กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔ หน่วยกิต ๖.๑.๔ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ ๔ หน่วยกติ ๖.๑.๕ กลมุ่ วชิ าสงั คมศกึ ษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกิต ๖.๑.๖ กลุ่มวิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ หนว่ ยกิต ๒ หมวดวิชาทักษะวิชาชพี ในหลกั สตู รการอาชวี ศกึ ษาแตล่ ะประเภทวชิ า สาขาวชิ าและสาขางาน กาหนดใหผ้ ู้เรยี นมสี มรรถนะ และมาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ในหมวดวชิ าทักษะวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๑ หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ย ๒.๑ กลุ่มทักษะวิชาชพี พื้นฐาน ๑๘ หนว่ ยกติ ๒.๒ กลมุ่ ทักษะวชิ าชีพเฉพาะ ๒๔ หนว่ ยกิต ๒.๓ กลุ่มทักษะวชิ าชพี เลอื ก ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๑ หนว่ ยกติ ๒.๔ ฝึกประสบการณท์ ักษะวิชาชพี ๔ หน่วยกิต ๒.๕ โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ ๔ หนว่ ยกติ ซงึ่ โครงการการจัดการศกึ ษาเรยี นรว่ มหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวศิ กึ ษา) จะต้องนารายวชิ าในหมวดทกั ษะวชิ าชพี ไปจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการ

๑๕๓ การอาชวี ศึกษา ซงึ่ มคี วามพร้อมท้ังทางด้านครู บคุ ลากร เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และหอ้ งปฏิบัติการ ประจาสาขาวชิ าแล้วโอนผลการเรียนเขา้ ส่หู ลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนปลายในรายวิชาเพ่ิมเตมิ หรอื รายวชิ าเลือก ต่อไป ๓ หมวดวชิ าเลือกเสรี ใหเ้ ลือกเรยี นตามความถนดั และความสนใจจากรายวชิ าท่ีกาหนด หรอื เลือกเรียนจากรายวชิ า ในหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ทุกประเภทวชิ า สาขาวิชาและสาขางาน ทัง้ นี้ สถานศกึ ษา อาชวี ศกึ ษาสามารถพฒั นารายวิชาเพม่ิ เติมในหมวดวชิ าเลือกเสรไี ด้ตามบรบิ ทและความต้องการของชมุ ชนและ ทอ้ งถน่ิ ไม่น้อยกวา่ ๑๐ หนว่ ยกิต ซง่ึ ในการนี้สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาได้จัดทา ตารางเทยี บ รายวิชาเพอื่ โอนผลการเรียนจากรายวชิ าพนื้ ฐานและรายวิชาบังคับ เข้าสรู่ ายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรีตามตาราง เทียบรายวิชา ในบทท่ี ๔ ๔ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาต้องจัดให้มกี จิ กรรมเสริมหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ชวั่ โมงต่อสปั ดาหท์ ุกภาคเรยี น เพื่อพฒั นาวิชาการและวชิ าชพี ปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม ระเบียบวินัย การตอ่ ต้านความรุนแรงและ สารเสพติดส่งเสริมการคิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรคก์ ารทางาน ปลูกฝังจติ สานึก และเสริมสรา้ งการเปน็ พลเมอื งไทย และพลโลกใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการทาประโยชน์ต่อชมุ ชนและท้องถนิ่ รวมทง้ั การทะนุบารุงขนบธรรมเนยี ม ประเพณอี นั ดีงามโดยการวางแผน ลงมือปฏิบตั ิประเมนิ ผล และปรับปรุงการทางาน ทง้ั นี้สาหรบั กจิ กรรม เสรมิ หลกั สตู รของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สามารถดาเนนิ การเองและเทียบโอนได้ บทท่ี ๗ การสาเร็จการศึกษา การสาเรจ็ การศึกษา การตดั สนิ ผลการเรียนเพื่อสาเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ ให้ ถอื ตามเกณฑต์ ่อไปน้ี ๗.๑ ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาต่าง ๆ ครบตามท่ีกาหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษาแต่ละประเภท วิชา และสาขาวิชา ๗.๒ ได้จานวนหน่วยกติ สะสมครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลกั สูตรสถานศกึ ษาแตล่ ะประเภทวิชา และ สาขาวิชา ๗.๓ ไดค้ า่ ระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมไม่ตา่ กว่า ๒.๐๐ และผ่านการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพตามเกณฑท์ ่ี กาหนด ๗.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมในสถานศกึ ษาไม่น้อยกว่า ๒ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ ครบทุกภาคเรยี น โดยมีเวลาเข้า ร่วมปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาท่จี ดั กิจรรมในแตล่ ะภาคเรยี น บทที่ ๘ การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพเป็นการยนื ยันว่าผสู้ าเรจ็ การศึกษามสี มรรถนะวชิ าชพี ตามมาตรฐาน การศึกษาวิชาชพี ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ แต่ละประเภทวชิ า สาขาวิชา และสาขางาน ซึง่ มีแนวทางในการปฏบิ ตั ดิ ังนี้ ๘.๑ นกั เรียนตอ้ งรบั การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ เมอ่ื นักเรียนได้ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชา ตามหลกั สูตรแต่ละประเภทวิชา และสาขาวชิ าหรือ ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพเหน็ สมควร

๑๕๔ ๘.๒ ในการกาหนดเกณฑ์การประเมินและเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ให้ ดาเนินการ โดยคณะกรรมการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี และเปดิ โอกาสใหห้ นว่ ยงาน/สถานประกอบการหรือ องค์กรภายนอกมีสว่ นร่วมในการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ๘.๓ ใหม้ ีการพัฒนาเครื่องมือประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี อย่างมีระบบและถูกต้องตามหลักการพัฒนา เคร่อื งมอื บทท่ี ๙ การประกันคุณภาพหลักสูตร การประกันคุณภาพหลกั สูตร ใหท้ ุกหลักสูตรการอาชีวศึกษากาหนดให้มีระบบประกนั คุณภาพไว้ใหช้ ดั เจน อย่างนอ้ ยให้ครอบคลมุ ใน ๔ ประเด็น คือ ๙.๑ คณุ ภาพของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา โดยดาเนินการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพตามประเภทวชิ า สาขาวชิ า และสาขางาน ๙.๒ การบรหิ ารหลักสตู ร เปน็ การบรหิ ารจัดการเรียนการสอนของประเภทวชิ า สาขาวิชาและสาขางาน ทเ่ี ปิดสอน ทัง้ นี้ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาและสถานศึกษาต้องจัดให้มกี ารประเมิน เพือ่ พัฒนาหลักสูตรที่อยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบอย่างตอ่ เนื่อง อยา่ งนอ้ ยทุก ๕ ปี ๙.๓ ทรพั ยากรการจดั การอาชวี ศกึ ษา ใหส้ ถานศึกษาจดั เตรียมทรัพยากรสนับสนุนการจัดการ อาชวี ศึกษาประกอบด้วยความพร้อมทางด้านบุคลากร วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณ์การเรียนการสอนท่ี หลากหลาย งบประมาณ อาคารสถานท่ี ห้องสมุดและสิง่ อานวยความสะดวกอน่ื ๆ ท้ังน้ี ใหเ้ ปน็ ไป ตามมาตรฐานท่ี กาหนดของสาขาวิชา สาขางาน ๙.๔ ความต้องการกาลังคนของตลาดแรงงาน ใหส้ ถานศึกษาทรี่ ่วมจัดการศึกษาดาเนินการสารวจ ความตอ้ งการกาลงั คนของตลาดแรงงาน รวมทงั้ สารวจความพงึ พอใจของตลาดแรงงาน สงั คม และ ชุมชนอย่างต่อเน่ืองทุกปีการศกึ ษา ทั้งนี้ เพอ่ื นาข้อมลู ไปใชใ้ นการพฒั นา/ปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหม้ ี ความทนั สมัย สอดคลอ้ งกบั ความต้องการกาลังคนของตลาดแรงงานและมาตรฐานอาชีพ

๑๕๕ ภาคผนวก

๑๕๖ คาส่งั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี 208 / ๒๕60 เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เพื่อให้การบรหิ ารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพสอดคล้อง กับพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ทกี่ าหนดให้ สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสตู รเพ่ือความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมอื งทีด่ ีของชาติ การ ดารงชวี ติ และการประกอบอาชีพคลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ ในส่วนท่ีเกยี่ วข้องกบั สภาพของปญั หา ในชมุ ชนและ สังคม ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์เพือ่ เป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและ ประเทศชาติ อาศยั ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๕ และประกาศการใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เม่อื วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ งานวิชาการของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ดังน้ี ก : ฝ่ายอานวยการ ประกอบด้วย ๑. นางวลิ าวัลย์ ปาลี ผูอ้ านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ประธานกรรมการ ๒. นายวิเศษ ฟองตา รองผู้อานวยการ กลุ่มบริหารงานวิชาการ กรรมการ ๓. นางสาวณฐั ธนญั า บุญถงี หวั หน้ากลุ่มงานบริหารงานวิชาการ กรรมการ ๔. นางสาววรรณภรณ์ ทพิ ยส์ อน หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาไทย กรรมการ ๕. นางสาวรักชนก วงศซ์ ่อื หวั หน้ากลมุ่ สาระคณิตศาสตร์ กรรมการ ๖. นางสาวณฐั ธนญั า บญุ ถงึ หวั หนา้ กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์ กรรมการ ๗. นางสาวศิริมา ปจั ฉมิ เมฆพชิ ติ หวั หน้ากล่มุ สาระสังคมศึกษ กรรมการ ๘. นางสาวจิตตานาถ เทพวงศ์ หัวหน้ากลมุ่ สาระสุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ ๙. นายลิปปกร เหมืองคา หวั หนา้ กลมุ่ สาระศิลปะ กรรมการ ๑๐. นางสาววีรร์ ศั มิ์ สทิ ธิพิพัฒนานันท์ หวั หน้ากลุ่มวิชาคหกรรม กรรมการ ๑๑. นายจกั รพนั ธ์ ขันคา หวั หน้ากล่มุ วชิ าอตุ สาหกรรม กรรมการ ๑๒. นายพนม บญุ ตอม หัวหน้ากลุม่ วิชาเกษตรกรรม กรรมการ ๑๒. วา่ ท่รี ้อยตรีหญงิ กนกอร วงศ์ษาหัวหนา้ กลุ่มวชิ าพาณิชยกรรม กรรมการ ๑๒. นางสาวฐิตารัตน์ คาภีระ หวั หนา้ กล่มุ วิชาคอมพิวเตอร์ กรรมการ

๑๕๗ ภาระงานและหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ ๑. ศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมูลพนื้ ฐานเก่ียวกบั ภารกิจของการบรหิ ารวิชาการและการบรหิ าร หลกั สูตร แกนกลางฯ ๒. กาหนดและมอบนโยบายในการบริหารงานใหฝ้ าุ ยปฏบิ ัตกิ ารดาเนนิ งาน ๓. ดแู ล กากบั ตดิ ตาม ผลการดาเนินงาน ๔. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานเปน็ ระยะ ๆ ๕. ส่งเสริม สนบั สนุนใหข้ วัญและกาลงั ใจในการปฏิบตั งิ านของผู้รบั ผิดชอบและผู้ท่มี ีส่วน เกยี่ วขอ้ ง ๖. สรุปผลการดาเนินงาน ข : ฝา่ ยปฏบิ ัติการ ประกอบดว้ ย ทิพย์สอน ประธานอนกุ รรมการ กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อาทรกุ อนกุ รรมการ รยิ ะนา อนุกรรมการ 1. นางสาววรรณภรณ์ อิ่นใจ อนกุ รรมการ 2. นางสาวปิยะภัทร สนธิคุณ อนกุ รรมการ 3. นายนราวุฒิ จอมธรรม อนกุ รรมการ 4. นางสมพร 5. นางสาวกุลริศา วงษ์ซอื่ ประธานอนุกรรมการ 6. นางสาวนฤมล ดวงแก้ว อนกุ รรมการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ไผทพิทกั ษ์วงค์ อนุกรรมการ 1. นางสาวรักชนก คาปนั อนุกรรมการ 2. นางสาวสิรธิ รณ์ 3. นางสาววันเพ็ญ บญุ ถึง ประธานอนุกรรมการ 4. นางสาวจีราวรรณ ธนันชัย อนุกรรมการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ จรญู พนากุล อนุกรรมการ 1. นางสาวณฐั ธนญั า แซ่จาง อนกุ รรมการ 2. นางสาวจนั จริ า วรรณภิละ อนกุ รรมการ 3. นางสาวเมทนิ ี 4. นายเสรี เมฆปัจจฉาพิชิต ประธานอนกุ รรมการ 5. นางสาวศริ ิวมิ ล ไชยบตุ ร อนกุ รรมการ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา สมบุตร อนุกรรมการ 1. นางสาวศิรมิ า สอนประเสรฐิ ์ อนกุ รรมการ 2. นายนิกร 3. นายศรีมูล 4. นางสาวอาภาภรณ์ กลุม่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา เทพวงค์ ประธานอนกุ รรมการ 1. นางสาวจิตตานาถ บญุ รัง อนกุ รรมการ 2. นางสาวเชาวนี

3. นายอนชุ า สถติ ท่าผาพัฒนา อนกุ รรมการ ๑๕๘ 4. นายอนชุ ติ รตั นเ์ รงิ วทิ ยก์ ลุ อนุกรรมการ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ 1. นายลปิ ปกร เหมอื งคา ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ 2. นายนิทศั น์ อนิ ถานันท์ อนุกรรมการ อนกุ รรมการ 3. นายอัศนัย กนั งาม อนุกรรมการ 4. นายคณธร ศรไี ม้ ประธานอนกุ รรมการ อนุกรรมการ 5. นายวชิรวทิ ย์ หันจางสทิ ธ์ิ อนกุ รรมการ อนุกรรมการ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี อนุกรรมการ อนุกรรมการ 1. นางสาวปณั ชดา ไชยมงคล อนกุ รรมการ อนุกรรมการ 2. ว่าทรี่ ้อยตรีหญิงกนกอร วงศษ์ า อนุกรรมการ อนกุ รรมการ 3. นางสาวธนญั ภรณ์ ธรรมใจ อนกุ รรมการ อนกุ รรมการ 4. นางสาวกรแกว้ โอภาสสุวคนธ์ อนุกรรมการ อนุกรรมการ 5. นายพนม บญุ ตอม อนกุ รรมการ อนกุ รรมการ 6. นายรัตนวัชน์ เลศิ นนั ทรัตน์ ประธานอนกุ รรมการ 7. นางสาววรารัตน์ ธลิ า อนกุ รรมการ อนกุ รรมการ 8. นางสาวฐติ ารตั น์ คาภีระ อนุกรรมการ อนุกรรมการ 9. นายพงศธ์ ร เปง็ วงค์ อนุกรรมการ 10.นางสาวสชุ าภสั ร์ จาปาคา ประธานอนกุ รรมการ อนุกรรมการ 11.ว่าท่ีร้อยตรี สมพงษ์ ตระการศุภกร 12.นางสาววรี ์สุดา อดมาก 13.นางสาวลภสั นนั ท์ คาลือเกยี รต์ิ 14.นายจักรพันธ์ ขนั คา 15.นายยศวริศ เพ่มิ บุญ 16.นายศภุ ากร ทาอวน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ 1. นางสาวร่งุ นภา กาพย์ไชย 2. นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ 3. นางพกิ ลุ เหมืองคา 4. นางสาวลกั ษณารา โยระภตั ร 5. นายนพิ ล โทรักษา 6. นางสาวอรวรรณ เมืองแก้ว กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 1. นางสาวรตั ติกาล ยศสุข 2. นางสาวอริสรา พทุ ธวงค์

๑๕๙ ภาระงานทรี่ ับผดิ ชอบ ๑. การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ๒. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ๓. การวดั ผลประเมนิ ผลและเทียบโอนผลการเรยี น ๔. การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๕. การพฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๖. การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ๗. การนิเทศการศกึ ษา ๘. การแนะแนวทางการศึกษา ๙. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๑๐. การสง่ เสริมความรดู้ ้านวิชาการแกช่ ุมชน ๑๑. การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวิชาการกบั สถานศึกษาอ่นื ๑๒. การส่งเสริมและสนบั สนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบัน อื่นท่ีจัดการศึกษา ๑๓. งานโครงการพเิ ศษและงานอ่ืนๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบ ๑. นานโยบายจดั ทาเปน็ แผนปฏบิ ัตกิ าร ๒. กาหนดแนวทางการดาเนินงานตามภาระงานทีร่ บั ผิดชอบโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม เปน็ ฐาน ๓. ดูแล กากบั ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน ๔. ประเมินผลการดาเนินงาน ๕. สรปุ ผลการดาเนนิ งานเมือ่ เสรจ็ ส้นิ โครงการเสนอฝาุ ยอานวยการหากมีส่งิ ใด ขัด หรือ แย้งกับคาส่ังนี้ใหเ้ ปน็ อันยกเลิกและให้ใชค้ าสั่งนีแ้ ทน ท้ังน้ี ตงั้ แต่วันท่ี ๒ มนี าคม ๒๕60 เปน็ ตน้ ไป สง่ั ณ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕60 (นางวลิ าวัลย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook