Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม

Published by sompongpok, 2019-06-14 00:56:56

Description: หลักสูตรสถานทวิศึกษาช่างเชื่อม ปก

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรทวศิ ึกษา(ฉบบั ปรบั ปรงุ ) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขา ช่างเชื่อม สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

๒ ประกาศโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เร่ือง การใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ .......................................................................... อนุทินคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕5๑ เรื่องให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส่ัง ณ วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเป็นการสร้างกล ยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลสังคมไทย ผู้เรียนมี ศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสานึกในความเป็นไทย มี ระเบยี บวินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เปน็ ประมขุ เปน็ ไปตามเจตนารมณ์มาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉะน้ันโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จึงได้จัดทาหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใหเ้ ป็นไปดงั นี้ ปีการศึกษา ๒๕๕8 ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕8 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ รายวิชาสาระเพิ่มเติม กล่มุ สาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 หลักสูตรเรียนร่วมอาชีวศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย(ทวิศกึ ษา) ท้ังน้ีหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พนื้ ฐาน เม่ือวันท่ี ๒ เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงประกาศใชห้ ลกั สตู รโรงเรียนตั้งแตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒ เดอื น มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๕60 (นายประมวล ฟองตา) (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

สารบญั ๓ หนา้ คานา ประกาศโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เร่อื งการใช้หลักสูตรโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 2 ความนา 4 วิสัยทศั น์ 7 หลักการ 7 จดุ หมาย 8 สมรรถนะหลกั ของผู้เรียน 8 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 9 โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย 10 โครงสรา้ งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานและโครงสรา้ งหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 11 โครงสร้างเวลาเรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) สาขาช่างเช่ือมโลหะ 12 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ (สาขาชา่ งเชอื่ ม) 14 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕(สาขาชา่ งเชอ่ื ม) 15 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ (สาขาช่างเชือ่ ม) 16 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้รายวชิ าพื้นฐาน 21 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน 30 คาอธิบายรายวิชากล่มุ บงั คับเลือก 80 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ 87 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 117 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ละการสง่ เสริมการเรียนรู้ตามหลกั สูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 120 ระเบียบโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ 124 เกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 125 ภาคผนวก

ความนา ๔ สืบเนอื่ งจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีนโยบายในการผลิตผู้เรยี นด้านอาชีวศึกษาให้มากข้ึน เพื่อรองรับการ จ้างงาน ท้ังภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาชีพที่เป็นความ ต้องการของตลาดแรงงานที่กาลังขยายตัวในทุกภาคส่วน กระทรวงศึกษาธิการซึ่งเป็นหน่วยงานที่ผลิตกาลังคน จาเป็นอย่างยิ่งต้องเร่งประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ให้นักเรียนได้หันมาสนใจเรียนทางด้านอาชีพซ่ึงมีตลาด รองรับอย่างแน่นอนให้มากข้ึน แต่เนื่องจากสภาพปัจจุบันค่านิยมของผู้ปกครองและผู้เรียนมุ่งท่ีจะสนับสนุนให้มี การเรียนสายสามัญเพ่ือเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา ส่งผลให้ขาดกาลังคนในภาคแรงงานเป็นอย่างมาก รัฐบาลจึงมี นโยบายที่จะให้มีการจัดการศึกษาหลักสูตรเรียนร่วมอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายควบคู่กันไป เพ่ือให้ ผู้สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความรู้พื้นฐานด้านอาชีพและสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ทันที การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวชิ าชีพถือเปน็ อกี ช่องทางหนง่ึ ท่ีสอดคล้องและสัมพนั ธก์ บั ตลาดแรงงาน สามารถผลิตกาลังคนในระดับฝีมือท่ีได้มาตรฐาน สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงจัดให้มีการจัดการอาชีวศึกษาอย่าง หลากหลายยิ่งข้ึน ทง้ั น้เี พ่ือเปน็ การเพม่ิ โอกาสทางการศึกษาดา้ นวิชาชพี ใหแ้ ก่ประชาชนวัยเรียนและวัยทางานตาม ความถนัด ความสนใจ และสามารถเข้าถึงการอาชีวศึกษาได้ง่ายข้ึน โดยการขยายวิชาชีพและกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ ระบบการจัดการอาชีวศึกษาให้ชัดเจน ท่ัวถึง และรวดเร็วข้ึน เพื่อเป็นทางเลือกสาหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายท่ีมีความประสงค์จะเรียนควบคู่กันไปทั้งสายสามัญและสายอาชีพ เมื่อเรียนครบตามหลักสูตร ผู้เรียน สามารถสาเร็จการศกึ ษาทั้งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและหลักสูตรสายอาชีพไปพร้อมกัน ทั้งน้ีได้ มีการกาหนดการจัดการเรียนการสอนโดยการทาความตกลงร่วมมือกันในการจัดการเรียนการสอนระหว่าง สถานศึกษาทเ่ี ปิดสอนมธั ยมศกึ ษากับสถานศึกษา ที่เปิดสอนหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.)

๕ วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื เพ่มิ โอกาสทางการศึกษาด้านอาชวี ศึกษาแกป่ ระชาชนวยั เรียนและวัยทางานตามความถนัด และความสนใจ ๒. เพื่อขยายกลมุ่ เป้าหมายไปสู่นกั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายในการเขา้ สู่หลกั สูตรอาชีวศึกษา ๓. เพ่อื เปน็ ทางเลือกสาหรบั ผ้เู รียนในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายท่ีมีความประสงค์จะเรียนควบคู่ ไปกับหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ  การจดั การศกึ ษาวิชาชพี ในสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ซง่ึ ดาเนนิ การปฏริ ปู การศกึ ษาทั้งดา้ นการบริหารจดั การและการจัดการเรียนการสอน โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรยี น มี โอกาสเรียนร้ตู ลอดชีวิตตามความถนดั ความสนใจ โดยคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ฝกึ ทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรู้ เพื่อนามาใช้ป้องกันและแก้ปัญหา จดั กิจกรรมให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การปฏบัตใิ ห้ท้ทาได้ คดิ เป็น ทาเปน็ รกั การอ่าน และเกดิ การ ใฝ่รู้อยา่ งต่อเนือ่ ง จัดการเรียนการสอน โดยสดั สว่ นสมดลุ กัน รวมทั้งปลกู ฝงั คา่ นยิ มท่ีดีงาม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในทุกวชิ า ซ่งึ กระทรวงศกึ ษาธิการได้ออกกฎกระทรวงวา่ ด้วยการแบง่ ระดบั และประเภทการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เป็น ๓ ระดับ คือ ๑. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ๒. การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ๓. การศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษา แบง่ เปน็ ๒ ระดับ คือ ๓.๑ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ๓.๒ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แบ่งระดบั เป็น ๒ ประเภท คือ ๓.๒.๑ ประเภทสามัญศึกษา ๓.๒.๒ ประเภทอาชวี ศึกษา สาหรบั การจัดการศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายได้ถูกแบ่งการศึกษาออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้ ประเภทสามญั ศึกษา หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ คอื สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และประเภท อาชวี ศกึ ษา หนว่ ยงานท่ีรัผิดชอบ คือสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จากสภาวะการณ์ปจั จุบนั ทต่ี ้อง เผชิญการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยีอยา่ งรวดเรว็ ทาใหท้ ุกคนในสังคมต้องพยายามปรับตวั ให้สามารถดารงชีวติ อยู่ได้ จงึ ทาให้สงั คมหันมาให้ความสนใจกบั การพฒั นาคุณภาพชีวิตด้วยการศึกษามากขนึ้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงดา้ นอาชีวศึกษา ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองต่อความตอ้ งการท้ังในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ กอปรกบั รัฐบาล โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ใหค้ วามสาคัญกับการจดั การอาชีวศกึ ษาเพ่ือต้องการใหน้ กั เรียนสนใจ เรียนสายอาชีพมากขน้ึ เม่อื สาเรจ็ การศึกษาแลว้ สามารถทางานไดท้ นั ที ดงั น้ันเพื่อเปน็ การสนองนโยบายดังกลา่ ว ขา้ งต้น จงึ กาหนดให้ดาเนินการเปิดสอนหลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ในโรงเรยี นมัธยม สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ใน ๓ ลักษณะ คอื

ลกั ษณะที่ ๑ ข้ึนทะเบยี นเป็นนักเรยี นของสถานศกึ ษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ ๖ ลักษณะท่ี ๒ อาชวี ศึกษาเรียนหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) จบแลว้ ได้วุฒิประกาศนียบตั ร ลกั ษณะที่ ๓ วิชาชีพ (ปวช.) คือ รูปแบบที่ ๑ บคุ ลากรจากสถานศกึ ษาสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ไปสอนทโ่ี รงเรียนในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน รูปแบบท่ี ๒ โรงเรยี นในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานส่ง นกั เรยี นมาเรียนทีส่ ถานศึกษาในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ข้นึ ทะเบยี นเปน็ นกั เรยี นของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐานเรียนหลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แต่เน้นวิชาชีพตามหลักสูตรจบแลว้ ไดว้ ฒุ ิ มธั ยมศึกษาตอนปลายมี ๒ รูปแบบ คอื รปู แบบท่ี ๑ นกั เรยี นเรียนรายวชิ าเพม่ิ เติมจากรายวิชาชีพหลักสตู รประกาศนียบัตร วชิ าชพี (ปวช.) เพื่อเทยี บโอนเขา้ สู่หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ และ ตอ้ งลงทะเบียนเปน็ นักเรยี นของสถานศึกษาในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เพือ่ เรยี นตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) อีกอยา่ งนอ้ ย ๑ ภาคเรียน จงึ จะได้ วุฒิประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ รูปแบบที่ ๒ นักเรยี นเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ จากรายวชิ าตามหลักสูตรประกาศนยี บตั ร วิชาชีพ (ปวช.) เพอ่ื เป็นพื้นฐานการเรียนต่อระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ขึ้นทะเบยี นเป็นนกั เรียนของสถานศึกษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน แต่นาหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาจดั การเรยี น การสอน จบแลว้ ไดว้ ฒุ ิประกาศนียบตั รวชิ าชีพ โดยให้สถานศึกษาสังกดั สานกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเปน็ สถานศกึ ษาพเ่ี ล้ยี ง ทัง้ น้ี ในการเปิดสอนนนั้ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์การขอเปิดสอนหลักสตู รระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน  การเรียนแบบสะสมหนว่ ยกิต การจดั การอาชวี ศึกษาและฝกึ อบรมวชิ าชีพ เปน็ การจัดการศึกษาวิชาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน ใหส้ ามารถผลิตกาลังคนไดต้ ามเปาู หมายของประเทศรวมทัง้ มีทักษะฝมี ือทไ่ี ดม้ าตรฐาน สานกั งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจงึ เห็นสมควรปรบั ปรุงรปู แบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษาให้มคี วามหลากหลาย เหมาะสม เพื่อเพ่ิมโอกาสในการศกึ ษาดา้ นวชิ าชีพสาหรับประชาชนวยั เรยี นและวยั ทางานตามความถนดั และความสนใจ ในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาอาชวี ศึกษาไดง้ า่ ยมากข้นึ ตอ้ งขยายวิธีการและกลุ่มเปูาหมาย เพ่อื เพม่ิ โอกาสให้สามารถเข้าสู่ระบบ การจัดการศกึ ษาอาชีวศึกษาไดอ้ ยา่ งชดั เจน ท่ัวถงึ และรวดเร็ว นับเปน็ ทางเลือกสาหรับประชาชนผสู้ นใจ นักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม. ๑-๓) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. ๔-๖) ท่ีมีความประสงคจ์ ะเพ่มิ พนู หรือสะสมความรู้ ทักษะและเตรียมตัวที่จะเข้าศกึ ษาในระดบั อาชีวศกึ ษาตอ่ ไป การเรยี นรายวชิ าสะสมหนว่ ยกติ ซ่งึ ประกอบด้วยรายวิชาระยะสั้น รายวิชาเตรยี ม ปวช. และรายวิชาเตรยี ม ปวส. จะเปน็ แนวทางหนงึ่ ในการเพิม่ โอกาสทางดา้ นอาชีวศกึ ษาในกับผสู้ นใจ นกั เรยี นทเ่ี รยี นในระดบั ตา่ กวา่ มัธยมศกึ ษา ตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย ได้มโี อกาสศึกษาในหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษาตามความถนดั และความสนใจ โดยสามารถนา ผลการเรียนจากรายวชิ าดงั กลา่ ว มาขอโอนเพื่อนับจานวนหน่วยกติ สะสมภายหลงั จากทไี่ ด้สมคั รเข้าเรยี น และขน้ึ ทะเบียน เปน็ นกั เรียนตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) หรอื เปน็ นักศึกษาตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) กบั สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

๗ วิสัยทัศน์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ มงุ่ จดั การศึกษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาสทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐาน พฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ บุคคลทีม่ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทกั ษะอาชีพและทักษะการดารงชีวิตที่ดแี ละเป็นสถานศกึ ษา ต้นแบบแหลง่ เรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งภายในปี ๒๕๕๘ หลกั การ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มหี ลกั การท่สี าคญั ดังนี้ ๑. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพือ่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรยี นร้เู ปน็ เปูาหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปน็ ไทย ควบค่กู ับความเปน็ สากล ๒. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่ ๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่มี ีโครงสร้างยดื หยุ่นทงั้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้ ๕. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ๖. เป็นหลกั สตู รการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เปูาหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มศี ักยภาพใน การศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจดุ หมายเพื่อใหเ้ กิดกับผเู้ รยี น เม่ือจบการศกึ ษาตามหลักสตู ร ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มีสุขนสิ ยั และรกั การออกกาลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตสานกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสงิ่ ท่ีดีงามในสงั คม และอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมีความสขุ

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๘ หลักสูตรโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มุ่ง พฒั นาผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะสาคัญ ๕ ประการตามเจตนารมณ์ของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเองเพ่อื แลกเปลี่ยนข้อมูลขา่ วสาร และ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งเจรจาต่อรองเพอ่ื ขจัดและลดปัญหาความ ขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับขอ้ มลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตผุ ล และความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี าร สือ่ สารท่มี ีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดอยา่ ง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชญิ ได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสมั พนั ธแ์ ละการ เปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใชใ้ นการปอู งกนั และแก้ไขปญั หา และมีการตดั สินใจที่มปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทางานและการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมดว้ ย การสรา้ งเสริมความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม การ ปรับตัวให้ทันกบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรูจ้ ักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่ี ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยดี า้ น ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาผูเ้ รยี นให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนสามารถ อยู่ร่วมกับผ้อู นื่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลกดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเุ รียนรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ๖. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

๙ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย โครงสรา้ งเวลาเรียนและโครงสร้างชัน้ ปี ดังนี้ 1. โครงสรา้ งเวลาเรยี น เป็นโครงสร้างทแ่ี สดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรยี นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ใชเ้ ป็นเวลาเรยี นพ้ืนฐาน เวลาเรียนเพิม่ เติมและเวลาในการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน จาแนกแตล่ ะช้นั ปี โครงสร้างเวลาเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ / กิจกรรม เวลาเรยี น ม.๔ ม.๕ ม.๖ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ๘๐ ๘๐ ๘๐ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๔๐ - รวมรายวชิ าพืน้ ฐานท้งั หมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ รายวชิ าเพิ่มเติม กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ชุมนมุ / นศท./ ผบู้ าเพ็ญประโยชน์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๓. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๒๐ รวมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑,๖๔๐ ชั่วโมง ไมเ่ กนิ กวา่ ๑,๖๐๐ ชวั่ โมง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ชว่ั โมง

โครงสร้างหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และ ๑๐ โครงสร้างหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน โครงสรา้ งหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า หน่วยกิต รายวิชา หนว่ ยกติ ๑.รายวชิ าพ้ืนฐาน ๔๑ นก. ๑.หมวดวชิ าทกั ษะชวี ติ ไม่นอ้ ยกว่า ๒๒ นก. ๑.๑ ภาษาไทย ๖ นก. ๑.๑ กลุ่มวชิ าภาษาไทย ไมน่ ้อยกวา่ ๓ นก. ๑.๒ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ๖ นก. ๑.๒ กลุ่มวชิ าภาษาต่างประเทศ ไมน่ ้อยกว่า ๖ นก. ๑.๓ วทิ ยาศาสตร์ ๖ นก. ๑.๓ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า ๔ นก. ๑.๔ คณติ ศาสตร์ ๖ นก. ๑.๔ กลุ่มวิชาคณติ ศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔ นก. ๑.๕ สังคมศกึ ษาฯ ๘ นก. ๑.๕ กลุ่มวิชาสังคมศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ นก. ๑.๖ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๓ นก. ๑.๖ กลมุ่ วิชาสุขศึกษาและพลศกึ ษา ไม่นอ้ ยกว่า ๒ นก. ๑.๗ ศลิ ปศึกษา ๓ นก. ๑.๘ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๓ นก. ๒.รายวชิ าเพิม่ เติม ไม่เกินกวา่ ๔๐ นก. ๒.หมวดวิชาทักษะวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๑ นก. ๒.๑ กลมุ่ ทักษะวชิ าชีพพน้ื ฐาน ไมน่ ้อยกวา่ ๑๘ นก. ๒.๒ กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชพี เฉพาะ ๒๔ นก. ๒.๓ กลุ่มทักษะวชิ าชพี เลือก ไมน่ อ้ ยกว่า ๒๑ นก. ๒.๔ ฝกึ ประสบการณท์ ักษะวชิ าชพี ๔ นก. ๒.๕ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ๔ นก. ๓.หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ นก. ๓.กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๓๖๐ ช่ัวโมง ๔.กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ๒ ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ รวม ไมน่ อ้ ยกว่า ๘๑ นก. รวม ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐๓ นก.

โครงสร้างเวลาเรียนระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) สาขาช่างเชอื่ มโลหะ ๑๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ / กจิ กรรม เวลาเรียน ปวช.๑ ปวช.๒ ปวช.๓ รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ๘๐ ๘๐ ๘๐ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สงั คมศึกษาฯ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศลิ ปศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๖๐ รวมรายวชิ าพื้นฐานทั้งหมด รายวชิ าเพิม่ เติม ๑,๖๘๐ ชว่ั โมง หน้าท่ีพลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมรายวชิ าเพิ่มเติม กล่มุ วิชาเลอื ก (อุตสาหกรรม) ไมเ่ กินกวา่ ๑,๖๐๐ ช่วั โมง ความร้เู กย่ี วกับงานอาชีพ คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศเพ่อื งานอาชีพ ๔๐ งานฝึกฝีมอื ๑ ๖๐ งานเชื่อมโลหะเบ้ืองต้น ๑๒๐ อาชวี อนามัยและความปลอดภยั ๑๒๐ เขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้ ๖๐ ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บือ้ งตน้ ๘๐ งานถอดประกอบเครอ่ื งกลเบื้องต้น ๘๐ งานเครอื่ งมอื กลเบื้องต้น ๘๐ งานผลติ ภณั ฑ์และโลหะแผน่ ๑ ๘๐ งานเช่อื มไฟฟา้ ๑ ๘๐ เขยี นแบบชา่ งเชื่อมโลหะ ๘๐ งานเชื่อมอารก์ โลหะแกส็ คลุม ๑ กลศาสตร์เคร่ืองกล ๘๐ ๘๐ ๔๐

๑๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กจิ กรรม ปวช.๑ เวลาเรียน ปวช.๓ ปวช.๒ งานผลติ ภัณฑแ์ ละโลหะแผน่ ๒ ๘๘๐ ๑๒๐ ๘๐ งานเชื่อมไฟฟา้ ๒ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ โลหะวิทยาเบอ้ื งตน้ ๔๐ ๘๐ ๑๒๐ งานทดสอบแบบทาลายสภาพ ๔๐ ๘๐ ๓๒๐ งานเช่ือมอาร์กทังสเตนแกส็ คลุม ๑ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ กระบวนการเชื่อม ๔๐ ๔๐ คณติ ศาสตร์ช่างเชื่อม ๔๐ ๔๐ งานซอ่ มบารุง ๘๐ ๖๐ กรรมวธิ ีการผลิตโลหะภณั ฑ์ ๔๐ ๘๐ งานทดสอบแบบไม่ทาลายสภาพ ๔๐ วสั ดชุ า่ งเชื่อม ๘๘๐ ๘๐ งานเช่อื มไฟฟา้ ๓ ๓,๐๒๐ ๘๐ ฝกึ งาน ๘๐ งานเช่อื มแก๊ส ๔๐ มาตรฐานงานเชอ่ื มเบอื้ งตน้ ๘๐ วัสดุช่างอุตสาหกรรม ๔๐ เขียนแบบโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๑,๓๐๐ งานออกแบบผลิตภัณฑ์ ปมั้ ขึ้นรปู ๔๐ ๔๐ งานท่อภายในอาคาร ๔๐ ๔๐ งานสี งานนวิ เมตกิ และไฮดรอลิกสเ์ บื้องตน้ ๔๐ ๔๐ การออกแบบรอยต่องานเชื่อม ๑๒๐ ๑๒๐ โครงการ ๓๖๐ ช่วั โมง การเป็นผปู้ ระกอบการ รวมวชิ าเลอื ก กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนกั เรียน - ชมุ นุม/ นศท./ ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

๑๓ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ โครงสร้างรายวชิ าทีเ่ ปดิ สอนสาหรบั นกั เรยี นรายวชิ า ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ (สาขาชา่ งเชอ่ื มโลหะ) ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ หมายเหตุ รหัสวิชา รายวิชา นน./นก ชม.ท่ีสอน/ รหัสวิชา รายวิชา นน./นก ชม.ทสี่ อน/ สัปดาห์ สัปดาห์ กลุ่มรายวิชาพน้ื ฐาน ๒ ๒ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๔๐) ๑ ๑.๐(๔๐) ๒ ว๓๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ว๓๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๑๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๑๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ๒ ส๓๑๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาพลศกึ ษา ๑.๐(๔๐) ๑๔ พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาพลศึกษา ๑.๐(๔๐) ๒ ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๗.๐(๓๔๐) ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี และ ง๓๑๑๐๒ การงานอาชพี และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ รวมกลมุ่ รายวชิ าพ้ืนฐาน รวมกลมุ่ รายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ รายวิชาเพิม่ เติม หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๐.๕(๒๐) ๑ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๐.๕(๒๐) ๑ ง๓๑๒๗๓ ความรู้เกี่ยวกบั งานอาชีพ ๑ ๒ เขยี นแบบเทคนคิ ๒ ๔ ง๓๑๒๗๔ เบือ้ งตน้ คอมพวิ เตอร์และ ๑.๕ ๓ ๒ ๔ สารสนเทศเพือ่ งานอาชพี ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ ๓ ๖ เบอื้ งต้น ๒ ๔ งานฝกึ ฝมี ือ ๑ ๒ ๔ ๒ ๔ ๑.๕ ๓ งานถอดประกอบ ๒ ๔ งานเชือ่ มโลหะเบื้องต้น เครื่องกลเบื้องตน้ ๒ ๔ อาชวี อนามยั และความ ปลอดภัย งานเครอื่ งมือกลเบ้อื งต้น งานผลิตภัณฑ์และโลหะ แผ่น ๑ งานเช่ือมไฟฟา้ ๑ รวมกลุม่ วชิ าเลอื ก ๙.๕ ๑๙ รวมกลมุ่ วิชาเลอื ก ๑๒.๕ ๒๕ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (๒๐) ๑.กิจกรรมแนะแนว (๒๐) ๒.กิจกรรมนกั เรียน -ชมุ นมุ /นศท./ผู้บาเพ็ญประโยชน์ (๒๐) ๓.กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ (๖๐) รวมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น รวมท้ังหมด

๑๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ โครงสร้างรายวิชาที่เปดิ สอนสาหรบั นักเรยี นรายวชิ า ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ (สาขาช่างเช่อื มโลหะ) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ หมายเหตุ รหสั วชิ า รายวิชา นน./นก ชม.ท่สี อน/ รหสั วชิ า รายวชิ า นน./นก ชม.ท่ี สัปดาห์ สอน/ สัปดาห์ กลุ่มรายวชิ าพืน้ ฐาน ๒ ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๔๐) ๑ ว๓๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ว๓๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๑.๐(๔๐) ๒ ส๓๒๑๐๓ สังคมศกึ ษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๑.๐(๔๐) ๒ พ๓๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาพลศึกษา ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและ ๐.๕(๒๐) ๑ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ เทคโนโลยี ๒ ๔ ๑ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) ๒ อ๓๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔ ๒ รวมกลุ่มรายวิชาพ้นื ฐาน ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ รวมกล่มุ รายวิชาพนื้ ฐาน ๑ ๒ ๙ กล่มุ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๒ (๒๐) หน้าท่ีพลเมอื ง ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๒๐๕ หนา้ ท่ีพลเมอื ง (๒๐) ๔ ๒ กลุม่ วิชาเลือก (ชา่ งอุตสาหกรรม) เรยี นรว่ ม ปวช.สาขาช่างเชอ่ื มโลหะ (๒๐) ๑๘ เขยี นแบบช่างเชื่อมโลหะ ๒ ๔ งานทดสอบแบบทาลายสภาพ (๖๐) งานเชอื่ มอาร์กโลหะแกส็ ๒ ๔ งานเช่ือมอาร์กทังสเตนแก็สคลมุ คลมุ ๑ ๑ กลศาสตร์เครือ่ งกล ๑ ๒ กระบวนการเชือ่ ม งานผลิตภัณฑ์และโลหะ ๓ ๖ คณติ ศาสตรช์ ่างเช่อื ม แผ่น ๒ งานเชือ่ มไฟฟ้า ๒ ๓ ๖ งานซ่อมบารุง โลหะวิทยาเบอื้ งต้น ๒ ๔ กรรมวธิ ีการผลิตโลหะภณั ฑ์ รวมกล่มุ วชิ าเลอื ก ๑๑ ๓๖ รวมกล่มุ วิชาเลือก กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๑.กิจกรรมแนะแนว (๒๐) ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กจิ กรรมนักเรยี น (๒๐) ๒.กิจกรรมนักเรียน -ชมุ นุม/นศท./ผบู้ าเพ็ญประโยชน์ -ชุมนมุ /นศท./ผบู้ าเพ็ญประโยชน์ ๓.กจิ กรรมเพือ่ สังคมและ (๒๐) ๓.กิจกรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ รวมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (๖๐) รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น รวมท้ังหมด รวมท้ังหมด

๑๕ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ โครงสรา้ งรายวชิ าท่ีเปดิ สอนสาหรบั นกั เรยี นรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ (สาขาช่างเชื่อมโลหะ) ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ หมาย เหตุ ชม.ท่ี ชม.ท่ี สอน/ รหัสวชิ า รายวชิ า นน./นก สอน/ รหสั วิชา รายวชิ า นน./นก สปั ดาห์ สปั ดาห์ ๒ ๒ กลุม่ รายวชิ าพื้นฐาน ๒ ๒ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑ ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑ สังคมศกึ ษาฯ ๑.๐(๔๐) ว๓๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ สุขศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) ส๓๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๒ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๒ การงานอาชีพและ ส๓๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ เทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๑๔ ภาษาอังกฤษ พ๓๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๑.๐(๔๐) ๑ รวมกลมุ่ รายวชิ าพน้ื ฐาน ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๗.๐(๓๔๐) ๒ หน้าทพ่ี ลเมือง ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี และ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๓ เทคโนโลยี ๔ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) ๒ ๒ ๔ รวมกลมุ่ รายวิชาพ้ืนฐาน ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ ๔ กลุ่มรายวชิ าเพิ่มเตมิ ๔ หนา้ ที่พลเมือง ๐.๕(๒๐) ๑ ๒ กลมุ่ วชิ าเลือก (ชา่ งอุตสาหกรรม) เรยี นร่วม ปวช.สาขาช่างเชือ่ มโลหะ * ๒๕ งานทดสอบแบบไม่ทาลาย ๒ ๔ วัสดชุ า่ งอุตสาหกรรม ๑ สภาพ เขยี นแบบโดยใชโ้ ปรแกรม ๑.๕ วสั ดุชา่ งเช่อื ม ๑๒ คอมพวิ เตอร์ ๒ งานออกแบบผลิตภณั ฑ์ ๑ งานเชอื่ มไฟฟา้ ๓ ๓ ๖ ปั้มขนึ้ รูป ๒ ฝึกงาน ๔ * งานท่อภายในอาคาร ๒ งานเช่ือมแก๊ส ๒ ๔ งานสี ๒ การเป็นผู้ประกอบการ ๑ ๒ งานนิวเมตกิ และไฮดรอลกิ ส์ เบือ้ งต้น ๑ รวมกลุม่ วชิ าเลอื ก ๑๓ ๑๘ การออกแบบรอยต่องาน ๔ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน (๒๐) เชื่อม ๑๒.๕ (๒๐) โครงการ ๑.กิจกรรมแนะแนว (๒๐) ๒.กิจกรรมนักเรยี น (๒๐) รวมกลมุ่ วิชาเลอื ก (๒๐) -ชุมนุม/นศท./ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน (๖๐) (๒๐) ๓.กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑.กจิ กรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนักเรียน (๖๐) รวมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น -ชุมนุม/นศท./ผู้บาเพ็ญ ประโยชน์ รวมท้งั หมด ๓.กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รยี น รวมทั้งหมด

๑๖ โครงสร้าง หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๕๘ ผ้สู าเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๕๘ จะต้องศึกษา รายวิชาจากหมวดวชิ าต่างๆ ตามกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรรู้ วม ๓ ปี จานวน ๑,๖๔๐ ช่ัวโมง (๔๑ หนว่ ยกิต) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๖๐ ชวั่ โมง และรายวชิ า/กจิ กรรมที่สถานศึกษาจดั เพิ่มเติมตาม ความพร้อมและจดุ เน้นปีละไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๖๐๐ ชว่ั โมง (๔๐หน่วยกิต) รวม ๓ ปีไม่นอ้ ยกว่า ๓,๖๐๐ ชว่ั โมง ดังโครงสรา้ งตอ่ ไปนี้ ๑.รายวิชาพน้ื ฐาน ไม่น้อยกว่า ๔๑ หน่วยกิต ๑.๑ กลมุ่ วชิ าภาษาไทย (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกติ ) ๑.๒ กลุ่มวชิ าภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๓ กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ ) ๑.๔ กลมุ่ วิชาคณิตศาสตร์ (ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หน่วยกิต) ๑.๕ กลุ่มวิชาสังคมศกึ ษาฯ (ไมน่ ้อยกว่า ๘ หนว่ ยกิต) ๑.๖ กลมุ่ วิชาสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (ไม่น้อยกวา่ ๓ หน่วยกิต) ๑.๗ กลมุ่ วชิ าศลิ ปศกึ ษา (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต) ๑.๘ กลุ่มวิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี (ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกิต) ๒.รายวิชาเพ่ิมเติม ไม่นอ้ ยกว่า ๔๐ นก. ๓.กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (๓๖๐ ช่วั โมง) รวมไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๑ นก. ๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ไม่น้อยกว่า ๔๑ หนว่ ยกิต ใหเ้ รียนรายวิชาลาดับแรกของกลมุ่ วิชา หรือตามทกี่ ล่มุ วิชากาหนด และเรียนรายวชิ าส่วนทเ่ี หลือตามท่ี กาหนดในแตล่ ะกลุ่มวิชา ให้สอดคล้องหรอื สัมพันธก์ บั สาขาวชิ าท่ีเรียนอีก รวมไม่นอ้ ยกวา่ ๔๑ หนว่ ยกิต ๑.๑ ภาษาไทย (ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หน่วยกติ ) รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หน่วยกติ ๑.๐(๖๐) ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย หนว่ ยกติ ๑.๐(๔๐) ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ภาษาไทย ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ๑.๒ กล่มุ วชิ าภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) (ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ ) ๑.๐(๔๐) รหัสวชิ า ช่อื วิชา อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ อ๓๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ

๑.๓ วทิ ยาศาสตร์ (ไมน่ ้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ๑๗ รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกติ ๑.๐(๖๐) ว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ว๓๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ว๓๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ว๓๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ว๓๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๔ คณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกติ ) รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ สังคมศึกษาฯ (ไมน่ ้อยกว่า ๘ หน่วยกติ ) รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกิต ส๓๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ส๓๑๑๐๓ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๓ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) สงั คมศึกษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ส๓๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ส๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ส๓๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ๑.๖ สุขศึกษาและพลศึกษา (ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกิต) หนว่ ยกิต ชอ่ื วิชา ๐.๕(๒๐) รหัสวิชา สุขศึกษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๑๑๐๒ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา พ๓๓๑๐๑ ๐.๕(๒๐) สขุ ศกึ ษาพลศึกษา

๑.๗ ศลิ ปศกึ ษา (ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกติ ) ๑๘ รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หน่วยกิต ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๒ ศิลปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ศลิ ปศึกษา ๑.๘ การงานอาชพี และเทคโนโลยี (ไม่น้อยกวา่ ๓ หน่วยกติ ) รหัสวิชา ชื่อวิชา หนว่ ยกติ ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๒ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๒๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ง๓๒๑๐๒ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒.รายวชิ าเพิม่ เติม ไม่น้อยกวา่ ๔๐ นก. หนว่ ยกติ รหัสวิชา ชอื่ วิชา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) หนา้ ท่พี ลเมือง ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) หนา้ ที่พลเมือง ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) หนา้ ที่พลเมือง หนว่ ยกติ หน้าทพี่ ลเมือง ๒๐ชัว่ โมงต่อปี ๒๐ช่วั โมงต่อปี หน้าที่พลเมือง ๒๐ชั่วโมงต่อปี หน้าทพี่ ลเมือง ๓.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (๓๖๐ ช่ัวโมง) รหัสวิชา ชอ่ื วิชา กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นศท./ผ้บู าเพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๙ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ เปน็ เกณฑใ์ นการกาหนดคุณภาพของผ้เู รยี นเมอ่ื เรยี นจบการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ซ่งึ กาหนดไว้ ดังรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ภาษาไทย สาระที่ ๑ : การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ : ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ ไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนินชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน สาระที่ ๒ : การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ : ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอื่ งราว ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ : การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ : สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระท่ี ๔ : หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ สาระท่ี ๕ : วรรคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ : เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง

คณิตศาสตร์ ๒๐ สาระท่ี ๑ : จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๑ : เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชวี ิตจริง มาตรฐาน ค ๑.๒ : เข้าใจถึงผลท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนนิ การของจานวนและความสัมพันธร์ ะหวา่ งการ ดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนนิ การในการแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ : ใชก้ ารประมาณคา่ ใจการคานวณ และแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค ๑.๔ : เขา้ ใจในระบบจานวน และสามารถนาสมบัตเิ กยี่ วกับจานวนไปใช้ สาระท่ี ๒ : การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ : เข้าใจพื้นฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ที่ต้องการวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ : แกป้ ัญหาเกีย่ วกบั การวดั สาระที่ ๓ : เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ : อธิบายและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สองมติ แิ ละสามมติ ิ มาตรฐาน ค ๓.๒ : ใช้การนึกภาพ (visualization) ใชเ้ หตุผลเกยี่ วกบั ปรภิ ูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ ๔ : พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ : อธิบายและวิเคราะห์แบบรปู (pattern) ความสมั พนั ธ์ และฟังกช์ นั ต่าง ๆ มาตรฐาน ค ๔.๒ : ใช้นพิ จน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชงิ คณิตศาสตร์ (Mathematical model) อืน่ ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้ แกป้ ัญหา สาระที่ ๕ : การวเิ คราะห์ข้อมูลและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๑ : เขา้ ใจและใชว้ ิธกี ารทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมลู มาตรฐาน ค ๕.๒ : ใช้วิธกี ารทางสถิตแิ ละความรู้เกยี่ วกบั ความนา่ จะเป็นในการคาดการณ์ได้อยา่ ง สมเหตุสมผล มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใช้ความรู้เกีย่ วกับสถิติและความน่าจะเปน็ ช่วยในการตดั สนิ ใจและแก้ปัญหา สาระที่ ๖ : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ : มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตผุ ล การส่ือสาร การส่ือความหมายทาง คณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรูต้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตรแ์ ละ เชื่อมโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ ่ืน ๆ และมคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

วทิ ยาศาสตร์ ๒๑ สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวติ กบั กระบวนการดารงชวี ิต มาตรฐาน ว ๑.๑ : เขา้ ใจหน่วยพื้นฐานของส่ิงมชี ีวิต ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของ ระบบตา่ ง ๆ ของส่งิ มีชีวิตทที่ างานสัมพันธ์กัน มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงทเ่ี รียนรู้ และนาความรู้ไปใชใ้ นการดารงชวี ิตของตนเอง และดูแล สง่ิ มีชวี ิต มาตรฐาน ว ๑.๒ : เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใช้เทคโนโลยชี ีวภาพ ท่มี ีผลกระทบต่อมนุษย์ และส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และ จิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสง่ิ ทเี่ รียนรแู้ ละนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ : ชวี ติ กับสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๒.๑ : เขา้ ใจสงิ่ แวดลอ้ มในท้องถ่นิ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ แวดล้อมกับส่ิงมีชีวิต ความ สัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และจติ วิทยาศาสตร์ ส่อื สารสิ่งทเี่ รียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ : เข้าใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตใิ นระดบั ท้องถ่ิน ประเทศ และโลก นาความร้ไู ปใช้ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมในท้องถ่ินอย่างย่ังยืน สาระท่ี ๓ : สารและสมบัตขิ องสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ : เข้าใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบตั ขิ องสารกับโครงสร้างและแรง ยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนภุ าค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่อื สารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ : เข้าใจหลกั การและธรรมชาติของการเปล่ียนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกดิ ปฏกิ ริ ิยา มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารส่งิ ท่ี เรยี นร้แู ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๔ : แรงและการเคล่อื นที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาตแิ ละแรงแม่เหลก็ ไฟฟาู แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สือ่ สารสง่ิ ท่ีเรียนร้แู ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ อยา่ งถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ : เขา้ ใจลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุในธรรมชาติ มกี ระบวนการ สบื เสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสิง่ ที่เรยี นรู้ และนาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ : พลังงาน มาตรฐาน ว ๕.๑ : เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลงั งานต่อชีวิตและ สิง่ แวดลอ้ ม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สอื่ สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้และนาความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี ๖ : กระบวนการเปล่ยี นแปลงของโลก ๒๒ มาตรฐาน ว ๖.๑ : เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสมั พันธข์ อง กระบวนการต่าง ๆ ที่มผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจติ วทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารส่งิ ท่เี รยี นรู้ และนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๗ : ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ : เขา้ ใจวิวัฒนาการของระบบสุรยิ ะ กาแล็กซแี ละเอกภาพ การปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสรุ ยิ ะและผลต่อส่ิงมีชวี ิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละ จติ วิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งท่ีเรยี นร้แู ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ : เข้าใจความสาคญั ของเทคโนโลยอี วกาศท่นี ามาใชใ้ นการสารวจอวกาศและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสบื เสาะ หาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สอื่ สารส่งิ ท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างมคี ณุ ธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี ๘ : ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ : ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รวู้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่ีเกิดข้ึนส่วนใหญ่มรี ูปแบบท่ี แนน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มอี ยใู่ นช่วง เวลานนั้ ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม มีความ เก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กัน

สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒๓ สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ : ร้แู ละเข้าใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาทถ่ี กู ต้อง ยึดม่นั และปฏิบตั ติ าม หลักธรรมเพอ่ื อยู่ร่วมกันอยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ : เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเป็นศาสนิกชนทด่ี ี และธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ สาระท่ี ๒ : ชีวติ กับสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ส ๒.๑ : เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านยิ มท่ดี งี าม และธารง รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ติ อย่รู ่วมกันในสังคมไทยและสงั คม โลกอยา่ งสันตสิ ุข มาตรฐาน ส ๒.๒ : เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมัน่ ศรทั ธา และธารง รักษาไวซ้ ึ่งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็น ประมขุ สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ : เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอย่จู ากดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เขา้ ใจหลักการของ เศรษฐกจิ อยา่ งพอเพยี ง เพอ่ื การดารงชวี ติ อย่างมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ : เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ และความจาเป็นของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ : ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ : เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ : เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปัจจุบนั ในด้านความสัมพนั ธ์ และ การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนอ่ื ง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ : เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทย มีความรัก มีความ ภูมิใจ และธารงความเปน็ ไทย สาระท่ี ๕ : ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ : เขา้ ใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธ์ของสรรพส่ิงซง่ึ มผี ลต่อกัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนที่ และเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรปุ และใชข้ ้อมลู ภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ มาตรฐาน ส ๕.๒ : เข้าใจปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทีก่ ่อให้เกดิ การสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม มจี ติ สานกึ และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรและสงิ่ แวดล้อมเพอื่ การพัฒนาทีย่ ่ังยืน

สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๔ สาระท่ี ๑ : การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ : เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโต และพฒั นาการของมนุษย์ สาระท่ี ๒ : ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ : เข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที ักษะในการดาเนนิ ชวี ิต สาระท่ี ๓ : การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ : เข้าใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ : รักการออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏบิ ตั เิ ป็นประจาอยา่ ง สม่าเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มนี า้ ใจนักกฬี า มีจติ วญิ ญาณในการ แขง่ ขัน และชนื่ ชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า สาระท่ี ๔ : การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ : เห็นคุณค่า และมที ักษะในการสรา้ งเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปอู งกนั โรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ สาระที่ ๕ : ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ : ปูองกันและหลกี เลยี่ งปจั จยั เส่ียง พฤติกรรมเสีย่ งต่อสขุ ภาพ อุบตั เิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรุนแรง

ศิลปะ ๒๕ สาระที่ ๑ : ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศลิ ปะ อย่างอสิ ระ ชืน่ ชมและประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทัศนศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ : เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ : เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรที ่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล สาระที่ ๓ : นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ : เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ อย่างอิสระ ช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิต ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ : เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

๒๖ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระท่ี ๑ : การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทกั ษะการ จัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทางานร่วมกันและทักษะการแสวงหา ความรู้ มคี ุณธรรมและลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจิตสานกึ ในการใช้พลงั งาน ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมเพื่อการดารงชวี ติ และครอบครัว สาระท่ี ๒ : การอาชพี มาตรฐาน ง ๒.๑ : เขา้ ใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ งสิ่งของเครอื่ งใช้ หรือวิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ เลอื กใช้ เทคโนโลยใี นทางสรา้ งสรรคต์ อ่ ชวี ิต สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และมสี ว่ นรว่ มในการ จดั การเทคโนโลยีท่ยี ง่ั ยืน สาระที่ ๓ : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ : เข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมลู การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทางาน และอาชพี อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมีคุณธรรม สาระที่ ๔ : การอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ : เข้าใจ มีทักษะทีจ่ าเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาอาชพี มีคุณธรรม และมีเจตคตทิ ่ีดตี ่ออาชพี

ภาษาต่างประเทศ ๒๗ สาระที่ ๑ : ภาษาเพ่ือการส่ือสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ : เขา้ ใจและตีความเร่ืองที่ฟังและอ่านจากส่อื ประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ : มีทักษะการสื่อสารทางภาษา ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลขา่ วสาร แสดงความร้สู ึกและ ความคดิ เห็นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ : นาเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรือ่ งต่าง ๆ โดยการ พูดและการเขียน สาระท่ี ๒ : ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ : เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ : เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ ๓ : ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน มาตรฐาน ต ๓.๑ : ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชอื่ มโยงความรูก้ ับกล่มุ สาระการเรียนรู้อื่นและเปน็ พืน้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้และเปดิ โลกทัศน์ของตน สาระที่ ๔ : ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ : ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ : ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเครอ่ื งมอื พื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ บั สงั คมโลก

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ๒๘ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ประเภทโคลง ได้อยา่ งถูกต้อง จบั ใจความสาคัญ วเิ คราะหว์ ิจารณ์ และตอบคาถามจากเรื่องทอี่ ่านอยา่ งมีเหตผุ ล เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิดจากเรือ่ งทอี่ ่าน เขียนบันทึก ย่อความ เรียงความ สังเคราะหค์ วามร้จู ากส่ือสิ่งพิมพ์ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละแหล่งเรยี นรูต้ า่ งๆ เขยี น สื่อสาร เขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ได้ถูกต้องตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มีข้อมูลและสาระสาคัญ รวมถงึ มี มารยาทในการเขียน วิเคราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษาและความน่าเช่ือถอื จากเรื่องท่ฟี ัง ดู และพดู อธิบาย มคี วามรูค้ วามเข้าใจหลกั การแต่งคาประพันธ์ ประเภทโคลง ศึกษาวิเคราะห์ วจิ ารณ์ อธบิ ายธรรมชาติ พลังและลักษณะของภาษา เหน็ คณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และตามความสนใจ มมี ารยาทในการอา่ น การฟัง การ ดู การพูดและการเขยี น โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใชภ้ าษา ทกั ษะการสื่อสาร การสืบคน้ ข้อมูล บนั ทึก จดั กลุ่มข้อมลู และการอภิปราย เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ หลักการอา่ น ออกเสยี งรอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรอง พฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะห์วิจารณ์ ประเมินคา่ สรุปลักษณะเดน่ และ ประเด็นสาคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะหค์ วามรู้จากการอา่ นข่าวสารจากสอื่ ส่ิงพิมพส์ ่ือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์และแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆในชุมชน บทความ เขยี นสรุปความเขียนบันทึก ย่อความ เรยี งความ จาก สอ่ื สิ่งพิมพ์ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์และแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ เขยี นส่ือสาร เขยี นบรรยาย อธิบาย พรรณนา ยอ่ ความ ฝึกฝนทักษะการฟัง การพดู การเลา่ เร่ือง และการแสดงความคดิ เหน็ ตามเจตนารมณ์ทีต่ อ้ งการส่อื สาร สามารถ นาความรทู้ ีไ่ ด้รับไปส่ือสารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เหน็ คุณค่าวถิ ีชวี ิตของคนไทยในอดตี มีความภาคภมู ิใจในวรรณคดีและวรรณกรรมอันเปน็ มรดกของ ชาติ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจและการดาเนินชวี ิตประจาวัน มจี ิตสาธารณะ ตระหนกั ถึงคุณค่าของ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม การมีคา่ นยิ มอันพึงประสงค์ ใช้ความรูภ้ าษาไทยเพ่อื การจรรโลงจิตใจ ธารงและพฒั นาสงั คม ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพของผเู้ รียน รหัสตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๗, ม.๔/๙ท ๒.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๗, ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม. ๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๔, ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม. ๕/๑, ม.๕/๖ รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชวี้ ัด

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ๒๙ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ กลอน ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์วิจารณ์ และตอบคาถามจากเร่ืองทีอ่ ่านอยา่ งมเี หตุผล เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิดจากเรื่องท่อี ่าน เขียนรายงาน สังเคราะหค์ วามรู้จากส่อื สง่ิ พมิ พ์ สอ่ื อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ เขยี นจดหมายกจิ ธุระ การกรอกแบบรายการต่างๆ ได้ถูกตอ้ งตรงตามวตั ถุประสงค์ มีขอ้ มูลและสาระสาคัญ รวมถึงมีมารยาทในการเขยี น วิเคราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษาและความน่าเชื่อถือจากเรื่องท่ฟี ัง ดู และพูด อภิปราย มีความรู้ความเข้าใจหลกั การ แตง่ คาประพันธ์ประเภทกาพย์ กลอน ศึกษาวิเคราะหว์ จิ ารณ์ เสียงในภาษา สว่ นประกอบของภาษา องคป์ ระกอบของพยางค์และคา และเห็นคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น ท่องจาบทอาขยานตามที่ กาหนด และตามความสนใจ มมี ารยาทในการอ่าน การฟัง การดู การพูดและการเขยี น โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการคิด ทกั ษะการใช้ ภาษา ทักษะการสื่อสาร การ สบื ค้นขอ้ มูล บันทกึ จดั กลุ่มขอ้ มลู และการอภปิ ราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ หลักการอ่านออก เสียงรอ้ ยแก้ว ร้อยกรอง พฒั นาทกั ษะการคิด วิเคราะหว์ ิจารณ์ ประเมินค่า สรปุ ลกั ษณะเดน่ และประเดน็ สาคญั ของวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบ้านท่ีแสดงถึงภาษากบั วฒั นธรรม ภาษาถิ่น อธิบาย ภูมปิ ญั ญาทางภาษา สงั เคราะห์ความร้จู ากการอ่านขา่ วสารจากสอ่ื ส่งิ พิมพส์ ่ืออิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ในชมุ ชน บทความ เขียนรายงาน จากสอ่ื ส่ิงพิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ การกรอกแบบรายการต่างๆ เขยี นรายงานเชงิ วิชาการ การใชค้ า การเรยี บเรยี งประโยคถกู ต้องเหมาะสมตาม ระดับภาษา ฝึกฝนทักษะการฟัง การพดู การพูดต่อที่ประชมุ ชน การพูดอภปิ ราย การเล่าเรือ่ ง และการแสดง ความคดิ เหน็ ตามเจตนารมณ์ท่ีตอ้ งการสื่อสาร สามารถนาความรทู้ ่ีได้รบั ไปใชภ้ าษาสื่อสารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เหน็ คณุ คา่ วิถชี ีวิตของคนไทยในอดีต มีความภาคภูมใิ จในวรรณคดีและวรรณกรรมอนั เปน็ มรดกของชาติ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการตดั สนิ ใจและการดาเนินชวี ติ ประจาวนั มจี ิตสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม การมีคา่ นยิ มอันพงึ ประสงค์ ใชค้ วามรภู้ าษาไทยเพอื่ การจรรโลงจิตใจ ธารงและพัฒนาสงั คม ไดเ้ ต็มศกั ยภาพของผ้เู รยี น รหสั ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๙ ,ท ๒.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔, ม.๔/๖, ม.๔/๗, ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๒, ม. ๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม. ๕/๑, ม.๕/๓, ม.๕/๕, ม.๕/๖ รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ๓๐ ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาการอา่ นออกเสียงทง้ั ร้อยแกว้ ประเภทบทความ นวนยิ าย และความเรียง ร้อยกรองประเภทร่าย และลิลิต ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองสั้น นวนยิ าย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรยี น บทโฆษณา คาขวัญ รวมถึงการวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ การเขยี นผังความคดิ การบันทึก หลักการเขียนเชิญ ชวน โครงการ เรยี งความ ย่อความ ผลติ งานเขยี นในรูปแบบสารคดี บนั เทิงคดี ประเมนิ งานเขียนของผูอ้ นื่ การสรุปแนวคดิ แสดงความคิดเหน็ ประเมินการฟังการดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟังและดู หลักการพูดอภปิ ราย โน้มนา้ วใจ ด้วยภาษาท่ถี ูกต้อง การใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ งประโยค หลักการแตง่ คา ประพันธป์ ระเภท ร่าย อิทธพิ ลของภาษา ต่างประเทศและภาษาถ่ิน หลกั การสร้างคาในภาษาไทย หลักการ วเิ คราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาและส่ือส่งิ พิมพ์อิเล็กทรอนกิ ส์ หลักการวเิ คราะหว์ ิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมการประเมนิ คุณค่าวรรณคดี การท่องบทอาขยาน โดยใช้กระบวนการด้านทกั ษะทางภาษา การส่อื สารในรปู แบบการเชญิ ชวน โครงการ เรยี งความ ย่อ ความ ผลติ งานเขียนในรปู แบบสารคดี บันเทงิ คดี ประเมินงานเขียนของผู้อน่ื บนั ทึก สรปุ แนวคิดแสดงความ คิดเหน็ ประเมินการฟังการดูมวี ิจารณญาณในการเลือกเรื่องจากการฟังและดู พูดอภิปราย โนม้ นา้ วใจ ด้วย ภาษาที่ถูกตอ้ ง ใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาสและกาลเทศะ แต่งคาประพันธ์ประเภท ร่าย วเิ คราะห์อิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน อธบิ ายและวิเคราะห์ หลักการสรา้ งคาในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะหแ์ ละประเมนิ การใชภ้ าษาและสื่อสง่ิ พิมพอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ประเมนิ คณุ คา่ วรรณคดี ทอ่ งบทอาขยาน มมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพดู และเห็นคณุ ค่าของการใช้ภาษาไทยเพ่ือ การส่อื สาร นาความรู้จากวรรณคดี วรรณกรรม ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง ตลอดจนมคี วามรักและภาคภมู ิใจ ในภาษาไทย อนั เป็นภาษาของชาติ รหสั ตัวช้ีวัด ท๑.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ม.๕/๙ ท ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ท ๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ ท ๔.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ท ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม . ๕/๗ รวม ๒๖ ตวั ชวี้ ดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๓๑ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ ศกึ ษาการอา่ นออกเสยี งบทท้งั รอ้ ยแก้วประเภทบทความ นวนยิ าย และความเรยี ง รอ้ ยกรองประเภท รา่ ย และลิลติ ตคี วาม แปลความ ขยายความ วเิ คราะห์และวจิ ารณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ ตอบคาถาม ผัง ความคดิ บนั ทกึ ย่อความ สังเคราะห์ความร้จู ากการอ่าน การเขยี นสอื่ สารในรปู แบบประกาศ จดหมายกจิ ธุระ เรียงความ ยอ่ ความการเขียนรายงาน เขียนโครงงาน และเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้า การสรปุ แนวคิดแสดง ความคิดเหน็ ประเมินการฟงั การดู มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรอ่ื งจากการฟังและดู หลักการพดู อภปิ ราย โน้ม น้าวใจ แล้วใช้ข้อมลู สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง แสดงความคดิ เหน็ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถือ และประเมนิ จากเรื่องท่ีฟงั และดูแลว้ นากาหนดแนวทางไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั การใชค้ าและกลุ่มคาสร้างประโยค การสร้างคาในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษาและส่ือ ส่งิ พิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ประเมินคุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ ขอ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม เพอื่ นาไป ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ตลอดจนรวบรวมวรรณกรรมพน้ื บา้ นและอธิบายภมู ปิ ัญญาทางภาษา โดยใชก้ ระบวนการดา้ นทักษะทางภาษา การส่ือสารในรูปแบบการเชญิ ชวน โครงการ เรียงความ ย่อ ความ ผลติ งานเขียนในรูปแบบสารคดี บนั เทงิ คดี ประเมนิ งานเขยี นของผู้อน่ื บันทึก สรปุ แนวคดิ แสดงความ คิดเหน็ ประเมินการฟังการดูมีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟงั และดู พดู อภิปราย โนม้ น้าวใจ ด้วย ภาษาที่ถูกต้อง ใช้คาและกลมุ่ คาสรา้ งประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาสและกาลเทศะ แต่งคาประพนั ธป์ ระเภท รา่ ย วเิ คราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน อธิบายและวิเคราะห์ หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาและสอื่ ส่งิ พมิ พ์อิเล็กทรอนิกส์ ประเมนิ คณุ ค่าวรรณคดี ท่องบทอาขยาน มมี ารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟังการดู และการพดู ตลอดจนมีความรักและภาคภูมใิ จใน ภาษาไทย อนั เป็นภาษาของชาติ รหัสตัวช้ีวัด ท๑.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ม.๕/๙ ท ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๖ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ท ๓.๑ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ ท ๔.๑ม.๕/๒ ม.๕/๓ท ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ รวม ๒๗ ตวั ชีว้ ดั

คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ๓๒ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ ศึกษาหลักการอา่ นร้อยแก้วประเภทปาฐกถา เทศนา บทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน รา่ ย การอ่านจบั ใจความสาคัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การอา่ นวิเคราะห์ การ วจิ ารณ์ การประเมินคา่ และการแสดงความคิดเห็นวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ การสรปุ เป็นแผนผังความคิด บันทกึ ย่อความ รายงาน ความร้จู ากการอ่านสอื่ สิ่งพิมพ์ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ และแหลง่ เรยี นรู้ การเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ การโต้แย้งได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรียงถกู ต้อง และมี ขอ้ มลู สาระสาคัญชดั เจน การเขยี นเรยี งความ ย่อความจากสื่อที่หลากหลาย และการเขยี นบันเทิงคดี การเขียน รายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ เร่อื งท่สี นใจ การฟัง การดู ขา่ ว เหตุการณ์ การอภปิ ราย การใหค้ วามรู้ การคดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ การประเมนิ ค่าโดยใชว้ ิจารณญาณอย่างสรา้ งสรรค์ การศกึ ษาบรบิ ทธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และลักษณะของภาษา การใช้คา กลุม่ คา เพ่ือสร้างประโยคในการสื่อสาร การแต่งบทรอ้ ยกรอง ประเภทฉนั ท์ อทิ ธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถนิ่ การศึกษากวีนิพนธ์ กลอน บทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมวรรณกรรมพน้ื บา้ นท่เี ป็น ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา การท่องจาบทอาขยานทีน่ า่ สนใจ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคดิ ทกั ษะการใช้ภาษา ทกั ษะการ ส่อื สาร การสบื ค้นข้อมลู บนั ทกึ จัดกลุ่มข้อมูล และการอภปิ รายเพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ที่ได้รบั นน้ั ไปใช้สอ่ื สารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เห็นคณุ คา่ ของวรรณคดี วรรณกรรม มีคณุ ธรรม ในการใช้ภาษา และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มีมารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดู และการพดู ตลอดจนมีความรักและภาคภมู ิใจใน ภาษาไทย อนั เปน็ ภาษาของชาติ รหัสตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/ ๖ รวม ๓๒ ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ๓๓ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการอ่านรอ้ ยแกว้ ประเภทพระบรมราโชวาท บทร้อยกรองประเภทกลอน ร่าย รอ้ ยกรองรว่ ม สมยั และบทอาเศียรวาท การจบั ใจความสาคัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การอา่ น วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ การประเมนิ ค่า และการแสดงความคดิ เหน็ วรรณกรรมประเภทต่างๆ การสรุปเป็นแผนผงั ความคดิ ย่อความ รายงาน การสงั เคราะหค์ วามรู้จากการอ่านสื่อส่ิงพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ การเขยี นโนม้ น้าวใจเชญิ ชวน ประกาศ จดหมายกิจธรุ ะ และการรายงานการประชุมได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรยี งถกู ต้อง และมีข้อมลู สาระสาคัญชัดเจน การเขียนสารคดี การเขียนรายงานจากการศึกษา คน้ ควา้ ทส่ี นใจ เพ่ือพัฒนาตนเอง การฟงั การดูสารคดี โฆษณาทางส่ือ การวเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าโดย ใช้วิจารณญาณอย่างสรา้ งสรรค์ โดยการพดู แสดงความรู้ พูดแสดงทรรศนะ และพูดโน้มน้าวใจ การศึกษาการใช้ ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ บคุ คล พรอ้ มท่จี ะใชร้ ะดบั ของภาษาเป็นตวั กาหนด การใชค้ าราชาศัพท์ และประเมินค่า การใช้ภาษาจากส่อื ส่ิงพิมพ์ สือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ การศึกษากวีนพิ นธ์ กลอนบทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการคดิ ทกั ษะการใชภ้ าษา ทักษะการ สือ่ สาร การสบื คน้ ข้อมูล บันทกึ จัดกลุม่ ข้อมลู และการอภิปรายเพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้รบั น้ันไปใช้ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหน็ คณุ คา่ ของวรรณคดี วรรณกรรม มีคณุ ธรรม ในการใชภ้ าษา และนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟังการดู และการพูด ตลอดจนมีความรกั และภาคภูมใิ จใน ภาษาไทย อันเปน็ ภาษาของชาติ รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/ ๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ รวม ๓๒ ตัวชี้วดั

คาอธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตร์ ๓๔ รหัสวชิ า ค๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาค จานวน ๑ หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี ๑ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษา เรื่อง เซต การดาเนินการของเซต แผนภาพเวนน์- ออยเลอร์ และการแก้ปัญหา การให้ เหตุผลแบบอปุ นัยและแบบนิรนัย และการอ้างเหตุผล โดยจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ในชวี ิตประจาวนั ทใ่ี กลต้ ัวให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษา ค้นคว้า โดยการ ปฏบิ ตั จิ รงิ สรุป รายงาน และนาเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตผุ ล การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทกั ษะกระบวนการท่ีได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สงิ่ ต่างๆ และในชวี ิตประจาวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณคา่ และมีเจตคติท่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอยา่ งเปน็ ระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มวี ิจารณญาณ และเชื่อมัน่ ในตนเอง มีความซื่อสัตยส์ ุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความมงุ่ ม่ันในการ ทางาน และมีจติ สาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ค๔.๑ ม.๔ /๑ , ค๔.๑ ม.๔ /๒ , ค๔.๒ ม.๔ /๑ , ค๔.๒ ม.๔ /๒ , ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ ,ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๐ ตัวชี้วดั

คาอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ ๓๕ รหัสวชิ า ค ๓๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาค จานวน ๑ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๒ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริงเก่ียวกับการบวก และการคูณ สมบัติการเท่ากันและการ ไมเ่ ทา่ กัน สมการกาลงั สองตัวแปรเดียว อสมการตวั แปรเดียว คา่ สัมบูรณ์ เรอื่ ง เลขยกกาลงั ทมี่ เี ลขช้ีกาลังเป็นจานวนตรรกยะ รากท่ี n ของจานวนจรงิ โดยจดั ประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการ ปฏิบัติจริง สรุป รายงาน และนาเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใชใ้ นการเรยี นรู้สิง่ ตา่ งๆ และในชีวติ ประจาวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือมั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝเุ รยี นรู้ รจู้ ักใช้ชีวติ อย่างพอเพยี ง มีความมงุ่ มน่ั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ รหสั ตัวช้ีวดั ค๑.๑ ม.๔ /๑ , ค๑.๑ ม.๔/๒ , ค๑.๑ ม.๔/๓ , ค๑.๒ ม.๔/๑ , ค๑.๓ ม.๔/๑ , ค๑.๔ ม.๔/๑ , ค๔.๒ ม.๔/๓ ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ , ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๓ ตวั ชี้วดั

คาอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ๓๖ รหสั วิชา ค๓๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ คาอธิบายรายวิชา ศึกษา เร่ือง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน กราฟของความสัมพันธ์ และ ฟังกช์ นั โดยจดั ประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการ ปฏิบัติจริง สรุป รายงาน และนาเสนอ เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรยี นร้สู ิง่ ต่างๆ และในชีวิตประจาวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชอ่ื มั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มี วนิ ัย ใฝุเรยี นรู้ รจู้ กั ใช้ชีวติ อย่างพอเพยี ง มคี วามม่งุ มั่นในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ รหสั ตัวชว้ี ัด ค๔.๑ ม.๕/๓ , ค๔.๒ ม.๕/๔ , ค๔.๒ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม.๕/๒ , ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม. ๕/๔ ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค ๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๙ ตวั ชีว้ ัด

คาอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตร์ ๓๗ รหัสวิชา ค ๓๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๒ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษา เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนาไปใช้ และ ลาดับและอนุกรม ลาดับ ลาดับเลข คณิต ลาดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต การหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตและ อนกุ รมเรขาคณิต โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ ปฏบิ ตั จิ ริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน การเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบยี บ รอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และเชอ่ื มั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วินยั ใฝุเรยี นรู้ รู้จกั ใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพียง มีความม่งุ มั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ รหสั ตวั ชวี้ ดั ค๒.๑ ม.๕/๑ , ค๒.๒ ม.๕/๑ , ค๔.๑ ม.๕/๔ , ค๔.๑ ม.๕/๕ , ค ๔.๒ ม.๕/๖ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม. ๕/๒ ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม.๕/๔ , ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๑๑ ตวั ช้ีวดั

คาอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ๓๘ รหัสวชิ า ค๓๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง / ภาค จานวน ๑ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาเร่ืองความน่าจะเป็นกฎเกณฑ์เบ้ืองต้นเก่ียวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ ท ม และหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ นาความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้ในการคาดการณ์ และช่วยในการ ตัดสนิ ใจ รวมถงึ การเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ โดยการปฏิบัติ สรุปและรายงานผลการเรียนรู้โดยการวัดและประเมินผล ด้วยวิธีการ ท่ีหลากหลาย ตามสภาพความเป็นจริง ให้สอดคล้องกับเน้ือหาและทักษะท่ีต้องการวัด เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการ คิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะกระบวนการท่ีได้ไปใชใ้ นการเรียนรู้ สิ่งตา่ ง ๆ และใชใ้ นชวี ิตประจาวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วินัย ใฝุเรยี นรู้ รูจ้ ักใชช้ ีวิตอย่างพอเพียง มีความมุ่งมน่ั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ รหัสตวั ชว้ี ดั ค๕.๒ ม.๖/๒ , ค๕.๓ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม. ๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๘ ตวั ชีว้ ัด

คาอธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตร์ ๓๙ รหัสวิชา ค ๓๓๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง / ภาค จานวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๒ คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษา เรอ่ื ง สถิตเิ บื้องต้น รวมถึงการเสริมทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ โดยการปฏิบัติสรุปและรายงานผลการเรียนรู้โดยการวัดและประเมินผลด้วยวิธีการ ที่หลากหลายตาม สภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัดเพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิ ด คานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการท่ไี ด้ไปใช้ในการเรียนรู้ ส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจาวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และเชือ่ มั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วินัย ใฝเุ รียนรู้ รู้จกั ใช้ชวี ติ อย่างพอเพยี ง มคี วามมุง่ ม่ันในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ รหสั ตวั ชี้วัด ค๕.๑ ม.๖/๑ , ค๕.๑ ม.๖/๒ , ค๕.๑ ม.๖/๓ , ค๕.๒ ม.๖/๑ , ค๕.๓ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม. ๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม.๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๑๑ ตัวช้ีวัด

๔๐ คาอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ว๓๑๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาคเรียน จานวน ๑ หนว่ ยกติ อธิบายการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต การเคล่ือนท่ีของสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ การลาเลียงสาร โดยวิธีการแพร่ การออสโมซิส การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน การลาเลียงสารขนาด ใหญเ่ ข้าและออกจากเซลล์ การลาเลียงของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ กลไกในการรักษาดุลยภาพของน้า ในพืช การคายน้าผ่านปากใบ การดูดน้าท่ีราก โครงสร้าง หน้าท่ี การางานในการขับของเสียจากกระบวนการเม แทบอลิซึมของไต การกาจัดน้าและของเสียของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ การรักษาดุลยภาพของน้า แร่ ธาตุของปลาน้าจืดและปลาน้าเค็ม กลไกการควบคุมอุณหภูมิในร่างกายของสัตว์และมนุษย์ ระบบภูมิคุ้มกันและ การรักษาดุลยภาพในร่างกายของมนุษย์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบของ DNA การเกิดมิวเทชัน การแปรผันทางพันธุกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพ ผลท่ีเกิดจากการใช้ เทคโนโลยีทางชีวภาพ ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ประโยชน์ของความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ระบบนเิ วศ สมดุลของระบบนเิ วศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิต และส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ผลที่เกิดจากการเพิ่มของประชากรมนุษย์ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ อยา่ งจากัดใหค้ ุม้ ค่า แนวทางปูองกนั แกไ้ ขฟน้ื ฟสู ภาพแวดลอ้ ม การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งย่งั ยนื โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บนั ทึก จัดกลมุ่ ขอ้ มลู และการอภปิ รายเพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนาเสนอ สอื่ สารสงิ่ ท่เี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เหน็ คุณคา่ ของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมีจิตวิทยา ศาสตร์ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม รหัสตัวช้ีวัด ว๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๔ ว๑.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ว๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๒.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๘.๑ ม.๔-๖/๑ - ๑๒

๔๑ คาอธบิ ายรายวิชา รหสั วิชา ว๓๑๑๐๒ รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาคเรยี น จานวน ๑ หนว่ ยกติ สบื คน้ ข้อมูล วิเคราะห์ อภิปรายและอธิบาย โครงสรา้ งอะตอมเก่ียวกบั สัญลักษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนในอะตอม ความสมั พันธ์ระหวา่ งอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสดุ กับสมบัติของธาตุและ การเกิดปฏิกิรยิ า การจัดเรยี งธาตุและทานายแนวโนม้ สมบตั ขิ องธาตุในตารางธาตุ การเกิดพันธะเคมีในโครงผลึก และในโมเลกุลของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างจดุ เดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยดึ เหน่ยี ว ระหวา่ งอนุภาคของสาร ทดลองและเขียนสมการของปฏิกิรยิ าเคมที ว่ั ไปที่พบในชวี ติ ประจาวนั รวมทง้ั อธบิ ายผล ของสารเคมที ่ีมผี ลต่อสง่ิ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า เคมแี ละการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ การเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกแกส๊ ธรรมชาตแิ ละการกลนั่ ลาดบั ส่วน นา้ มันดบิ การนาผลติ ภณั ฑ์ท่ีได้จากการแยกแกส๊ ธรรมชาตแิ ละการกลนั่ ลาดับส่วนน้ามันดิบไปใช้ประโยชนร์ วมทัง้ ผลของผลติ ภัณฑ์ต่อสิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม การเกดิ พอลเิ มอร์ สมบัติของพอลิเมอร์ การนาพอลิเมอรไ์ ปใช้ ประโยชนร์ วมทงั้ ผลท่ีเกิดจากการผลติ และใช้พอลเิ มอรต์ ่อส่ิงมชี วี ิตและสง่ิ แวดล้อม องค์ประกอบ ประโยชน์ และ ปฏิกริ ิยาบางชนดิ ของคาร์โบไฮเดรต ไขมนั และนา้ มัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมูล บันทึก จัดกลมุ่ ข้อมลู และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอส่อื สารสง่ิ ที่เรยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ เหน็ คุณคา่ ของการนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ว ๓.๑ ม.๔-๖/๑-๕ ,ว ๓.๒ ม.๔-๖/๑-๙ . ว ๘.๑ ม.๔-๖/๑-๑๒

๔๒ คาอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ว๓๒๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง / ภาคเรยี น จานวน ๑ หนว่ ยกิต ศึกษาความสัมพันธ์ของแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟูา สนามแม่เหล็ก แรง นิวเคลียร์ แรงไฟฟูาระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจคไทล์ แบบ วงกลม แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ประโยชน์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกส์ อย่างง่าย คล่ืนและสมบัติของคล่ืน คล่ืนเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ยิน คุณภาพของเสียง มลพิษของเสียง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟูา ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ผลกระทบของปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อ ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โรงไฟฟูานิวเคลียร์ ธาตุกัมมันตรังสี วีธีการตรวจสอบกัมมันตภาพรังสี ผลกระทบของ กมั มันตภาพรังสีทีม่ ีผลตอ่ สง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บนั ทกึ จดั กลมุ่ ข้อมูล และการอภปิ รายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอ สอ่ื สารสงิ่ ท่ีเรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ว ๔.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ - ๖ /๔ ว ๔.๒ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๓ ว ๕.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๙ ว ๘.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๑๒

๔๓ คาอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ว๓๒๑๐๒ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาคเรยี น จานวน ๑ หนว่ ยกติ ศึกษาวเิ คราะห์โครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยาของโลก แผ่นเปลอื กโลก การเคล่อื นท่ีของแผ่นเปลือกโลก การ เคล่อื นท่ีของแผ่นเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี การหาอายขุ องหิน ลักษณะและอายุของซากดึก ดาบรรพ์ เปรียบเทยี บลาดบั ชัน้ หนิ และอายุของหิน เพ่ือศึกษาความเปน็ มาของโลก การเกิดและวิวฒั นาการ ของระบบสรุ ิยะ กาแลกซีและเอกภพ พลงั งานของดาวฤกษ์ ปฏิกิริยาฟชิ ชัน ตาแหนง่ ของโลกในระบบสรุ ิยะ กาแลกซีและเอกภพ การใช้เทคโนโลยอี วกาศในการศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลกและในอวกาศ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสงั เกต สืบค้นขอ้ มูล การอภปิ ราย และการสรปุ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สอ่ื สารสงิ่ ทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นา ความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ ม รหัสตัวช้ีวัด ว ๖.๑ ม๕/๑, ม๕/๒, ม๕/๔, ม๕/๕, ม๕/๖ ว ๗.๑ ม๕/๑, ม๕/๒ ว ๗.๒ ม๕/๑, ม๕/๒, ม๕/๓

๔๔ คาอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมรหสั วิชา ส ๓๑๑๐๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาและอธบิ ายประวตั ิพระพุทธเจ้า พระมุฮัมมัด พระเยซู ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิก ชนตัวอย่าง ชาดก หลักของพระพุทธศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศยั่งยืนตามหลัก ศาสนาที่ตนนับถือ ลักษณะสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของ ศาสดาท่ีตนนับถือ มีความรู้ความเข้าใจในพระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิต โดยเห็น ความสาคญั ของการสังคายนาประไตรปิฎกหรือคัมภีร์ทางศาสนาท่ีตนนับถือ การเป็นชาวพุทธท่ีดีและข้อควรรู้ใน การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ ศกึ ษากฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเอง และครอบครวั กฎหมายแพ่งเก่ียวกบั นิติกรรม สญั ญา กฎหมายอาญา ศึกษาการกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบธุรกิจ ระบบเศรษฐกิจของโลกปัจจุบัน ประเภทของ ตลาด การกาหนดราคาตามอปุ สงค์-อปุ ทาน การเปดิ เสรีทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ศึกษาถึงผลกระทบของการเปิดเสรที างเศรษฐกจิ มีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อิทธิพลของสภาพภูมิศา สตร์ซ่ึงทาให้เกิดปัญหาทาง กายภาพ หรือภยั พิบตั ิ ทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิง่ ที่เรียนรู้ มาปรับใช้ในชวี ิตประจาวัน พร้อมท้ังเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรูท้ ่มี คี ณุ ภาพ รหสั ตวั ช้ีวัด ส๑.๑ม.๔/๑, ส๑.๑ม.๔/๑๑, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๕, ส๑.๑ม.๔/๑๗, ส๑.๒ม. ๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๓,ส ๓.๑ ม.๔/๑,ส ๓.๒ ม.๔/๒,ส ๕.๑ม ๔/๑,ส ๕.๑ม ๔/๒ มี ๑๒ ตัวช้วี ดั

๔๕ คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ อธิบายความสาคัญของพระพทุ ธศาสนากับการศึกษา การเมอื ง สันติภาพ ศึกษาประวัติพระพุทธเจ้าใน ฐานะเป็นมนษุ ยท์ ่ฝี ึกตนไดอ้ ยา่ งสงู สดุ (การตรัสร)ู้ การก่อตงั้ พระศาสนาวธิ ีการสอนและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธจริยา พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔และมงคล ๓๘ ประการ ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่างและผลท่ีจะเกิดทาความดี ความชั่ว ตามหลักธรรมและจริยธรรม หลักโยนิโส มนสิการโดยการกาหนดเปูาหมายบทบาทการดาเนินชีวิตเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉันท์ นาหลกั การเจรญิ ปญั ญาสตปิ ัฏฐานหรือตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือไปปฏิบตั ิ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคม ศึกษาโครงสร้างทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม การเปล่ียนแปลงทางสังคม การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทาง สงั คม ศึกษาการกาหนดค่าจา้ ง กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับการจ้างแรงงาน การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ มีความรู้ความเขา้ ใจบทบาทขององคก์ รระหว่างประเทศในเวทีโลกเรียนรู้สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ของประเทศไทยและโลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มาปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน พร้อมทั้งเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรทู้ ี่มคี ณุ ภาพ รหสั ตัวชว้ี ัด ส๑.๑ม.๔/๒, ส๑.๑ม.๔/๑๒, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๖, ส๑.๑ม.๔/๒๐, ส๑.๒ม. ๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๔,ส ๓.๑ ม๔/๑,ส ๓.๒ ม๔/๒,ส ๕.๒ม๔/๑ มี ๑๑ ตวั ชวี้ ัด

คาอธิบายรายวิชา ๔๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วชิ า ส ๓๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาและอธบิ ายประวตั ิพระพุทธเจ้า พระมุฮัมมัด พระเยซู ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิก ชนตัวอย่าง ชาดก หลักของพระพุทธศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศยั่งยืนตามหลัก ศาสนาท่ีตนนับถือ ลักษณะสังคมชมพูทวีปและคติความเช่ือทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของ ศาสดาที่ตนนับถือ มีความรู้ความเข้าใจในพระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิต โดยเห็น ความสาคัญของการสังคายนาประไตรปิฎกหรือคัมภีร์ทางศาสนาที่ตนนับถือ การเป็นชาวพุทธท่ีดีและข้อควรรู้ใน การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ ศกึ ษากฎหมายแพง่ เกย่ี วกับตนเอง และครอบครวั กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับนิติกรรม สญั ญา กฎหมายอาญา ศึกษาการกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบธุรกิจ ระบบเศรษฐกิจของโลกปัจจุบัน ประเภทของ ตลาด การกาหนดราคาตามอุปสงค์-อปุ ทาน การเปดิ เสรีทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ศึกษาถงึ ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ มีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ซึ่งทา ให้เกิดปัญหาทาง กายภาพ หรือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิ่งท่เี รียนรู้ มาปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวนั พร้อมท้ังเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรทู้ ่มี คี ณุ ภาพ รหสั ตวั ชีว้ ัด ส๑.๑ม.๔/๑, ส๑.๑ม.๔/๑๑, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๕, ส๑.๑ม.๔/๑๗, ส๑.๒ม. ๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๓,ส ๓.๑ ม.๔/๑,ส ๓.๒ ม.๔/๒,ส ๕.๑ม ๔/๑,ส ๕.๑ม ๔/๒ มี ๑๒ ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวชิ า ๔๗ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๒ อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนากบั การศกึ ษา การเมอื ง สันติภาพ ศึกษาประวัติพระพุทธเจ้าใน ฐานะเป็นมนุษย์ทฝี่ กึ ตนได้อยา่ งสงู สดุ (การตรสั ร้)ู การกอ่ ต้งั พระศาสนาวิธีการสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พุทธจริยา พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔และมงคล ๓๘ ประการ ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่างและผลที่จะเกิดทาความดี ความชั่ว ตามหลักธรรมและจริยธรรม หลักโยนิโส มนสิการโดยการกาหนดเปูาหมายบทบาทการดาเนินชีวิตเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉันท์ นาหลักการเจรญิ ปญั ญาสตปิ ัฏฐานหรือตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนบั ถือไปปฏิบตั ิ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว สังคม ศึกษาโครงสร้างทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทา ง สงั คม ศึกษาการกาหนดค่าจา้ ง กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับการจ้างแรงงาน การค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศ มีความรู้ความเขา้ ใจบทบาทขององค์กรระหวา่ งประเทศในเวทีโลกเรียนรู้สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ของประเทศไทยและโลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอส่อื สารสงิ่ ทเ่ี รยี นรู้ มาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวัน พร้อมทั้งเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรทู้ ่ีมีคุณภาพ รหัสตวั ชว้ี ัด ส๑.๑ม.๔/๒, ส๑.๑ม.๔/๑๒, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๖, ส๑.๑ม.๔/๒๐, ส๑.๒ม. ๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๔,ส ๓.๑ ม๔/๑,ส ๓.๒ ม๔/๒,ส ๕.๒ม๔/๑ มี ๑๑ ตัวช้ีวดั

๔๘ คาอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส ๓๓๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในพุทธประวัติด้านการบริหารและการธารงรักษาพระพุทธศาสนาที่ เป็น ศาสตร์แห่งการศึกษา ศึกษาหลักการฝึกตนไม่ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก ศึกษา พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิตประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง ชาดก นามาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต ศึกษาหลักธรรมสาคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และมีความรู้ ความเขา้ ใจในพิธีบรรพชา อปุ สมบท ศึกษาปัญหาการเมืองสาคัญที่เกิดขึ้นภายในประเทศ สถานการณ์การเมืองการปกครองของสังคมไทย อทิ ธพิ ลของระบอบการเมืองการปกครองที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ การแลกเปล่ยี นเพื่อช่วยเหลือและสง่ เสริมด้านวฒั นธรรม การศกึ ษา เศรษฐกิจ สังคม ศึกษาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีผลต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ การประยุกต์ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตของตนเองและครอบครัว การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การคา้ และบริการ ศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกว่าเป็นผลมาจากการกระทาของมนุษย์และหรือธรรมชาติ การใช้ ประโยชนจ์ ากส่ิงแวดล้อม ในการสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมอนั เป็นเอกลักษณข์ องท้องถิน่ ท้ังในประเทศไทยและโลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอสื่อสารส่ิงทเ่ี รียนรู้ มาปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน พร้อมทั้งเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพ รหัสตวั ชี้วดั ส๑.๑ม.๖/๓, ส๑.๑ม.๖/๙,ส๑.๑ม.๖/๑๐, ส๑.๑ม.๖/๑๓, ส๑.๑ม.๖/๑๔, ส๑.๑ม.๖/๒๑, ส๑.๒ม.๕/ ๒, ส๑.๒ม.๕/๕ ส ๒.๒ ม ๖/๑,ส ๒.๒ ม ๖/๒,ส ๓.๑ ม๖/๑,ส ๕.๑ ม ๖/๔,ส ๕.๒ ม ๖/๔ มี ๑๓ ตัวชี้วัด

๔๙ คาอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วิชา ส ๓๓๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั ทฤษฎีและวธิ กี ารของพระพทุ ธศาสนาทเี่ ป็นสากล ศกึ ษาข้อปฏิบัติที่ยึดทางสาย กลางพระรัตนตรัย ศกึ ษาพระรตั นตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสภุ าษติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง ชาดก นามาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต ศึกษาปัญหาในชุมชนและสังคม พร้อมท้ัง เสนอแนวทางในการจัดกจิ กรรมความร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาในชุมชนและสังคม ศึกษาและปฏิบัติ ตนใหถ้ ูกตอ้ งในศาสนพิธี บญุ พธิ ี ทานพธิ ี กุศลพิธแี ละบอกประโยชน์ของศาสนพธิ ีได้ ศึกษาระบบการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รูปแบบของรัฐ ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย ฉบับปจั จุบนั ทมี่ ีผลต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม ศึกษาความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญ ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ปัจจัยต่าง ๆ ที่นาไปสู่การพึ่งพา การแข่งขันการขัดแย้งและการประสานประโยชน์ทาง เศรษฐกิจไทยกับต่างประเทศ ตัวอย่างเหตุการณ์ที่นาไปสู่การพ่ึงพาทางเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการดาเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศปัจจัยต่าง ๆ ที่นาไปสู่การพึ่งพาการแข่งขัน การขัดแย้ง และการประสาน ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และกดี กันทางการค้า รแู้ ละเข้าใจการแก้ปัญหาและการดาเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ พัฒนาท่ยี ่ังยนื โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิง่ ท่ีเรยี นรู้ มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน พร้อมท้ังเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นร้ทู ่มี คี ุณภาพ รหสั ตวั ชีว้ ดั ส๑.๑ม.๖/๔, ส๑.๑ม.๖/๑๓, ส๑.๑ม.๖/๑๔, ส๑.๑ม.๖/๒๒, ส๑.๒ม.๖/๒ส ๒.๒ ม ๖/๓,ส ๒.๒ ม ๖/ ๔,ส ๓.๒ ม๖/๓,ส ๕.๒ม ๖/๕ มี ๙ ตวั ช้วี ดั

๕๐ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสรายวชิ า ส ๓๑๑๐๓ กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ ๑ ศึกษาหาความรู้ในเร่ือง เวลา/ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยและสากล เหน็ ความสาคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ ศึกษาองค์ความรู้ใหมท่ างประวัตศิ าสตรเ์ พอ่ื นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นขน้ั ตอนของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ ศกึ ษาอารยธรรมของโลกโบราณและการตดิ ตอ่ ทางวัฒนธรรมทีม่ ตี ่อกนั ของโลกตะวันตกและตะวนั ออก โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดหาเหตุและผลทางประวัติศาสตร์เพื่อประกอบการ สารวจขอ้ มลู การสบื ค้น และเหน็ คณุ คา่ ประโยชนข์ องวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและประวตั ิศาสตรส์ ากล ตวั ช้ีวดั ท่ี ส๔.๑ ม.๔/๑, ส๔.๑ ม.๔/๒ , ส๔.๒ ม.๔/๑ มี ๓ ตัวชว้ี ดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook