Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

Description: คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

คู่มือหลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๔๗ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ รายวชิ าที่ ๒.๑ ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงสคู่ วามสาเรจ็ บนั ทกึ ใบงานที่ ๓ เรอื่ ง วิสัยทศั นข์ องผู้นาการเปลยี่ นแปลงสู่ความสาเรจ็ ๑. สถานการณ์และบรบิ ททเ่ี ก่ยี วข้อง โรงเรียนขนาดเลก็ ครูและบุคลากรจานวน ๑๒ คน นักเรียนจานวน ๑๐๐ คน ๒. วิสัยทัศน์ของโรงเรียน (รายบุคคล) วสิ ยั ทัศนส์ มาชิกคนท่ี ๑ ชอื่ ..................................................สกุล........................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วสิ ัยทัศนส์ มาชิกคนท่ี ๒ ชอ่ื ..................................................สกลุ ........................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วสิ ยั ทัศน์สมาชกิ คนท่ี ๓ ชือ่ ..................................................สกลุ ........................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วิสัยทัศน์สมาชิกคนที่ ๔ ชอ่ื ..................................................สกุล........................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วิสยั ทศั นส์ มาชิกคนที่ ๕ ชอ่ื ..................................................สกุล........................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. วิสยั ทัศน์ของโรงเรียน (กลุม่ ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คู่มือหลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๔๘ ๔. แนวทางหรอื กลยทุ ธ์สู่การปฏบั ัติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. โครงการ/กจิ กรรมสาคญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๖. ปัจจัยความสาเร็จ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คมู่ ือหลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๔๙ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ รายวชิ าที่ ๒.๑ ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลงสคู่ วามสาเรจ็ ใบความรู้ เร่ือง วสิ ัยทศั น์ของผู้นาการเปลยี่ นแปลงสคู่ วามสาเรจ็ การกาหนดวิสัยทัศนข์ องการเปลี่ยนแปลง วสิ ัยทศั น์ หมายถงึ การมองภาพอนาคตของผู้นาและสมาชิกในองคก์ ร และกาหนดจุดหมายปลายทาง ทเี่ ชอื่ มโยงกับภารกจิ ค่านิยม และความเช่ือเขา้ ดว้ ยกนั แล้วมุ่งส่จู ุดหมายปลายทางทต่ี ้องการจุดหมายปลายทาง ทตี่ ้องการ จุดหมายปลายทางดังกล่าวตอ้ งชดั เจน ทา้ ทาย มีพลงั และมีความเปน็ ไปได้ สมมตุ วิ ่า V คอื วิสัยทศั น์ (VISION) I คือ ภาพฝนั ในอนาคต (IMAGE) และ A คอื การกระทา (ACTION) สามารถเขยี นเปน็ สมการได้ว่า V = I + A วิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง หมายถึง สิ่งที่ต้องการให้เกิดข้ึนหลังการเปล่ียนแปลงนี้ เป็นภาพใน อนาคตท่ีต้องการเหน็ เมอื่ การเปลี่ยนแปลงนส้ี นิ้ สุด วิสัยทัศน์ที่ดี จะต้องสามารถสร้างแรงบันดาลใจและแรงกระตุ้น และจะต้องสามารถตีความหมายโดย ผู้บริหารและบุคลากร เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติจริงเพ่ือให้เกิดผลจริง คาถามที่ใช้ในการพัฒนาวิสัยทัศน์ของการ เปลีย่ นแปลง - “ทาไมตอ้ งมีการเปลีย่ นแปลง?” - เปล่ียนแปลงไปเพือ่ อะไร?” - “ภายหลังการเปลยี่ นแปลงท่ีต้องการเหน็ คืออะไร?” ความสาคัญของวสิ ัยทศั น์ ๑. ช่วยกาหนดทศิ ทางทจี่ ะดาเนินชีวติ หรอื กิจกรรมองคก์ ร โดยมีจุดหมายปลายทางทชี่ ัดเจน ๒. ช่วยใหส้ มาชิกทกุ คนรู้วา่ แตล่ ะคนมคี วามสาคญั ตอ่ การมุง่ ไปสจู่ ุดหมายปลายทาง และรวู้ า่ จะทา อะไร (What) ทาไมต้องทา (Why) ทาอย่างไร (How) และทาเม่ือใด (When) ๓. ชว่ ยกระตนุ้ ให้สมาชิกทุกคนมีความรสู้ ึกนา่ สนใจ มคี วามผูกพัน มุ่งมนั่ ปฏิบตั ิตามด้วยความเตม็ ใจ ท้าทา้ ย เกดิ ความหมายในชีวติ การทางาน มีการทางานและมีชีวติ อยู่อยา่ งมเี ป้าหมายด้วยความภูมใิ จ และ ทุม่ เทเพอ่ื คุณภาพของผลงานทป่ี ฏิบตั ิ ๔. ช่วยกาหนดมาตรฐานของชวี ติ องค์กร และสงั คมทแ่ี สดงถึงการมีชวี ติ ทม่ี คี ุณภาพ องค์กรท่ีมี คุณภาพ และสงั คมทีเ่ จรญิ ก้าวหน้ามคี วามเป็นเลศิ ในทกุ ดา้ น

คู่มอื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๕๐ ระดบั ของวิสัยทัศน์ มองภาพอนาคต ระดับวสิ ัยทศั น์ เกี่ยวกับองค์กรใน ระบบสังคมโลก มองภาพอนาคต เกย่ี วกับองคก์ ร มองภาพอนาคต เกยี่ วกับตนเอง ลกั ษณะของวสิ ัยทัศนท์ ดี่ ี ๑. มมี ุมมองแห่งอนาคต (Future perspective) สอดคล้องเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มทาง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และค่านิยมขององคก์ ร รวมทงั้ วัตถปุ ระสงคแ์ ละภารกจิ ขององคก์ รนน้ั ๆ ๒. ริเรมิ่ โดยผู้นาและสมาชิกมีสว่ นร่วมคิดและใหก้ ารสนบั สนุน (Share and Supported) มีความน่าเชอ่ื ถอื ทกุ คนเตม็ ใจทจี่ ะปฏบิ ตั ิตาม การมีสว่ นร่วมของสมาชิกจะก่อให้เกดิ ความผกู พนั (Commitment) รว่ มกัน และทกุ คนพร้อมทจ่ี ะให้การสนับสนุน ๓. มสี าระครบถ้วนและชดั เจน (Comprehensive & Clear) สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงจดุ หมายปลายทาง และทิศทางทีจ่ ะก้าวไปในอนาคตทที่ ุกคนเขา้ ใจงา่ ย สามารถทาใหส้ าเร็จได้ตรงตามเปา้ หมาย สาระตา่ งๆ จะช่วย กระตนุ้ ท้าทายความสามารถและความรสู้ กึ นึกคดิ ของบุคลากรทจ่ี ะปฏบิ ตั ิงาน ๔. ให้ความฝันและพลงั ดลใจ (Positive & Inspiring) ท้าทา้ ย ทะเยอทะยาน สามารถปลุกเรา้ และสรา้ งความคาดหวังท่เี ป็นสิ่งพงึ ปรารถนาทีม่ องเห็นได้ นัน่ คอื มีเสน้ ทางทท่ี ้าทา้ ยความสามารถ ๕. มแี ผนปฏิบตั ทิ ีแ่ สดงใหเ้ ห็นวิธีการท่ีมุง่ สู่จดุ หมายชดั เจน และเม่ือปฏิบตั ติ ามแลว้ จะให้ผลคุ้มคา่ ในอนาคต ทัง้ ในด้านบคุ คลและองคก์ ร ทั้งนี้ จะต้องมีความสอดคลอ้ งกับจุดหมายปลายทางทีก่ าหนดเป็น วิสยั ทศั น์

คูม่ ือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๕๑ ตรวจสอบวิสัยทัศน์ ส่งิ ทีฝ่ ัน เก่ยี วกบั เร่อื งอนาคต เปน็ เคร่อื งบอกทศิ ทางไปสู่จดุ หมายท่ตี ้องการอย่างมพี ลงั มเี ป้าหมายทเ่ี ป็นไปได้ มพี ลัง ท้าท้าย และเรง่ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมนาไปสู่การเปลย่ี นแปลงทสี่ รา้ งสรรค์ กระชบั ชดั เจน ทกุ คนเขา้ ใจตรงกนั บอกท้ังเสน้ ทาง และเปา้ หมาย กระบวนการสรา้ งวิสัยทศั น์ ๑. ขนั้ เตรยี มการ เปน็ ขนั้ ตอนการสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ความหมายและให้เห็น ความสาคัญและความจาเปน็ ในการสร้างวิสัยทศั น์ในองค์การรวมถงึ การมีเจตคตทิ ่ีดีของสมาชกิ ทม่ี ตี ่อองค์กร ๒. ขัน้ ดาเนินการสรา้ งวิสัยทศั น์ มีข้ันตอนดังนี้ ๒.๑ รวบรวมข้อมลู พน้ื ฐาน ที่เกยี่ วขอ้ งกับหน่วยงาน เช่น วตั ถุประสงค์ ภารกิจหนว่ ยงาน ความคาดหวังและความต้องการของสมาชกิ ผรู้ ับบรกิ ารและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง เปน็ ต้น ๒.๒ วิเคราะห์สถานภาพปัจจบุ ันของหน่วยงาน เพ่ือให้ผู้บรหิ ารเข้าใจและตระหนักใน สถานภาพปจั จบุ นั และศักยภาพของหนว่ ยงาน ๒.๓ กล่มุ ผ้บู รหิ ารเสนอมมุ มองแหง่ อนาคต เป็นลักษณะของการสรา้ งฝนั ของผู้บริหารแตล่ ะคน (Create Individuals Dream) จะได้มมุ มองท่หี ลากหลายและครอบคลมุ ๒.๔ นามมุ มองของผบู้ รหิ ารแตล่ ะคนมารวมและเชื่อมโยงกัน (Share and Relate the Dreams) เพ่อื ใหม้ ุมมองของแตล่ ะคนมาเชื่อมโยงกนั แล้วเรียงลาดับความสาคญั ๒.๕ คดั เลอื กและตดั สนิ ใจอนาคตของหน่วยงานทเ่ี ป็นความฝนั ของทุกคน ๒.๖ ขัดเกลาสานวนใหส้ อ่ื ความหมายชัดเจน ปลุกเร้า ทา้ ท้าย สร้างพลังดลใจ มีสาระ ครอบคลุมองค์ประกอบของวสิ ยั ทศั น์ ๓. ข้นั นาวิสัยทศั น์ไปปฏบิ ตั ิ เมอื่ กาหนดวสิ ัยทศั น์ตามข้ันตอนการสร้างวิสยั ทศั น์แลว้ จะได้ วสิ ยั ทศั น์ของหน่วยงาน และเมื่อคณะกรรมการบริหารแล้ว ควรสอื่ สารให้สมาชิกทุกคนได้รับทราบและเข้าใจ ตรงกนั กาหนดแผนงานและโครงการให้สอดคล้องกบั วสิ ยั ทัศน์ และนาแผน/โครงการไปปฏิบัติ ๔. ขั้นประเมินวิสัยทัศน์ การประเมินวิสัยทัศน์ทาให้ทราบว่า วิสัยทัศน์นั้น มีพลังและมี ประสิทธิภาพเพียงใด โดยพิจารณาจากผลการดาเนินงานตามแผน และโครงการว่ามีความก้าวหน้าที่มุ่งไปสู่ วสิ ัยทศั นเ์ พยี งใด ควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขการดาเนินงานเพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามวิสยั ทศั น์อยา่ งไร

ค่มู ือหลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๕๒ การนาวสิ ยั ทัศน์ไปสู่การปฏิบตั ิของผู้นาการเปล่ยี นแปลง ควรมีดงั นี้ ๑. นโยบายและแผนงานท่ีชดั เจนเป็นไปอย่างมีระบบและประสานประโยชน์ตามนโยบายและแผน อย่างจริงจงั ๒. การปรับเปลี่ยนผู้บริหารได้ง่ายเช่นเดียวกับภาคเอกชนในกรณีทบ่ี รหิ ารงานผิดพลาดหรือเปน็ ผทู้ ี่ ขาดความก้าวหนา้ ๓. ใช้เครอื่ งมือเครอ่ื งใชเ้ ทคนิคการปรบั ปรุงงานเชน่ เดยี วกับภาคเอกชนเพ่ือทางานให้รวดเรว็ และ ลดข้นั ตอนในการทางาน ๔. การพฒั นาเจ้าหนา้ ทอ่ี ยา่ งตอ่ เน่ือง เพือ่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและมี ทศั นคติทดี่ ตี อ่ หน่วยงานตลอดจนการปรบั ทัศนคติข้าราชการให้เป็นผู้รบั ใชป้ ระชาชนมากกวา่ เป็นผู้ปกครองหรือ เปน็ นาย และใหม้ ีจติ สานึกรบั ผดิ ชอบงานและสงั คม ๕. การใช้เทคนิควิชาการบรหิ าร (Management Technique) มาชว่ ยในการบรหิ าร ๖. การใช้ความรเู้ ฉพาะสาขา (Professional) เพ่อื ปฏิบัติงานให้ไดผ้ ล ๗. การใชเ้ ทคนิคอ่ืน ๆ ประกอบการบรหิ ารให้เป็นผลสาเร็จ ๘. การให้ความรู้ ขา่ วสาร ทที่ ันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกแกผ่ ู้ท่ีอยูใ่ นสงั คมเมืองในภมู ภิ าคควรมี นโยบายในการกระจายอานาจ ท้งั การกระจายงานและกระจายเงนิ พ่ือพฒั นาระบบบรหิ ารราชการ ๙. การปรับองค์กร โครงสรา้ งและกาลงั คนของหนว่ ยงานให้กระทดั รัดและคล่องตวั เหมาะสมกับ ภาระหน้าทขี่ ององค์กรและสภาพปจั จบุ นั พึง่ เปิดโอกาสใหเ้ อกชนมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารราชการ ๑๐. การปรับปรุงกฎหมาายและระเบยี บให้สามารถปฏิบตั ไิ ด้คลอ่ งตัวและรวดเร็ว

คูม่ อื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๕๓ รำยวิชำที่ ๒.๒ - ผ้นู าในการบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร เวลำ ๙ ชัว่ โมง - ผู้นาการเปล่ยี นแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั และ การวัดและประเมินผลตามหลักสูตร - ผู้นาการนเิ ทศภายในพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวิจัยมาใชพ้ ฒั นาคุณภาพ การศกึ ษา วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การพัฒนามคี วามร้คู วามเข้าใจในแนวทางการบริหารจดั การหลักสูตร ๒. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในแนวทางการพฒั นาหลักสตู รการจัดการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐานในสถานศึกษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในการจัด การศึกษาในสถานศึกษา ๔. เพ่อื ให้ผเู้ ข้ารับการพฒั นาเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการเรียนร้ทู เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ๕. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาสามารถบริหารการวัดและประเมินผลตามหลกั สูตร ๖. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถนาความรู้เกี่ยวกับผู้นาในการนิเทศภายในไปใช้ในการบริหาร จดั การ ในสถานศกึ ษา 3. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รบั การพฒั นาสามารถนาความรเู้ ก่ยี วกับพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและ งานวิจัยมาใชพ้ ัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เน้อื หำ ๑. การบรหิ ารจัดการหลักสูตร ๒. หลกั สตู รการจัดการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ๓. หลกั สตู รท้องถน่ิ ๑. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ๒. การบริหารการเปลี่ยนแปลง ๒.๑ กระบวนการบรหิ ารการเปลย่ี นแปลง ๒.๒ นโยบายกระทรวง นโยบายรัฐมนตรี นโยบายเร่งดว่ น และนโยบายท่เี ก่ียวข้อง ๒.๓ การนานโยบายไปสกู่ ารปฏิบัติ ๓. การวัดและประเมนิ ผลตามหลกั สูตร ๔. ความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ๕. ผูน้ าในการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ๖ .การนิเทศ ๗. การพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๘. งานวิจยั พฒั นาคุณภาพการศึกษา

คมู่ ือหลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๕๔ กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชิน้ งาน ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหาร สามารถสร้าง บรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยภาวะผู้นาในการบริหารจัดการหลักสูตรใน สถานศึกษา และสามารถบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ว่ มกบั รายวชิ าอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องได้

ค่มู อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๕๕ รายวชิ าท่ี ๒.๒ ผนู้ าในการบรหิ ารจดั การหลกั สูตร (๙ ช่วั โมง) ๑. ผนู้ าในการบริหารจัดการหลักสูตร ๒. ผนู้ าการเปลีย่ นแปลงกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ และการวดั และประเมนิ ผล ตามหลักสูตร ๓. ผ้นู าการนิเทศภายในพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นา คุณภาพการศึกษา กรอบแนวทางการพัฒนา ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาจะต้องนาองค์ความรูเ้ ร่อื งการบริหารจัดการวิชาการท่ไี ด้รบั ไป ประยกุ ต์ใชใ้ นสถานศึกษาได้ ๒.๒.๑ ผนู้ าในการบรหิ าร จดั การหลกั สูตร (๑ ช่ัวโมง) ๒.๒.๒ ผนู้ าการเปล่ยี นแปลง บูรณาการ กิจกรรม Open House กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑. บรู ณาการองค์ความรูส้ กู่ าร เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั และการ ปฏิบัติด้วยกิจกรรมการ วัดและประเมนิ ผลตาม “เปิดบ้านวิชาการ” โดยใช้ หลกั สูตร องค์ความรู้ ๒.๒.๑. / ๒.๒.๒ (๒ ช่ัวโมง) / ๒.๒.๓ แนวทาง ๒.๒.๓ ผนู้ าการนเิ ทศภายใน ๒. แบง่ กลุ่มผ้เู ข้ารว่ มอบรมรับ พฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยี บทบาทสมมติเปน็ ผบู้ ริหาร สารสนเทศและงานวจิ ัยมาใช้ โรงเรียนท่มี ีบริบทพื้นท่ี แตกต่างกัน ในการพฒั นาคณุ ภาพ ๓. เตมิ เต็ม (จากผเู้ ขา้ รว่ ม การศึกษา อบรม และผู้ทรงคุณวุฒิ) (๓ ชัว่ โมง) (๓ ชั่วโมง)

คมู่ ือหลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๕๖ รายวชิ าท่ี ๒.๒.๑ ชือ่ รายวิชา ผู้นาในการบริหารจัดการหลักสูตร ชอื่ กิจกรรมท่ี ๑ เร่ือง Change จานวน ๑ ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารับการพัฒนามีความร้คู วามเข้าใจในแนวทางการบรหิ ารจัดการหลกั สูตร ๒. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การพฒั นามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพฒั นาหลักสตู รการจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในสถานศึกษา ๓. เพ่อื ให้ผู้เข้ารบั การพฒั นามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาหลักสูตรท้องถิน่ ในการ จดั การศกึ ษาในสถานศกึ ษา เนื้อหา ๑. การบริหารจัดการหลกั สูตร ๒. หลกั สตู รการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๓. หลกั สูตรทอ้ งถนิ่ กระบวนการจัดกิจกรรม - ใช้ Power Point ประกอบการบรรยาย “Change” ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ Power Point เรอ่ื ง “Change” ชนิ้ งาน/ภาระงาน ใบสรุปองค์ความรจู้ ากการบรรยาย การวัดผลประเมนิ ผล สรปุ จากแบบสรปุ องค์ความรู้จากการบรรยาย

คู่มือหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๕๗ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการ รายวชิ าท่ี ๒.๒.๑ ผนู้ าในการบรหิ ารจัดการหลักสูตร ใบงานที่ ๑ เร่อื ง Change คาชแี้ จง ให้ผ้เู ขา้ รบั การพัฒนาสรปุ องค์ความรูต้ ามประเดน็ ท่ีกาหนด ๑. องค์ความรูท้ ่ีไดร้ ับ ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ๒. แนวทางการนาไปปรบั ใชใ้ นสถานศึกษา ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... .......................................................................................................................................................................

คมู่ ือหลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๕๘ รายวชิ าท่ี ๒.๒.๒ ชอ่ื รายวิชา ผนู้ าในการบริหารจัดการหลกั สูตร ช่ือกิจกรรมที่ ๒ เรอ่ื ง ครูพันธ์ุใหม่ จานวน ๒ ช่ัวโมง วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้ผู้เขา้ รับการพฒั นาเป็นผูน้ าการเปลีย่ นแปลงกระบวนการจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั เน้ือหา ๑. กระบวนการจดั การเรียนรู้ทเี่ น้นผ้เู รียนเป็นสาคญั ๒. การบริหารการเปล่ียนแปลง ๒.๑ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ๒.๒ นโยบายกระทรวง นโยบายรัฐมนตรี นโยบายเร่งด่วน และนโยบายท่ีเกย่ี วข้อง ๒.๓ การนานโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ กระบวนการจดั กจิ กรรม ๑. ดูหนังก่อนเขา้ รบั การอบรม และทาใบงาน “ท่านเห็นอะไร เมอ่ื ดหู นังจบ” ใหส้ รุปแล้วนามาในวัน เขา้ รบั การอบรม เพ่ือใช้ในวชิ าน้ี ๒. เขา้ รบั ฟงั การบรรยาย และรว่ มทากจิ กรรมตามใบงานทีก่ าหนด ๒.๑ ใบงานการบูรณาการการเรยี นรู้ ๒.๒ ใบงานบูรณาการกจิ กรรม ๒.๓ ใบงานการวดั ผลบรู ณาการ สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ ภาพยนตร์เร่ือง “Taare Zameen Par every child is special” ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ กิจกรรมการเรยี นรบู้ รู ณาการวดั ผล ๕ ด้านสภาพจรงิ ๒. ใบงานที่ ๒ ตารางบูรณาการกิจกรรม ๓. ใบงานท่ี ๓ การบรู ณาการการเรยี นรู้ สอน ๑ เรื่องไดห้ ลายเรอ่ื ง การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. พฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม (วิทยากรพีเ่ ล้ียง) ๒. ใบงานท่ี ๑ กจิ กรรมการเรยี นรู้บรู ณาการวดั ผล ๕ ดา้ นสภาพจริง ๓. ใบงานที่ ๒ ตารางบรู ณาการกิจกรรม ๔. ใบงานที่ ๓ การบูรณาการการเรยี นรู้ สอน ๑ เรือ่ งไดห้ ลายเรอื่ ง

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผอู้ า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ภ รายวชิ าที่ ๒.๒.๒ ผ้นู าในก ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง กจิ กรรมการเรยี น คาชีแ้ จง ใหผ้ ู้เขา้ รับการพฒั นาสรุปองค์ความรู้ตามประเดน็ ที่กาหนด เร่อื ง กจิ กรรม

านวยการสถานศึกษา ภาวะผู้นาทางวชิ าการ การบริหารจดั การหลักสตู ร นรู้บรู ณาการวดั ผล ๕ ด้านสภาพจรงิ วัดผลดา้ น ๕๙

คูม่ ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ า หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ภ รายวิชาท่ี ๒.๒.๒ ผ้นู าในก ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง ตาร คาชีแ้ จง ให้ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาสรปุ องค์ความรูต้ ามประเด็นท่ีกาหนด กิจกรรม กจิ กรรมย่อย

านวยการสถานศกึ ษา ระดบั ช้นั ภาวะผู้นาทางวิชาการ การบริหารจดั การหลกั สตู ร รางบูรณาการกจิ กรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๖๐

คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อา หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ ภ รายวชิ าท่ี ๒.๒.๒ ผ้นู าในก ใบงานท่ี ๓ เร่ือง การบรู ณาการกา คาช้ีแจง ให้ผู้เขา้ รบั การพัฒนาสรุปองค์ความร้ตู ามประเด็นท่ีกาหนด สอนอะไร สอบอยา่ งไร

านวยการสถานศกึ ษา ภาวะผู้นาทางวชิ าการ การบรหิ ารจดั การหลักสตู ร ารเรียนรู้ สอน ๑ เร่ืองได้หลายเร่ือง สอนแล้วได้อะไรหลายเร่อื ง ๖๑

คูม่ ือหลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๖๒ รายวชิ าที่ ๒.๒.๓ ชือ่ รายวิชา ผนู้ าในการบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร ช่ือกจิ กรรมที่ ๓ ผนู้ าการนเิ ทศในการพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวจิ ยั ในการ พฒั นาการศกึ ษา จานวน ๒ ชวั่ โมง วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้ผูร้ บั การพฒั นาสามารถทาการนิเทศครใู นโรงเรยี น พฒั นารนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษา เน้ือหา ๑. การสรา้ งความตระหนักกบั การนเิ ทศการศกึ ษาในโรงเรียน ๒. การนเิ ทศภายในสถานศึกษา กระบวนการนเิ ทศ และเทคนิคการนเิ ทศ ๓. การนิเทศ การพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ แลพะการวจิ ัย เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ๓.๑ กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ๓.๒ ประเภทของนวตั กรรมที่พฒั นา ๑) นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ๒) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓.๓ การส่งเสริมประสิทธิภาพของนวัตกรรมดว้ ยการวจิ ัย กระบวนการจดั กจิ กรรม ๑. การสรา้ งความตระหนกั ต่อการนิเทศการศึกษาในโรงเรยี น ใชก้ จิ กรรมสรา้ งความตระหนักด้วยกิจกรรม “ยูเรก้า” ตามใบงานทต่ี ้องแบ่งกลุ่มทากจิ กรรม กลุ่มละ ไมเ่ กนิ ๑๕ คน มวี ิทยากรประจากลมุ่ เปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกจิ กรรมของผ้เู ข้ารับการ พัฒนา กิจกรรมจะส่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การพฒั นาได้ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และจาเปน็ ทีต่ ้องมีการนิเทศ ๒. การนเิ ทศภายในสถานศึกษา กระบวนการนเิ ทศ และเทคนิคการนเิ ทศ นาเสนอโดย Power Point ประกอบการบรรยาย ๓. การนิเทศเพื่อพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และการวิจัย ใช้ Power Point ประกอบการบรรยาย ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ ๓.๑ กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ๓.๒ ประเภทของนวัตกรรมท่ีจาเป็นต้องพัฒนา ๑) นวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอน และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒) เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓.๓ การส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมด้วยกระบวนการวจิ ยั ๔. การสรปุ และแลกเปลย่ี นเรียนรทู้ า้ ยบทเรียน สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ ๑. ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง กจิ กรรมสรา้ งความตระหนัก “ถึงบางออ้ ” ๒. Power Point ประกอบการบรรยาย ๓. Smart Phone

คมู่ ือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๖๓ ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑. แบบสรปุ องค์ความร้จู ากการทากิจกรรม ๒. การตอบเก่ยี วกับระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยตามใบงาน การวัดผลประเมนิ ผล ๑. สรปุ จากแบบสรปุ องค์ความรู้จากการทากิจกรรม ๒. การตอบคาถามเก่ยี วกับระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยตามใบงาน

คูม่ ือหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๖๔ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการ รายวิชาที่ ๒.๒.๓ ผูน้ าในการบริหารจดั การหลักสตู ร ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง กิจกรรมสร้างความตระหนัก “ถงึ บางอ้อ” คาชี้แจง ๑. แบง่ กลุ่มตามกลมุ่ ปกตทิ ี่จดั ไว้เดมิ แลว้ ๒. จดั โตะ๊ ประชุมเปน็ รูปวงกลม เพ่อื สะดวกในการปรึกษาหารือและจัดทากจิ กรรม ๓. ประชาชนชี้แจงวธิ ีการดาเนินกจิ กรรม คือ ศึกษารายละเอียดใบงาน และแบง่ กลุม่ ออกเป็น ๒ กลมุ่ ย่อย โดยเน้นเปน็ สุภาพสตรกี ลุ่ม ๑ และกลมุ่ สภุ าพบุรุษ ๑ กลุม่ ใหม้ ขี นาดใกลค้ ียงกัน ๔. กล่มุ สภุ าพสตรีจะมีบทบาทเป็นสายครผู ู้สอนผู้พิสมยั การเดินเทีย่ วชมธรรมชาติ และบ่อเล้ยี ง จระเข้ ส่วนอีกกลุ่มเป็นสุภาพบรุ ุษก็จะเน้นสนใจงานวชิ าการศึกษาวิธกี ารเล้ยี ง การผลิตสินคา้ ที่เป็นผลติ ภณั ฑ์ จากจระเข้ สมมติบทบาทเป็นผู้อานวยการโรงเรียน ๕. ประธานประสานงานให้ ๒ กลุ่มย่อย กาหนดวธิ ีประสานติดต่อกันเพื่อการนัดหมาย เปน็ ความรอบคอบ ของผู้บรหิ าร ควรใช้ Smart Phone ทาง Line และเป็นระบบภาพ ให้ท้ัง ๒ กลมุ่ ส่อื สารกนั ได้ทุกระยะ ตลอดการทากจิ กรรม เพราะตามสถานการณ์ ๒ กลมุ่ จะอยูค่ นละที่กนั รายละเอียดสถานการณส์ มมติ โรงเรียนในกลุ่มโรงเรยี น Covid-๑๙ จงั หวัดสดุ เขตแดน เป็นกลุ่มโรงเรยี นรวมกลุ่มโรงเรียนทมี่ ขี นาดเล็ก และกลาง รวมกัน ๗ โรงเรยี นได้มโี ครงการศึกษาดงู านรว่ มกนั ทางดา้ นการจัดการศึกษา วถิ ีชุมชน ศลิ ปวัฒนธรรม และการอาชพี โดยแวะศึกษายงั สถานทสี่ าคัญ ๆ ท่ีเปน็ ตวั แทนตามกรอบวตั ถปุ ระสงคเ์ บ้ืองต้นตามลาดับ ตาม เส้นทางโดนมีเป้าหมายสุดท้ายท่กี รงุ เทพมหานคร และจังหวดั ชานเมอื ง ฟาร์มจระเข้ก้เป็นจดุ หนง่ึ ตามโครงการ และ ทนั ทีท่ถี ึงฟาร์มจระเข้คณะศึกษาดูงานก็ตกลงกันขอเปน็ อิสระ เพื่อผ่อนคลายจากการเดินทาง สภุ าพสตรีกร็ วมกลุ่ม กนั เป็นช้อปสินค้าและชน่ื ชมธรรมชาติ สว่ นกลุ่มผูบ้ รหิ ารและสุภาพบุรษุ ก็ใฝใ่ จงานวชิ าการ สนใจวธิ กี ารเลย้ี งจระเข้ และการทาผลิตภณั ฑ์จากจระเข้อยา่ งใส่ใจ ประดจุ จะไปทากิจการทบ่ี า้ นตนและไม่ใส่ใจกล่มุ ครูสาวแตอ่ ย่างใด สว่ นกลมุ่ ครสู าวกพ็ บกนั เดนิ ทางชนื่ ชมสวนและฟาร์จระเขท้ ่ีมีหลายบอ่ ตามช่วงอายแุ ละขนาด การบารุง เลีย้ งส่งเสยี งเจ้ยี วจ้าวอย่างเป็นสุข และถา่ ยภาพท้ังกล่มุ และเดี่ยว โพสตท์ า่ ประดจุ จะเป็นนางแบบจากแคทวอร์ค จน มาถงึ บ่อจระเข้รุ่นหนุ่มที่มีขนาดใหญ่ฉกรรจต์ ามวัยกร็ วมกลุ่มกันโพสตท์ ่าถา่ ยภาพล่อไอเข้อยา่ งสนุกสนาน ในบัดดล ก็ไดย้ นิ เสียงอทุ าน “วา้ ยตายแลว้ ” จากครูสาวสวยคนหนึง่ “ชว่ ยฉนั ด้วยกระเปา๋ ฉนั หลน่ ลงในบ่อแลว้ ” ทาไงดี

คมู่ ือหลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๖๕ กลมุ่ ตอบคาถาม งานกลมุ่ ฉากที่ ๑ กระเป๋าใบน้นั ตกลงใกลจ้ ระเข้หน่มุ ตวั ใหญเ่ ต็มวยั บ่อลึกจนถึงขอบบ่อ ๒ เมตร โดยประมาณ (๒๐ นาที) กลมุ่ ตอบคาถาม ๑. กลมุ่ ครสู าวจะแก้ปัญหาอย่างไร (ระบวุ ธิ คี ิด) ๒. กลุม่ ผู้อานวยการโรงเรยี นจะชว่ ยแนะนา แนวทางการแกป้ ัญหาอย่างไรเม่ือไดร้ บั แจง้ โทรศัพท์จากลกู สาว งานกลุม่ ฉากที่ ๒ วทิ ยากรประจากลุม่ มอบถุงอุปกรณก์ ารแกป้ ญั หาเพื่อนากระเปา๋ ขน้ึ จากบอ่ โดยให้มีเงือ่ นไขให้คดิ ประยุกต์ วัสดุท่ีมีและเครื่องมอื ส่ือสารท่ีกาหนดไว้ตามหวั ข้อ ๕ คาชี้แจงในใบงาน และเครื่องมือนากระเปา๋ ขึน้ จากบ่อให้ได้ ภายในเวลา ๓๕ นาทีและร่วมตอบคาถามท้ายกิจกรรม ๑๕ นาที (รวม ๕๐ นาที) ทง้ั ๒ กลุม่ ประสานการทางานรว่ มกันเพ่ือแก้ปญั หาตามบริบทใหไ้ ด้ เม่ือเห็นอุปกรณ์แลว้ กล่มุ สาวซงึ่ จะมี ปญั หาทางช่างแน่นอน กลมุ่ สุภาพบุรุษหรือผู้บรหิ ารจะทาการชว่ ยเหลอื พวกเขาอย่างไร เพราะท้งั ๒ กลุ่มจะตอ้ งคิด ตามโจทย์ปัญหาและตามข้อเชน่ กัน ส่วนกลุม่ ครสู าวจะตอ้ งสงั เคราะหค์ วามคิดของตนและผบู้ ริหารไปปฏบิ ัตใิ ห้ได้ คอื เป็นผู้ทาจริงใหไ้ ดผ้ ล กลมุ่ ตอบคาถาม ๑. กล่มุ ครูสาวมีวิธีคิดในการแก้ปัญหาอย่างไร (ระบวุ ธิ ีคิดและขั้นตอนโดนละเอียด) ๒. กลมุ่ ผอู้ านวยการจะชว่ ยให้คาแนะนาวิธีการแกไ้ ขปญั หาอย่างไร (ระบุวิธคี ิดและขั้นตอนโดยละเอียด) (นาส่งใบตอบคาถามกลุ่มกับวิทยากรพี่เลย้ี ง แลว้ กลับเข้าห้องประชมุ ใหญ่ รบั ฟังวิทยากรหลกั ใหก้ ารสะท้อนกลบั และสรปุ กจิ กรรม ใชเ้ วลา ๒๐ นาที)

คู่มือหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๖๖ รายวิชาท่ี ๒.๒.๔ ชื่อรายวชิ า บูรณาการการบรหิ ารงานวชิ าการ ชอื่ กิจกรรมท่ี ๔ เรือ่ ง Open House จานวน ๓ ช่วั โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผ้เู ข้ารับการพฒั นาสามารถบรู ณาการองคค์ วามรู้เรื่องผนู้ าทางวิชาการสู่การปฏบิ ตั ิได้ ๒. เพือ่ ให้ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาฝึกทักษะที่เก่ียวข้องกบั การบริหารงานวชิ าการ เนือ้ หา ๑. การออกแบบ และการบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาและหลกั สตู รท้องถิ่นสู่การปฏิบัตไิ ด้ ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ๓. กระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา และการโคช้ (Coaching) ๔. การพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ และงานวิจัยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา กระบวนการจดั กจิ กรรม ๑. แบ่งกลมุ่ ผู้เข้ารบั การพฒั นา ๒. แต่ละกลมุ่ ได้รับบทบาทเป็นโรงเรียน และจะต้องบรหิ ารจัดการโรงเรียนบในบริบทท่ีต่างกัน (กาหนดบริบท โรงเรียนให้แต่ละกลุ่ม) ๓. นาเสนอแนวทางการบรหิ ารงานวชิ าการ ๔. ใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และรว่ มเสนอแนวคดิ ในการพัฒนาโรงเรียนตา่ ง ๆ ๕. ผทู้ รงคุณวฒุ ริ ว่ มสะท้อน และ Coaching สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ ใบงานที่ ๑ เรื่อง Open House ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ เร่ือง Open House ๒. แบบสรปุ องค์ความรทู้ ี่ไดจ้ ากกจิ กรรม Open House การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. พฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม (วิทยากรพเี่ ลย้ี ง) ๒. แบบสรปุ องค์ความรูท้ ี่ไดจ้ ากกจิ กรรม Open House

คู่มือหลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๖๗ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ รายวิชาที่ ๒.๔ เรื่อง บูรณาการการบรหิ ารงานวชิ าการ กจิ กรรมที่ ๔ ใบงานท่ี ๑ เรื่อง Open House คาชี้แจง ให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาดาเนินกจิ กรรมดงั น้ี ๑. ให้กลุ่มผเู้ ข้ารบั การพัฒนาผู้ออกแบบแนวทางการบรหิ ารงานวิชาการในบรบิ ท และข้อจากัดทแ่ี ตกตา่ ง กนั ๒. จดั กจิ กรรมเปน็ นิทรรศการ Open House ให้กลุ่มผ้เู ข้าพัฒนากลมุ่ อ่ืน ๆ ร่วมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ๓. ผูท้ รงคุณทาหนา้ ทโี่ ค้ชแตล่ ะกล่มุ ๔. ผเู้ ข้ารว่ มพฒั นาปรบั ปรุงระบบงานบริหารวิชาการ

ค่มู อื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๖๘ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการ รายวิชาท่ี ๒.๒.๔ ผ้นู าทางวิชาการ กิจกรรมที่ ๔ ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง Open House คาชแ้ี จง ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การพฒั นาสรปุ องค์ความรตู้ ามประเดน็ ทกี่ าหนด บริบทของโรงเรียน............................................ ข้อเสนอแนะจากผ้เู ข้าร่วมพัฒนาและผทู้ รงคณุ วุฒิ แนวทางการบริหารงานวิชาการ ปรับปรุงแนวทางการบรหิ ารงานวิขาการ ส่งิ ทนี่ าไปประยุกต์ใชไ้ ด้จรงิ ในสถานศกึ ษา

คู่มอื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๖๙ รายวิชาท่ี ๒.๓ การพฒั นาทักษะและความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) เวลำ ๓ ชั่วโมง และการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาโดยใชด้ จิ ทิ ัลและเทคโนโลยี วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อเสรมิ สรา้ งสมรถนะของผู้อานวยการสถานศกึ ษาให้มีความรแู้ ละทักษะในดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ๒. เพือ่ ให้ผอู้ านวยการสถานศึกษาได้รับการประเมินสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ท่ีเป็นมาตรฐานและ ได้รบั การรับรองสมรรถนะจากหนว่ ยงานที่นา่ เชอ่ื ถอื เพ่ือนาไปสู่ความก้าวหนา้ ในวทิ ยฐานะต่อไป ๓. เพื่อบ่งชีส้ มรรถนะและความสามารถดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ัลของผ้อู านวยการสถานศึกษาให้เป็นคา่ ตัวเลข ทางสถติ ิ เพื่อหน่วยงานจะสามารถใช้เปน็ เกณฑ์ในการพัฒนากาลังคนได้ตามเป้าหมาย ๔. เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพฒั นามีความรู้เกี่ยวกับการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยใชด้ ิจิทลั และเทคโนโลยี ๕. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนาสามารถนาดจิ ิทัลและเทคโนโลยมี าใชบ้ รหิ ารจดั การสถานศึกษา เนื้อหำ ๑. หลกั การ แนวคดิ และขอบขา่ ยเทคโนโลยีดิจทิ ัล ๒. การเรียนรู้ด้านดิจิทัลแบบออนไลน์ ประกอบด้วย การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ การส่ือสาร ออนไลน์ การสร้างเนื้อหาดิจิทัล การเข้าถึงข้อมูลออนไลน์ หน้าท่ีความรับผิดชอบในการใช้งานระบบ ออนไลน์อย่างปลอดภัย และการจดั การเนือ้ หาดิจทิ ัลและการทางานรว่ มกนั บนระบบออนไลน์ ๓. การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจชนิ้ งาน การวดและประเมินทักษะด้านดจิ ิทัล (Digital Literacy) เพ่ือดารงตาแหน่งผู้อานวย สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๒ ด้าน คอื ๑.๑ ด้านความร้คู วามเข้าใจดิจทิ ัล ๑) เขา้ สร่ ระบบการประเมินโดยใช้อีเมลท์ ีส่ รา้ งไว้ให้ ([email protected]) ๒) เขา้ สู่ Application : Teams ๓) เข้าสู่ Application : Forms ๑.๒) ด้านทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ (ผลงาน) : ใช้ Flipgrid Apps. วิทยำกร คดั เลอื กวทิ ยากรท่ีมคี วามรู้ ความสามารถดา้ นทกั ษะและความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) และมีความสามารถในบรรยายสร้างความเขา้ ใจ สือ่ สารถ่ายทอดความรู้ไดด้ ี เพ่ือสร้างแรงบนั ดาลใจให้ผู้ เขา้ รับการพัฒนามีความมงุ่ ม่ัน ต้งั ใจ และแรงบนั ดาลใจในการพฒั นาตนเอง ให้เกิดทักษะเพื่อนามาใชใ้ นการบรหิ าร จดั การสถานศึกษา

คูม่ ือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๗๐ รำยวิชำที่ ๒.๓ การพฒั นาทกั ษะและความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เวลำ ๓ ชวั่ โมง (Digital Literacy) และการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยใชด้ ิจติ ัลและเทคโนโลยี ►ชือ่ กิจกรรมที่ ๑ หลักการ แนวคดิ และขอบข่ายเทคโนโลยีดิจิทลั (เวลา ๓๐ นาท)ี วัตถปุ ระสงค์ เพื่อเสริมสรา้ งสมรถนะของผู้อานวยการสถานศกึ ษาให้มีความรู้และทักษะในดา้ นเทคโนโลยี ดจิ ิทัล เนอ้ื หำ ๑. ความหมายเทคโนโลยี (Technology) ๒. ความหมายดจิ ิทัล (Digital) ๓. ความหมายเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology Digital) ๔. พฒั นาการเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ๑.๐ – ๔.๐ กระบวนกำรจัดกิจกรรม วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ บอ้ื งต้น ประกอบภาพและคลปิ วิดิโอ สือ่ และอปุ กรณ์ Power point , ภาพและคลิปวิดิโอ กำรวัดผลประเมนิ ผล สังเกตพฤติกรรมการฟงั บรรยาย/การมีสว่ นร่วมกจิ กรรม

คมู่ ือหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๗๑ ►ช่อื กจิ กรรมที่ ๒ ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์พน้ื ฐาน (เวลา ๑ ช่วั โมง) วัตถุประสงค์ เพือ่ เสรมิ สรา้ งสมรถนะของผู้อานวยการสถานศกึ ษาให้มีความรู้และทักษะในดา้ นเทคโนโลยี ดจิ ิทัล เนื้อหำ ๑. การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ๒. การสือ่ สารออนไลน์ ๓. การสร้างเนอ้ื หาดจิ ทิ ัล ๔. การเขา้ ถึงขอ้ มูลออนไลน์ ๕. หน้าท่ีความรบั ผิดชอบในการใช้งานระบบออนไลน์อยา่ งปลอดภัย ๖. การจัดการเนือ้ หาดจิ ทิ ัลและการทางานร่วมกนั บนระบบออนไลน์ ๗. บรบิ ทสถานศกึ ษาในยุคดิจิทลั นกั เรียนในยคุ ดจิ ิทัล ครใู นยคุ ดิจิทัล และการเรยี นรู้ในยคุ ดจิ ิทลั กระบวนกำรจัดกิจกรรม วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้เบอ้ื งต้น ประกอบภาพและคลิปวดิ โิ อ การฝึกทกั ษะการสอื่ สารออนไลนด์ ้วยแอฟพริเคชน่ั ตา่ งๆ สื่อและอปุ กรณ์ Power point , แอฟพรเิ คช่นั , ภาพและคลิปวดิ โิ อ, สมารท์ โฟน กำรวดั ผลประเมินผล สังเกตพฤตกิ รรมการฟงั บรรยาย/การมสี ่วนรว่ มกจิ กรรม

คมู่ อื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๗๒ ►ชื่อกิจกรรมที่ ๓ การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาโดยใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั (เวลา ๑ ช่วั โมง ๓๐ นาที) วัตถปุ ระสงค์ เพื่อเสรมิ สร้างสมรถนะของผู้อานวยการสถานศกึ ษาให้มีความรูแ้ ละทักษะในดา้ นเทคโนโลยี ดจิ ิทัล เนอื้ หำ ๑. นโยบายนายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ “ปลดล็อค ปรบั เปลย่ี น เปิดกวา้ ง” สโู่ รงเรยี นยกกาลงั สอง ๒. นโยบายนายอัมพร พนิ ะสา เลขาธกิ ารสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน “สพฐ.วถิ ใี หม่ วิถีคุณภาพ” ๓. เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพื่อการเรยี นการสอนและการบรหิ ารวิชาการ ๔. เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการบริหารงานบคุ คล ๕. เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การบรหิ ารงานงบประมาณ ๖. เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพือ่ การบริหารทั่วไป กระบวนกำรจดั กิจกรรม บรรยายประกอบการฝึกปฏบิ ตั ิ สื่อและอปุ กรณ์ Power point , แอฟพรเิ คชั่น, ภาพและตวั อยา่ งวิดโิ อการใชง้ าน,สมาร์ทโฟน กำรวดั ผลประเมินผล สงั เกตพฤตกิ รรมการฟงั บรรยาย/การมสี ว่ นร่วมกิจกรรม

คู่มอื หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๗๓ รายวิชาท่ี ๒.๔ การพัฒนาทกั ษะความรภู้ าษาอังกฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชว่ั โมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื เสริมสร้างสมรรถนะของผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ให้มีความร้กู ารใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ใน ๔ ทกั ษะ คอื ฟงั พูด อา่ น และเขียน ๒. เพอ่ื เสรมิ สร้างสมรรถนะของผูอ้ านวยการสถานศึกษา ให้มีทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ใน ๔ ทักษะ คือ ฟงั พูด อ่าน และเขยี น ๓. ให้ผู้เขา้ รับการอบรมทราบลกั ษณะและคุณสมบตั ิของชุดขอ้ สอบวัดผลทางภาษาอังกฤษ เนอื้ หา ๑. ความรพู้ ื้นฐานด้านภาษาอังกฤษแบบง่าย ฟงั พดู อา่ น และเขียนที่สัมพันธ์กบั CEFR เนน้ การอบรมพัฒนา ทีใ่ ห้ผเู้ ขา้ อบรมไดใ้ ช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร ทง้ั ๔ ทกั ษะ ไม่เนน้ ไวยากรณใ์ นช่วงแรก แลว้ ค่อยเพมิ่ ความถกู ต้องทาง ไวยากรณเ์ พอื่ การสอื่ สารข้นั สงู ต่อไป ๒. ผู้อานวยการสถานศึกษาตอ้ งผ่านการวัดความรู้พน้ื ฐานตามลาดบั CEFR Exam ใน ๔ ทักษะ คือ ฟังพดู อ่าน และเขยี น มเี ปา้ หมายวดั ระดับ A๑, A๒, B๑ ,B๒ มกี ระบวนการโดยการเขา้ รบั การทดสอบดว้ ย แบบทดสอบมาตรฐาน เพ่ือวัดระดบั ความรู้พนื้ ฐาน และเข้ารับการพฒั นดว้ ยตนเองให้มีทกั ษะท่ีสงู ขึน้ อีกไม่น้อยกว่า ๑ ระดับ ตามเป้าหมายทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกาหนด สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ ๑. คลปิ วีดีโอ ๒. แบบตวั อย่างการเขยี นสรปุ ความ การแนะนาตนเอง การกล่าวตอ้ นรบั ๓. คาศัพทท์ ่ีใชบ้ ่อย ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๑. ใบงานท่ี ๑ เร่ือง การกลา่ วต้อนรับ(ทักษะการพูด) ๒. ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง การแนะนาตนเอง (ทักษะการเขียน/การพดู ) ๓. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การแสดงบทบาทสมมตุ ิ (ทกั ษะการฟงั /การพดู ) ๔. ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง การสรปุ ความ/การเขียนรายงานส้ัน (ทักษะการอ่าน/การเขียน) การวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชิ้นงาน การวัดประเมนิ ผลทักษะ ๔ ดา้ น ๒. การสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม วิทยากร วทิ ยากรจากสถาบนั ภาษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

ค่มู ือหลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๗๔ รายวิชาที่ ๒.๔ การพัฒนาทกั ษะความรภู้ าษาอังกฤษ (English Literacy) ( ๓ ชว่ั โมง) ชื่อกจิ กรรม เรอ่ื ง การใช้ภาษาองั กฤษ เพื่อการสื่อสาร ๔ ทกั ษะ จานวน ๓ ชั่วโมง วัตถุประสงค์ ๑. เพอื่ เสรมิ สร้างสมรรถนะของผู้อานวยการสถานศึกษา ใหม้ ีความรู้การใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สารใน ๔ ทักษะ คือ ฟงั พูด อา่ น และเขยี น ๒. เพ่ือเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของผูอ้ านวยการสถานศึกษา ใหม้ ที กั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารใน ๔ ทกั ษะ คือ ฟัง พดู อา่ น และเขียน ๓. ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมทราบลกั ษณะและคณุ สมบัติของชดุ ข้อสอบวดั ผลทางภาษาอังกฤษ เนอื้ หา ๒. ความร้พู นื้ ฐานดา้ นภาษาองั กฤษแบบง่าย ฟัง พูด อา่ น และเขียนทส่ี ัมพนั ธ์กับ CEFR เนน้ การอบรมพัฒนา ทใี่ หผ้ ้เู ขา้ อบรมได้ใชภ้ าษาเพื่อการส่ือสาร ทั้ง ๔ ทักษะ ไม่เน้นไวยากรณ์ในช่วงแรก แล้วคอ่ ยเพมิ่ ความถกู ต้องทาง ไวยากรณ์เพอ่ื การส่ือสารข้ันสงู ตอ่ ไป ๒. ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาตอ้ งผา่ นการวดั ความรู้พืน้ ฐานตามลาดับ CEFR Exam ใน ๔ ทกั ษะ คือ ฟังพูด อ่าน และเขียน มีเป้าหมายวัดระดบั A๑, A๒, B๑ ,B๒ มีกระบวนการโดยการเขา้ รบั การทดสอบด้วย แบบทดสอบมาตรฐาน เพื่อวัดระดบั ความรู้พ้ืนฐาน และเข้ารบั การพฒั นดว้ ยตนเองให้มีทกั ษะทีส่ งู ขน้ึ อีกไม่น้อยกว่า ๑ ระดับ ตามเป้าหมายท่สี านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานกาหนด กระบวนการจดั กจิ กรรม แบ่งเปน็ ๓ กิจกรรม ๑. กิจกรรมใหค้ วามรแู้ ละทกั ษะเบ้ืองต้น ๑.๕ ชั่วโมง วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ไวยากรณเ์ บื้องตน้ ใช้สอ่ื คลปิ วีดีโอเป็นลาดับข้ันๆให้ผเู้ รียนได้พฒั นา ตนเอง ระดับ (A๑) ประโยคง่ายๆ ในชีวติ ปิ ระจาวัน อา่ นบทความสนั้ พูดประโยคส้นั ๆ คาทค่ี ุ้นเคย ระดบั (A๒) แนะนาตนเอง ครอบครวั การทางานในอดตี และปัจจุบนั สื่อสารแสดงความต้องการอยา่ ง ระดับ (B๑) มคี วามเขา้ ใจหัวข้อเรื่องท่ีตนเองสนใจ ท้งั การฟัง พูด อ่าน เขียน และส่อื สารรายละเอยี ดได้ ชัดเจนมากขึ้น ระดับ (B๒) เขา้ ใจประเดน็ ท่ีมคี วามซับซ้อน การพูดคยุ เชงิ เทคนิค โตต้ อบอย่างคล่องแคล่วเป็นธรรมชาติ สรา้ งถ้อยคาท่ีชัดเจนและมคี วามละเอียด อธิบายมุมมองตา่ งๆ พดู คยุ เกี่ยวแนวคดิ แนวทางได้

คู่มือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๗๕ ๒. กิจกรรมเสรมิ สร้างทักษะ เป็นกจิ กรรมทอี่ อกแบบบูรณาการ ๔ ทกั ษะ โดยให้ผ้เู ข้าอบรมแบง่ กลุ่มออกเปน็ กลุ่มละ ๒๐ คน (ยึดหยนุ่ ตามจานวนเป้าหมายผู้เข้ารบั การอบรม) โดยวิทยากรกาหนดหัวข้อเรอ่ื ง เชน่ การเดินทางทัศนศึกษาวถิ ชี ีวิต ท้องถ่นิ , การต้อนรบั คณะสถานศกึ ษาท่ี MOU เปน็ ต้น โดยมเี ง่อื นไขทผ่ี ้เู ขา้ อบรมต้องมีการแบ่งงานกันภายในกลุ่ม โดยมีทกั ษะการใช้ภาษาเพ่ือการส่อื สาร ดงั นี้ ๑) แสดงบทบาทสมมตุ ิ ๒) เขยี นรายงานแนะนาตนเอง ๓) กลา่ วต้อนรบั ในโอกาสตา่ งๆ ๔) การสรุปความจากการฟงั ๓. กจิ กรรมการสอบวดั ความรู้พน้ื ฐาน CEFR Exam ข้นั ตอนการสมคั ร ๑) การลงทะเบยี น ผเู้ ข้าสอบ เข้าลงทะเบยี นในระบ DEEP หรอื ลงทะเบียนผ่นระบบออนไลน์ ของศูนย์ HCEC ๒) ผเู้ ขา้ สอบกรอกขอ้ มูลให้ครบถว้ น ๓) เข้าระบบการทดสอบ การทดสอบครัง้ ที่ ๑ ๑) สอบจากศนู ย์สอบ HCEC แต่ละภมู ิภาค หรือศูนย์สอบทไี่ ดร้ ับการรับรองคุณภาพ มาตรฐานสากลจากหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องกับการทดสอบภาษาระดับสากล ๒) ผู้เข้าสอบทาการทดสอบออนไลน์ ๓) ผเู้ ขา้ สอบสามารถทราบผลการทดสอบของตนเองจกการรายงานผลสอบ (Test Results) ๔) ผ้เู ข้าสอบทม่ี ีผลการสอบ (Test Result) อยู่ในระดบั ต่ากว่า A๒ ใหพ้ ฒั นาตนเองให้มี ทักษะที่สงู ขึ้นอีกไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ระดับ ภายในระยะเวลา ๑ ปี การพฒั นาตนเอง ๑) ผขู้ ้าสอบเลือกพฒั นตนเองดว้ ยหลกั สตู รต่างๆ ทมี่ ีมาตฐาน ตามความต้องการ และเหมาะสม กบั ตนเอง ด้วยวิธีการต่างๆ เชน่ การลงทะเบยี นเรียนออนไลน์ การอบรมแบบ face to face การทดสอบครั้งท่ี ๒ หลังการพัฒนา ๑) สอบจากศนู ย์สอบการพัฒนศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลศิ แตล่ ะภมู ิภาค ๒) ผู้เขา้ สอบทาการทดสอบออนไลน์ผู้เขา้ สอบสามารถทราบผลการทดสอบของตนเอง จาก DEEP ๓) ผ้เู ขา้ สอบควรทาการสอบวดั ระดบั ทักษะภาษาองั กฤษทุกๆ ๒ ปี สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ ๑. คลิปวีดโี อ ๒. แบบตวั อยา่ งการเขยี นสรุปความ การแนะนาตนเอง การกลา่ วต้อนรับ ๓. คาศัพท์ที่ใชบ้ ่อย

ค่มู อื หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๗๖ ชนิ้ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ ๑ เรื่อง การแสดงบทบาทสมมุติ ด้วย ๔ กจิ กรรม ดงั นี้ กจิ กรรม การกลา่ วตอ้ นรบั (ทักษะการพดู ) กิจกรรม การแนะนาตนเอง (ทักษะการเขียน/การพดู ) กจิ กรรม การแสดงบทบาทสมมุติ (ทักษะการฟัง/การพูด) กจิ กรรม การสรปุ ความ/การเขียนรายงานสนั้ (ทกั ษะการอา่ น/การเขยี น) การวัดและประเมนิ ผล ๑. การตรวจช้ินงาน การวดั ประเมินผลทักษะ ๔ ดา้ น ๒. การสังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม วิทยากร วทิ ยากรจากสถาบนั ภาษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

คู่มือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๗๗ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ รายวชิ าที่ ๒.๔ การพัฒนาทักษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) ใบงานที่ ๑ เร่อื ง การแสดงบทบาทสมมตุ ิ คาชแ้ี จง ๑. ใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ ๑๕-๒๐ คน ๒. กาหนดหัวข้อเรื่องในการแสดงบทบาทสมมตุ อิ ยา่ งง่าย เชน่ การเดินทางทศั นศึกษาวิถีชีวิต ทอ้ งถ่นิ , การตอ้ นรับคณะสถานศึกษาที่ MOU เป็นต้น โดยมีเง่ือนไขท่ีเปน็ กจิ กรรมท่ีออกแบบบรู ณาการ ๔ ทกั ษะ และทกุ คนไดม้ สี ่วนในการแสดงบทบาทท่ีแตกตา่ งกนั ต้องมกี ารแบง่ งานกันภายในกลมุ่ โดยมีทกั ษะการใชภ้ าษา เพอื่ การสื่อสาร ดังนี้ ๑) แสดงบทบาทสมมุติ ๒) เขียนรายงานแนะนาตนเอง ๓) กล่าวตอ้ นรบั ในโอกาสต่างๆ ๔) การสรปุ ความจากการฟัง ๓. วิทยากรพ่ีเล้ียง สังเกต ให้คาแนะนาและประเมินผล ๔. วิทยาพ่ีเล้ียง เก็บใบงานจากกลุ่มที่มีการมอบหมายให้ผูเ้ ข้าอบรม ๑) เขียนรายงานแนะนาตนเอง และประเมนิ ผลใหใ้ นภาพรวมของกลุ่ม

คู่มอื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๗๘ หน่วยกำรเรียนรูท้ ี่ ๓ กำรบริหำรและกำรจัดกำรในสถำนศกึ ษำ ระยะเวลำ ๓๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยหน่วยกำรเรยี นรู้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ความรั บผิดชอบของ ผู้อานวยการสถานศึกษา สามารถวางแผนกลยุทธ์ การตัดสินใจบนพ้ืนฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลักการ ท่ีเหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ทรัพยากรทางการศึกษา ระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลโดยใช้วิธีการศึกษา เอกสารการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การอภิปราย และการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้สามารถจัดการบริหารสถานศึกษา ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนาสามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษา บทบาท หนา้ ท่ี ความรับผิดชอบของผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๒. เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนาสามารถวางแผนกลยุทธใ์ หส้ อดคลองกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถในการบริหารและการจัดการในสถานศึกษา โดยประยกุ ต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลกบั การบรหิ ารจัดการไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ การ นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามประเมินและรายงานผล ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ควำมคดิ รวบยอด ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจ บทบาทหน้าที่ ความ รับผิดชอบ การวางแผนกลยทุ ธ์ การตัดสินใจ บนพื้นฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลกั การท่ีเหมาะสม โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๓ กำรบริหำรและกำรจัดกำรในสถำนศกึ ษำ (๓๐ ช่วั โมง) เวลา ๖ ช่ัวโมง รายวิชาท่ี ๓.๑ การขบั เคล่อื นนโยบายในสถานศึกษา เวลา ๔ ชว่ั โมง และการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ เวลา ๔ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๓.๒ การบริหารงานวิชาการ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๓ การบริหารงบประมาณ เวลา ๔ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๓.๔ การบรหิ ารงานทว่ั ไป เวลา ๖ ชัว่ โมง รายวชิ าท่ี ๓.๕ การบริหารงานบคุ คล รายวชิ าที่ ๓.๖ การบริหารจดั การสถานศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ เวลา ๓ ชวั่ โมง โดยใช้ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) รายวชิ าที่ ๓.๗ พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๗๙ รายวชิ าที่ ๓.๑ การขบั เคลอ่ื นนโยบายในสถานศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยทุ ธ์ เวลำ ๖ ชวั่ โมง รำยวิชำ ๓.๑ กำรขบั เคลอื่ นนโยบำยในสถำนศึกษำและกำรบรหิ ำรจดั กำรสถำนศึกษำเชงิ กลยุทธ์ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารบั การพัฒนามีความรคู้ วามเข้าใจในแนวทางการขับเคลอ่ื นนโยบายของกระทรวง ศกึ ษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ในสถานศึกษา 2. เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนาสามารถกาหนดแนวทางการขับเคลือ่ นนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ในสถานศึกษา 3. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การพฒั นา ได้รับการเสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ สมารถวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ ความรบั ผิดชอบของผ้อู านวยการสถานศกึ ษาได้ 4. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนามีความร้คู วามเข้าใจในการวางแผนการจัดการศกึ ษาเชงิ กลยุทธ์ และจัดทา แผนกลยทุ ธข์ องสถานศึกษาได้ เน้อื หำ 1. จุดประกำยขยำยแนวคดิ - ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี - แผนการศึกษาชาติ - นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ - นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๒. KONG CAN DO สกู่ ำรบริหำรเชงิ กลยุทธ์ - การกาหนดกลยทุ ธ์ - การนากลยุทธไ์ ปปฏิบัติ - การประเมินกลยุทธ์ ๓. โรงเรียนของฉนั สำนฝันสู่ควำมเป็นเลศิ - การวางแผนและการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ - การจดั ทาแผนกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษา - การพัฒนากลยุทธ์การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา - การจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา - การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี - การเขยี นแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๔. กำรจัดต้งั งบประมำณเพ่ือสำนกลยุทธ์ - การจดั ต้งั งบประมาณ งบลงทนุ และงบดาเนินงาน - การจดั ทา ปร.๔-๖

คู่มอื หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๘๐ ๕. สดุ ยอดผู้บรหิ ำรจดั กำรเชิงกลยทุ ธ์ - การถ่ายทอดประสบการณ์ของวทิ ยากรพเ่ี ลี้ยงประจากลมุ่ สอ่ื - ใบความรู้ - โจทย์/ใบงาน - ตวั อย่างสถานการณ์ กำรวัดและประเมนิ ผล - ตรวจชิ้นงาน - การถาม-ตอบ - ตรวจสรุปองคค์ วามรู้ - การนาเสนองาน - การสังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม วทิ ยำกร คัดเลือกวทิ ยากรท่ีมีบุคลกิ ภาพท่ีเหมาะสม มคี วามรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วธิ กี าร ถ่ายทอดทดี่ ี เข้าใจง่าย และประสบความสาเรจ็ เป็นท่ียอมรบั ในการบรหิ ารเชิงกลยทุ ธ์ สามารถสรา้ งบรรยากาศที่ดี ในการพฒั นาและจัดกิจกรรมการพัฒนาโดยเน้นการฝึกปฏิบัตใิ หผ้ ูพ้ ัฒนา สามารถขบั เคล่ือนนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ ใน สถานศกึ ษา และสามารถบรู ณาการกจิ กรรมการเรียนร้รู ่วมกบั รายวชิ าอนื่ ๆที่เกี่ยวข้องได้

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศึกษา ๘๑

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศึกษา ๘๒

คู่มือหลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๘๓ รำยวชิ ำ ๓.๑ กำรขับเคลอื่ นนโยบำยในสถำนศกึ ษำและกำรบริหำรจดั กำรสถำนศกึ ษำเชิงกลยุทธ์ ( ๗ ช่วั โมง) 1. กิจกรรม จุดประกำยขยำยแนวคดิ (๑ ชั่วโมง ๓๐ นำที) รำยละเอียดกำรจดั กิจกรรม ใชร้ ปู แบบการเสวนากลมุ่ ใหญ่ หวั เรอื่ ง การขบั เคลื่อนนโยบายในสถานศึกษาและการบริหารจัดการ สถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ ผ้นู าในการเสวนา จานวน ๑ คน เป็นผดู้ าเนินเรอ่ื ง จุดประเด็น เชอื่ มโยงคาถาม ผรู้ ่วมเสวนา จานวน ๔ คน เปน็ ผ้ตู อบคาถาม สะทอ้ นแนวคิดตามประเดน็ ท่ีได้รบั โดย ผนู้ าในการเสวนา จะเป็นผจู้ ุดประเดน็ เกร่ินนา ในหัวเรอื่ ง การขบั เคลือ่ นนโยบายในสถานศึกษา และการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ และเชื่อมโยงสู่ แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และโยนประเดน็ คาถาม ไปยังผรู้ ว่ มเสวนา ให้แสดงความคดิ เห็น ตามประเด็นดังนี้ - สาระสาคญั และจุดเน้น ของนโยบาย ในแตร่ ะระดับ - แนวคดิ /แนวทางในการขับเคลอ่ื นนโยบายสกู่ ารวางแผนการจดั การศึกษา - การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ หมายเหตุ : ๑. ผูร้ ่วมเสวนา จะใชเ้ วลาพูดคนละ ๕ นาทีในแตล่ ะประเด็น/ผนู้ าในการเสวนา จะใช้ เวลาในการเกรนิ่ ดาเนนิ เร่ือง และสรปุ ๑๕ นาที ๒. ผู้เข้าประชุม รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนร/ู้ ซักถาม ๑๕ นาที 2. กิจกรรม KONG CAN DO สกู่ ำรบริหำรเชิงกลยุทธ์ (๑ ช่วั โมง ๓๐ นำท)ี รำยละเอียดกำรจัดกิจกรรม ใช้รปู แบบการบรรยายพเิ ศษกลุ่มใหญ่ โดย ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารกพฐ.ทา่ นนิพนธ์ ก้องเวหา ผอ.ไพฑูรย์ จารุสาร (ผอ.สวนกุหลาบ นนทบรุ )ี เปน็ การบรรยายพเิ ศษ แสดงมโนทศั นเ์ กี่ยวกบั การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ ในภาพรวม จากผู้บริหาร ระดับสงู ซ่งึ จะครอบคลุม การกาหนดกลยทุ ธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ และการประเมินกลยุทธ์ หมายเหตุ: ๑. ผู้บรรยาย ใชเ้ วลาบรรยายขอ้ มลู จานวน ๑ ชั่วโมง ๑๕ นาที ๒. ผ้เู ข้าประชุม ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนร้/ู ซกั ถาม ๑๕ นาที

คูม่ ือหลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๘๔ 3. กจิ กรรม โรงเรยี นของฉนั สำนฝนั สคู่ วำมเป็นเลิศ (๒ ช่ัวโมง) รำยละเอยี ดกำรจดั กจิ กรรม ใช้รปู แบบการจดั กลุ่มยอ่ ย โดยมีวิทยากรพี่เล้ียงประจากลมุ่ แจกใบความรู้/ใบงาน และกาหนดสถานการณ์ ให้แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ระดมสมอง แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และส่งตัวแทนเพื่อนาเสนอ โดยครอบคลุมประเด็น การวางแผน และการบริหารจดั การสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ การจัดทาแผนกลยุทธข์ องสถานศึกษา การพฒั นากลยทุ ธ์การบรหิ าร จัดการสถานศึกษา การจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และการจดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีและสรุปการ จดั กจิ กรรมโดยวิทยากรพีเ่ ลี้ยง หมายเหตุ: 1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ พร้อมแจกใบความรู้ (การตดิ ต้ัง QR CODE ให้ความร้ตู ามจดุ ) และให้ โจทย์สถานการณป์ ญั หาเกี่ยวกบั การวางแผนและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยทุ ธ์ การจดั ทาแผนกลยุทธ์ ของสถานศึกษา การพัฒนากลยทุ ธก์ ารบริหารจดั การสถานศกึ ษา การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการ จัดทาแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี โดยแบง่ เปน็ ๓ สถานการณ์ ตามขนาดของโรงเรยี น ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ใชเ้ วลา ๑ ชว่ั โมง ๓๐ นาที และ สมุ่ นาเสนอ 2. นาเสนอโดยเขียนใสก่ ระดาษบรฟู และติดตามห้อง เพื่อใหเ้ กิดการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ใช้เวลา ๓๐ นาที 4. กิจกรรม กำรจัดต้ังงบประมำณเพื่อสำนกลยุทธ์ (๑ ชวั่ โมง) รำยละเอยี ดกำรจัดกจิ กรรม ใชร้ ปู แบบ การจดั กลุ่มย่อย โดยวิทยากรพีเ่ ลี้ยงประจากลุม่ แจกโจทย/์ ใบงาน เก่ยี วกบั การจดั ตง้ั งบประมาณ งบลงทุน และงบดาเนินงาน รวมไปถึงการจัดทา ปร.๔-๖ ใหฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ และสุม่ ให้ผูร้ ับการประชุมอบรม ได้นาเสนอ เพอื่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ หมายเหต:ุ ๑. วิทยากรนาเสนอกรณีตัวอยา่ งเก่ยี วกับ การจดั ต้ังงบประมาณ งบลงทนุ และงบดาเนินงาน ผ่าน Power point ๒. แจกแบบฝึก ปร.๔-๖ ให้ฝกึ ปฎบิ ตั ิ ๓. สมุ่ ผแู้ ทนนาเสนอ 5. กจิ กรรม สุดยอดผู้บรหิ ำรจดั กำรเชงิ กลยทุ ธ์ (๑ ชั่วโมง ๓๐ นำท)ี รำยละเอียดกำรจดั กิจกรรม ใช้รปู แบบ การจัดกล่มุ ย่อย โดยวทิ ยากรพ่ีเลี้ยงประจากลุม่ ถา่ ยทอดประสบการณ/์ การทางาน ทป่ี ระสบความสาเรจ็ และเปิดโอกาสใหผ้ เู้ ข้าร่วมประชมุ อบรม ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนรู้ หมายเหตุ: ๑. ผูบ้ รรยาย ถ่ายทอดประสบการณ์ Best practice จานวน ๓๐ นาที ๒. วิทยากรยกประเด็นทเ่ี ป็นปญั หา เพอื่ ถกแถลงรว่ มกัน ๔๕ นาที ๒. ผเู้ ข้าประชุม รว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นร/ู้ ซกั ถาม ๑๕ นาที

ค่มู ือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๘๕ OR Code ใบควำมรู้ รำยวชิ ำ ๓.๑ กำรขบั เคลื่อนนโยบำยในสถำนศึกษำและกำรบริหำรจัดกำรสถำนศกึ ษำเชงิ กลยุทธ์ ใบควำมรูก้ จิ กรรมที่ ๓ เรือ่ งที่ ๑ กลยุทธ์ ใบควำมร้กู ิจกรรมท่ี ๓ เรือ่ งท่ี ๒ กำรเขียนแผนงำน/โครงกำร แบบของบครุภัณฑ์ ปีงบประมำณ ๒๕๖๔ แบบประมำณกำรซ่อมแซมหอประชุม ๖๔

ค่มู ือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๘๖ ใบควำมรู้กิจกรรมที่ ๓ เร่ืองที่ ๑ กลยุทธ์ ....................................................................... คาว่า “กลยทุ ธ์” หรือ “Strategy” มีความหมายตามพจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ วา่ การรบทีม่ ีเล่ห์เหล่ียม วิธกี ารที่ต้องใช้กลอบุ ายต่างๆ เล่ห์เหล่ยี มในการตอ่ สู้ Wright et al. (๑๙๙๔ : ๓๑๕) กล่าวว่า กลยุทธ์ หมายถึง แผนของผู้บริหารระดับสูง ที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ ตา่ ง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกับภารกิจ และเป้าประสงค์ขององค์กร Schermerhorn (๒๐๐๕ : ๒๐๓) กลา่ วว่ากลยทุ ธ์ หมายถึง แผนแมบ่ ทหรือแผนปฏิบัติการทีม่ ีความสาคญั สาหรับองค์การเพ่ือใช้ในการกาหนดทิศทาง ในการดาเนินงาน ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายและเกิดประโยชน์ในการแขง่ ขนั เกรยี งศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์ (๒๕๕๓ : ๑) กล่าวว่ากลยุทธ์ หมายถึง วิธีการหรอื แผนการที่คดิ ข้ึนอย่างรอบคอบ มี ลักษณะเปน็ ขน้ั ตอน มีความยืดหย่นุ พลกิ แพลงไดต้ ามสถานการณม์ งุ่ หมายเพ่ือเอาชนะค่แู ขง่ ขนั หรอื เพื่อหลบหลกี อปุ สรรคต่าง ๆ จนสามารถบรรลุเปา้ หมาย กลยุทธ์ หมายถึง วิธีการหรือแนวทางในการดาเนินงานอย่างใดอย่างหน่ึงขององค์กรเพ่ือให้บรรลุตาม วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ รทกี่ าหนดขึ้น โดยคานงึ ถึงทรัพยากรท่ีมีอย่แู ละปัจจัยดา้ นส่งิ แวดลอ้ มตามบรบิ ทขององคก์ ร กำรบริหำรเชงิ กลยุทธ์ นักการศกึ ษาไดใ้ หค้ วามหมายไว้ดังนี้ ภาณุ ลิมมานนท์ (๒๕๕๐ : ๑๙) ได้ให้ความหมายของการบริหารเชิงกลยุทธ์ คือ ศาสตร์และศิลป์ในการ กาหนดการปฏบิ ัติการ การประเมินผลและการตัดสนิ ใจตามหน้าท่ี ซ่งึ ชว่ ยให้องคก์ รบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ หรือหมายถึง กระบวนการซึ่งรวมกิจกรรมที่เก่ียวข้องกัน ๓ ประการ คือ ๑) การวิเคราะห์กลยุทธ์ (Strategy analysis) ๒) การ กาหนดกลยุทธ์ (Strategy formulation) ๓) การปฏิบัติตามกลยุทธ์ (Strategy implementation) ประเสริฐ ผลามิตร (๒๕๕๐ : ๑๘) การบริหารเชิงกลยุทธ์ หมายถึง การจัดการท่ีเน้นถึงความสาคัญของ สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการจัดการภายใน ซึ่งต้องเตรียมแผนการดาเนินงานให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ เปลย่ี นไปหรือตอบโตภ้ าวการณแ์ ข่งขัน ไดอ้ ย่างรวดเรว็ โดยมกี ารจัดทรพั ยากรใหเ้ หมาะสม กาญจนา คิริวงค์ (๒๕๕๒ : ๑๓) ได้ให้ความหมายของ การบริหารเชิงกลยุทธ์ คือ การบริหารซ่ึงกระทา อย่างต่อเน่ืองสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก เพื่อตัดสินใจหาทา ง เลือกที่ดีท่ีสุด น าไปสู่การพัฒนากลยุทธ์ท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยใช้กระบวนการของการกาหนดทิศทางระยะยาว การ กาหนดกลยุทธ์ การดาเนนิ กลยุทธ์ และการควบคุมและประเมนิ กลยทุ ธข์ ององค์การ สานักบรหิ ารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย (๒๕๕๔ : ๖) กลา่ ววา่ การบริหารเชงิ กลยุทธ์คือ การวางแผนท่ี ถ่ายทอดแนวความคิด หรือนโยบายจากแผนระดับนโยบายมาเปน็ กลวิธีการดาเนินงานท่ีสง่ ผลให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ท่ี พึงประสงคต์ ามจุดหมายทีก่ าหนดไว้ในอนาคตได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล แชนเลอร์ (Chandler, ๑๙๙๒ อ้างถึงใน สุมนรัตน์ สกุลสิริทรัพย์, ๒๕๕๐ : ๒๙) การบริหารเชิงกลยุทธ์ หมายถึง ความสามารถของผู้บริหารระดับสูงในการปรับโครงสร้างองค์กร ระบบงาน และวิธีการทางานไปสู่สภาพ ใหม่ องคก์ร อยู่รอดและปลอดภัยซึ่งพบว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้ง โดยตรงและทางอ้อม ตอ่ องค์ กร

คู่มอื หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๘๗ เชอร์เมอร์ฮอร์น (Schermerhorn, ๒๐๐๒ : ๒๐๓) กล่าวว่า กลยุทธ์ หมายถึง แผนแม่บทหรือแผนปฏิบัติ การที่มีความสาคัญ สาหรับองค์การเพื่อใช้ในการกาหนดทิศทางในการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายและเกิด ประโยชนใ์ นการแขง่ ขนั Bateman and Snell, (๑๙๙๙ : ๓) อธิบายว่าการจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นกระบวนการซึ่งเก่ียวข้องกับ ผู้บริหารจากทุกส่วนขององค์การในการกาหนดกลยุทธ์และปฏิบัติตามกลยุทธ์ เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายของ องคก์ าร จากแนวคิดข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การบริหารเชิงกลยุทธ์ มีความสาคัญต่อการบริหารงานองค์กรใน ปัจจุบัน เนอ่ื งจากองค์กรตอ้ งเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทง้ั สภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก ส่งผล ให้ผู้บริหารต้องปรับวิธีการบริหารงานให้ทันต่อสถานการณ์ สามารถกาหนดทิศทางขององค์กรในอนาคตได้อย่าง ชัดเจน เพ่ือให้องค์กรได้บรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกาหนด และช่วยให้ผู้บริหารมีการทางานในลักษณะเชิงรุก (proactive) มากกว่าเชิงรับ หลกั กำรบรหิ ำรเชงิ กลยทุ ธ์ การบริหารเชิงกลยุทธ์เป็นการบริหารที่เป็นระบบ ท่ีจะช่วยให้การบริหารองค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ทีต่ ้ังไว้ ซึ่งนกั วิชาการกลา่ วถึง หลกั การบริหารเชงิ กลยุทธ์ ไวด้ งั น้ี กาญจนา คันวงศ์ (๒๕๕๒ : ๑๙) กล่าวว่า หลักการของการบริหารเชิงกลยุทธ์ เป็นการจัดการภายใต้ สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปลย่ี นแปลงและมีทศิ ทางท่ีไมแ่ นน่ อน ผบู้ ริหารต้องเขา้ ใจ พลวตั (Dynamic) ของการเปล่ยี นแปลง ทั้งสามารถคาดเดาและกาหนดทิศทางขององค์กรไปสจู่ ุดหมายตามทว่ี างไว้อย่างมีประสิทธิภาพ มอร์แกน, มาร์ค และคณะ ให้ความเห็นว่า หลักการบริหารเชิงกลยุทธ์ ต้องอาศัยระบบท่ีช่วยผลักดันให้ องค์กรทาสิ่งท่ีเหมาะสมและถูกต้องตลอดเวลา ซึ่งช่วยในการระบุ วางแผนงาน และจัดลาดับความสาคัญของการ ลงทุนแต่ละโครงการ เพื่อให้ผู้เก่ียวข้องเข้าใจบทบาทและหน้าท่ีของตนเองก่อนนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ตลอดจนสร้าง ความแน่ใจว่าการดาเนินงานตามแผนบรรลุ เป้าหมายตามท่ีกาหนดไว้ (อ้างอิงใน ณัฐยา สินตระการผล, ๒๕๕๓ : ๒๔) จากหลักการบรหิ ารเชงิ กลยุทธท์ น่ี ักวชิ าการได้กลา่ วไว้ พอสรุปไดว้ า่ ๑. เป็นการกาหนดแนวทาง หรือทิศทางในการดาเนินงานขององค์การ เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ๒. ต้องวิเคราะห์และประเมินสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพ่ือเป็นข้อมูลในการจัดทา แผนงานดาเนนิ การท่เี หมาะสมทีส่ ดุ เพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายท่วี างไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. เป็นการบรหิ ารท่ีมีกาหนดผลการปฏบิ ัตขิ ององค์การในระยะทีแ่ น่นอน ภายใต้สภาพแวดลอ้ มทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทาใหอ้ งค์การสมยั ใหม่เป็นองค์การเชิงกลยุทธ์ซ่ึง จะต้องมีการนาแนวคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) มาใช้ เพราะการบริหารเชิงกลยุทธ์ เป็นรูปแบบการบริหารที่มีกระบวนการเป็นข้ันตอนต่างๆ ที่จะทาให้การบริหารบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การที่องค์การสามารถกาหนดวิสัยทัศน์ในระยะยาวไว้ล่วงหน้าได้อย่างชัดเจน การกาหนดพันธกิจให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ และกาหนดกลยุทธ์ เพ่ือผลักดันองค์การให้บรรลุตามพันธกิจ และวิสัยทัศน์ท่ีกาหนดไว้จึงมีความสาคัญ อยา่ งมากที่จะตอ้ งอาศัยกระบวนการจดั การเชงิ กลยุทธม์ นี ักวิชาการหลายทา่ นไดแ้ สดงแนวคดิ เกยี่ วกับกระบวนการ จัดการเชิงกลยทุ ธ์ ดังน้ี

คมู่ ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๘๘ Gordon Judith R.and associates (๑๙๙๐ : ๑๔๔-๑๕๐ อ้างอิงใน วันชัย มชี าติ, ๒๕๕๔ : ๑๑๘-๑๒๓) ได้เสนอว่าในการจดั การเชิงกลยทุ ธ์ มีข้นั ตอนสาคญั ๕ ขนั้ ตอน ดงั นี้ ๑. การกาหนดพันธกิจขององค์การ (mission determination) เป็นการกาหนดว่าองค์การจะมีภารกิจใด เป็นการตอบคาถามว่าองค์การนั้นตั้งข้ึนมาเพ่ืออะไร หรือแสดงเหตุผลความจาเป็นในการมีองค์การดังกล่าว การ กาหนดพันธกิจขององค์การจะเป็นการกาหนดสภาพแวดล้อมขององค์การ แสดงถึงความพยายามขององค์การใน ภาพรวมว่าต้องการให้เกิดผลใดข้ึน พันธกิจขององค์การสามารถพิจารณาได้จากพระราชบัญญัติจัดต้ังหน่วยงานใน องคก์ ารราชการ และวตั ถปุ ระสงค์ขององค์การ ๒. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ การวางแผนกลยุทธ์ให้ความสาคัญกับการเปล่ียนแปลงท้ังใน ดา้ นสภาพแวดล้อมที่มกี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา และในตา้ นการปรบั ตวั ขององค์การ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ในการวางแผนกลยุทธ์เปน็ การวิเคราะห์เพี่อนามากาหนดกลยุทธ์ขององค์การให้สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อม โดยใน การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม ๒ ส่วน คอื ๒.๑ สภาพแวดลอ้ มภายนอกเปน็ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทัว่ ไปและสภาพแวดลอ้ มเฉพาะ ๒.๒ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์การ เป็นขั้นตอนสาคัญของการวางแผนกลยุทธ์ เพราะจะเป็นฐานในการกาหนดกลยุทธ์และทิศทาง ตลอดจนวิธีการดาเนินงานให้บรรลุทิศทางท่ีกาหนดไว้ของ องคก์ าร ๓. การกาหนดวัตถุประสงค์ของแผนกลยุทธ์ หลังจากศึกษาพันธกิจ และวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ องค์การแล้ว องค์การจะกาหนดวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานขององค์การที่สอดคล้องกับภารกิจขององค์การ ซึ่ง วัตถุประสงคท์ ี่กาหนดขึน้ จะตอ้ งมีลักษณะสาคัญ คือ ๓.๑ มีความเฉพาะเจาะจงและมคี วามชัดเจน (specific) ๓.๒ สามารถวัดได้ (measurable) ๓.๓ เป็นท่ยี อมรับและเห็นพ้องตอ้ งกันในหมู่ผทู้ ีเ่ กยี่ วข้อง (agreeable) ๓.๔ สามารถปฏิบัตไิ ดห้ รือเปน็ จริงได้ (realistic) ๓.๕ ระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ (time - frame) ลักษณะของวตั ถปุ ระสงค์ดังกลา่ วนี้อาจเรียก ว่า SMART – GOAL ๓.๖ มีความท้าทาย แต่สามารถบรรลุได้ไม่ยาก หรือง่ายจนเกินไป ( challenging, but attainable) ๓.๗ วัตถปุ ระสงคค์ วรมีการบนั ทึก หรอื เขยี นไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร (documented, Written ๔. การกาหนดกลยุทธ์ขององค์การ เป็นการกาหนดกลยุทธ์จากการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ประกอบด้วยแผน ๓ ระดับ คือยุทธศาสตร์ไนระดับองค์การโดยรวมซึ่งเรียกว่า corporate level กลยุทธ์ไนระดับ หน่วยงานยอ่ ย หรือระดบั หน่วยธรุ กจิ หรือระดบั business – level และแผนระดับปฏบิ ตั กิ าร หรอื operational - level โดยแผนกลยุทธ์แต่ละระดับจะต้องมีความสัมพันธ์ สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันในลักษณะความ เช่ือมโยงของเป้าหมายและวิธีการปฏิบัติ ดังน้ัน หากการกาหนดมีความชัดเจนและเช่ือมโยงกันดีก็จะทาให้การ ปฏิบตั งิ านขององคก์ ารเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและบรรลุตามที่องค์การวางไว้ ๕. การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ เป็นข้ันตอนท่ีมีผลต่อความสาเร็จขององค์การเป็นอย่างมากเน่ืองจากเป็น กระบวนการในการทางานขององค์การ และเกี่ยวข้องกับการบริหารงานในมิติต่างๆ เช่น โครงสร้างขององค์การ

คมู่ อื หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๘๙ ระบบการนาในองค์การ ระบบการติดต่อส่ือสารและการควบคุมในองค์การ ซึ่งตัวแปรเหล่าน้ีถือเป็นปัจจัยในการ ปฏบิ ัติงานขององคก์ ารทง้ั สิน้ นิตธิ ร รุ่งเรือง (๒๕๕๓ : ๑๙) กล่าวว่า การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ ประกอบดว้ ย ๔ ดา้ น คือ ๑. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม ๒. การกาหนดกลยทุ ธ์ ๓. การปฏบิ ตั ิตามกลยทุ ธ์ ๔. การควบคุมและประเมนิ กลยุทธ์ กำรสังเครำะห์แนวคดิ เกีย่ วกับกำรจดั กำรเชิงกลยุทธ์ของนักวชิ ำกำร เจ้ำของแนวคดิ ทฤษฎี แนวคดิ กำรจัดกำรเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย Gordon Judith R.and associates (๑๙๙๐) ๑. การกาหนดพนั ธกิจขององค์การ Fred R. David (๑๙๙๑) ๒. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มขององคก์ าร ๓. การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ Bateman and Snell (๑๙๙๙) ๔. กาหนดกลยุทธ์ขององค์การ Schermcrhorn (๑๙๙๙) ๕. การนากลยทุ ธ์ไปปฏบิ ตั ิ Dess Gregory G., and Alex Miller (๑๙๙๓, p.๑) ๑. กาหนดเป้าหมายขององค์การ ๒. การนาไปปฏิบัติ Pearce and Robinson, (๒๐๐๐) ๓. การประเมนิ ผลการดาเนินงาน Robbins and Coulter, (๒๐๐๗ : ๘๙) Thompson Strickland ๑. การกาหนดกลยุทธ์ นติ ิธร รงุ่ เรอื ง (๒๕๕๓) ๒. ปฏบิ ตั ิตามกลยทุ ธ์ ๑. การกาหนดกลยุทธ์ ๒. การปฏิบัติตามกลยทุ ธ์ การวเิ คราะห์เชิงกลยทุ ธ์, การปฏิบัติตามกลยทุ ธ์ การควบคมุ เชงิ กลยทุ ธ์, ภาวะผนู้ าเชงิ กลยทุ ธ์, การวิเคราะหป์ ัจจยั หรือประเด็นเชิงกลยทุ ธ์, การคิดค้น วเิ คราะห์และเลือกทางเลือกในเชิงกลยุทธ์, การนากลยทุ ธ์ไปปฏิบตั ิ, การควบคุมและการ ประเมนิ ผล กระบวนการตัดสินใจ, การปฏบิ ตั ิต่างๆ การวางแผน, การจดั องค์การ, การนา, การควบคุม การกาหนดข้อความวสิ ยั ทัศน์, การกาหนดกลยุทธ์, การ ปฏบิ ัติตามกลยทุ ธ์, การประเมินและการควบคุมกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม, การกาหนดกลยทุ ธ์, การ ปฏิบตั ติ ามกลยทุ ธ์, การควบคุมและประเมนิ กลยุทธ์

คู่มอื หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศึกษา ๙๐ เจ้ำของแนวคดิ ทฤษฎี แนวคิดกำรจดั กำรเชิงกลยทุ ธ์ ประกอบด้วย ปกรณ์ ปรยิ ากร (๒๕๕๐) การวเิ คราะห์สถานการณ์ของกิจการ, การพิจารณาและ ประเมนิ บทบาทของนักบรหิ าร, การพิจารณาและ ประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก, การพจิ ารณาและ ประเมินสภาพแวดล้อมภายในกิจการ, การวิเคราะห์ ปจั จยั หรือประเด็นเชิงกลยุทธ์, การคิดคน้ วเิ คราะห์ และเลอื กทางเลือกในเชิงกลยุทธ์, การนากลยทุ ธ์ไป ปฏิบตั ิ,การควบคุมและการประเมินผล จากการศกึ ษาแนวคิด ทฤษฏีท่ีเกีย่ วข้อง พบว่า การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ มปี จั จัยการบริหารเชิงกลยุทธ์ ท่ีสาคญั ทน่ี ักวชิ าการหลายท่านนิยมใช้ร่วมกันประกอบด้วย ๑. ดา้ นการวิเคราะหเ์ ชิงกลยุทธ์ (Strategic analysis) แบ่งเปน็ ๒ สว่ นคอื ๑.๑ การวเิ คราะหภ์ ารกจิ และผลผลิต ประกอบไปด้วย ๑) กฎหมาย นโยบาย ๒) ค่านยิ ม ๓) ภารกิจทอ่ี งค์กรต้องปฏิบัติและ ๔) การดาเนนิ งานผลผลิตหลัก ๑.๒ การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก ประกอบดว้ ย ๑) สงั คมและวฒั นธรรม ๒) เทคโนโลยี ๓) เศรษฐกจิ อาชพี ๒. การจดั ทากลยุทธ์ ประกอบดว้ ย ๑) ความรูแ้ ละระบบข้อมูลสารสนเทศ ๒) การตดิ ต่อสอื่ สาร ๓) ความร้คู วามเข้าใจต่อบทบาทและหนา้ ท่ี ๔) การประชาสมั พนั ธ/์ อบรม/ สัมมนา/ คู่มือ ๓. การปฏิบัตติ ามกลยทุ ธ์ ประกอบดว้ ย ๑) การจงู ใจ ๒) การตระหนักรู้ ๓) ทัศนคติ ๔. การประเมนิ กลยุทธ์/ การควบคุมกากบั กลยุทธ์ ประกอบไปด้วย ๑) คุณภาพของบคุ ลากร (Man: M๑) ๒) ประสทิ ธภิ าพทางการเงนิ (Money: M๒) ๓) วัสดทุ รัพยากร (Material: M๓) ๔) การบริหาร จัดการ (Management: M๔) ๑) ความยดื หยนุ่ ๒) การตรวจสอบและประเมนิ ผล การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ตามแนวคดิ ของเดวิด (David) ประกอบด้วย ๓ ขน้ั ตอน ขัน้ ตอนที่๑ การกาหนดกล ยุทธ์ (strategic formulation) ขั้นตอนท๒่ี การนากลยุทธไ์ ปปฏิบัติ (strategic implementing) และขั้นตอนที่ ๓ การประเมนิ กลยทุ ธ์ (strategic evaluation) ดงั นี้ ขนั้ ท่ี ๑ การกาหนดกลยทุ ธ์ การบรหิ ารเชิงกลยทุ ธ์ เป็นศาสตร์และศิลป์ในการกาหนด กลยทุ ธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการประเมินกลยทุ ธ์ เพื่อใหก้ ารดาเนินงานสามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงคต์ ามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ โดยพจิ ารณา สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดาเนนิ การขององคก์ ร ข้ันท่ี ๒ การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ผบู้ ริหารได้กาหนดภารกิจ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ มกี ารวางแผนนโยบาย เพอ่ื เปน็ แนวทางในการดาเนินงานและการตัดสินใจ การกาหนดกลยุทธไ์ ปปฏบิ ตั ิประกอบด้วย การพัฒนา สนับสนนุ กลยทุ ธท์ ่ดี ี วัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ทจ่ี ะสะทอ้ นถึงโครงสรา้ งขององค์กร

คู่มอื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๙๑ ขนั้ ที่ ๓ การประเมินกลยทุ ธ์ การประเมินกลยุทธ์ เป็นการตรวจสอบขนั้ ตอนของการบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ มี ๓ ประการทสี่ าคัญ คอื คือ ๑) การทบทวนปจั จัยภายในและปัจจัยภายนอก ซึง่ เป็นพน้ื ฐานของการกาหนดกลยุทธ์ในปจั จบุ นั ๒) การวดั การปฏิบตั ิงาน ๓) การนาไปปรับปรงุ แก้ไข กระบวนกำรพัฒนำกลยุทธ์ Thompson & Strickland (๑๙๙๕ : ๔) กล่าวว่า กระบวนการพฒั นากลยุทธ์ ได้แก่ ๑) การกาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เปา้ หมาย และวัตถุประสงค์ (Vision, Mission,Goal and objective) เป็นการกาหนดจดุ หมาย ๕ ประการ ดงั นี้ (๑) การกาหนดวสิ ัยทัศขององคก์ ร (Organization’s Vision) เป็นข้อความทว่ั ไปซ่ึงกาหนดทิศทาง ขององค์กร ความต้องการ (Need) และค่านิยมเบื้องต้นขององค์กร (๒) การกาหนดข้อความพันธกจิ (Mission Statement) เปน็ ขอบเขตของงานในองค์กรซึ่งกาหนด ข้นึ เพ่ือนภาพรวมและการดาเดนิ การ (๓) กาหนดเปา้ หมายเชิงกลยุทธ์ (Goal and Objective) เปน็ ขอ้ ความอยา่ งกว้างของจุดหมาย ซ่งึ กาหนดข้ึนเพอ่ื ให้บรรลพุ ันธกิจ (Mission) (๔) การกาหนดเป้าหมาย (Goal) เปน็ การกาหนดสง่ิ ที่ตอ้ งการในอนาคตซ่งึ องคก์ รต้องพยายามให้ เกิดขน้ึ (๕) การกาหนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ (Strategic Objective) เป็นขอ้ ความเฉพาะอย่างที่ กาหนดหลกั เกณฑ์เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายในสภาวะแวดลอ้ มภายในและภายนอกชว่ งระยะเวลาหน่งึ ซึ่งเปน็ ส่ิงจาเป็น โอกาสภายใตส้ ภาวะแวดล้อม ๒) กาหนดกลยทุ ธ์ (Strategy Formulation) หรอื การวางแผนเชิงกลยุทธ์(Strategy Planning) หมายถึง การกาหนดกลยทุ ธ์ทางเลือก และเลือกทางเลือกซ่ึงสามารถบรรลุจุดประสงคเ์ ป็นแผนที่สาคญั และเปน็ แผนระยะยาว ๓) การปฏบิ ตั ิตามกลยทุ ธ์ (Strategy Implementation) เป็นกระบวนการเปลยี่ นแปลงกลยทุ ธ์ให้เปน็ การ ปฏิบัติและเป็นผลลัพธ์ คือ การกาหนดโครงสร้างขององค์กรการจัดระบบการปฏิบตั ิการท่ีเหมาะสม และการจัด วฒั นธรรมขององค์กรหรือค่านิยม ๔) การประเมนิ ผลและการควบคุมกลยุทธ์ (Evaluation and Strategic Control)เป็นกระบวนการ พจิ ารณาวา่ กลยุทธบ์ รรลเุ ปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงคห์ รือไม่ เป็นขัน้ ตอนท่ผี มู้ ีส่วนร่วมในโครงการช่วยกันรับผิดชอบ ในการเลอื กและพัฒนากลยทุ ธเ์ พอ่ื ให้กิจกรรม/โครงการดาเนนิ ไปประสบผลสาเรจ็ การพัฒนากลยทุ ธอ์ าจใช้ กระบวนการระดมสมอง การพจิ ารณาทบทวนอยา่ งรอบคอบ การตกลงร่วมกนั ฉันทามติ (Consensual Agreement) กลยทุ ธท์ ี่ไดจ้ ะถกู นามาปฏิบัติแล้วมีการทบทวน ตรวจสอบเกีย่ วกับประสิทธผิ ลหรอื ความเหมาะสม สมยศ นาวีการ (๒๕๔๔ : ๒๒ – ๒๓) กล่าววา่ การพัฒนากลยุทธม์ ีข้ันตอน ดงั น้ี ๑) การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพ่ือพจิ ารณาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอปุ สรรค ซงึ่ เรยี กวา่ การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) ๒) การกาหนดกลยทุ ธ์ คอื การพฒั นาแผนระยะยาวบนรากฐานของสภาพ แวดล้อมภายในและ สภาพแวดลอ้ มภายนอก

คูม่ อื หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๙๒ ๓) การดาเนนิ กลยุทธ์ เปน็ การถ่ายทอดกลยุทธใ์ หเ้ ปน็ การกระทาดว้ ยการวางแผน การดาเนินงานใน รายละเอียดทเี่ ฉพาะเจาะจงให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ๔) การควบคุมกลยทุ ธ์ เปน็ การตรวจสอบกิจกรรมและผลการดาเนินงานเพ่ือเปรยี บเทยี บผลการดาเนนิ งาน จรงิ และผลการดาเนินงานท่ีถูกต้อง ศักดช์ิ ัย เพชรแกมทอง (๒๕๕๕ : ๘๔) กล่าววา่ การพฒั นากลยทุ ธม์ ชี นั้ ตอน ดังน้ี ๑) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ๒) การกาหนดกลยุทธ์ ๓) การดาเนนิ กลยุทธ์ ๔) การควบคุมกลยทุ ธ์ จากข้อมูลสรุปไดว้ า่ กระบวนการพัฒนากลยทุ ธ์ ประกอบด้วย ๑) การกาหนดภารกจิ ๒) การวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายใน ๓) การกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย ๔) การสร้างกลยทุ ธ์ และ ๕) การ ตดิ ตามและประเมนิ ผล กำรบรหิ ำรเชิงกลยุทธ์ในสถำนศึกษำ สถานศกึ ษาเปน็ หน่วยงานทางการศึกษา ทีน่ านโยบายไปสู่การปฏิบตั ใิ หส้ อดรับกบั นโยบาย และ ยทุ ธศาสตร์ ตง้ั แตร่ ะดับชาติ ระดบั กระทรวง ระดบั เขต ระดับโรงเรียน และตามสภาพแวดลอ้ มท้งั ภายในและ ภายนอกของแต่ละสถานศกึ ษาท่แี ตกต่างกนั โดยใชก้ ระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธ์ เพื่อกาหนดกลยทุ ธ์ นากลยุทธ์ ไปปฏิบตั ิ ตลอดจนติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ การบรหิ ารเชงิ กลยุทธใ์ นสถานศกึ ษาของเดวิด (David) กบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มีองคป์ ระกอบดว้ ยกัน ๓ ขน้ั ตอนคือ 1. การกาหนดกลยุทธ์ ซ่ึงประกอบด้วยการกาหนดภารกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก การกาหนดทิศทางของ สถานศึกษา ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (vision) ซึ่งเป็นภาพความสาเร็จ พันธกิจ (mission) เป็นพันธสัญญาที่ต้อง ปฏบิ ัติ เพอื่ ใหบ้ รรลุวิสัยทศั น์ท่ีกาหนดไว้ เปา้ หมาย (goals) เป็นผลลพั ธ์ทต่ี ้องการให้ เกิดขน้ึ จากการปฏิบัติงานของ สถานศกึ ษา ๒. การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ เป็นการปฏิบัติตามกลยุทธ์ของสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นมาอย่างมีเป้าหมาย โดยมีขั้นตอน ๑) กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ แต่งต้ังคณะกรรมการ ๒) จัดทาปฏิทินปฏิบัติงาน โดยกาหนด ระยะเวลา ๓) จดั เตรียมข้อมลู ท่เี ป็นปัจจบุ ันถูกต้องชดั เจน ครอบคลุมภารกิจของสถานศึกษา ๔) สร้างความเขา้ ใจใน บทบาทหน้าท่ีของผู้มีส่วยร่วมในการวางแผนกลยุทธ์ ๕) ระดมความคิดของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องให้เข้ามามีส่วนร่วม ๖) ทุกฝ่ายปฏิบัตติ ามกลยทุ ธท์ ี่วางไว้ ๓. การประเมินกลยทุ ธส์ ถานศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานขององค์กร วา่ บรรลผุ ลตามเป้าหมาย และมาตรฐานที่กาหนดไว้ เพ่ือพิจารณาว่ามีประสิทธิภาพดีเพียงใดโดย พิจารณาใน๓ ประเด็นคือ ๑) การทบทวน ปัจจัยภายในและภายนอก ๒) การวัดผลการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา ๓) การนาผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข แผนงานและโครงการ

คูม่ อื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๙๓ กำรวำงแผนกลยุทธร์ ะดับสถำนศกึ ษำ ขนั้ ตอน วธิ ีกำร ๑. เตรยี มการจัดทาแผนกลยุทธ์ ๑) จดั ตงั้ คณะกรรมการและคณะทางาน ทาแผนกลยุทธ์ ๒. วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของโรงเรียน ๒) ให้ความรูแ้ กบ่ ุคลากรและผเู้ กย่ี วขอ้ ง ๓. ประเมินสถานภาพของโรงเรยี น ๓) รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน จัดทาฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ ๔. จดั วางทิศทางของโรงเรยี น เกย่ี วกบั สภาพของโรงเรยี น ๕. กาหนดกลยุทธ์โรงเรยี น ๔) ศึกษาสภาพขององคก์ รและจัดทาภาพรวมของโรงเรยี น ๖. ถ่ายทอดกลยุทธส์ กู่ ารปฏบิ ัติ ๑) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก-โอกาส, อปุ สรรค ๗. ควบคมุ กลยทุ ธ์ ๒) วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน-จุดแข็ง, จดุ อ่อน รูส้ ถานภาพและความพรอ้ มของโรงเรียน กาหนดวิสยั ทศั น์ คา่ นยิ ม พันธกิจ เปา้ ประสงค์ของโรงเรียน กาหนดแนวทางหลกั ในการพัฒนาคณุ ภาพของโรงเรียน ๑) กาหนดวัตถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพ ๒) กาหนดตัวชว้ี ัดคณุ ภาพโรงเรียน ๓) กาหนดเปา้ หมายความสาเรจ็ ของแต่ละตวั ชี้วัดคณุ ภาพ ๑) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจาปีการศึกษา ๒) ทบทวน ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ แผนกลยทุ ธ์