Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Description: การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Search

Read the Text Version

คูมอื ผูบริหารสถานศึกษา (การบริหารสญั ญาตามระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการพัสดุ) โดย นายสมนกึ ผดุงจนั ทน ผูเช่ยี วชาญเฉพาะดานพัฒนาระบบการจดั การ สาํ นักอาํ นวยการ สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

คาํ นํา  ในแตละปงบประมาณสวนราชการไดรับวงเงินงบประมาณมาเพ่ือดําเนินการจัดหาพัสดุ เปน คาวัสดุ คาครุภัณฑ คาท่ีดินและส่ิงกอสราง และอื่น ๆ เปนจํานวนมาก โดยตองมีการจัดทํา สัญญาซื้อขาย หรือสัญญาจางระหวางผูซื้อกับผูขายหรือผูวาจางกับผูรับจาง การปฏิบัติเพ่ือให เปนไปตามขอสัญญานั้น เปนปญหาขอกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑตาง ๆ หากปฏิบัติ ผิดพลาดอาจเกิดความเสียหายแกสวนราชการและหนวยงาน เจาหนาที่ที่เก่ียวของอาจตองรับผิด ชดใชคาเสียหายมูลละเมิดแกทางราชการอีกสวนหน่ึงดวย แตเนื่องจากการปฏิบัติงานตามสัญญา ซ้ือขายและสัญญาจางยังไมมีการจัดทํารวบรวม เปนหมวดหมู เพื่อสะดวกในการคนควาอางอิง เน่ืองจากสัญญาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุฯ เปนสัญญาท่ีตองผานการ พิจารณาตรวจรางของสํานักงานอัยการสูงสุด การวินิจฉัยปญหาในการปฏิบัติตามสัญญาจึงมีการ หารือไปยังสํานักงานอัยการสูงสุด ผูเขียนจึงไดศึกษาคนควาแนววินิจฉัยที่เก่ียวของกับการพัสดุ จากขอหารือของสํานักงานอัยการสูงสุด และคําพิพากษาคดีปกครองท่ีเก่ียวของกับการพัสดุ นํามารวบรวมและเรียบเรียงขึ้นเปนหนังสือ คูมือผูบริหารสถานศึกษา “การบริหารสัญญา ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุฯ” เพ่ือเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของ เจา หนาทพ่ี สั ดุ ของสวนราชการและผูสนใจ  นายสมนึก ผดุงจนั ทน ผูเ ชยี่ วชาญเฉพาะดา นพฒั นาระบบการจดั การ สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั เร่อื ง หนา • ประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา………………………………….……...………….1 • ประกาศสอบราคา หรอื ประกาศประกวดราคาตองสงเผยแพรไ ปยงั ผูมีอาชีพ ขายหรอื รบั จา งภายในระยะเวลาเทาใด…………………………………………………………2 • กรณีไมส งประกาศสอบราคาเผยแพร… ………………………………………...……………..4 • สัญญาสอบราคา สญั ญาประกวดราคาและสญั ญาจะเขา รวมประมูลงานจา ง • ดว ยวิธกี ารทางอิเลก็ ทรอนกิ ส.....................................................................................................6 • เอกสารเสนอราคา.......................................................................................................................9 • การมอบอาํ นาจใหเ สนอราคา…………………………………………………………...…….11 • กําหนดเวลายืนราคาตามใบเสนอราคา...................................................................................... 12 • ผวู าจางไมพรอ มทจ่ี ะทําสัญญา จะรบิ หลักประกันผูเสนอราคาไมได… …………..………….15 • กรณีทไ่ี มอ าจรบิ หลกั ประกนั ซองประกวดราคาได… ……………………………...………....16 • ผเู สนอราคาไมยอมมาทาํ สัญญาภายในกําหนดเวลายืนราคาริบหลกั ประกันซอง ได……...…..17 • ปญหาผูเสนอราคาหลายรายรว มกันเขาเสนอราคา แตผ เู สนอราคาบางราย ไมย อมมาทําสญั ญารบิ หลกั ประกันซองไดอ ยา งไร................................................................... 17 • ปญ หาการทผ่ี ูเสนอราคาไดเสนอราคาโดยคํานวณจํานวนตัวเลขผิดพลาดมีผลอยางไร............ 18 • การยกเลกิ การประกวดราคาถือวาคาํ เสนอสนิ้ ผลผูกพนั ...........................................................19 • กรณีทผ่ี ูเสนอราคาขอเพมิ่ ราคาจากทเ่ี สนอไวเ ดิมเปน การเสนอราคา ใหม……………...……..20 • สญั ญาซอ้ื ขายและสญั ญาจา ง.....................................................................................................22 • คูสัญญายงั ไมล งนามในสญั ญาทั้งสองฝาย สัญญายังไมมีผลบังคับ……………………….....22 • ลงนามในสัญญาเม่ือพน กาํ หนดเวลายืนราคาสัญญาไมมผี ลบงั คับ...........................................24 • การใชแบบสัญญาซอ้ื ขาย สัญญาจาง………………………………………………………...24

• การกรอกขอความใน สญั ญา…………………………………………………………………..26 • การระบุชอ่ื คสู ญั ญาฝา ยผูซอ้ื หรอื ผูว า จา ง……………………………………………….….....27 • ผูมอี าํ นาจลงนามในสญั ญาฝายผซู ื้อหรอื ผูวา จา ง…………………………...………………....28 • การระบุชอ่ื คูสญั ญาฝายผขู ายหรอื ผูรบั จาง…………………………………...……….......…..28 สารบญั  (ตอ ) เร่อื ง หนา • ผูรับมอบอํานาจใหม าจดั ทําสญั ญา............................................................................................29 • การระบสุ ่งิ ของท่ีตกลงซ้อื ขาย…………………………………………..……………………30 • ผูขายสงมอบสิ่งของเกา แมย ังมไิ ดใชง านผูซือ้ ปฏิเสธการรบั มอบได.......................................30 • เอกสารอันเปน สวนหนึ่งของ สัญญา…………………………………………………………..31 • การระบุรายการงานที่ตกลงจา ง……………………………………………………………….32 • หลกั ประกันสญั ญา...................................................................................................................36 • แนวปฏบิ ัตใิ นการวางหลกั ประกันสญั ญาซอ้ื ขายและสัญญาจาง............................................... 36 • การลงนามในสัญญากอนไดรับโอนจัดสรรงบประมาณจากสวนราชการ……………………38 • ปญ หาประกาศสอบราคาหลายครั้ง จะทําเปน สัญญารวมกนั ฉบับเดยี วไดหรือไม....................40 • การจัดซอื้ ส่งิ ของนอกเหนือวงเงินและรายการทส่ี าํ นกั งบประมาณอนมุ ตั มิ ผี ลอยา งไร............. 40 • หา งหนุ สวนจาํ กดั เมื่อผเู ปนหุนสว นผจู ดั การถงึ แกกรรม หางตองเลกิ กันมผี ล อยางไร……….42 • หุนสว นผจู ดั การหางถงึ แกก รรมหางเลกิ กัน และไดโอนกิจการใหหางท่ตี ้ังขึ้นใหม................. 44 • กรณจี ดทะเบียนเปลย่ี นชือ่ นติ ิบคุ คลใหมจ ะตอ งปฏบิ ตั ิอยา งไร………………………………44 • ผูจ ัดการหางถงึ แกก รรม ทายาทเขาเปนหุน สว นแทนท่ี หางไมเลิกกัน………………………..45 • แบบกอ สรางแนบทา ยสัญญากาํ หนดแบบฐานรากไวทงั้ แบบมีเสาเข็มและไมมเี สาเขม็ ……...45 • การนาํ ชี้สถานท่กี อสรา งไมตรงกับงบประมาณทไี่ ดรบั อนุมัติ………………………………..47

• การแตง ตง้ั คณะกรรมการตรวจการจา งหรอื คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเปน อํานาจ ใคร……..49 • การแตงตั้งคณะกรรมการ……………………………………………………………………..49 • กรณีทไ่ี มต องแตง ต้งั คณะกรรมการ………………………………………………………..…50 • หนา ท่ขี องคณะกรรมการ…………………………………………………………………..…51 • การประชมุ ของคณะกรรมการ…………………………………………………………..……51 • การตรวจการจางของคณะกรรมการท่ีไมเ ปน เอก ฉนั ท……………………………………….52 • การตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรับพัสด…ุ …………………………………………..….53 • งานพิเศษและการแกไ ขงานตามสัญญาจาง……………………………………………...……54 • การแกไขเปลี่ยนแปลงสญั ญาซอ้ื ขายและสัญญาจาง……………………………………….....56 สารบญั  (ตอ ) เรื่อง หนา • การกอ สรางท่ที าํ กอนจัดทาํ สญั ญา หากถกู ตอ งตรวจรบั ได…………………………………...59 • ผูขายสง มอบสงิ่ ของเกา แมย งั มิไดใชงานผูซอ้ื ปฏเิ สธการรบั มอบได……………………..….60 • กรณีโตแ ยงการตรวจรับงานจา งระหวา งฟอ งคดี เขา ใชอาคารที่กอสรา ง ได…………………..61 • ปญหา ผขู ายสง มอบสิง่ ของไมถ กู ตอ ง ปรากฏหลงั จากตรวจรบั และชาํ ระราคาแลว วา เปนของปลอม สถานศกึ ษาควรจะดําเนนิ การอยา งไร………………………………..…….62 • สงมอบไมถกู ตอง ตกลงสง ของไมต รงตามสญั ญาถอื วา ยกเลกิ สญั ญาเดิม………………...….66 • สงมอบไมถ กู ตอ งตามสญั ญา แตน ํามาใชง านแลว ถือวา รับโดย ปริยาย……………………….68 • ผขู ายขอรอ งใหน ําไปใชง านกอ นไมถ อื วา ยอมรบั โดย ปรยิ าย…………………………...…….68 • เกิดความชํารุดบกพรองกอ นสงงานจางงวดสุดทาย……………………………………..……68

• ผรู บั จางสงมอบงานบางงวดแลว เกดิ เหตุเสียหาย ผูรับจา งตองรบั ผิด แกไ ข……………..……69 • สัญญาจางบางสวนถกู พายุพัดพงั ลงอยใู นความรับผิดชอบของใคร…………………………..71 • การชาํ ระหน้ีเปนพน วิสยั ผูขายหรอื ผรู ับจางหลุดพน ความรบั ผิด………………………...….71 • การชาํ ระหนีเ้ ปนการพน วิสยั ผูขายหลุดพน ความรับผิด………………………………..……72 • ซ้อื รถยนตแตผ ูขายขาดสง เอกสารท่ีใชในการจดทะเบยี น ถือวา ผูขายผดิ สญั ญาหรอื ไม… .….75 • กําหนดสง มอบสง่ิ ของและงานตามสญั ญาจา ง……………………………………………..…77 • วันครบกาํ หนดสง มอบตรงกับวันหยุดราชการ สงวนั ซึ่งเปน วนั เริ่มทํางานใหม ได………...…78 • เม่อื ผูข ายหรือผรู บั จางไมปฏิบัติตามสญั ญาซ้ือขายหรอื สัญญาจาง………………………...….79 • การเรยี กคา ปรบั เม่อื ครบกําหนดสง มอบพสั ดุตามสญั ญาหรือ ขอ ตกลง……………….………79 • การสงวนสิทธิการเรยี กคาปรับขณะทรี่ ับมอบพัสดุ…………………………………….……80 • ตวั อยางหนังสอื เรยี ก คาปรบั …………………………………………………………………..83 • การบอกเลิกสญั ญาซอ้ื ขายและสัญญาจา ง………………………………………………….....85 • เอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาบอกเลกิ สัญญา…………………………………...…..89 • เหตุบอกเลกิ สัญญาจาง………………………………………………………………...…...…91 • ผรู ับจางไมเ ร่มิ ลงมือทํางานจางภายในกาํ หนดเวลาตามสัญญา………………………….........91   สารบญั  (ตอ) เรอื่ ง หนา • ผรู บั จา งไมสามารถทาํ งานใหแ ลวเสร็จตามกําหนดเวลาสญั ญา................................................91 • ผรู บั จางตกเปนบุคคลลมละลาย……………………………………………………………....92 • ผูรับจางเพิกเฉยไมปฏิบัตติ ามคาํ สง่ั ของคณะกรรมการตรวจการจา งหรอื ผคู วบคุมงาน หรอื บริษัทท่ีปรกึ ษา ซงึ่ ไดรับมอบอํานาจจากผวู าจาง............................................................... 92

• เหตุบอกเลิกสญั ญาเนอื่ งจากความผิดของผูวาจาง……………………………………….…....93 • การบอกเลิกสัญญาโดยปรยิ าย……………………………………………………………......93 • สทิ ธิของผูวาจางภายหลงั บอกเลิกสัญญา…………………………………………..……...….93 • การรบิ หลักประกันสัญญา……………………………………………………………..…..…94 • ผรู ับจา งไมไดวางหลักประกนั เมื่อเลกิ สญั ญา รบิ หลกั ประกันไมไ ด… …………………..…...94 • การใชเครอื่ งใชใ นการกอสรา งทีส่ รางขนึ้ ชวั่ คราวสาํ หรับงาน กอ สรา ง………………..…...…95 • การเรยี กคาเสยี หายท่ีตอ งจางผรู ับจางรายใหมท ํางานจา งมรี าคาสูงข้ึน คา ควบคมุ งาน…….….99 • สัญญาจางรายใหมตดั ลดรายการเรียกการเรยี กราคาคาจา งเพิ่มข้ึน ไมไ ด… …………………...99 • หักคา จางท่ีคา งจายหรอื เงินประกันผลงานทผ่ี ูรับจางมีสิทธไิ ดรับมาชาํ ระคา ปรบั และคาเสียหายได. ...................................................................................................................100 • การหกั กลบลบหนใ้ี นสญั ญาทางปกครอง...............................................................................101 • เหตุบอกเลกิ สญั ญาซือ้ ขาย………………………………………………………………..…103 • สิทธิของผูซ ้ือภายหลงั การบอกเลกิ สัญญา…………………………………………………..103 • เรยี กใหผ ูข ายใชร าคาที่เพม่ิ ข้ึนเนื่องจากจัดซอ้ื จากผูขายรายใหม ภายในกําหนดเวลา ตามขอ สญั ญา นับแตว นั บอกเลิกสัญญาซอ้ื ขาย......................................................................104 • ส่ิงของท่ีซือ้ ขายกับผูขายรายใหมต องเปน ยห่ี อ ขนาด รุน ประเทศผูผลติ ตรงตามสัญญาเดมิ ……………………………………………………………………..……104 • ริบหลักประกันและเรียกคา ปรบั นับแตว นั ถดั จากวนั ครบกาํ หนดสง มอบตามสัญญา จนถึงวันบอกเลกิ สญั ญาผูขายไมไดผ ิดสัญญาริบหลกั ประกนั เรียกคาปรบั และคาเสียหายไมได. ..............................................................................................................106 • หลกั ประกันและคา ปรับตามสัญญา………………………………………..…………….….106 • ถา ผขู ายหรอื ผูรบั จา งไมยอมรับเงนิ คา จางหรือราคาส่งิ ของควรปฏบิ ตั ิอยา งไร……..……….107 สารบญั  (ตอ ) เร่อื ง หนา • การขอขยายเวลาสัญญาจา งและสญั ญาซ้อื ขาย………………………………………………108

• การขอขยายเวลาสัญญาตองอยูระหวา งการปฏิบตั ิงานกอนสงมอบตามสญั ญา....................... 110 • การขอลดหรืองดคา ปรับตอ งเปนกรณีท่ีมเี หตุอนั เนอ่ื งมาจากผูขาย หรอื ผูรับจาง ไมต อ งรับผดิ ชอบ...................................................................................................................112 • การขยายเวลา สญั ญาไมชอบดว ยระเบียบก็ปรบั ผูรับจางไมไ ด………………………..…….112 • การขยายเวลาสัญญาใหผรู บั จางหรือผขู ายตอ งแจง ใหธ นาคารผูคํา้ ประกัน สญั ญาทราบดวย………………………………………………………………….…………113 • เหตเุ กิดจากความผดิ ความบกพรองของสวนราชการ…………………………………….….114 • การออกแบบกอสรางบกพรองเปนความผิดบกพรอ งจากฝายผู วา จาง…………………….…114 • การสง มอบสถานทก่ี อ สรางลา ชา เปนความผิดบกพรอ งจากฝา ยผวู า จาง…………………….115 • ความผดิ จากฝา ยผขู ายหรือผรู ับจางขอขยายเวลาหรือลดหรอื งดคาปรบั ไมได. .......................117 • เหตุสดุ วสิ ยั ..............................................................................................................................117 • เหตุดังกลาวยังสามารถปอ งกันหรือแกไขไดไ มถ ือวา เปนเหตสุ ดุ วสิ ยั ……………………....117 • การติดขัดเพราะตองขออนุญาตจากรัฐบาลตา งประเทศกอนไมใ ชเ หตุสุดวสิ ยั ………...……118 • การขาดแคลนวสั ดุ อุปกรณใชใ นการกอสรา ง ไมถ อื วา เปนเหตุสุดวิสยั …………………….119 • อุปสรรคทถี่ ือวา เปน เหตุ สุดวสิ ัย…………………………………………………………..…120 • เหตจุ ากภยั ธรรมชาติ นอกเหนือความคาดหมายขอขยายเวลาสัญญา ได… …..………………120 • ภยั ธรรมชาตทิ ่เี กิดปกติเปนประจาํ ตามฤดูกาล นาํ มากลาวอางขยายเวลาสญั ญาไมได. ...........121 • ครบกําหนดอายสุ ัญญาแลว จงึ เกดิ เหตุสดุ วิสยั นํามาอางขอขยายเวลาสญั ญาได หรือไม……..122 • การขาดเงินทุนหมนุ เวยี น การลดคาเงินบาท ไมใชเ หตุขยายเวลาสญั ญา…………………....124 • เหตอุ ่ืน ๆ………………………………………………………………………………….....124 • พฤตกิ ารณทีล่ กู หนีไ้ มต อ งรบั ผดิ ชอบ……………………………………...………………..127 • สิง่ ของทีต่ อ งจดั หาจากแหลงหนึ่งแหลงใดโดยเฉพาะเมอ่ื เกดิ ปญหาอปุ สรรคทีแ่ หลง ผลติ ขอขยายเวลาสัญญาได………………………………………………………………...…….130 • สิ่งของที่จดั หามจี ําหนา ยโดยท่ัว ๆ ไป ขอขยายเวลาสญั ญาไมไ ด…………………….……..131 • เอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาขยายระยะเวลาสญั ญาการของดและลดคา ปรบั .......... 134

สารบญั  (ตอ) เรื่อง หนา • การเรียกคา ปรับตามสัญญาซื้อขายและสญั ญาจาง................................................................... 135 • ไมเ รียกคา ปรบั กอนบอกเลกิ สญั ญาเรียกคาปรบั ไมไ ด… ……………………………..……..136 • ไมใ ชความผดิ ผูขาย ผรู บั จางปรบั ไมไ ด… ……………………………………………..……137 • คา ปรับกรณสี งมอบส่ิงของหรอื งานจางลาชา………………………………………….……138 • เง่อื นไขประกวดราคา กําหนดอัตราคาปรบั ไวแตกตางจากอัตราคา ปรับตามสญั ญา จะปรบั อยา งไร........................................................................................................................139 • ผรู บั จา งสง งานจา งลา ชากวางวดงานที่กําหนดยงั ปรบั ไมไ ด……………………………..….140 • กรรมการตรวจงานจางลา ชา จะคดิ หกั คาปรับจากผรู บั จางไมได… ………………………....141 • ผูขายสงมอบส่ิงของในลกั ษณะเปน หีบหอ ยงั ไมเ ปดทาํ การตรวจทดลองไมถอื วาสงมอบ...... 144 • ผขู ายสงสง่ิ ของตามสัญญาแลว ขาดแตหนงั สอื รับรองของบริษัทผผู ลิตถือวาสง ลาชา หรอื ไม............................................................................................................................146 • สญั ญาจางกอสรา งหลายรายการ ผรู บั จางสง ลา ชาบางรายการ ปรับจากราคางานจาง ทั้งสญั ญา.................................................................................................................................146 • การปรับกรณสี ง มอบสิง่ ของตามสญั ญาหลายครงั้ ..................................................................146 • การปรับกรณีตกลงซื้อขายส่งิ ของเปนชุด…………………………………………..……….147 • การปรับกรณผี ขู ายสงมอบส่งิ ของตามสญั ญาซ้ือขายไดเ พยี ง บางสวน…………...………….148 • การรบั ประกนั ความชาํ รุดบกพรอง…………………………………………………….……149 • สง่ิ ของตามสญั ญาและงานจาง ชาํ รุด……………………………………………………...….151 • เกดิ ความชํารดุ บกพรองหลายครงั้ อายุความนบั แยกแตล ะคร้ังท่ีเกิดการชํารุดบกพรอ ง.……152 • เอกสารหลกั ฐานประกอบการพิจารณากรณีเกิดความชาํ รดุ บกพรอ ง………………………..154 • การคนื หลักประกันสญั ญาซอ้ื ขายและสัญญาจา ง………………………………………..….157

• การเบิกจา ยเงนิ คา จา งกอ สรา งและคา พสั ดตุ ามสัญญาจา ง……………………………...……161 • การโอนสทิ ธิเรียกรอ งตาม สญั ญา………………………………………...………………….161 • หนังสอื สญั ญาโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง…………………………………………...……………….163 • หนังสอื บอกกลา วการโอนสิทธิเรยี กรอ ง……………………………………………..……..163 • โอนสิทธเิ รยี กรองแลว แตจ ายเงินแกผ โู อนสทิ ธิเรียกรองจะมีผลอยา งไร……………..……165 สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา • ปญ หาโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งกนั แลว ตอ มาผูโอน และผูรบั โอนไดม หี นังสอื แจง ยกเลิก การโอนสิทธิดงั น้ี จะมีผลอยา งไร…………………………………...………………………166 • การฟองคดีตามสัญญาซ้อื ขายและสญั ญาจา ง..........................................................................172 • สัญญาซื้อขายทเี่ ปน สญั ญาทางปกครอง..................................................................................173 • สัญญาซอ้ื ขายทไ่ี มเ ปน สัญญาทางปกครอง………………………………………………….173 • สัญญาจางทีเ่ ปน สัญญาทางปกครอง…………………………………………………….…..174 • สญั ญาจางทไี่ มเ ปน สญั ญาทาง ปกครอง………………………………………...……………175 • อายคุ วามฟอ งคดีตามสัญญาซ้ือขายและสัญญาจาง…………………………………….……176 • คดีพิพาททเ่ี กีย่ วกบั สญั ญาทาง ปกครอง……………………………………………..……….176 • คดพี พิ าทที่เกีย่ วกับสัญญาทางแพง ……………………….…………………………………181 ภาคผนวก....................................................................................................................................182 แบบสัญญาซอ้ื ขาย……………………………………………………………………………...183 แบบสญั ญาจาง…………………………...……………………………………………………..190

ประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา การจัดทาํ ประกาศสอบราคาหรือประกาศประกวดราคาน้ัน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบมีหนาที่ ตองตรวจสอบวาสํานักงบประมาณไดอนุมัติเงินงบประมาณใหทําการจัดหาพัสดุหรือครุภัณฑ หรือรายการส่ิงกอสรางแตละรายการอยางไร โดยตองระบุไวใหชัดเจนในประกาศ การจัดทํา ประกาศขาดตกบกพรองรายการใดรายการหน่ึง ไมตรงตามหลักฐานการอนุมัติเงินงบประมาณ อาจเปน เหตใุ หเ กิดความเสียหายแกทางราชการได   กรณีตัวอยาง สวนราชการไดรับเงินงบประมาณใหทําการจางถมดิน จํานวน 2 แปลง พ้ืนท่ีแปลงละ 100 ตารางวา รวมพื้นท่ี 200 ตารางวา วงเงินงบประมาณ 2 ลานบาท แตเจาหนาท่ี ผูจัดทําประกาศประกวดราคา ไดจัดรางประกาศวา “ประกวดราคาเพื่อปรับปรุงพ้ืนที่จํานวน 100 ตารางวา ” ตอมาสวนราชการไดเรียกใหผูเสนอราคาจัดทําสัญญาจางถมดินพื้นท่ี 200 ตาราง วา ดังนี้ผเู สนอราคาอาจยกขน้ึ ปฏเิ สธไมย อมเขาทําสญั ญาจางได  กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัย ร. ประกาศประกวดราคาซ้ือกลองถายรูปทําบัตรประจําตัว นักศึกษา ตอมาผูขายไดนํากลองถายรูปมาสงมอบ กรรมการไดทําการตรวจรับ โดยไดทําการ ทดลองแลวปรากฏวา กลองถายรูป ถายภาพและขอความไดไมชัดเจน ซ่ึงผูขายไดชี้แจงวาจะตอง มีเพลทดวยจึงจะถายภาพและขอความไดชัดเจน แตเพลทดังกลาวไมรวมอยูในสัญญาซื้อขาย เน่ืองจากประกาศประกวดราคาและสัญญาซื้อขายไมไดระบุอุปกรณกลองดังกลาวไว ถาตองการ เพลทจะตองซ้ือแยกตางหาก กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวามหาวิทยาลัยไดเคยประกาศสอบราคา ซื้อกลองถา ยรูปในลกั ษณะเดียวกัน ซ่ึงบรษิ ัทผขู ายรายน้ีเปนผูชนะในการเสนอราคา การจัดซ้ือใน ครั้งน้ันไดระบุชัดเจนวา กลองถายรูปดังกลาวจะตองประกอบดวยเพลทดวย การที่มหาวิทยาลัย ประกาศประกวดราคาจัดซื้อในครั้งนี้ โดยมิไดระบุใหตองประกอบดวยเพลท นาจะเปนเคร่ืองชี้

เจตนาวามหาวิทยาลัยไมประสงคซื้อและใหผูขายตองสงเพลทดวย ราคาที่ผูขายเสนอจึงมิไดรวม ราคาเพลทดวย หากกลองถายรูปท่ีบริษัทผูขายไดสงมอบมีคุณลักษณะเฉพาะถูกตองครบถวนตาม เอกสารแนบทา ยสญั ญาแลว ยอ มถือวาบรษิ ัทผขู ายไดป ฏิบัติตามสัญญาแลว มหาวิทยาลัยจะตอ งทํา การตรวจรบั ตอ ไป (ขอหารอื ตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอัยการท่ี 49/2530) - 2 -  หมายเหตุ ประกาศสอบราคาหรือประกวดราคาตองมีรายการจัดซื้อจัดจางตรงกับรายการท่ีสํานัก งบประมาณอนุมัตทิ ุกประการ เชน ประกวดราคากอสรางอาคารหากมีลิฟท ตองระบุในประกาศ วา มลี ฟิ ทดว ย หากประกาศไมช ัดเจน อาจบังคับใหผ รู ับจา งกอสรา งลฟิ ทด วยไมได การจดั ซือ้ พัสดุ ครุภัณฑหลายรายการ ควรกําหนดไวในประกาศใหชัดเจนวาจะพิจารณา ราคาตอหนวย ราคาตอรายการ หรือราคารวม วาจะพิจารณาราคาใด สําหรับการจัดซื้อส่ิงของ ท่ีไมไดกําหนดใหจัดซื้อเปนชุด หากแยกพิจารณาจัดซ้ือจากผูเสนอราคาโดยพิจารณาราคาแตละ รายการ หรือราคาตอหนวย ยอมเปนประโยชนแกทางราชการ เพราะสามารถแยกซื้อจากผูเสนอ ราคาแตละรายการที่เสนอราคาตํ่าสุดที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเปนประโยชนแกทางราชการ ไดด ีกวา การพิจารณาราคารวม ปญหา ประกาศสอบราคาหรือประกาศประกวดราคาไมไดกําหนดใหผูเสนอราคาเขา เสนอราคาโดยพิจารณาจากราคารวม หรือราคาตอหนวย หรือราคาตอรายการ จะพิจารณาราคา โดยถือหลกั เกณฑใ ด 1. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ขอ 40(6) เร่ืองการสอบราคา ใหกําหนดวาจะพิจารณาราคารวม หรือราคาตอหนวย หรือราคาตอรายการใหชัดเจน กรณีที่ไมได กาํ หนดไวใหพ จิ ารณาราคารวม 2. การซื้อหรือการจางโดยวิธีประกวดราคาระเบียบไมไดกําหนดไว ดังน้ันในกรณีที่ ประกาศประกวดราคา ไมไดกําหนดวาจะพิจารณาจาก ราคาตอหนวย ตอรายการ หรือราคารวม จึงอาจพิจารณาจากราคาตอหนวย ตอรายการ หรือราคารวมซ่ึงเปนประโยชนตอทางราชการ มากกวา ได

ประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคาตองสงเผยแพรไปยังผูมีอาชีพขายหรือรับจาง ภายในระยะเวลาเทาใด 1. การสอบราคาตองสงประกาศเผยแพรการสอบราคาและเอกสารสอบราคาไป ยังผูมีอาชีพขายหรือรับจางทํางานน้ันโดยตรง กอนวันเปดซองสอบราคาไมนอยกวา 10 วัน ตามขอ 41 (1) แหงระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรวี าดว ยการพสั ดุ พ.ศ.2535 2. การประกวดราคาใหปดประกาศโดยเปดเผย ณ ที่ทําการของสวนราชการน้ัน และสงไปประกาศทางวิทยุกระจายเสียงและหรือหนังสือพิมพ กรมประชาสัมพันธ องคการ ส่อื สารมวลชนแหงประเทศไทย ศูนยรวมขาวประกวดราคา และสํานักงานตรวจเงินแผนดิน หรือ   -3-   สํานักงานตรวจเงินแผนดินภูมิภาคโดยตองกระทํากอนการใหหรือขายเอกสารประกวดราคาไม นอยกวา 7 วนั ทาํ การ ตามขอ 45 แหง ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรวี า ดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 กรณีตัวอยาง ประกาศประกวดราคากําหนดขายแบบระหวางวันท่ี 19 ธันวาคม 2537 ถึงวันที่ 3 มกราคม 2538 และกําหนดย่ืนซองประกวดราคาวันที่ 4 มกราคม 2537 โดยพิมพ พ.ศ. ผิด แตขอความในประกาศและเอกสารประกวดราคาระบุวันยื่นซองประกวดราคาท่ีถูกตองไมสับสน การประกวดราคายอมมผี ลสมบรู ณ สว นราชการทปี่ ระกวดราคาทําสญั ญากับผูท่ีไดรับการคัดเลือก ได( ขอ หารือตามคําวินิจฉัยสาํ นักงานอัยการสงู สุดท่ี 26/2538) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดมีหนังสือท่ี นร 0203/ว 129 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2535 แจงวาคณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันที่ 25 สิงหาคม 2535 พิจารณาเห็นชอบตามมาตรการ การปองกันและประพฤติมิชอบในวงราชการเกี่ยวกับการประกวดราคา ที่มีการรวมหัวกัน ตามที่ คณะกรรมการ ป.ป.ป. เสนอ กรณีสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงาน ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการ สวนทองถ่ินมีการจัดสงประกาศประกวดราคา กอ สรา งวงเงิน 1 ลา นบาทขึน้ ไปลาชา จนไมสามารถประกาศใหผูเขาประกวดราคาไปติดตอขอซ้ือ หรือขอรับแบบรูปรายการ ไดทันตามกําหนดหรือลาชาจนไมสามารถประกาศใหไดมีหลักเกณฑ โดยสรปุ ดังนี้ 1. กําชับใหสวนราชการหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานตามกฎหมายวาดวย ระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ินถือปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี (ตามหนังสือที่ สํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีท่ี นร 0203/ว 37 เรื่องการหลีกเล่ียงไมปฏิบัติตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ) และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535

โดยเครง ครัด หากปรากฏวายังมีการไมป ฏบิ ัติตาม ก็ใหผูบังคับบัญชาดําเนินการสอบสวนทางวินัย ทุกราย 2. กรณีท่ีศูนยรวมขาวประกวดราคาของกรมประชาสัมพันธ ไดรับขาวสารการประกวด ราคาลาชาจนไมสามารถเผยแพรไดทัน หรือไมปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ พัสดุ พ.ศ. 2535 ใหศูนยรวมขาวรีบรายงานกรมประชาสัมพันธ เพ่ือสงเรื่องดังกลาว ใหกระทรวงการคลัง ทบวง กรม เจาสังกัดของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ิน ท่ีสงประกาศประกวดราคา ลา ชา เพ่อื สั่งการใหดําเนินการสอบสวนทางวินัยเจาหนาทท่ี เี่ กีย่ วขอ งโดยเร็ว    -4-   3. ใหศูนยรวมขาวประกวดราคาของกรมประชาสัมพันธ และ อ.ส.ม.ท. รวบรวมขอมูล กรณีท่ีหนวยงานสงขาวสารการประกวดราคาลาชา จนไมสามารถเผยแพรไดทัน หรือปฏิบัติให ถูกตองตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ใหคณะกรรมการ ป.ป.ป.  (ปจจบุ นั คือ ป.ป.ช.) ทราบทกุ รอบหกเดือน เพ่อื ใหม กี ารตดิ ตามตรวจสอบตอไป กรณไี มส งประกาศสอบราคาเผยแพร คําพพิ ากษาศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขแดงที่ 1010/2547 ผูฟองคดีไดมีหนังสือลงวันท่ี 31 มกราคม 2544 สอบถามเร่ืองการสอบราคาไปยังผูถูก ฟองคดีเร่ืองการสอบราคา ผูถูกฟองคดีไดมีหนังสือลงวันที่ 13 กุมภาพันธ 2544 แจงวายังไมมี การสอบราคาในวันเดียวกันกับวันที่มีประกาศสอบราคา และไดมีการสงประกาศสอบราคาไปยัง ผูมีอาชีพรับจางจํานวน 11 รายและปดประกาศเผยแพรการสอบราคาไวโดยเปดเผย ณ ท่ีทําการ ของสวนราชการ แตไมไดสงประกาศสอบราคาใหแกผูฟองคดี เน่ืองจากเคยสงประกาศสอบราคา ใหแกผูฟ องคดหี ลายครง้ั แลว แตผฟู องคดไี มเคยตดิ ตอ ซอ้ื แบบหรือซือ้ แบบก็ไมย ื่นซองเสนอราคา ทําใหผูฟองคดีไมทราบขอมูลการสอบราคา และไมมีโอกาสเขาแขงขันราคา การกระทําของผูถูก ฟองคดี เปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม การสอบราคาไมเปนไปตามวัตถุประสงคตามระเบียบ วาดวยการพัสดุเร่ืองการซ้ือหรือจางโดยวิธีสอบราคาซ่ึงกําหนดวากอนวันเปดซองสอบราคาไม นอยกวาสิบวันใหเจาหนาท่ีพัสดุสงประกาศเผยแพรการสอบราคาและเอกสารสอบราคาไปยังผูมี อาชีพขายหรือรับจางทํางานน้ันโดยตรง หรือโดยทางไปรษณียลงทะเบียนใหมากที่สุดเทาท่ี จะทําได กับใหปดประกาศเผยแพรการสอบราคาไวโดยเปดเผย ณ ที่ทําการของสวนราชการนั้น การออกประกาศสอบราคาไมชอบดวยกฎหมาย พิพากษาใหเพิกถอนประกาศสอบราคาจางของ ผูถูกฟอ งคดี

คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดงที่ อ.252/2549 ผูฟองคดีไดมีหนังสือลงวันที่ 4 ธันวาคม 2543 ถึงผูถูกฟองคดีท่ี 1 (อ.บ.ต.แซงบาดาล) และผูถูกฟองคดีที่ 2 (นายก อ.บ.ต.แซงบาดาล) และหนังสือลงวันท่ี 31 มกราคม 2544 ถึงผูถูกฟองคดี ท่ี 3 (อ.บ.ต.หนองแวง) และผูถูกฟองคดีที่ 4 ( นายก อ.บ.ต.หนองแวง) ขอใหสงประกาศจัดซื้อจัด จางใหแ กผูฟองคดี โดยอางระเบียบ กระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุ ขององคการบริหารสวน ตําบล พ.ศ. 2538 ขอ 27(1) ผูถูกฟองคดีที่ 1 โดยผูถูกฟองคดีที่ 2 มีหนังสือลงวันที่ 13 กุมภาพันธ 2544 แจงผูฟองคดีวายังมิไดมีการดําเนินการการสอบราคา และผูถูกฟองคดีท่ี 1 มิไดสงเอกสาร สอบราคาใหแกบุคคลใดเปนการเฉพาะสวน ผูถ ูกฟองคดีที่ 3 ไมไ ดม ีหนังสอื ตอบผูฟ อ งคดี -5- ในวันที่ 13 กุมภาพันธ 2544 ผูถูกฟองคดีที่ 1 มีหนังสือแจงนายอําเภอสมเด็จวา มีความ ประสงคจะสอบราคาจางประจําปงบประมาณ 2544 รวม 4 โครงการ และขอใหนายอําเภอสมเด็จ ปดประกาศสอบราคาจางดวย โดย ผูถูกฟองคดีท่ี 1 ไดปดประกาศสอบราคาไว ณ ท่ีทําการของผู ถูกฟองคดีที่ 1 รวมทั้งสงประกาศสอบราคาใหองคการบริหารตําบลตาง ๆ เพ่ือประชาสัมพันธ และสง ประกาศไปยังผมู ีอาชพี รบั จา งโดยตรง 6 ราย แตไมไดแจงใหผูฟองคดีทราบ เน่ืองจากเห็นวามี ผูประกอบการจํานวนมากที่มิไดสงประกาศใหโดยตรงสวนใหญเขาใจและติดตามดูประกาศดวย ตนเอง ในวันที่ 14 กุมภาพันธ 2544 ผูถูกฟองคดีที่ 3 มีหนังสือแจงนายอําเภอสมเด็จวา มีความ ประสงคจะสอบราคาจางขอใหเผยแพรประกาศสอบราคาใหผูสนใจทราบ ขณะเดียวกันไดปด ประกาศสอบราคาไว ณ ที่ทําการของผูถูกฟองคดีที่ 3 และจัดสงประกาศสอบราคาใหแกผูรับจาง 11 ราย โดยมิไดสงใหผูฟองคดี เน่ืองจากเห็นวามีผูรับจางจํานวนมาก ผูฟองคดีไดมีหนังสือถึงผู ถูกฟอ งคดที ี่ 5 (ผูวาราชการจังหวัดกาฬสนิ ธ)ุ ใหยกเลิกประกาศสอบราคาของผูถูกฟอ งคดที ี่ 1 และ ที่ 3 เนื่องจากเจาหนาท่ีพัสดุไมไดสงประกาศสอบราคาใหแกผูฟองคดี ซึ่งขัดตอระเบียบ กระทรวงมหาดไทย วาดวยการพสั ดุขององคการบริหารสว นตําบล พ.ศ. 2538 ขอ 27(1) ผูถูกฟองคดีท่ี 5 มีหนังสือลงวันท่ี 26 มีนาคม 2544 แจงผูฟองคดีวา ผูถูกฟองคดีท่ี 1 และท่ี 3ไดปดประกาศสอบราคาไวในท่ีเปดเผยตามระยะเวลาปดประกาศ รวมท้ังจัดสงประกาศ สอบราคา ใหน ายอาํ เภอสงถึงผมู ีอาชีพรับจา งทางไปรษณียล งทะเบยี น การท่ีไมไดสงใหผูรับจาง รายหนงึ่ รายใด ไมถือวา เปนการปฏบิ ตั ิท่ผี ดิ ระเบยี บจนเปน เหตใุ หม กี ารยกเลิกการประกวดราคา ศาลปกครองชน้ั ตนพพิ ากษาวาการทผ่ี ถู กู ฟองคดที ี่ 1 และที่ 3ไมไดสงประกาศสอบราคา ใหแกผูฟองคดี แตมีการจัดสงประกาศใหแกผูรับจางรายอ่ืน เม่ือผูฟองคดีมีหนังสือสอบถาม

กลบั วา ไมมกี ารสอบราคา เปนการเลือกปฏบิ ัติโดยไมเ ปน ธรรม พิพากษาใหเพกิ ถอนประกาศสอบ ราคา ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา การที่ผูถูกฟองคดีท่ี 1 และท่ี 3 ไดมีการประกาศสอบราคา จางดังกลาว โดยสงประกาศไปยังผูมีอาชีพขายหรือรับจางทํางานนั้นโดยตรง หรือทางไปรษณีย ลงทะเบียนใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได และไดปดประกาศเผยแพรการสอบราคาไว ณ ท่ีทําการของ องคการบริหารสวนตําบลและท่ีวาการอําเภอโดยเปดเผย จึงเปนไปตามขอ 27(1) ของระเบียบ กระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุขององคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2538 แลว การที่ผูถูกฟอง คดีที่ 1 และที่ 3 มิไดสงประกาศสอบราคาใหแกผูฟองคดี มิไดเปนการปฏิบัติที่ผิดระเบียบ เน่ืองจากมิไดมีระเบียบกฎหมายใด ที่กําหนดใหตองแจงใหผูฟองคดีหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด ทราบ -6- โดยตรงและถือวาเปนหนาท่ีของผูประกอบการท่ีตองติดตามขอมูลการประกาศประกวดราคาของ หนวยราชการดวยตนเอง เพราะในปจจุบันมีผูประกอบการจํานวนมาก หนวยงานราชการ ไมสามารถจัดสงประกาศประกวดราคาใหแกผูประกอบการไดเปนการเฉพาะราย การออก ประกาศสอบราคาจึงเปนไปโดยชอบดวยกฎหมายแลว พิพากษากลับคําพิพากษาศาลปกครอง ชัน้ ตน เปน ใหย กฟอง สัญญาสอบราคา สญั ญาประกวดราคา และสัญญาจะเขารว มประมูลงานจางดวยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส สัญญาในทางกฎหมายเกิดข้ึนจากการแสดงเจตนาของคูสัญญาท่ีแสดงเจตนาออกมา ตรงกัน กอใหเกิดสัญญา เชน นาย ก. ประสงคจะขอซื้อหนังสือจาก นาย ข. จํานวน 1 เลม ราคา 20 บาท จึงบอกกลาวแกนาย ข. วาจะขอซ้ือหนังสือ 1 เลม การท่ีนาย ก. กระทําการดังกลาวถือวา เปนการแสดงเจตนาจะซ้ือเรียกวา “คําเสนอ” หากนาย ข. ตอบตกลงขายหนังสือแกนาย ก.              เปนการแสดงเจตนาขาย เรียกวา “คําสนอง” เม่ือเจตนาที่คูกรณีแสดงออกตรงกัน กอใหเกิด สัญญาซ้ือขายหนังสือข้ึน สัญญาบางอยางกฎหมายกําหนดใหทําตามแบบเชนการซ้ือขายที่ดิน ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ มิฉะน้ัน การซ้ือขายเปนโมฆะ เปนตน ในการจัดซื้อหรือจัดจางพัสดุ ครุภัณฑ เพื่อนํามาใชประโยชนในราชการน้ัน มีระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ กําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดหาไว เชน การซื้อหรือจางโดยวิธีตก ลงราคา สอบราคา ประกวดราคา เปนตน สําหรับการซ้ือหรือการจางโดยวิธีสอบราคาและ

ประกวดราคา สว นราชการจะตองจดั ทาํ ประกาศสอบราคาหรือประกวดราคา แจงไปยังผูประกอบ อาชีพขายหรือรับจางวาประสงคจะซ้ือหรือจางสิ่งของ พัสดุ ครุภัณฑ หรืองานจาง มีรายการ อยางไรใหฝายผูขายหรือผูรับจางทราบ เพื่อใหโอกาสเขาเสนอราคาตอสวนราชการ ผูเสนอราคา ตํ่าสุดและเสนอราคาท่ีเปนประโยชนแกทางราชการมากกวายอมไดรับการพิจารณาใหเปนผูขาย หรอื ผรู บั จางแลว แตก รณี ในกรณีท่ีสวนราชการมีประกาศสอบราคาหรือประกวดราคาใหแกบุคคลท่ัวไปเขาเสนอ ราคานน้ั ยังไมถ ือวาเปน คําเสนอในทางกฎหมาย เพราะเปนการประกาศเผยแพรท่ัวไป มิไดเจาะจง จะซื้อหรือจางจากผูขายหรือผูรับจางรายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะเอกสารประกาศสอบราคาหรือ ประกวดราคาจึงมีฐานะเปนเพียงคําเชื้อเชิญใหผูขายหรือผูรับจางเสนอราคาเขามาเทานั้น   -7-   หากผูขายหรือผูรับจางย่ืนใบเสนอราคาขายหรือรับจางเขามา ใบเสนอราคาดังกลาวมีฐานะเปน “คําเสนอ” เม่ือสวนราชการพิจารณาเห็นควรใหจัดซ้ือหรือจัดจางจากผูเสนอราคารายใด และได แจงใหผูเสนอราคารายนั้นทราบเพ่ือจัดทําสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจาง ดังนี้ถือวาสวนราชการ แสดงเจตนาสนองรับ เปน “คาํ สนอง” เกดิ เปนสัญญาในช้นั น้ี อาจเปน สญั ญาสอบราคาหรือสัญญา ประกวดราคา แลวแตกรณี โดยเฉพาะในการประกวดราคาน้ัน ผูเสนอราคาจะตองนําหลักประกัน ซองประกวดราคา เชน สัญญาค้ําประกันของธนาคาร หรือเงินสด มาวางเปนประกันการปฏิบัติ ตามสัญญา หากผูเสนอราคารายใดไดรับเลือกใหเปนผูขายหรือผูรับจางแลวไมยอมมาทําสัญญา หรือขอตกลงกับสวนราชการภายในเวลาท่ีกําหนดหรือไดรับแจงจากสวนราชการ ก็ถือไดวาผู เสนอราคารายน้ันผิดสัญญาประกวดราคา สวนราชการมีสิทธิริบหลักประกันซองท่ีผูเสนอราคา รายนน้ั นํามาวางเปนประกันได คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1825/2522 โจทกประกาศประกวดราคา เปนคําเชื้อเชิญใหทําคํา เสนอ หนังสือเสนอราคาของจําเลยตามประกาศ เปนคําเสนอ โจทกรับประกวดราคาของจําเลย และแจง ใหจ าํ เลยไปทําสญั ญาตามกําหนดในประกาศเรียกประกวดราคา เปนคําสนอง จําเลยไมไป ทําสญั ญา โจทกร บิ มดั จาํ ซองประกวดราคาตามขอตกลงในการประกวดราคาได กรณีตัวอยาง ประกาศสอบราคาของสวนราชการ มีลักษณะเปนคําเช้ือเชิญใหบุคคลทั่วไป ที่มีคุณสมบัติตามประกาศใหเขาเสนอราคาขาย ใบเสนอราคาของผูเสนอราคาถือวาเปนคําเสนอ

ซึ่งผูกพันที่จะตองปฏิบัติตามเง่ือนไขในประกาศสอบราคา เมื่อหนวยงานราชการออกใบสั่งซ้ือ ตามเง่ือนไขในประกาศสอบราคา ซึ่งมิไดกําหนดข้ันตอนวาผูเสนอราคาขายจะตองลงนามใน ใบส่ังซื้อดวยถือวา ผูสั่งซ้ือไดแสดงเจตนาทําคําสนองสงไปยังผูเสนอ เม่ือใบสั่งซ้ือไปถึงผูเสนอ ราคาสัญญาซื้อขายยอมเกิดข้ึน โดยผูเสนอราคาไมจําเปนตองลงนามในใบสั่งซ้ือแตอยางใด (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉัยของสาํ นักงานอยั การสงู สดุ ที่ 48/2537) คาํ สั่งศาลปกครองสงู สุดท่ี ๙๕/๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดี (องคการบริหารสวนตําบลมะขามสูง) ไดมีประกาศ เร่ือง ประมูลงานจาง ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส จางเหมากอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กในเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบ ของผูถูกฟองคดีจํานวน ๑๐ โครงการ โดยมีรายละเอียดตามเอกสารประกวดราคาจางดวยวิธีการ -8- ทางอิเล็กทรอนิกสโครงการที่ ๗ เลขที่ E ๗/๒๕๕๐ และแนบทายประกาศดังกลาว มีความในขอ ๖.๖ กาํ หนดวา ในกรณที ีผ่ ูย น่ื ขอเสนอทม่ี ีสิทธิไดรับการคัดเลือกใหเขาเสนอราคา แตผูยื่นขอเสนอ ท่ีมีสิทธิไดรับการคัดเลือกใหเขาเสนอราคาดังกลาวน้ัน ไมมาลงนามในสัญญาสามฝายเพ่ือเขา เสนอราคาตามท่ีกําหนดโดยไมมีเหตุผล อันสมควร องคการบริหารสวนตําบลจะดําเนินการยึด หลักประกนั ซองของผูย น่ื ขอเสนอรายน้นั ซึ่งแมประกาศของผูถูกฟองคดีดังกลาวจะยังมิใชสัญญา หรือขอตกลงใด ๆ อันจะมีผลผูกพันบุคคลภายนอกและถือเปนเพียงคําเชื้อเชิญใหผูมีอาชีพรับจาง กอสรา งมาทาํ คาํ เสนอกับผถู ูกฟอ งคดกี ต็ าม แตเม่ือผฟู อ งคดีสนใจจะเขารวมประมูลและไดยื่นซอง เอกสารเก่ียวกับคุณสมบัติพรอมหลักประกันซองของโครงการดังกลาวตอผูถูกฟองคดี และผูถูก ฟองคดีไดตรวจสอบคุณสมบัติแลวไดมีประกาศใหผูฟองคดีผานคุณสมบัติเปนผูท่ีสามารถเขา เสนอราคาได แมผูฟองคดีจะยังไมไดทําหนังสือ ลงนามสามฝายหรือทําสัญญาจางกับผูถูกฟองคดี ก็ตาม แตการที่ผูฟองคดีไดย่ืน คําเสนอตามแบบใบยื่นขอเสนอการประมูลจางดวยระบบ อิเล็กทรอนิกสลงวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๐ โดยตกลงยินยอมปฏิบัติตามขอกําหนดและเง่ือนไข ตาง ๆ ตามเอกสารการประมลู เลขท่ี E ๗/๒๕๕๐ ทแ่ี นบทายประกาศประมูลงานจางของ ผูถูกฟอง คดี และผูถูกฟองคดีไดตกลงยินยอมใหผูฟองคดีเขารวมการประมูลงานดังกลาวไดแลวน้ัน ยอม ถือไดวาเกิดเปนสัญญาในลักษณะท่ีเรียกวา สัญญาจะเขารวมประมูลงานจางดวยวิธีการทาง อเิ ลก็ ทรอนิกส ขน้ึ แลว ในกรณีท่ีมกี ารผดิ สญั ญาประกวดราคาหรือสญั ญาจะเขา รว มประมูลงานจางดวยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส เมื่อมีการริบประกันซอง และ สวนราชการไดทําการประกวดราคาใหมโดยมีผู

เสนอราคาตํ่าสุดเขามา แตราคาท่ีเสนอยังสูงกวาราคาที่มีการยกเลิกการประกวดราคาไป ดังน้ีจะ เรียกผูเสนอราคารายเดิมใหรับผิดชดใชคาเสียหายในราคาท่ีสูงขึ้นไดหรือไม โดยปกติแลวเรียก ไมไดเพราะการเรยี กคาเสยี หายดังกลาวเปนกรณที ี่มีการจัดทาํ สญั ญาซอื้ ขายกันแลวมีการผิดสัญญา เมื่อจัดซอ้ื จากผูข ายรายใหมและราคาแพงกวาผูขายรายเดิมดังนี้ ผูขายรายเดิมที่ผิดสัญญายังตองรับ ผิดชดใชคาเสียหาย ในเรื่องราคาที่สูงขึ้นดวย อยางไรก็ตามหากประกาศประกวดราคากําหนดไว วาในกรณีที่มีการผิดสัญญาประกวดราคาแลว ผูเสนอราคาที่ผิดสัญญาจะตองรับผิดชดใช คา เสยี หายในราคาท่สี ูงข้ึนดว ย ก็สามารถเรียกใหผเู สนอราคารายนนั้ รบั ผดิ ได  -9- คําพิพากษาฎีกาท่ี 1131/2520 จําเลยย่ืนใบเสนอราคา ในการประกวดราคารับจางทําของ เมื่อปรากฏชัดในใบแจงความประกวดราคาวาถาไมมาทําสัญญา ตองรับผิดชดใชคาเสียหายแกผู ประกาศประกวดราคาในสิ่งของท่ีแพงข้ึนดวย จําเลยตองผูกพัน ถาจําเลยไมไปทําสัญญา โจทกเ รียกคา เสยี หายทีจ่ างผูอืน่ แพงข้ึนได (ตามขอสัญญาประกวดราคา) ปญหา กรณีที่ผูเสนอราคาตํ่าสุดและไดรับเลือกใหเปนผูเสนอขายหรือผูรับจางไมยอม ไปทําสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางกับสวนราชการ ซ่ึงเปนการผิดสัญญาสอบราคาหรือสัญญา ประกวดราคา หรือสัญญาจะเขารวมประมูลงานจางดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส และไดริบ หลกั ประกนั ซองไปแลว ดงั นี้สว นราชการจะเรยี กใหผูเสนอราคารายอ่ืนท่ีเสนอราคาในครั้งน้ันมา ทําสัญญาซ้ือขายหรือสญั ญาจางตอ ไปไดหรือไม 1. การสอบราคา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 42 (3) วรรคสอง กําหนดวา ในกรณีท่ีผูเสนอราคาตํ่าสุดดังกลาว ไมยอมเขาทําสัญญาหรือขอตกลงกับ สวนราชการในเวลาทก่ี าํ หนดในเอกสารสอบราคา ใหค ณะกรรมการ (เปดซองสอบราคา) พจิ ารณา จากผูเสนอราคาตํ่ารายถัดไปตามลาํ ดบั 2. การประกวดราคา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 50 (2) วรรคสอง กําหนดวา ในกรณีท่ีผูเสนอราคาต่ําสุดดังกลาวไมยอมเขาทําสัญญาหรือขอตกลงกับ สวนราชการในเวลาที่กําหนดตามเอกสารประกวดราคา ใหคณะกรรมการ (พิจารณาผลการ ประกวดราคา) พิจารณาจากผเู สนอราคาตํา่ รายถัดไปตามลาํ ดับ

หมายเหตุ กรณีที่มีการจัดทําสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางกันแลว แตผูขายหรือผูรับจาง ไมปฏิบัติตามสัญญาหรือขอตกลง และไดมีการบอกเลิกสัญญาแลว ในกรณีนี้จะเรียกใหผูเสนอ ราคาต่ําสดุ ลําดบั ถดั ไป มาทาํ สญั ญาซ้อื ขายหรือสัญญาจางแทนไมได เพราะใบเสนอราคาสิ้นความ ผูกพันแลว ในกรณีเชนน้ี ตองดําเนินการสอบราคาหรือประกวดราคาเพื่อหาผูขายหรือผูรับจาง ใหมเทา นน้ั เอกสารเสนอราคา ประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคาจะกําหนดเงื่อนไขไววาผูมีสิทธิเสนอราคา จะตอ งมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขท่ีกําหนด และจะตองเปนผูประกอบอาชีพขายหรือรับจาง และตอง ยื่นใบเสนอราคาดวยตนเอง สําหรับกรณีที่ผูเสนอราคามีฐานะเปนนิติบุคคล เชน หางหุนสวน หรือบริษัท บุคคลท่ีมีอํานาจลงนามในเอกสารเสนอราคา ตองเปนผูมีอํานาจกระทําการแทน - 10 - นิติบุคคลนั้นดวย ท้ังน้ีตรวจสอบไดจากหนังสือรับรองของนายทะเบียนหางหุนสวนและบริษัท ท่ีผูเสนอราคาจะตองนํามาแสดงพรอมเอกสารเสนอราคา วาบุคคลใดมีอํานาจกระทําการผูกพัน แทนหางหนุ สวนและบรษิ ัทนน้ั ๆ 1. บริษัทจํากัด ผูมีอํานาจกระทําการแทน ไดแก กรรมการผูมีอํานาจกระทําการผูกพัน แทนบรษิ ัทหรือกรรมการผจู ดั การบรษิ ัท 2. หางหุนสวนจํากัด ผูมีอํานาจกระทําการแทน ไดแก หุนสวนผูจัดการของหาง โดย ปกตติ องเปน หนุ สว นของหา งประเภทไมจาํ กัดความรับผดิ เทา นนั้ สําหรับกรณีที่มีบุคคลผูกระทําการแทนนิติบุคคลหลายคน อาจมีขอจํากัดอํานาจของ ผกู ระทําการแทนไวมีลักษณะตาง ๆ กัน เม่ือไดปฏิบัติถูกตองแลวจึงจะถือวามีผลผูกพันนิติบุคคล นั้น ๆ เชน - กรรมการบริษัทหรือผจู ดั การหา งคนเดยี ว (กรณีไมจาํ กดั อํานาจของผูก ระทาํ การแทน) - กรรมการหรือหุนสวนสองคนลงลายมอื ช่ือรว มกนั - กรรมการหรือหุนสวนสองคนลงลายมือชื่อรวมกันและตองประทับตราของบริษัทหรือ หางหนุ สว นดวย กรณีตัวอยาง คําวา subsidiary เปนคําท่ีใชเรียกบริษัทจํากัด ซึ่งมีความสัมพันธกับบริษัท อกี บรษิ ัทหน่งึ ในลักษณะบริษัทหลังถือหนุ ขา งมากในบริษัทแรก ตามกฎหมายโดยสามารถกอตั้ง

บริษัท ใหมีความสัมพันธในลักษณะนี้ได และตองถือวาบริษัททั้งสองมีสภาพเปนนิติบุคคลแยก ตา งหากจากกัน เอกสารประกวดราคา กําหนดใหผูเสนอราคาทุกราย ตองยื่นขอมูลเกี่ยวกับประสบการณ การทํางาน ซ่ึงมีสภาพและขนาดของงานคลายคลึงกับงานในโครงการน้ี ซึ่งยอมหมายถึง ประสบการณของบริษัทผูเสนอราคาเอง ฉะนั้นบริษัทผูเสนอราคาจะนําประสบการณการทํางาน ของบริษัทอ่ืนมาอางหาไดไม แมบริษัทผูเสนอราคาจะมีความสัมพันธเปน subsidiary ของบริษัท นน้ั ก็ตาม (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉยั สํานกั งานอยั การสูงสุด ท่ี 25/2538) กรณีตัวอยาง ประกาศประกวดราคากําหนดใหผูเสนอราคาตองมีหลักฐานรับรอง มาตรฐานสินคาจากสถาบันที่เช่ือถือไดมาแสดงพรอมใบเสนอราคา ดังนั้นแมขาราชการสังกัด สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจะเปนผูรับรอง ก็ถือไมไดวาเอกสารดังกลาวออกการ รับรองใหโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เพราะผูท่ีมีอํานาจลงนามแทน คือ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะประธานกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเทานั้น (ขอหารือตามคําวนิ จิ ฉัยสํานักงานอยั การสูงสดุ ที่ 10/2537) - 11 - การมอบอํานาจใหเสนอราคา กรณีที่ผูจัดการนิติบุคคล ไดแก หุนสวนผูจัดการของหาง หรือกรรมการผูจัดการบริษัท ไมส ามารถมาเสนอราคาดวยตนเองได บุคคลดงั กลาวตอ งทาํ หนงั สอื มอบอํานาจใหบุคคลอ่ืนเสนอ ราคาแทนโดยทําเปนหนังสือมอบอํานาจลงลายมือชื่อ หุนสวนผูจัดการ หรือกรรมการผูจัดการ บริษัทผูมอบอํานาจ และลงลายมือช่ือผูรับมอบอํานาจ แตบุคคลผูไดรับมอบอํานาจจะมอบอํานาจ ชวงใหบุคคลอื่นเสนอราคาแทนผูรับมอบอํานาจไมได เวนแตหนังสือมอบอํานาจของหุนสวน ผูจัดการ หรือกรรมการผูจัดการบริษัท ไดกําหนดใหผูรับมอบอํานาจมีอํานาจในการมอบอํานาจ ชวงตอ ไปไดเ ทานน้ั กรณตี ัวอยา ง นาย ส. ไดรับมอบอํานาจจากบริษัท อ. ในประเทศสวีเดน ใหเปนตัวแทนทําการใน ประเทศไทยแลว ส.ไดมอบอํานาจให นาย น. เปนตัวแทนชวงทําการย่ืนซองประกวดราคาตอทาง ราชการดังนี้ เม่ือปรากฏวา บริษัท อ. มิไดมอบอํานาจใหนาย ส. ต้ังตัวแทนชวงทําการแทนได การยื่นซองประกวดราคา นาย ส. จึงตองเปนผูยื่นเองในนามของบริษัท อ. การที่นาย ส.

มอบอํานาจใหนาย น. เปนผูย่ืนซองประกวดราคาแทน จึงไมมีผลผูกพันบริษัท อ. ในประเทศ สวีเดน (ขอหารอื ตามคําวินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 63/2525) กรณตี วั อยาง หนังสือมอบอํานาจระบุวา “มอบอํานาจใหนาง ล เปนผูมีอํานาจยื่นซองราคา ตอรอง ราคา และอื่นๆ เก่ียวกับการประกวดราคาจางเหมากอสรางอาคาร” โดยมิไดระบุวาใหมีอํานาจลง นามในใบเสนอราคาดวย ดงั นี้หนังสือมอบอํานาจดังกลาวไดแสดงเจตนาแจงชัดวา นอกจากมอบ อํานาจให นาง ล.ย่ืนซองเสนอราคาแลว ยังมอบอํานาจใหดําเนินการอ่ืนๆ เก่ียวกับเอกสาร ประกวดราคาท้ังหมด นาง ล.จึงมีอํานาจลงลายมือชื่อยื่นซองเสนอราคาได (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉยั สํานักงานอยั การสูงสุดท่ี 83/2538)

- 12 - กาํ หนดเวลายนื ราคาตามใบเสนอราคา ในการจัดซื้อจัดจางนั้น เม่ือผูเสนอราคาไดยื่นเอกสารเสนอราคาเขามาแลว ผูเสนอราคาจะ กําหนดไวในใบเสนอราคาวา ใบเสนอราคาน้ีมีกําหนดเวลายืนราคาจํานวนก่ีวัน ทั้งน้ีเพราะราคา พัสดุ ครุภัณฑ หรือราคาวัสดุกอสรางตามเอกสารเสนอราคาดังกลาว อาจมีการเปล่ียนแปลงไปจาก วันท่ีมีการเสนอราคามาก หากผูเสนอราคาไมกําหนดจํานวนวันยืนราคาไว ถือวาเปนคําเสนอไม จํากดั ระยะเวลา สวนราชการผูซื้อหรือจางอาจเรียกใหผูเสนอราคามาจัดทําสัญญาตามใบเสนอราคา เมื่อใดก็ได หากราคาพัสดุ ครุภัณฑ หรือวัสดุกอสรางมีราคาเปล่ียนไปในทางสูงขึ้น ผูเสนอราคา ยอมประสบภาวะขาดทุนในการขายหรือทํางานจางน้ัน กรณีท่ีผูเสนอราคาไดกําหนดเวลายืนราคา ไวในใบเสนอราคามีกําหนดเวลาแนนอน เชน เสนอราคาขายครุภัณฑ ราคา 1 ลานบาท มี กําหนดเวลายืนราคา 120 วันนับแตวันยื่นใบเสนอราคา ดังน้ี หากสวนราชการไมแจงใหผูเสนอ ราคามาจัดทําสัญญาภายในกําหนดเวลาดังกลาว จนลวงพนเวลายืนราคาแลวจึงไดแจงใหผูเสนอ ราคามาจัดทําสัญญา ผูเสนอราคาอาจยกข้ึนปฏิเสธไมยอมมาจัดทําสัญญาได และไมอาจถือวาผู เสนอราคาผิดสญั ญาสอบราคาหรือสัญญาประกวดราคา เพราะสวนราชการไมไดแสดงเจตนาสนอง รับภายในกําหนดเวลาตามใบเสนอราคา จึงไมอาจริบหลักประกันซองได ดังน้ันเม่ือมีการจัดสอบ ราคาหรือประกวดราคาและเมื่อไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลว ควรเรงแจงใหผูเสนอราคามาจัดทํา สญั ญา ใหท นั ภายในกาํ หนดเวลาทร่ี ะบไุ วใ นใบเสนอราคาดวย หมายเหตุ 1. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 357 บัญญัติวา “คําเสนอใดเขาบอกปดไปยัง ผูเ สนอแลวก็ดีหรือมิไดสนองรับภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดี คําเสนอนั้นทานวาเปนอันส้ินความ ผูกพันแตนน้ั ไป” 2. การแสดงเจตนาสนองรับ มีผลเมื่อผูซ้ือมีหนังสือแจงตกลงซื้อไปถึงผูขาย แมยังไมได จัดทําสัญญากนั เปน หนงั สือก็ตาม (ขอ หารอื ตามคําวินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 107/2523) 3. ใบเสนอราคาไมไดกําหนดเวลายืนราคาไว เรียกใหผูเสนอราคามาทําสัญญาภายใน กาํ หนดเวลาอนั ควรได   

- 13 -   คําพพิ ากษาฎกี าท่ี 581/2523(ห.จ.ก.พ.ี ซี.คอนสทรัคช่ันฯ โจทก กรงุ เทพมหานครกบั พวก จําเลย)    เงื่อนไขการประกวดราคากาํ หนดใหผ ูยื่นซองไมเปล่ียนแปลงราคาภายใน 60 วัน นับแตวัน ยื่นซองประกวดราคา โจทกยื่นซองประกวดราคาโดยมีขอตกลงตามเงื่อนไขดังกลาว ไมทําใหคํา เสนอของโจทก เปนคําเสนอที่มีขอจํากัด ตาม ป.พ.พ.มาตรา 359 วรรคสอง เมื่อจําเลยแจงใหโจทก ทราบวา ราคาท่ีโจทกเสนอกอสรางเปนราคาต่ําสุด และตกลงจางโจทกถือไดวาเปนคําสนอง โจทกมีความผูกพันตองไปทําสัญญากับจําเลย หากไมไปทําสัญญาภายในกําหนด จําเลยมีสิทธิริบ หลักประกันซอง แลวทําความตกลงจางผูอ่ืนตอไปตามเงื่อนไขในแจงความ สวนเง่ือนไขท่ีวาราคา ไมเปลีย่ นแปลงภายใน 60 วนั เปน เพียงเงื่อนไขท่ีกําหนดในคาํ เชอื้ เชิญเทานน้ั มิไดหมายความวาถา เกิน 60 วันแลว ราคาตองเปล่ียนแปลง ดังน้ันเม่ือโจทกมิไดระบุในใบเสนอราคาวา ราคาท่ีเสนอจะ คงอยูเพียง 60 วันแลว การที่จําเลยสนองรับและแจงใหโจทกไปทําสัญญาภายใน 5 วัน แมพน กําหนด 60 วัน ตามเง่ือนไข ในแจงความ หากโจทกปฏเิ สธไมยอมลงนามในสญั ญา ก็ถือไดวาโจทก เปนฝายผิดสัญญา หมายเหตุ กําหนดเวลา 60 วัน อยูในเง่ือนไขการประกวดราคา ซึ่งเปนเพียงคําเชื้อเชิญ แตใบเสนอราคาไมไดกําหนดเวลายืนราคาไว จึงเปนคําเสนอท่ีไมจํากัดระยะเวลาเมื่อหนังสือตกลง ซื้อหรือจางไปถึงผูเสนอราคาขายหรือรับจางแลว แตผูเสนอราคาไมยอมมาทําสัญญา ถือวาผิด สญั ญาประกวดราคา ยอ มริบหลกั ประกนั ซองได คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ. ๑๗๓/๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดี (กรุงเทพมหานคร) ไดมีประกาศ ประกวดราคาจางงานกอสรางเขื่อน ค.ส.ล. โดยไดทําการเปดซองประกวดราคาเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๔ ซ่ึงผูฟองคดีเสนอราคาตํ่าสุด เปนลําดับที่ ๒ ดังนั้น ผูฟองคดีจะไดรับหลักประกันซองคืนตอเม่ือผูถูกฟองคดีไดทําสัญญาจาง กอสรางหรือขอตกลง การจางกอสราง หรือเมื่อผูเสนอราคาไดพนจากขอผูกพันแลวโดยในระหวาง ที่ผูถูกฟองคดียังไมไดทําสัญญากับผูเสนอราคารายใด ผูฟองคดีจะตองเสนอกําหนดยืนราคาไมนอย กวา ๙๐ วัน นับแตวันเปดซองประกวดราคาและจะพนกําหนดยื่นราคาในวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน

- 14 - ๒๕๔๔ ภายในกําหนดยืนราคาผูเสนอราคาตองรับผิดชอบราคาที่ตนไดเสนอไวและจะถอนการ เสนอราคามิได ผูถูกฟองคดีไดทําสัญญากับผูชนะการประกวดราคาเมื่อวันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๔๕ ถือไดว าผูฟองคดีพนจากขอผูกพันท่ีมีตอผูถูกฟองคดีไปกอนที่ผูถูกฟองคดีจะไดทําสัญญากับผูชนะ การประกวดราคาแลว ผูถูกฟองคดีจึงตองคืนหลักประกันซองใหแกผูฟองคดีตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ การท่ผี ูถ กู ฟอ งคดคี นื เงินหลักประกนั ซองใหแ กผ ูฟองคดเี มือ่ วนั ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๔๕ เปนการทําผิดสัญญาและทําใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการขาด ประโยชนอันควรไดรับจากเงินหลักประกันซอง ผูถูกฟองคดีจึงตองชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี โดยเห็นควรกําหนดคาขาดประโยชนดังกลาวเทากับดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงิน หลกั ประกันซองของผฟู อ งคดี กรณตี วั อยาง กรมทางหลวงไดประกวดราคาจัดซอื้ รถฟารม แทรคเตอร บริษัท จ. ไดเสนอ ราคาและกําหนดเวลายืนราคาไวภ ายในวนั ท่ี 14 สิงหาคม 2529 ตอ มากรมทางหลวงแจง ใหบริษัท จ. มาลงนามในสญั ญาเม่ือวนั ที่ 4 พฤศจิกายน 2529 ซ่งึ เปนวนั ท่ีลวงเลยกําหนดเวลายืนราคาไปแลวถึง 2 เดือนเศษ ดังน้ี กรมทางหลวงจะบังคับใหบริษัท จ. มาลงนามในสัญญาไมได และไมอาจใช สทิ ธริ บิ หลกั ประกนั ซองของบริษทั ดวย (ขอหารือตามคาํ วินิจฉยั กรมอัยการที่ (47/2531) กรณีตัวอยาง หางหุนสวนจํากัด ส. ไดยื่นคําเสนอ (ใบเสนอราคา) รับจางขนสงพนักงาน ขององคการแบตเตอร่ี โดยมีกําหนดยืนราคาตามคําเสนอถึงวันที่ 15 กันยายน 2532 แตองคการ แบตเตอร่ีมีหนังสือสนองตอบคําเสนอเมื่อพนกําหนดเวลายืนราคาแลว คําสนองดังกลาวจึงไม กอใหเกิดสัญญา (สัญญาสอบราคา) หากแตเปนคําเสนอขึ้นใหม และเม่ือหางมิไดสนองตอบภายใน กําหนด คําสนองดงั กลาวก็เปน อนั สิ้นผล กรณีตัวอยาง องคการแกวดําเนินการประกวดราคาจัดซื้อสิ่งของ ปรากฏวาหางหุนสวน จํากัด ค. ประกวดราคาไดในราคา 786,900 บาท โดยนําหนังสือสัญญาค้ําประกันของธนาคาร ก. มาวางเปนหลักประกันในวงเงิน 70,000 บาท เปนการประกันซองและกําหนดยืนราคาซอง 90 วัน นับแตวันย่ืนซองประกวดราคา (วันท่ี 24 กรกฎาคม 2522) ตอมาองคการฯไดมีหนังสือฉบับลง

- 15 - วันที่ 4 ตุลาคม 2522 แจงใหหางทราบวาตกลงซ้ือสิ่งของตามขอเสนอประกวดราคาของหาง และใหหางไปทําสัญญา แตหางเพิกเฉย องคการฯจึงแจงยกเลิกการทําสัญญาและริบเงินมัดจําซอง ประกวดราคาของหาง แตหางไมยอมใหริบโดยปฏิเสธวาไมไดผิดเงื่อนไขการประกวดราคา ดังน้ี จะรบิ เงนิ ประกันซองของหา งไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาการริบเงินมัดจําซองไดหรือไม อยูที่ขอเท็จจริงวา หนังสือที่ องคการฯแจงใหหางมาจัดทําสัญญาไดสงถึงหางภายในเวลาท่ีหางยืนราคาหรือไม ถาไมถึงภายใน กําหนด หางก็ไมตองรับผิดชอบ แตถาถึงภายในกําหนดเวลายืนราคา 90 วัน องคการแกวก็ยอมมี สิทธทิ จ่ี ะรบิ เงินประกนั ซองได (ขอหารือตามคาํ วนิ ิจฉัยกรมอยั การที่ 107/2523) กรณีตัวอยาง การเคหะแหงชาติประกวดราคากอสรางอาคาร มีบริษัท ส. เสนอราคาโดย ยนื ราคาท่ีเสนอมีกาํ หนด 90 วัน แตก ารเคหะแหง ชาตมิ ิไดส นองรับโดยทาํ สัญญาภายในกาํ หนดเวลา ดังกลาว คําเสนอของบริษัท ส. ยอมส้ินความผูกพัน ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 357 แมการเคหะแหงชาติไดเคยมโี ทรศพั ทแจงใหบริษัททราบวา บริษัทเปนผูประกวดราคาได และ บริษัทไดมีหนังสือถึงการเคหะแหงชาติ แจงวายินดีรับเปนผูกอสรางตามโครงการดังกลาว ก็นับวา ยังไมมีสัญญาตอกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 366 คําเสนอของบริษัทสิ้นความ ผูกพัน การที่บริษัทปฏิเสธไมมาทําสัญญาจึงไมเปนความผิดของบริษัทฯ การเคหะแหงชาติจะริบ หลักประกันซองประกวดราคาไมได ตองคืนใหบริษัท ส. (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการท่ี 75/2521) ผวู าจางไมพรอ มท่ีจะทําสัญญา จะริบหลกั ประกันผเู สนอราคาไมได    กรณีตัวอยาง กรมการแพทยประกวดราคากอสรางอาคารที่ทําการแพทย 1 หลัง โดย กําหนดเงื่อนไขประกวดราคาขอ 9.3 วาผูเสนอราคาจะตองมาทําสัญญากอสราง ณ กรมการแพทย ภายใน 6 วัน นับถัดจากวันท่ีไดรับแจงเปนลายลักษณอักษรวาเปนผูประกวดราคาได ถาผูเขา ประกวดราคาไมมาติดตอทําสัญญาใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกลาว จะถูกริบประกันซอง ผลการประกวดราคา ปรากฏวา บริษทั ว. เสนอราคาตํ่าสุด ตอมาวันท่ี 30 พฤษภาคม 2528 กรมการ แพทยไดมีหนังสือแจงบริษัทใหไปติดตอทําสัญญาจางภายใน 7 วันนับแตวันรับหนังสือ บริษัท

ไ ด ม า - 16 - ติดตอขอทําสัญญาภายในกําหนด แตกรมการแพทยไมพรอมที่จะใหทําสัญญาได เพราะกองแบบ แผน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขยังแบงจายเงินประจํางวดไมแลวเสร็จ จนลวงเลย กาํ หนดการยืนราคา 100 วันของบริษทั แลว บริษทั จงึ ไดร ับแจงใหไปรับรางสญั ญาและพรอมที่จะให เซ็นสัญญา แตบริษัทไดมีหนังสือแจงปฏิเสธอางวาขาดทุน และขอคืนหนังสือคํ้าประกันซอง จึงมี ปญหาวาจะริบหลักประกนั ซองไดหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลววา การริบหลักประกันเปนการกําหนดโทษแกผูประกวดราคาได แลวไมยอมทําสัญญากับทางราชการ ฉะน้ันเม่ือ ปรากฏวากรมการแพทยแจงใหบริษัทมาทําสัญญา แลว แตเวลาไดลวงเลยกําหนดดังกลาวไปโดยเปนความผิดของกรมการแพทยเอง ที่ไมพรอมให บริษัทมาทําสัญญาได และมิใชความผิดของบริษัทท่ีเจตนาบิดพร้ิวไมยอมปฏิบัติตามเง่ือนไข ประกวดราคา กรมการแพทยจึงไมอาจริบหลักประกันได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 159/2528) หมายเหตุ เรื่องนี้กรมการแพทยไดมีหนังสือแจงใหบริษัท ว. มาทําสัญญาคร้ังที่สอง เม่ือพน กําหนดเวลายืนราคาของบริษทั แลว ใบเสนอราคาของบริษัทจึงสิ้นผลผูกพัน ไมอาจถือวาบริษัทผิด สญั ญาประกวดราคาท่ีจะใชส ทิ ธิริบหลักประกันซองได กรณีท่ไี มอาจรบิ หลักประกนั ซองประกวดราคาได กรมอาชีวศึกษาประกวดราคาจัดซื้อครุภัณฑ มีบริษัท ส. เสนอราคาตํ่าสุด ตอมาบริษัทขอ ยกเลิกการเสนอราคาครุภัณฑท ้งั สองรายการ เนอื่ งจากโรงงานผูผลิตสินคา 2 รายการดังกลาวไดเลิก กิจการไป ภายหลังจากท่ีบริษัทไดเสนอราคาไวตอกรมอาชีวศึกษา และสินคาดังกลาวไมมีขายใน ทองตลาดแลว ยอมถือวาการชําระหนี้เปนพนวิสัย บริษัทไมตองรับผิดชอบและหลุดพนจากการ ชาํ ระหนีต้ ามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยม าตรา 219 กรมอาชีวศกึ ษาจงึ ไมอ าจริบหลกั ประกัน ซองได (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 129/2525)

- 17 - หมายเหตุ 1. มาตรา 219 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญัติวา ถาการชําระหน้ีกลายเปน พนวิสัย เพราะพฤติการณอันใดอันหน่ึงซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ไดกอหน้ี และซ่ึงลูกหน้ีไมตอง รับผิดชอบนนั้ ไซร ทา นวา ลกู หนเี้ ปน อันหลุดพน จากการชาํ ระหนน้ี ้นั 2. การท่ีโรงงานผูผลิตสินคาเลิกกิจการไป เปนเหตุใหผูเสนอราคาไมอาจสงมอบสิ่งของ ตามสัญญาได เปนพฤติการณที่ผูเสนอราคาไมตองรับผิดชอบตามมาตรา 219 แหงประมวล กฎหมายแพง และพาณิชย จึงไมถ อื วาผเู สนอราคาผดิ สัญญาประกวดราคา ไมอ าจรบิ หลักประกนั ได ผูเสนอราคาไมยอมมาทําสญั ญาภายในกําหนดเวลายนื ราคาริบหลักประกันซองได กรณีตัวอยาง หางผูเสนอราคาตํ่าสุดซึ่งคณะกรรมการเปดซองประกวดราคาพิจารณาวา สมควรเปนผูรับจางดําเนินการกอสรางแลว แตผูแทนของหางไมยินยอมรับทราบผลการพิจารณา ของคณะกรรมการ โดยอางวาคํานวณราคาผิดพลาดและขอสละสิทธิการย่ืนซองประกวดราคา ท้ัง ไมยอมทําบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ยอมถือไดวาหางปฏิบัติผิดเงื่อนไขแจงความประกวดราคา และถือวาหางสละสิทธิการเขาประกวดราคา และยินยอมใหริบมัดจําซอง จึงริบมัดจําซองของหาง ได( ขอ หารอื ตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การท่ี 160/2525) ปญหาผูเสนอราคาหลายรายรวมกันเขาเสนอราคา แตผูเสนอราคาบางรายไมยอมมาทํา สัญญารบิ หลักประกันซองไดอยา งไร กรณีตัวอยาง บริษัท บ. และบริษัท ซ. รวมกันเขาประกวดราคาตอการทางพิเศษแหง ประเทศไทย ผลการประกวดราคา ปรากฏวาบริษัททั้งสองเปนผูประกวดราคาได บริษัททั้งสองมี ความผูกพันตองมาจัดทําสัญญากับการทางพิเศษแหงประเทศไทย โดยจะขาดบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ไมได เม่ือบริษัท ซ.ไมมาทําสัญญารวมกับบริษัท บ. ตองถือวาผูประกวดราคาผิดเง่ือนไขสัญญา ประกวดราคาโดยไมมารวมทําสัญญาใหครบถวน การทางพิเศษแหงประเทศไทยชอบท่ีจะริบเงิน

ประกันซองไดโดยไมตองคํานึงวาเงินนั้นเปนของบริษัทใด เพราะไดวางไวแทนบริษัทท้ังสองผูเขา - 18 - ประกวดราคา ซึ่งตองรวมกันและแทนกันในทุกกรณี (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 148/2522) หมายเหตุ เรื่องนี้บริษัท ซ. ไมมาทําสัญญา การทางพิเศษแหงประเทศไทยริบเงินประกันซองที่ บริษทั บ. ไดว างเพ่ือคา้ํ ประกนั การประกวดราคาได ปญ หาการทผ่ี เู สนอราคาไดเ สนอราคาโดยคํานวณจํานวนตัวเลขผิดพลาดมีผลอยางไร    กรณีตัวอยาง กรมวิชาการไดประกวดราคาจางพิมพวารสารแนะแนว มีผูเสนอราคาหลาย ราย ปรากฏวาบรษิ ทั ว. เสนอราคาตา่ํ สุด ขอ เทจ็ จรงิ ปรากฏวา บริษัทเสนอราคาผดิ พลาดโดยคิดราคา จากจํานวนพิมพ 13,000 เลม มิใชคิดราคาจากจํานวนพิมพ 78,000 เลม ตามใบเสนอราคาเปนเงิน จํานวน 107,120 บาท ซ่ึงราคาที่ถูกควรเปนราคา 642,720 บาท กอนท่ีกรมวิชาการจะแจงใหบริษทั มาทําสัญญาบริษัทไดแจงใหกรมวิชาการทราบวา บริษัทไดเสนอราคาผิดพลาด ขอตัดสิทธิในการ ประกวดราคาคร้ังนี้ ตอมากรมวิชาการไดเรียกใหบริษัทมาจัดทําสัญญา แตบริษัทเพิกเฉย จึงมี ปญหาวาการท่ีบริษัทเสนอราคาผิดพลาดเพราะความประมาทเลินเลอของบริษัทเชนน้ี กรมวิชาการ จะมีสทิ ธริ บิ หลักประกนั ซองตามเงือ่ นไขประกวดราคาไดหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาบริษัทไดแจงใหกรมวิชาการทราบวาไดเสนอราคาผิดพลาด ขอตัดสิทธิในการประกวดราคาครั้งน้ี ตามพฤติการณนาเช่ือวากรมวิชาการไดทราบถึงการท่ีบริษัท ไดเสนอราคาผิดพลาด เพราะเปนราคาท่ีตํ่ากวาราคาท่ีทางกรมวิชาการไดประมาณไวมากจนผิด สังเกต ไมนาเช่ือวาผูรับจางจะสามารถจัดพิมพไดในราคาที่เสนอมา จึงเปนกรณีท่ีบริษัทไดแสดง เจตนาออกมาโดยการคํานวณราคาผิดพลาดและกรมวิชาการไดรูความผิดพลาดของบริษัทอยูแลว การแสดงเจตนาของบริษัทจึงตกเปนโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 117 บริษทั จงึ ไมตอ งรบั ผดิ ตามเง่ือนไขประกวดราคา กรมวิชาการไมม สี ิทธิริบหลักประกันซองและเรียก คาเสียหายจากบริษทั ได (ขอหารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การท่ี 26/2532)

- 19 - หมายเหตุ 1. ปจจุบันมีการประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยท่ีไดตรวจชําระใหม พ.ศ. 2535 มาตรา 156 บัญญัติวา “การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิดในสิ่งซ่ึงเปนสาระสําคัญแหง นิติกรรมเปนโมฆะ” การเสนอราคาผิดพลาดถือวาเปนสิ่งซ่ึงเปนสาระสําคัญการเสนอราคา จึงตก เปน โมฆะ 2. การแสดงเจตนาผูแสดงอาจถอนเจตนาก็ได ทั้งน้ี ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยมาตรา 169 บัญญัติวา “การแสดงเจตนาท่ีกระทําตอบุคคลซึ่งมิไดอยูเฉพาะหนาใหถือวามี ผลนับแตเวลาที่การแสดงเจตนานั้น ไปถึงผูรับการแสดงเจตนา แตถาไดบอกถอนไปถึงผูรับการ แสดงเจตนานั้น กอนหรือพรอมกันกับที่การแสดงเจตนานั้นไปถึงผูรับการแสดงเจตนานั้นตกเปน อันไรผล” สําหรับกรณีตัวอยางขางตนน้ัน เมื่อการแสดงเจตนาเปนโมฆะเสียแลว ก็ไมมีเจตนา อะไรท่จี ะตองถอนอีก 3. ขอเท็จจริง เรื่องนี้ตางจากคําวินิจฉัยของกรมอัยการที่ 160/ 2525 ขางตนซึ่งเปนกรณีที่มี การแจงใหหางผูเสนอราคาต่ําสุดทราบผลการพิจารณา อันเปนการแสดงเจตนาสนองรับคําเสนอ แลว แตเร่ืองนี้ บริษัทผูเสนอราคาตํ่าสุด แจงวาคํานวณราคาผิดพลาด กอนที่จะมีการเรียกใหมา จัดทําสัญญา จึงยังไมม คี าํ สนอง ประกอบกบั ขอเทจ็ จริงฟง ไดวา มีการคาํ นวณผดิ พลาดจริง การยกเลิกการประกวดราคาถอื วาคําเสนอส้ินผลผกู พัน กรณีตัวอยาง จังหวัดพิจิตรไดประกวดราคากอสรางอาคารสถานีตํารวจก่ิงอําเภอทับคลอ จังหวัดพิจิตร การประกวดราคาหางหุนสวนจํากัด ร. ผูเสนอราคาตํ่าสุดไดยื่นหนังสือแจงวาไม ประสงคจะเขาทําการกอสราง แตมายื่นซองประกวดราคาเพ่ือบุคคลอ่ืน จังหวัดพิจิตรจึงใหยกเลิก การประกวดราคา และใหมีการประกวดราคาใหมซึ่งเปนการพอดีกับระยะเวลาที่หมดเวลาการใช เงินงบประมาณประจําป   2527 กรมตํารวจจึงขอกันเงินเหล่ือมปเปนกรณีพิเศษ แต กระทรวงการคลังแจงวาไมอยูในขายท่ีจะผอนผันการกันเงินเหล่ือมปได จึงมีปญหาวาการท่ีหาง

หุนสวนจํากดั ร. ไมร ับทาํ งานจางเปน เหตุใหงบประมาณตองพับไป ดังน้ี หางหุนสวนจํากัด ร. ตอ งรับผดิ ในความเสยี หายดังกลาวหรอื ไม - 20 - กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาประกาศประกวดราคาจางทําของ ของจังหวัดพิจิตรเปน เพียงคําเชิญชวนใหบุคคลท่ัวไปทําคําเสนอหนังสือเสนอราคาของหางหุนสวนจํากัด ร. จึงเปนคํา เสนอตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 354 เม่ือจังหวัดพิจิตรรับคําประกวดราคาของ หา งแลว กอนจังหวัดพิจิตรสนองรับและแจงใหหางเขาทําสัญญา หางยื่นหนังสือแจงวาไมประสงค จะเขาทําการกอสราง แตมายื่นประกวดราคาเพื่อบุคคลอื่น จังหวัดพิจิตรจึงยกเลิกประกาศดังกลาว ดงั นี้ ถอื วาจังหวัดพิจิตรบอกปด คาํ เสนอไปยังหา งแลว คาํ เสนอนนั้ เปน อันสิ้นสุดความผูกพัน นับแต วันมีคําส่ังยกเลิกประกาศนั้น ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 357 สัญญาจึงยังไม เกิดขึ้น หางไมตองใชคาเสียหายในกรณีที่ทําใหจังหวัดพิจิตรไมสามารถจะทําสัญญาผูกพันไดทัน ปงบประมาณ 2527 เปนเหตุใหงบประมาณกอสรางจํานวน 3,932,000 บาท ตองพับไป (ขอหารือ ตามคาํ วินิจฉยั กรมอัยการที่ 30/2528) หมายเหตุ 1. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 357 บัญญัติวา “คําเสนอใดเขาบอกปดไปยัง ผูเสนอแลวก็ดี หรือมไิ ดสนองรบั ภายในเวลากําหนดดังกลาวมาในมาตราทั้งสามกอนนี้ก็ดี คําเสนอ นั้นทา นวา เปน อนั ส้ินความผกู พนั แตนั้นไป” 2. หากหางผูเสนอราคามีหนังสือแจงวาไมประสงคจะเขาทํางานกอสรางภายหลังจาก ที่จังหวัดพิจิตรสนองรับ ถือวาหางผิดสัญญาประกวดราคาริบหลักประกันได แตขอเท็จจริงขางตน จังหวัดพิจิตรยังไมไดสนองรับ สัญญาประกวดราคายังไมเกิด ประกอบกับจังหวัดพิจิตรไดยกเลิก การประกวดราคา จงึ ไมอาจริบหลกั ประกนั ได กรณที ีผ่ เู สนอราคาขอเพ่ิมราคาจากท่ีเสนอไวเดิมเปนการเสนอราคาใหม    กรณีตัวอยาง องคการโทรศัพทแหงประเทศไทยไดประกวดราคาจางเหมากอสรางอาคาร มีกําหนดยืนราคา 90 วัน มีผูย่ืนซองประกวดราคา 11 ราย แตเสนอเอกสารไมสมบูรณทุกราย ตองใหผูยื่นซองประกวดราคาทุกรายยื่นเอกสารเพื่อตรวจสอบรายละเอียดใหถูกตองใหม

องคการโทรศัพทจึงขอใหผูเสนอราคาทุกรายขยายกําหนด ยืนราคาและตออายุหนังสือสัญญาคํ้า - 21 - ประกันออกไปอีก 60 วัน จากการเปดซองเสนอราคา ปรากฏวา มีผูเสนอราคา 7 ราย แจงยืนยันการ ขยายเวลาท้ังสองประการ ตรงตามเจตนารมณขององคการโทรศัพท ยกเวนหางหุนสวนจํากัด ว. ซ่ึงไดขยายกําหนดเวลายืนราคาและตออายุหนังสือคํ้าประกันของธนาคารออกไปอีก 60 วัน แตขอ เพ่ิมราคาที่เสนอไวเดิมรอยละ 4 โดยใหเหตุผลวาราคาวัสดุกอสรางมีแนวโนมสูงข้ึน และมีการ เปล่ียนแปลงดานภาษีหัก ณ ท่ีจาย ผลการเปดซอง ปรากฏวา หางหุนสวนจํากัด ร. เสนอราคาต่ําสุด ในวงเงิน 256,597.112 บาท ซ่ึงคณะกรรมการไดทําการตอรองลงเหลือ 256,400,000 บาท ตอมา หางหุนสวนจํากัด ว. มีหนังสือแจงวายินดียืนราคาตามท่ีเสนอไวแตแรกโดยไมเพ่ิมราคารอยละ 4 ราคาจึงเปน 249,566,000 บาท ต่ํากวาหางหนุ สวนจํากดั ร.องคการโทรศัพทจึงมีหนังสือหารือวาการ ท่ีหางหุนสวนจํากัด ว. ไดยืนยันการขยายเวลายืนราคาและตออายุหนังสือค้ําประกันธนาคาร โดยเสนอขอเพ่ิมราคาจากเดิมรอยละ 4 อันเปนการขัดเจตนารมณขององคการโทรศัพท ที่มีหนังสือ แจงใหขยายกําหนดยนื ราคาและตอ อายหุ นงั สอื คํา้ ประกนั ธนาคารเทาน้ัน ดังนี้จะถือวาขอเสนอของ หางที่ยื่นไวเดิมยังมีผลหรือไมและองคการโทรศัพทจะรับขอเสนอของหางหุนสวนจํากัด ว.            ตามราคาเดิมท่ีแสดงคร้ังแรก โดยคํานึงถึงผลประโยชนและประหยัดงบประมาณของ องคก ารโทรศพั ทจ ะเปน การถกู ตองหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเหน็ วา 1. การที่หางหุนสวนจํากัด ว. มีหนังสือขอเพ่ิมราคาในซองประกวดราคาอีกรอยละ 4 และขอยืนราคาที่เสนอใหมนี้ 60 วัน พรอมตออายุหนังสือสัญญาคํ้าประกันของธนาคารออกไปอีก 60 วัน เปนการเสนอราคาข้ึนใหม มิใชเปนการขยายเวลาการยืนราคาเดิม ดังน้ัน เมื่อ องคการโทรศัพทมิไดสนองรับราคาของหาง ภายในกําหนดเวลายืนราคาเดิมตามหนังสือเสนอราคา คร้ังแรกของหาง การเสนอราคาคร้ังแรกก็เปนอันสิ้นความผูกพัน ตามมาตรา 357 แหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย 2. หนังสือของหางหุนสวนจํากัด ว. ท่ีขอเพิ่มราคาใหมไมอยูในเจตนารมณของ องคการโทรศัพท คณะกรรมการเปดซองประกวดราคา จึงไมอาจรับเงื่อนไขของหางที่เสนอเพิ่ม ราคาได

3. เม่ือองคการโทรศัพทมีเจตนารมณที่จะประหยัดงบประมาณ โดยประสงคจะวาจา งหาง หุนสวนจํากัด ว. ผูเสนอราคาต่ําสุด ก็ชอบท่ีจะอาศัยสิทธิตามเงื่อนไขประกวดราคายกเลิกการ ประกวดราคาคร้ังน้ี แลว ดาํ เนินการเสยี ใหม (ขอ หารอื ตามคําวินจิ ฉยั กรมอยั การที่ 157/2530) - 22 - สัญญาซ้ือขายและสญั ญาจาง การตกลงซื้อขายพัสดุ ครุภัณฑ หรือสัญญาซ้ือขาย และการตกลงวาจางการกอสรางอาคาร ส่ิงกอสรางหรือสัญญาจางทําของ ในทางกฎหมายแพงไมไดบังคับวาจะตองทํากันเปนหนังสือ สัญญาแตอยางใด เพียงแตคูกรณีแสดงเจตนาซ้ือขายหรือตกลงรับจาง ตรงกันก็เกิดเปนสัญญาซื้อ ขายหรือสัญญาจางไดทันที แตในทางปฏิบัติของทางราชการนั้น เอกสารสัญญาตาง ๆ จะตองจัดทํา กันเปนหนังสือสัญญาลงลายมือช่ือคูสัญญา ทั้งน้ีเพ่ือใชเปนเอกสารหลักฐานประกอบการเบิก จายเงินราคาส่ิงของหรือราคางานจางจากทางราชการ ดังน้ันในเง่ือนไขการสอบราคาหรือประกวด ราคาจึงกําหนดใหผูชนะการสอบราคาหรือประกวดราคาจะตองทําสัญญากัน  ตามแบบที่ทาง ราชการกําหนดไวเปนลายลักษณอักษร การที่ผูเสนอราคาต่ําสุดเสนอราคามา และผูซ้ือมีหนังสือ แสดงเจตนาตกลงซ้ือหรือจางไปยังผูเสนอราคา มีผลเปนเพียงทําใหการดําเนินการสอบราคาหรือ ประกวดราคา มีผลสมบูรณเปนสัญญาสอบราคาหรือประกวดราคาเทาน้ัน สวนสัญญาซื้อขาย หรือสัญญาจางยังไมเกิดข้ึนและไมมีผลบังคับ เพราะคูสัญญามีเจตนาวาจะตองจัดทําสัญญากันเปน หนังสืออีกช้ันหน่ึงตามนัยมาตรา 366 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วรรคสอง บัญญัติวา “ถาไดตกลงกันวาสัญญาอันมุงจะทํานั้น จะตองทําเปนหนังสือ เมื่อกรณีเปนที่สงสัย ทานนับวายัง มิไดม สี ัญญาตอกนั จนกวา จะไดทาํ กนั เปน หนังสอื ” กรณีตัวอยาง โดยธรรมเนียมการทําสัญญากับหนวยงานของรัฐ จะตองมีการทําสัญญากัน เปนหนังสือ ดังน้ันตราบใดท่ียังไมมีการทําเปนหนังสือสัญญาจึงยังไมเกิดข้ึน (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉัยกรมอัยการที่ 130/2533) คูสัญญายงั ไมล งนามในสัญญาท้ังสองฝา ย สัญญายงั ไมม ีผลบงั คับ

ประกาศประกวดราคาระบุวา ถาผูถูกเรียกประกวดราคาตกลงสนองรับราคาของผูเสนอ ราคารายใดแลว ผูน้ันจะตองมาทําสัญญากับผูเรียกประกวดราคา ดังนี้ แมผูเรียกประกวดราคาจะมี หนังสือสนองรับราคาไปยังผูเขาประกวดราคาแลวก็ตาม เมื่อยังมิไดมีการลงนามในสัญญายอมถือ - 23 - ไดวาสัญญาไมเกิดข้ึนจนกวาจะไดทําขึ้นเปนหนังสือตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 366 วรรคสอง (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 73/2518) สัญญาในทางราชการปกติตองทํา เปน หนงั สือ เมอ่ื คูสัญญาทง้ั สองฝายยงั มิไดลงนามในสัญญาจึงถือไมไ ดว า มสี ัญญาตอกัน กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัยมหิดล ไดส่ังจางหางหุนสวนจํากัด ม. โดยวิธีพิเศษ ทําการ กอสรางอาคารเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ 1 หลัง ตอมาหางหุนสวนจํากัด ม. โดยนาย ม. หุนสวนผูจัดการ ไดมาลงนามในสญั ญาจาง แตไมไดนําหลักประกันหนังสือสัญญาคํ้าประกันของธนาคารมาวางเปน หลกั ประกัน เจา หนา ท่ีจงึ ยงั มิไดเ สนอสญั ญาใหอธิการบดีมหาวิทยาลัยลงนาม หางหุนสวนจํากัด ม. ขอผัดผอนการวางหลักประกันสัญญาหลายคร้ัง ตอมาหางหุนสวนจํากัด ม. ไดมีหนังสือแจงขอเลิก สัญญามหาวิทยาลัยมหิดลจึงมีหนังสือบอกเลิกสัญญาและสงวนสิทธิตาง ๆ ที่พึงไดรับ ดังน้ี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลจะเรยี กใหห า งสงมอบหลักประกนั สัญญา และบังคบั หา งตามสัญญาไดห รือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาจางกอสรางดังกลาว คูกรณีมีเจตนาตรงกันวาสัญญา จางจะทาํ เปนหนังสือ ดังน้ันเมื่อคูสัญญาทงั้ สองฝายยังมิไดลงนามในสัญญาจาง จึงถือวายังไมไดมี สัญญาตอกันตามนัยมาตรา 366 วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อสัญญาจาง ยังไมมีผลบังคับ มหาวิทยาลัยมหิดลก็ไมมีสิทธิที่จะดําเนินการหรือเรียกรองตามสัญญาจางเอากับ หางหนุ สวนจาํ กัด ม. แตประการใด (คาํ วนิ จิ ฉัยกรมอยั การท่ี 104/2533) หมายเหตุ การจางรายนีเ้ ปนการจางโดยวธิ ีพเิ ศษ จงึ ไมมกี ารวางหลกั ประกันซอง หากเปน การประกวดราคา ผูรับจางตองนําหลักประกันซองมาวางเปนประกันวาหากไดรับพิจารณาให ทํางานจา ง ผรู บั จา งตองมาจัดทําสญั ญาจางภายในเวลาท่สี ว นราชการกําหนด หากไมม าจัดทําสัญญา ถอื วาเปนการผดิ สัญญาประกวดราคา สวนราชการมีสิทธิริบหลักประกันซองได คงมีปญหาวากรณี ท่ีผูรับจางมาจัดทําสัญญา แตไมนําหลักประกันสัญญามาวางดวย เมื่อพิจารณาตามเง่ือนไขประกวด ราคาแลวจะมีขอกําหนดวาเมื่อผูเสนอราคาไดรับการพิจารณาจะตองมาจัดทําสัญญาโดยนํา หลักประกันที่กําหนดไวในเงื่อนไขการประกวดราคามาวางดวย ดังน้ันหากผูรับจางไมนํา

หลักประกันมาวางขณะทําสัญญากัน จึงถือวาผูเสนอราคาผิดสัญญาประกวดราคา สวนราชการจึงมี สทิ ธิริบหลกั ประกนั ซองได - 24 - ลงนามในสญั ญาเมอื่ พนกําหนดเวลายืนราคาสญั ญาไมม ีผลบงั คับ   กรณีตัวอยาง บริษัท ส. ไดยื่นซองประกวดราคาขายเรือดูดทรายพรอมอุปกรณจํานวน 4 ราย กําหนดเวลายืนราคา 120 วัน นับแตวันย่ืนซองประกวดราคา ซึ่งจะครบกําหนดในวันที่ 5 ตลุ าคม 2533 แตเ นอ่ื งจากการจัดซื้อคร้ังนี้มีเหตุลาชาไมสามารถจัดซ้ือใหแลวเสร็จในปง บประมาณ กรมประมงจึงขออนุมัติกันเงินเหล่ือมปจากกระทรวงการคลัง ระหวางรอคําตอบจาก กระทรวงการคลัง กรมประมงไดมีหนังสือแจงใหบริษัท ส. นําหลักประกันสัญญามามอบให และ ใหบริษัท ส. ลงนามในสัญญาซ้ือขายไวกอน เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2533 เมื่อกระทรวงการคลังแจง อนุมัติใหกันเงินเหล่ือมปได กรมประมงจึงไดลงนามในสัญญาเมื่อวันท่ี 19 ธันวาคม 2533 และสง สัญญาไปใหบริษัท ส. ผูขาย แตบริษัทสงสัญญากลับคืนมา จึงมีปญหาวา สัญญาซื้อขายเกิดหรือไม และบริษัท ส. มคี วามรบั ผดิ ตามสญั ญาเพียงใด กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาตามใบเสนอราคาของบริษัทผูขายไดกําหนดเวลา ยืนราคา 120 วัน นับแตวันย่ืนซองประกวดราคา ซึ่งหมายความวา คูสัญญาจะตองทําการซื้อขายกัน ภายใน 120 วัน นับแตวันท่ีผูขายยื่นซองประกวดราคา ซ่ึงจะครบกําหนดในวันท่ี 6 ตุลาคม 2533 หากพนกําหนดน้ีแลว คําเสนอของผูขายยอมสิ้นความผูกพันกันตามประมวลกฎหมายแพง และ พาณิชย มาตรา 357 ดังนั้นแมผูขายจะไดลงนามในสัญญาซื้อขายไวกับกรมประมงภายใน กาํ หนดเวลายืนราคาแลว แตก รมประมงในฐานะผูซ ื้อยงั มิไดลงนามในสัญญาซื้อขายดวย สัญญาซ้ือ ขายจึงไมเกิดขึ้น ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 366 วรรคสอง แมตอมาผูขายจะได ขยายเวลาลงนามในสัญญาออกไปอีก 15 วัน แตกรมประมงมิไดลงนามในสัญญาจนลวงเลย กําหนดเวลาท่ีขยายใหแลว คําเสนอของผูขายยอมส้ินความผูกพัน และไมมีผลใหเกิดสัญญาซื้อขาย ขึ้น ผูขายจึงไมมีความผูกพันตามสัญญาท่ีจะตองรับผิดอยางใด (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 20/2534)  

การใชแ บบสัญญาซ้อื ขาย สัญญาจาง การจัดซ้ือจัดจางของสวนราชการบางครั้งอาจเปนเร่ืองเกี่ยวเนื่องกันเชน ตกลงซื้อ เครื่องจักรโดยใหผูขายทําการติดต้ังและสาธิตการใชงานดวย ดังนี้ ควรเลือกใชแบบสัญญาซ้ือขาย หรอื สญั ญาจา ง - 25 - กรณีตัวอยาง สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบกจะซ้ือเคร่ืองสงวิทยุโทรทัศนพรอมอุปกรณ และกอสรางอาคาร คิดเปนคาเคร่ืองสงวิทยุโทรทัศนและอุปกรณประมาณรอยละ 87 และคา กอสรางอาคารเปนเงินประมาณรอยละ 13 ดังน้ี ปรากฏตามประกาศประกวดราคาเปนการจัดซ้ือ เครื่องสงวิทยุโทรทัศนและอุปกรณ โดยกําหนดใหผูชนะการประกวดราคาสงมอบและติดตั้ง เครื่องสงดังกลาว ในอาคารที่ตองทําการกอสรางดวย ลักษณะของนิติกรรมจึงเปนเร่ืองการซื้อขาย และจางกอสรางดวย สวนราชการก็อาจทําสัญญารวมกันในฉบับเดียว โดยเรียกวาเปนสัญญาซ้ือ ขายได หากสัดสวนที่เปนการซื้อขายมีมากกวาที่เปนสัญญาจาง (ขอหารือกรมอัยการคําวินิจฉัยที่ 42/2530)

- 26 - การกรอกขอ ความในสัญญา แบบสญั ญาซอ้ื ขาย/ แบบสญั ญาจา ง สญั ญาเลขที่............................................ สญั ญาฉบบั นท้ี าํ ขนึ้ ณ .......................................................................................................... ตําบล/แขวง......................................อําเภอ/เขต.............................จงั หวัด ............................................ เมอ่ื วนั ที.่ .......เดอื น...........................พ.ศ..........ระหวาง........................................................................ โดย....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ซงึ่ ตอ ไปน้ีในสญั ญานเ้ี รยี กวา“ผซู ื้อ”(หรอื ผูวาจาง)ฝายหนึง่ กบั ............................................................ ซงึ่ จดทะเบียนเปน นิตบิ คุ คล ณ ............................................................................................................ มสี ํานักงานใหญอยเู ลขท.่ี ..................ถนน......................................ตาํ บล/แขวง ................................... อําเภอ/เขต............................................................จงั หวัด ...................................................................... โดย....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

ผมู ีอํานาจลงนามผูกพนั นติ บิ ุคคลปรากฏตามหนงั สือรบั รองของสํานกั งานทะเบียนหุนสว นบริษทั ...............................................................................................ลงวันท่.ี .................................................. (และหนงั สือมอบอํานาจลงวนั ที่.........................................) แนบทา ยสัญญาน้ี (ในกรณที ผี่ ขู ายหรอื ผู รับจา ง เปนบคุ คลธรรมดาใหใ ชข อ ความวากบั ……........................................................อยบู านเลขที่ ......................ถนน................................ตาํ บล/แขวง...................................อําเภอ/เขต……................. จังหวัด...............................................................) ซึง่ ตอไปน้ีในสญั ญาเรียกวา “ผูข าย” (หรือผูร ับ จาง)อกี ฝายหนึง่ - 27 –   1. การระบุชื่อคูสัญญาฝายผูซื้อหรือผูวาจาง การจัดทําสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจาง คูสัญญาทั้งสองฝายตองมีฐานะเปนบุคคลธรรมดาท่ีมีความสามารถในการทํานิติกรรมสัญญา หรือ เปนนิติบุคคล แลวแตกรณี โดยกฎหมายกําหนดใหสวนราชการที่เปน กระทรวง ทบวง กรม มี ฐานะเปนนิติบุคคล สําหรับสถานศึกษาหรือหนวยงานท่ีไมมีกฎหมายกําหนดใหมีฐานะเปนนิติ บุคคล การจัดทําสัญญา จะตองระบุช่ือสวนราชการท่ีสังกัดและมีฐานะเปนนิติบุคคล เปนคูสัญญา ฝา ยผซู อ้ื หรอื ผวู าจา งแลวแตกรณี ตวั อยาง การกรอกชื่อสญั ญาในกรณีดังตอไปน้ี (1.) “วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ผูวาจาง” เน่ืองจากวิทยาลัยในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาไมม ีฐานะเปน นติ ิบคุ คล จงึ เปนคูสญั ญาฝายผซู ้อื หรือผูวาจา งไมได (2.) “ผูวาราชการจังหวัดนครนายก ผูซื้อ” ผูวาราชการจังหวัดเปนตําแหนงหนาท่ีราชการ และไมใ ชน ติ บิ ุคคลเจาของงบประมาณ (3.) “นาย ก. ผูอํานวยการวิทยาลยั เทคนิคระยอง ผูวาจาง” เปนการจัดทําสัญญาในฐานะ สวนตวั นาย ก. ซ่งึ ดาํ รงตาํ แหนง ผอู าํ นวยการวทิ ยาลัย ในกรณีท่ีผูจัดทําสัญญาไดรับมอบอํานาจใหจัดทําและลงนามในสัญญาแทนสวนราชการ ควรระบุหนงั สือหรือคาํ ส่งั มอบอาํ นาจใหชดั เจนดวยเพราะอาจเกดิ ปญ หาในการบังคับตามสัญญาใน ภายหลัง ดงั น้ันการจดั ทาํ สัญญาจงึ ควรใชข อความวา สัญญาน้ที ําข้ึนระหวาง

“ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยนาย ก. ผูอํานวยการวิทยาลัย........................ ผูรับมอบอํานาจจากเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา ที่............ลงวันท่ี......................” ซ่ึงตอไปนี้ในสัญญาน้ีเรียกวา“ผูซ้ือ”(หรือผูวาจาง)ฝาย หนงึ่ “สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยนายก............. ผูวาราชการจังหวัด ................... ผูรับมอบอํานาจจากเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามคําส่ังสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ี............ ลงวันท่ี.............................”ซึ่งตอไปนี้ในสัญญาน้ีเรียกวา“ผู ซ้ือ”(หรือผูว า จา ง)ฝายหน่งึ กรณีตัวอยาง กระทรวงสาธารณสุข ไดมอบอํานาจใหจังหวัดพิจิตรจัดทําสัญญาจาง กอสรางตึกคนไขของโรงพยาบาลพิจิตร ตอมาผูวาราชการจังหวัดพิจิตรไดทําสัญญาโดยระบุชื่อ   - 28 -   คูสัญญาฝายผูว า จา งวา “ผูวาราชการจังหวัดพิจิตรหรือผูแทน” แตมิไดระบุวาแทนผูใด ยอมถือไดวา ผูวา ราชการจงั หวัดพิจติ รทาํ สญั ญาดงั กลาวโดยไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข (ขอหารือ ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 13/2521) ผมู อี ํานาจลงนามในสัญญาฝา ยผซู ้ือหรอื ผูวา จา ง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2538) ขอ 65 การสงั่ ซือ้ หรอื ส่งั จา งคร้งั หน่งึ นอกจากวิธพี ิเศษและวิธีกรณีพิเศษ ใหเปนอํานาจ ของผดู ํารงตําแหนงและภายในวงเงนิ ดังตอ ไปนี้ (1) หัวหนาสว นราชการไมเ กิน 50,000,000 บาท (2) ปลัดกระทรวงเกิน 50,000,000 บาท แตไมเ กิน 100,000,000บาท (3) รัฐมนตรเี จาสงั กัดเกิน 100,000,000 บาท สําหรับการจัดซ้ือจัดจางท่ีมีวงเงินเกินอํานาจของเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เชน การจัดจางวงเงิน 100 ลานบาท ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปนผูมีอํานาจส่ังซ้ือ สัง่ จาง แตการจัดซื้อ จัดจางดังกลาวเปนการจัดซ้ือของสวนราชการที่ไดรับงบประมาณดังนั้น จึงตอง ระบุคูสัญญาฝายผูซื้อ หรือผูวาจางวา “สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา” ซ่ึงเปนสวน

ราชการเพราะเปนการจัดซ้ือจัดจางดวยงบประมาณของสวนราชการเจาของงบประมาณ ไมใช รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปนผูมีอํานาจสั่งซื้อหรือส่ังจาง (ขอหารือกรมอัยการ ที่ 217/2523) 2. การระบชุ ่อื คสู ญั ญาฝา ยผขู ายหรอื ผรู ับจา ง คูสัญญาทั้งสองฝายผูขายหรือผูรับจางตองมีฐานะเปนบุคคลธรรมดาท่ีมีความสามารถ ในการทํานิติกรรมสัญญา หรือเปนนิติบุคคล แลวแตกรณี ในกรณีที่ฝายผูขายหรือผูรับจางมีฐานะ เปนนิติบุคคลผูมีอํานาจลงนามในสัญญาฝายผูขายหรือผูรับจางตองเปนผูมีอํานาจกระทําการแทน นิติบุคคลโดยตรวจสอบไดจากหนังสือรับรองการจดทะเบียนเปนนิติบุคคลของหางหุนสวนหรือ บริษทั นั้นแลว แตก รณี เชน - 29 - (1.) หางหุนสวนจํากัด ผูมีอํานาจลงนามในสัญญาไดแกบุคคลผูเปนหุนสวนผูจัดการ ประเภทไมจ ํากดั ความรับผิด (2.) บรษิ ัท ผูม อี ํานาจลงนามในสัญญาไดแกบคุ คลผเู ปน กรรมการผจู ดั การบริษัท ในบางกรณีผมู อี ํานาจกระทาํ การแทนดังกลา ว อาจมขี อ จํากัดเกย่ี วกับอํานาจในการจัดทาํ นิติ กรรมสัญญาใหม ีผลผูกพันนิตบิ ุคคล เชน - กรรมการผจู ดั การบรษิ ทั คนเดยี วมอี าํ นาจลงนามแทนบรษิ ทั โดยไมม ขี อ จํากัดอํานาจ - กรรมการผูจดั การบรษิ ัทสองคนลงลายมอื ชือ่ รว มกนั จงึ มผี ลผกู พันบริษทั - กรรมการผูจัดการบริษัทสองคนลงลายมือช่ือรวมกัน และประทับตราหางหุนสวนหรือ บรษิ ัทจงึ มีผลผกู พันบริษทั 3. ผูรับมอบอํานาจใหมาจัดทําสัญญา ในกรณีบุคคลผูมีอํานาจกระทําการแทน หา งหนุ สวนหรอื บรษิ ัท ไมไ ดมาจดั ทําและลงนามในสัญญาเอง อาจมอบอํานาจใหตัวแทนมาทําการ แทนได โดยบุคคลผูมีอํานาจกระทําการแทนหางหุนสวนหรือบริษัทตองมอบอํานาจเปนหนังสือ และปดอากรแสตมปในหนงั สือมอบอาํ นาจดังกลา วดว ย ดังนี้ (1.) การมอบอํานาจใหมายื่นซองเสนอราคา บุคคลผูรับมอบอํานาจดังกลาวไมมีอํานาจ ลงนามในสญั ญา เวน แตไ ดร บั มอบอาํ นาจใหมาจดั ทําและลงนามในสัญญาดวย

(2.) ผรู ับมอบอํานาจจะมอบอํานาจชวงใหบุคคลอื่นมาลงนามแทนผูรับมอบอํานาจไมได เวน แตห นงั สอื มอบอํานาจของผูขายหรือผูรบั จางไดม อบอํานาจใหตั้งตวั แทนชว งได - 30 - การระบุสง่ิ ของที่ตกลงซ้ือขาย สญั ญาซ้ือขาย ขอ 1. ขอตกลงซื้อขาย ผซู อ้ื ตกลงซ้อื และผูขายตกลงขาย..................................................................................... ................................................................................................................................................... จาํ นวน....................เปน ราคาท้ังส้ิน.......................บาท (...........................................................) ซ่ึงไดรวมภาษีมูลคาเพ่ิมจํานวน...............................................บาท ตลอดจนภาษีอากรอ่ืน ๆ และคาใชจา ยท้งั ปวงดว ยแลว ผูขายรับรองวาส่ิงของที่ขายใหตามสัญญานี้เปนของแท ของใหม ไมเคยใชงานมากอน ไมเ ปนของเกา เก็บ และมีคุณภาพและคุณสมบตั ิไมต ่าํ กวาท่กี าํ หนดไวใ นเอกสารแนบทายสัญญา ในกรณีท่ีเปนการซ้ือสิ่งของซึ่งจะตองมีการตรวจทดลอง ผูขายรับรองวาเม่ือตรวจทดลอง แลว ตองมีคุณภาพและคุณสมบัติไมต่ํากวาทก่ี ําหนดไวดว ย  สิ่งของท่ีตกลงซ้ือขายใหระบุรายการพัสดุที่ตกลงซ้ือขายและจํานวนหนวย สําหรับราคา ส่ิงของท่ีตกลงซ้ือขายใหระบุท้ังจํานวนเงินท่ีเปนตัวเลขและตัวอักษรใหชัดเจนและถูกตองตรงกัน

ในกรณีทีส่ งิ่ ของไดร บั การยกเวน เรื่องภาษตี อ งระบดุ ว ยวา เปน ราคายกเวนภาษี หากไมระบุไวอาจขอ ยกเวนภาษีในภายหลังไมได และใหระบุเอกสารแนบทายสัญญาซึ่งถือเปนสวนหน่ึงของสัญญาซื้อ ขายดงั น้ี ผูข ายสงมอบสงิ่ ของเกา แมยังมไิ ดใชงานผูซ อ้ื ปฏเิ สธการรับมอบได ตกลงซื้อขายกระสุนปนโดยสัญญาระบุวาตองเปนของใหม ดังนี้ เมื่อผูขายจะสงมอบ กระสุนปนซึ่งผลิตมาเมื่อ 5 ปที่แลว แมยังไมเคยใชมากอนก็ตาม ผูซ้ือก็มีสิทธิปฏิเสธไมรับมอบ กระสุนปน ได (ขอ หารือตามคําวินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 196/2524) หมายเหตุ สัญญาซื้อขายขอ 1 วรรคสอง กําหนดวาผูขายรับรองวาของที่ขายใหเปนของแท ของใหม ไมเคยใชงานมากอน ดังนั้นกรณีท่ีผูขายนําของเกามาสงมอบ แมยังไมเคยมีการใชงาน มากอ น กถ็ อื วาเปน การผิดสัญญา อนั เปนเหตุในการบอกเลกิ สัญญาซือ้ ขายได       - 31 -   ขอ 2. เอกสารอนั เปน สว นหน่งึ ของสัญญา เอกสารแนบทายสญั ญาดังตอไปนใี้ หถือเปน สว นหนึง่ ของสญั ญานี้ 2.1 ผนวก 1.............(รายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะครภุ ัณฑ ) ............ จํานวน.............หนา 2.2 ผนวก 2.............(แคตตาลอ็ ก) .................................. จาํ นวน.............หนา 2.3 ผนวก 3.............(รูปแบบ) ........................................ จาํ นวน.............หนา 2.4 ผนวก 4.............(ใบเสนอราคา) ................................ จาํ นวน.............หนา 2.5 ................................................................................................................ ความใดในเอกสารแนบทายสัญญา ท่ีขัดแยงกับขอความในสัญญานี้ใหใชขอความใน สัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง ผูขายจะตองปฏิบัติตามคํา วินิจฉยั ของผูซ ้อื

- 32 - การระบุรายการงานทต่ี กลงจาง    ขอ 1. ขอตกลงวาจา ง ผูวา จา งตกลงจา งและผูร ับจางตกลงรับจา งทํางาน............................................................ ................................................................................................................................................... ณ............................................................................................ตําบล/แขวง ............................................ อาํ เภอ/เขต....................................................... จงั หวัด .......................................................................... ตามขอกําหนดและเง่อื นไขแหง สัญญานี้ รวมทัง้ เอกสารแนบทายสญั ญา ผูรับจางตกลงท่ีจะจัดหาแรงงานและวัสดุ เคร่ืองมือเคร่ืองใช ตลอดจนอุปกรณตาง ๆ ชนดิ ดีเพอ่ื ใชใ นงานจางตามสัญญาน้ี ขอ 2. เอกสารอันเปนสว นหนึง่ ของสญั ญา  เอกสารแนบทา ยสัญญาดงั ตอไปนใ้ี หถอื เปนสว นหนึง่ ของสัญญาน้ี 2.1 ผนวก 1 (แบบรปู ) จาํ นวน.................หนา

2.2 ผนวก 2 (รายการละเอยี ด)    จํานวน..................หนา 2.3 ผนวก 3 (ใบแจงปรมิ าณงานและราคา) จาํ นวน..................หนา 2.4 ผนวก 4 (ใบเสนอราคา) จาํ นวน..................หนา 2.5...................................................ฯลฯ............................................................................... 2.6....................................................................................................................... 2.7....................................................................................................................... ความใดในเอกสารแนบทายสัญญาท่ีขัดแยงกับขอความในสัญญาน้ี ใหใชขอความใน สัญญานี้บังคับและในกรณีท่ีเอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง ผูรับจางจะตองปฏิบัติตาม คําวนิ ิจฉัยของผวู า จาง เอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญาตองกรอกลงทุกรายการ เชนแบบรูปกอสราง จํานวน ........รายการ จํานวนหนา รายละเอียดการนําช้ีสถานที่กอสราง และหลักเกณฑและเงื่อนไขการปรับ ราคา (ถา ไมก าํ หนดไวใ นสัญญาอาจเรยี กคา เค ภายหลังไมไ ด) - 33 - คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.64/2549 มหาวิทยาลัยเชียงใหมวาจางผฟู องคดีทําการกอสรางอาคารหอพักขาราชการ โดยประกาศ ประกวดราคาไมไดกาํ หนดใหน ําสัญญาแบบปรับราคา (คา K) ไดมาใชกับสัญญาจางกอสรางอาคาร ดังกลา ว แตต อ มาผูถูกฟองคดไี ดต กลงจัดทําบนั ทึกเพิ่มเตมิ แนบทา ยสัญญาจา งใหน ําสญั ญาแบบปรบั ราคาได (คา K) มาใช โดยใหถือวาเปนสวนหน่ึงของสัญญาจางเดิม เพอ่ื ใหผูฟองคดีสามารถไดรับเงินชดเชย คา กอ สรา งอันเปนการชว ยเหลอื ผฟู องคดี ซึง่ เปนผูป ระกอบอาชีพงานกอ สรางที่ไดรับผลกระทบจาก การปรับปรุงอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สงิ หาคม 2532 แตเมื่อ งานตามสัญญาจางแลวเสร็จ ผูถูกฟองคดีปฏิเสธการจายเงินชดเชยคากอสรางตามขอตกลงท่ีแกไข เพ่ิมเติมใหแกผูฟองคดี โดยใหเหตุผลวาผูถูกฟองคดีไดรับแจงจากสํานักงบประมาณวาสัญญาจาง ขางตนไมอยูในเง่ือนไขที่จะไดรับเงินชดเชย เนื่องจากในประกาศประกวดราคาไมไดกําหนดใหนํา สัญญาแบบปรบั ราคาได (คา K) มาใชบังคับ

- 34 - ศาลปกครองสูงสุดวินจิ ฉยั วา การท่ีคูสัญญาทั้งสองฝายตกลงใหนําสัญญาแบบปรับราคาได (คา K) มาใชโดยถือวาเปน สวนหน่ึงของสัญญาจาง เปนการดําเนินการโดยสุจริตดวยความสมัครใจของทั้งสองฝาย บันทึก เพ่ิมเติมแนบทายสัญญาจางจึงเปนขอตกลงที่ชอบดวยกฎหมายมีผลสมบูรณผูกพันคูสัญญาใหตอง ปฏิบัติตาม แมในประกาศประกวดราคาจางเหมากอสรางไมไดกําหนดใหนําสัญญาแบบปรับราคา (คา K) ไดมาใชก็ตาม ประกอบกับในการตกลงยินยอมใหจัดทําบันทึกเพิ่มเติมแนบทาย สัญญาจาง เพ่ือนําสัญญาแบบปรับราคาได (คา K) มาใช ผูถูกฟอ งคดียอมทราบดีอยูแลววา ณ เวลา ที่แกไขเพิ่มเติมสัญญาดังกลาวน้ัน ไมไดระบุไวประกาศประกวดราคามาแตตนวาจะนําสัญญาแบบ ปรับราคา (คา K) มาใช นอกจากนั้นผูถูกฟองคดีซึ่งเปนหนวยงานของรัฐยอมเขาใจเง่ือนไขและ หลกั เกณฑการชวยเหลอื ผูฟองคดี ซ่ึงเปน ผูประกอบอาชพี งานกอ สรา งตามมติคณะรฐั มนตรีไดดีกวา ผูฟองคดีหรือหากยังไมเขาใจชัดเจนก็ชอบท่ีจะหารือและกําหนดแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการใช สัญญาแบบปรับราคาได (คา K) เสียกอนท่ีจะลงนามในบันทึกเพ่ิมเติมแนบทายสัญญา ผูถูกฟองคดี จึงไมอาจปฏิเสธการจายเงินชดเชยคากอสรางโดยอางวาในประกาศประกวดราคาไมไดระบุใหนํา

สัญญาแบบปรับราคาได (คา K) มาใช ศาลพิพากษาใหผูถูกฟองคดีจายเงินชดเชยคากอสรางและ ดอกเบีย้ ใหแ กผฟู อ งคดีใหแ ลวเสรจ็ ภายใน 90 วัน นบั แตว นั ทม่ี คี าํ พิพากษา คาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๓๒๗/๒๕๕๑ ประกาศประกวดราคาจางเหมากอสรางอาคารเรียนของสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (กรมอาชีวศึกษาเดิม) (ผูถูกฟองคดี) มิไดระบุวาการทําสัญญาจางตามประกาศประกวด ราคาดังกลาวจะนําสัญญาแบบปรับราคาไดมาใช แตในการทําสัญญาจางคูสัญญาไดนําสูตรและ วิธีการคํานวณในการพิจารณาจายเงินชดเชยคางานกอสรางที่ใชกับสัญญาแบบปรับราคาไดมา กําหนดไวในเอกสารแนบทายสัญญาซึ่งถือวาเปนสวนหน่ึงของสัญญา ถือเปนกรณีท่ีคูสัญญา มีเจตนาที่จะใหสัญญาจางนั้นเปนสัญญาแบบปรับราคาได แมวากรณีดังกลาวจะไมเปนไปตามมติ คณะรัฐมนตรี เมอ่ื วันท่ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๓๒ ทกี่ ําหนดวา การนาํ สัญญาแบบปรับราคาไดม าใชนั้น - 35 – ผวู า จา งตองแจงและประกาศใหผ รู บั จางทราบ เชน ในประกาศประกวดราคา และตองระบุในสัญญา จางดวยวางานจางเหมานั้นๆ จะใชสัญญาแบบปรับราคาได พรอมทั้งกําหนดประเภทของงาน กอสราง สูตรและวิธีการคํานวณที่ใหมีการปรับเพ่ิมหรือลดคางานไวใหชัดเจนก็ตาม แตเพียงเหตุ ดังกลาวนั้น ไมไดมีผลทําใหสัญญาจางท่ีผูถูกฟองคดีซ่ึงเปนผูวาจางทํากับเอกชนซึ่งเปนผูรับจาง (ผูฟองคดี) โดยกําหนดใหเปนสัญญาแบบปรับราคาไดตกเปนโมฆะแตประการใด การท่ีผูถูกฟอง คดีโดยเจาหนาท่ีของตนดําเนินการฝาฝนมติคณะรัฐมนตรีขางตน คงเปนเพียงเหตุใหผูถูกฟองคดี และเจาหนาที่ของตนตองรับผิดชอบตอคณะรัฐมนตรีเทานั้น ผูถูกฟองคดีจึงผูกพันตามสัญญาท่ี จะตองชาํ ระเงนิ ชดเชยคางานกอสรา งตามสัญญาแบบปรับราคาไดใหแกผูฟอ งคดี คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๓๑/๒๕๕๒ ประกาศประกวดราคาที่ไดมีการขีดฆาขอความ “สูตรการปรับราคา” ออกถือวาผูถูกฟอง คดี (กรมทางหลวง) มีเจตนาแจงใหผูสนใจเขายื่นซองประกวดราคาทราบวา การจายเงินคาจาง กอสรางโครงการนี้จะไมมีการนําวิธีการปรับราคา (คาK) มาใชในการทาํ สัญญา และสัญญาพิพาท

ความในขอ ๔ วรรคสอง ไดระบุไววา ผูวาจางตกลงจายและผูรับจางตกลงรับเงินคาจางเปนเงิน จํานวน ๖,๙๙๔,๒๘๘.๔๐ บาท ซึ่งไดรวมภาษีมูลคาเพ่ิมตลอดจนภาษีอากรอนื่ ๆ และคาใชจาย ท้ังปวงดวยแลว โดยถือราคาตอหนวยเปนเกณฑตามรายการแตละประเภทดังที่กําหนดไวใน ผนวก ๓ และวรรคสามของขอเดียวกันไดระบุไววา คูสัญญาท้ังสองฝายตกลงวา จํานวนปริมาณ ที่กําหนดไวในบัญชีรายการกอสรางหรือใบแจงปริมาณงานและราคาน้ีเปนจํานวนโดยประมาณ เทา น้ัน จาํ นวนปริมาณงานท่ีแทจริงอาจจะมากหรือนอยกวาน้ีก็ได ซ่งึ ผูวาจางจะจา ยเงินคาจางใหแก ผูรับจางตามราคาตอหนวยของงานแตละรายการท่ีไดทําเสร็จจริง คูสัญญาทั้งสองฝายตางตกลงที่จะ ไมเปล่ียนแปลงราคาตอหนวยหรือเรียกรองคาสินไหมทดแทนอันเกิดจากการที่จํานวนปริมาณงาน ในแตละรายการไดแตกตางไปจากที่กําหนดไวในสัญญา จึงเห็นไดวา สัญญาที่พิพาทมิไดมีการระบุ เง่ือนไขการนําสูตรการปรับราคามาใชกับการจายเงินตามสัญญา ถึงแมขอ ๒ ของสัญญาท่ีพิพาทจะ ไดร ะบุวา เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปน้ีใหถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้ ฯลฯ ๒.๑๑ ผนวก ๑๑ สตู รการปรับราคาก็ตาม ก็มิไดหมายความวา คูสัญญากําหนดใหนําสูตรการปรับราคามาใช เพียงแต ในสญั ญาระบุวาสูตรการปรับราคามีวิธีการคํานวณอยางไรเทาน้ัน สัญญากอสรางระหวาง ผูฟองคดี กับผูถูกฟองคดีจึงไมใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K) ผูถูกฟองคดีจึงไมตองจายเงินชดเชยคางาน กอ สรา งเพิม่ ใหแกผฟู องคดี - 36 - หลกั ประกนั สัญญา 1. หลักประกนั การปฎบิ ตั ิตามสัญญาซ้อื ขาย สญั ญาซือ้ ขาย ขอ 8. หลกั ประกนั การปฎบิ ัติตามสญั ญา ในขณะทาํ สัญญานี้ ผูขายไดนาํ หลกั ประกันเปน............................................................ เปน จาํ นวนเงิน.........................บาท (.......................................................................................) ซ่ึงเทากับรอยละ.......................(.......%) ของราคาทั้งหมดตามสัญญา มามอบใหแกผูซื้อเพื่อเปน หลกั ประกันการปฏบิ ัติตามสญั ญาน้ี หลักประกันท่ีผูขายนํามามอบไวตามวรรคหนึ่ง ผูซ้ือจะคืนใหเม่ือผูขายพนจาก ขอผูกพันตามสัญญาน้ีแลว (สวนหลักประกันตามขอ 6.1 ผูซื้อจะคืนใหพรอมกับการจายเงินงวด สุดทายตามขอ 6.2)

2. หลกั ประกันการปฎิบัติตามสัญญาจา ง สัญญาจาง ขอ 3. หลักประกันการปฎบิ ตั ติ ามสัญญา ใ น ข ณ ะ ทํ า สั ญ ญ า นี้ ผู รั บ จ า ง ไ ด นํ า ห ลั ก ป ร ะ กั น เ ป น ................................................................. ................................................................................................................................................ เปนจํานวนเงิน...............................บาท (................................................................................) มามอบใหแกผูวาจาง เพอ่ื เปน หลักประกนั การปฏิบตั ติ ามสญั ญานี้ หลักประกันท่ีผูรับจางนํามอบไวตามวรรคหน่ึง ผูวาจางจะคืนใหเม่ือผูรับจางพนจากขอ ผูกพันตามสญั ญานแ้ี ลว แนวปฏิบัติในการวางหลกั ประกนั สัญญาซือ้ ขายและสญั ญาจาง 1. หลักประกันซองหรือหลักประกันสัญญา ใหใชหลักประกันอยางหน่ึงอยางใด ตามท่ี กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 แกไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2539) ขอ 141 ดังตอ ไปน้ี (1) เงนิ สด (2) เช็คที่ธนาคารเซ็นส่ังจาย ซ่ึงเปนเช็คลงวันที่ที่ใชเช็คนั้นชําระตอเจาหนาที่ หรือกอน วนั นน้ั ไมเกิน 3 วนั ทาํ การ - 37 - (3) หนงั สือคํ้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอยา งท่ี กวพ. กําหนด (4) หนังสือค้ําประกันของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย บริษัทเงินทนุ หรือ บริษัทเงินทุนหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชยและประกอบ ธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายช่ือบริษัทเงินทุนท่ีธนาคารแหง ประเทศไทยแจงเวียนใหสวนราชการตางๆ ทราบแลว โดยอนุโลมใหใชตามตัวอยางหนังสือ คํ้าประกันของธนาคารท่ี กวพ. กาํ หนด (5) พันธบตั รรัฐบาลไทย สาํ หรบั การประกวดราคานานาชาติ ใหใ ชหนงั สือคํ้าประกันของธนาคารในตางประเทศทม่ี ี หลกั ฐานดี และหวั หนา สว นราชการเชอ่ื ถอื เปนหลกั ประกันซองไดอ ีกประเภทหนงึ่ 2. หลักประกันอ่ืนนอกจากที่กําหนดไวในขอ 1 เชนเช็คเงินสด ไมอาจนํามาวางแทน หลกั ประกนั ดังกลา วไดเพราะธนาคารอาจปฏเิ สธการจา ยเงนิ ตามเช็คดังกลาวได

3. ผูขายหรือผูรับจางจะขอใหนําหลักประกันซึ่งไดวางเปนหลักประกันซองในการเสนอ ราคามา เปนหลกั ประกันสัญญาไมได เพราะธนาคารหรือผูคํ้าประกันอ่ืนไมไดตกลงดวยภาระการ คํา้ ประกันดังกลาวมผี ลผูกพันเฉพาะการประกันการยื่นซองเสนอราคาเทานน้ั ) 4. สัญญาค้ําประกันตองระบุในสัญญาวาเปนการค้ําประกัน ระหวางธนาคารกับ สวนราชการเจาของงบประมาณ เชน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สัญญาที่ระบุวาทํา ขึ้นระหวางธนาคารกับวิทยาลัยหรือผูวาราชการจังหวัด ธนาคารอาจยกขึ้น ปฏิเสธความรับผิด ภายหลงั ได) 5. สัญญาคํ้าประกันตองไมมีระยะเวลาคํ้าประกัน จํากัดระยะเวลาความรับผิดไว โดยให ระบุวา “เมื่อผูขายหรือผูรับจางพนความผูกพันตามสัญญา” ตามที่กําหนดไวในสัญญาซื้อและ สญั ญาจา ง 6. หนังสือค้ําประกันของธนาคาร ควรมีการตรวจสอบกับธนาคารผูคํา้ ประกันกอนวาเปน เอกสารหนงั สือค้ําประกันที่มกี ารทําปลอมหรือไม กอ นมีการลงนามในสญั ญา 7. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ควรมีการเรียกเก็บเงินตามเช็คจากธนาคารกอนมีการลงนาม ในสัญญา เพราะบางกรณีผูขายหรือผูรับจางนําเช็คดังกลาวไปถายเอกสาร แลวนําเช็คท่ีธนาคาร เซน็ สัง่ จายไปถอนเงนิ จากธนาคาร โดยนาํ สําเนาเชค็ มาวางเปนหลกั ประกนั สัญญาแทน - 38 - คําพิพากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๑๘๕/๒๕๕๒ สัญญาจาง ขอ ๓ และขอ ๖ ของสัญญาจางเลขท่ี จ.๒/๒๕๔๔ ผูฟองคดีจะไดรับ หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาคืนก็ตอเมื่อผูฟองคดีไดพนจากขอผูกพันตามสัญญาแลว เมื่อผูฟองคดีมิไดดําเนินการซอมแซมถนนท่ีชํารุดบกพรองใหแลวเสร็จเปนที่เรียบรอยภายใน กําหนดเวลา กรณีจึงตองถือวาผูฟองคดียังไมพ นความรับผิดตามสัญญา ขอ ๖ และเม่ือผูฟองคดี ไดทําการซอมแซมถนนท่ีชํารุดบกพรองแลวบางสวน คงเหลือพื้นที่ถนนที่ผูฟองคดีตองรับผิดใน ความชํารุดบกพรองซึ่งจะตองทําการซอมแซมประมาณ ๗๓๒ ตารางเมตร เปนเงินจํานวน ๑๐๑,๓๑๘ บาท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาขอนแกน ในฐานะผูค้ําประกันยอม ตองรับผิดรวมกับผูฟองคดีดวยเชนกัน ตามมาตรา ๖๘๐ และมาตรา ๖๘๖ แหง ประมวลกฎหมาย

แพงและพาณิชย ขอ ๑ และขอ ๓ ของหนังสือคํ้าประกันดังกลาว ซึ่งผูถูกฟองคดีสามารถใชสิทธิ บังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาได การท่ีผูถูกฟอ งคดีมีหนังสือ ลงวันท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ แจงกรรมการผูจัดการธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาขอนแกน ขอหักเงินคํ้า ประกันสญั ญาจา งจาํ นวน ๑๐๑,๓๑๘ บาท จึงเปนการกระทําทีช่ อบดวยกฎหมายและขอ สญั ญาแลว การลงนามในสญั ญากอ นไดร ับโอนจดั สรรงบประมาณจากสวนราชการ ภายหลังที่ไดดําเนินการสอบราคาหรือประกวดราคาและไดพิจารณาหาผูขายหรือผูรับจาง โดยเสนอชื่อผูขายหรือผูรับจางตอผูมีอํานาจส่ังซ้ือ สั่งจาง ตามขอ 65 แหงระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และไดรับการอนุมัติจัดซื้อจัดจางแลว แมวาวงเงิน ที่ดําเนินการจัดซื้อจัดจางจะอยูในอํานาจของหัวหนาสถานศึกษา ก็ยังไมอาจเรียกใหผูขายหรือ ผูรับจางมาจัดทําสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางได ทั้งน้ี ตามความในมาตรา 23 แหง พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 บัญญัติไววา......”หามมิใหจายเงินหรือกอหนี้ผูกพัน ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม จนกวาจะไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลว” ดังนั้นเมื่อสถานศึกษาไดดําเนินการจัดซ้ือจัดจางและ หัวหนาสถานศึกษาไดพิจารณาอนุมัติการสั่งซ้ือส่ังจางแลว ยังถือวาการสอบราคาประกวดราคายัง ไมมีผลสมบูรณ จนกวาจะไดรับการโอนจัดสรรงบประมาณ การจัดทําสัญญาไปกอนไดรับการ   - 39 - โอนจัดสรรงบประมาณ ผูที่ลงนามในสัญญาอาจตองรับผิดเปนการเฉพาะตัว หากมีการสงมอบ ส่ิงของตามสัญญาซ้ือขายหรือมีการกอสรางอาคารสิ่งปลูกสรางตามสัญญาจางแลว ก็ไมอาจนํา สัญญาซ้ือขาย หรือสัญญาจางดังกลาวมาดําเนินการขออนุมัติเบิกเงินราคาสินคาหรือราคางานจาง จากทางราชการได นอกจากน้ีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการท่ีกระทําการกอหนี้ผูกพัน หรือจายเงิน โดยรูอยูแลวยินยอมอนุญาตใหกระทําการดังกลาวโดยฝาฝนพระราชบัญญัติวิธีการ งบประมาณ หรือระเบียบหรือขอบังคับที่ไดออกตามความในพระราชบัญญัติดังกลาว นอกจาก ความรับผิดทางอาญา ซึ่งอาจไดรับตามกฎหมายอ่ืนแลว ผูกระทําหรือผูยินยอมอนุญาตใหกระทํา ดังกลาวจะตองรับผิดชดใชจํานวนเงินท่ีสวนราชการไดจายไปหรือตองผูกพันจะตองจายตลอดจน คาสนิ ไหมทดแทนใด ๆ ใหแกสวนราชการนัน้ ตามความในมาตรา 26 อกี สวนหน่ึงดว ย