Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอบ้านแพรก (SAR 2564)

รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอบ้านแพรก (SAR 2564)

Published by Krupom, 2022-07-03 06:23:35

Description: รายงานการประเมินตนเอง กศน.อำเภอบ้านแพรก (SAR 2564)

Search

Read the Text Version

มาตรฐาน/ คานำ้ หนัก กระบวนการ/วิธีการดำเนนิ งาน ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา

น ผลการดำเนนิ งานทเ่ี กิดขึ้น ผลการประเมนิ คุณภาพ และรอ งรอย หลักฐานท่ีเกิดขึ้น คะแนนท่ี ระดบั จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ได คณุ ภาพ ขอ มูล รอ งรอย หลกั ฐาน 114 1. แผนงาน โครงการ กิจกรรมหรอื ขั้นตอนการดำเนินงานในการสงเสรมิ สนบั สนุนการสรา งสงั คม แหงการเรียนรขู องสถานศึกษา 2. ทำเนยี บแหลง เรยี นรทู เี่ ปนผลมา จากการสง เสริม สนบั สนนุ การสรา ง สงั คมแหงการเรยี นรูในชมุ ชนทอ งถิน่ 3.ทำเนยี บภมู ปิ ญ ญาชาวบาน 4. ขอมลู หรอื รายงานผลการติดตาม และประเมินผลการใชแ หลง เรียนรู 5. สมดุ เยยี่ มแหลง เรยี นรู 6. เกียรตบิ ัตร รางวลั

มาตรฐาน/ คา นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งาน ประเด็นการพิจารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา 3.9 การวจิ ัยเพื่อการบรหิ าร 3 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศ จัดการศึกษาสถานศึกษา อัธยาศัยอำเภอบานแพรก มีการกำหนด การวิจัยท่ีสอดคลองกับสถานการณ ป ความตองการของสถานศึกษา พรอมท แผน และแนวท างการดำเนิน งานว สถานศึกษา มีการดำเนินงานวิจัยอ เกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษ วิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบร บุคคล หรือดานการบริหารงานท่ัวไป โ สว นรวมของบุคลากรในสถานศกึ ษา

น ผลการดำเนินงานท่ีเกิดข้ึน ผลการประเมินคุณภาพ และรอ งรอย หลกั ฐานที่เกิดขึน้ คะแนนท่ี ระดบั จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ได คุณภาพ ศึกษาตาม ศูนยการศึกษานอกระบบและ 3.00 ยอดเย่ียม ดประเด็น การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก ญหาหรือ ไดดำเนินการประชุม หารือ โดยผูบริหาร 115 ท้ังกำหนด สถานศึกษารวมกับครู บุคลากร และ วิจัยของ คณะกรรมการสถานศึกษา แลกเปล่ียน อยางงาย ความคิดเห็นถงึ สภาพการดำเนนิ งานใน ษาในดาน การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา ริหารงาน ในดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานบริหาร โดยการมี งานบุคคล หรือดานการบริหารท่ัวไป จัดทำวิจัยอยางงายเร่ืองการบริหาร จัดการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนิน การวิจัย โด ยก ารมี สวน รวม ขอ ง บุคลากรทกุ คนในสถานศกึ ษา ทั้ งน้ี ใน ป งบ ป ร ะ ม าณ 2 5 6 4 สถานศึกษาไดดำเนินการวิจัยเก่ียวกับ ระบบจัดการวัสดุและครุภัณฑ และ ร ะ บ บ จั ด ก า ร แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย งบประมาณของสถานศึกษา พรอมท้ัง

มาตรฐาน/ คา นำ้ หนกั กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งาน ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา รวมคะแนน 30

น ผลการดำเนนิ งานทเี่ กดิ ขึ้น ผลการประเมนิ คุณภาพ และรอ งรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขน้ึ คะแนนท่ี ระดับ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ได คณุ ภาพ รายงานผลการวิจัยตอผูบริหาร และ คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อนำ ผลการวิจัยไป ใชใน การป รับ ป รุง พัฒนาการบริหารจัด และเปนฐานขอมูล ในการพฒั นาการจดั การศึกษาตอไป ขอมูล รอ งรอย หลักฐาน 1. บันทกึ ขอความ คำสงั่ บนั ทึกหรอื 116 รายงานการประชมุ ที่เกี่ยวของ 2. แผนหรอื แนวทางการดำเนินงาน 3. รายงานการวิจัย 29 ยอดเย่ียม

117 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา อยูในระดบั ยอดเยี่ยม มคี ะแนนรวมเทา กับ 29 คะแนน ซ่ึงจากผลการประเมินคุณภาพในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา พบวา สถานศึกษามจี ุดเดน และจุดทค่ี วรพัฒนา ดังนี้ จุดเดน 1. การบริหารท่ีเนนการมีสวนรวมของผูบริหาร และคณะ ครู ในการกำหนดเปาหมายการจัดการศึกษา กำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ อัตลกั ษณของสถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจำปข องสถานศกึ ษา โดยไดรับขอ เสนอแนะ และความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา โครงการและกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ปรากฏในแผนปฏิบตั ิงานประจำปของสถานศกึ ษา มคี วามสอดคลอง กบั นโยบายของสำนักงาน กศน. 2. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ของ กศน.อำเภอบานแพรก ท่ีไดกำหนดมาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปของสถานศึกษา การติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำป และเสนอ รายงานการประเมินคณุ ภาพภายในตอ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หนว ยงานตน สงั กัด ภาคีเครอื ขา ย และเผยแพรตอ สาธารณชน 3. การพัฒนาครู และบุคลากร ใหไดรับความรับการพัฒนา จนมีความรู ความสามารถและทักษะในการ จัดการเรียนรูใ หแ กก ลุมเปาหมาย การปฏบิ ตั ิงาน และสามารถใชเ ทคโนโลยไี ดอยางเหมาะสม จุดท่ีควรพัฒนา 1. ควรสงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับระบบประกัน คุณภาพของสถานศึกษา และนำผลท่ีไดจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปออกแบบ ปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษาอยางตอเนอื่ ง 2. ควรสงเสริม สนับสนุนใหผูบริหาร ครูและบุคลากรของสถานศึกษา ทำวิจัยอยางงายที่เกี่ยวของกับการ บริหารจัดการของสถานศึกษาในดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล หรือดานการบริหารงาน ทั่วไป ตามความสอดคลองกับสถานการณ ปญหา หรือความตองการของสถานศึกษา ตลอดจนมีรายเสนอ ผลงานวิจัยตอคณะกรรมการสถานศึกษา หรือเผยแพรผานชองทางตางๆ และนำผลการวิจัยไปใชในการปรับปรุง หรอื พฒั นางานของสถานศกึ ษาตอไป

บทที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของ สถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ดงั น้ี มาตรฐานการศึกษา คะแนนจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ ดา นท่ี 2 ดา นท่ี 3 คุณภาพ รวม ดานที่ 1 ระดับ แตล ะประเภท คณุ ภาพของ คณุ ภาพการจัด การบริหารจัดการ คะแนนทีไ่ ด คุณภาพ ผเู รยี น การศึกษา ของสถานศึกษา ยอดเย่ียม คะแนนเต็ม 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 100 คะแนน ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศึกษา 45.54 16.00 29.00 90.54 ยอดเย่ียม นอกระบบ ระดับการศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐาน มาตรฐานการศึกษา 43.80 16.80 29.00 89.60 ตอ เนื่อง มาตรฐานการศกึ ษา 49.45 18.34 29.00 96.79 ตามอธั ยาศัย คะแนนเฉลีย่ จากผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 92.31 ท้ังน้ี จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เม่ือนำ คะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐาน ท่ีไดในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑระดับคุณภาพ พบวา สถานศึกษา มีผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยูในระดับ ยอดเย่ียม มีคะแนนรวมเทากับ 92.31 คะแนน และเม่ือ พจิ ารณาผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาแตละประเภท สามารถสรปุ ผลการประเมินตนเอง ไดดังนี้

119 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ระดบั คุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรปุ ไดว า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน อยูในระดบั ยอดเย่ียม ผลการดำเนนิ งาน รองรอย และหลักฐานทส่ี นบั สนุนผลการประเมนิ คณุ ภาพ คณุ ภาพของผูเรียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดใหมีกิจกรรม/โครงการ ในการจัด และพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วิเคราะหผูเรียนเพ่ือจัดทำแผนการจัดการเรียนรู โดยทำการวิเคราะห เน้ือหารายวิชาและจัดทำแผนการเรียนรูโดยใชรูปแบบ ONIE Model จัดทำและใชแผนการเรียนรูออนไลน โดยครูผูสอนและผูเรียนไดวางแผนกิจกรรมการเรียนรูรวมกัน ผูเรียนสามารถเขามาเรียนรูไดตามปฏิทินและ กำหนดการท่ีกำหนด จัดทำและใชส่ือการเรียนรูและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย ไดแก สื่อส่ิงพิมพ หนังสือเรียน ใบงาน ใบความรู ส่ืออิเล็กทรอนิกส คลิปวิดีโอ ส่ือบุคคล ผูรูและภูมิปญญา แหลงเรียนรูในชุมชน ใชชองทาง การจัดการเรียนรูโดยการพบกลุม เรียนรูออนไลนผาน บทเรียนออนไลน ใหผูเรียนไดศึกษาเรียนรู ทำใบงาน และแบบทดสอบหลังเรียนผาน google forms ผานชองทาง Google Site, Google Classroom, Facebook ,Line จัดกระบวนการเรียนรู ท่ีเนนการจัดกระบวนการเรียนรูตามปรัชญา “คิดเปน” โดยใชขอมูลตนเอง วิชาการ และสภาพแวดลอมในชุมชน สังคมมาวิเคราะห ตัดสินใจในเรื่องที่ตองการเรียนรูแลวนำไปประยุกตใชในการ ดำเนินชวี ิต การประกอบอาชีพ หรอื ศกึ ษาตอในระดับท่สี งู ขน้ึ ผลการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสถานศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน โครงการ/กิจกรรม เพ่ือสงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค กระบวนการเรียนรูแบบโครงงาน และนำระบบเทคโนโลยีเขามาบริหาร จัดการเรียนรู เพ่ือสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับผูเรียน ตลอดจนกิจกรรมดานดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสาและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนผลให ผูเรียนการศึกษาข้ัน พื้นฐานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษา ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ โดยใชขอมูลและ เหตุผลประกอบการตัดสินใจ แกไขปญหาไดอยางถูกตองและแลกเปล่ียนความคิดเห็นรวมกับผูอ่ืน สามารถใช เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม การสื่อสาร การทำงานและการดำรงชีวิต มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีมี และมีคณุ ลักษณะที่เปนไปตามคาเปาหมายที่สถานศึกษากำหนด ทั้งน้ีจากการ ติดตามผูจบการศึกษาตามหลักสูตร พบวา ผูเรียนท่ีจบการศึกษาตามหลักสูตร สามารถนำความรู ทักษะ พื้นฐานท่ไี ดรับไปใช หรือประยกุ ตใ ชใ นการดำเนินชีวติ การประกอบอาชพี และการศึกษาตอในระดบั ท่สี ูงขนึ้

120 คณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานท่เี นน ผูเรยี นเปนสำคัญ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก ไดสำรวจความตองการของ ผูเรียนการศึกษาศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีสอดคลองกับความตองการ ความสนใจ และสภาพปญหาที่เกิดข้ึน โดยไดพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่มีองคประกอบไดแก หลักการ จุดหมายของหลักสูตร กลุมเปาหมาย โครงสรางหลักสูตร ระยะเวลาเรียน วธิ ีการจัดการเรียนรู กระบวนการจัดการเรยี นรู สอื่ การเรียนรู การวดั และ ประเมินผล และการจบหลักสูตร นำหลกั สตู รที่ปรบั ปรุง ขออนุมัติหลักสตู รโดยผูอำนวยการศูนยการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบา นแพรกและคณะกรรมการสถานศึกษาเหน็ ชอบการใชห ลักสตู ร สถานศึกษาสำรวจความตองการในการใชส่ือในการจัดกระบวนการเรียนรู สามารถพัฒนาสื่อ จัดหาสื่อ การเรียนรูท่ีหลากหลาย สอดคลองกับหลักสูตรและวิธีการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงความ แตกตา งระหวางบคุ คลของผูเรยี น จัดทำขอมูลสารสนเทศ ทำเนียบสือ่ การเรียนรู ใชส่ือการเรียนรูท่หี ลากหลาย ในการจัดการเรยี นรู มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ รยี นท่ีมตี อสอ่ื การเรยี นรู พฒั นาศักยภาพครูทกุ คนอยา ง ตอเนื่องและสม่ำเสมอ มีการประชุมหารือวางแผนการจัดเรียนรูและแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกันในระดับ สถานศึกษา โดยมีการบันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู นำปญหาท่ีพบจากการจัดการเรียนรูมาทำวิจัย เพื่อพัฒนาและแกไขปญหาของผูเรียนและครูไดมีการจัดระบบการชวยเหลือผูเรียนโดยใหการแนะแนวให คำปรึกษา ดำเนินการวัด และประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนอยางเปนระบบ โดยมีเคร่ืองมือ วิธีการวัดและ ประเมินผลที่สอดคลองกับจุดมุงหมาย หรือวัตถุประสงคของหลักสูตร โดยใชแบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ และบันทึกหลังการจัดการเรียนรู เสนอผูบริหารอนุมัติการสอน รวมทั้งแจงผลการวัดแล ประเมินผลการเรียนรูใ หผูเรียนไดรบั ทราบ ดานคณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก มีการกำหนดเปาหมาย วิสยั ทศั น พนั ธกิจ อตั ลกั ษณ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) และแผนปฏิบัติการประจำป พ.ศ. 2564 ท่ีสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถิ่น และสอดคลองตามนโยบายของสำนักงาน กศน. ที่เนนการมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบดว ย ผูบ รหิ ารสถานศึกษา ขาราชการ พนกั งานราชการ ลูกจาง และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ซงึ่ ไดม ี การเสนอแกคณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและให ขอเสนอแนะกอนที่จะนำไปใชตอไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงานตาง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดำเนินงานไดเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจำปท่ีกำหนดไว โดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขายและจัดใหมี การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง ทั้งน้ีไดรับการรับรองการ ประเมิน SAR ตามเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องคก ารมหาชน)

121 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ประเด็นที่ควรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1. พัฒนาศักยภาพของผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาควรสงเสริมความสามารถของผูเรียน ในการสรางสรรคช ิ้นงาน หรือนวัตกรรม ในการสรางสรรคงาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใชประโยชนไดจริง ควรจัดใหมีการ แขงขัน การประกวดโครงงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค นวัตกรรม หรอื จัดสงโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค ไปประกวด แขงขัน รว มกบั หนวยงาน หรือสถานศึกษาอื่น 2. พัฒนาความสามารถในการ ใชเทคโนโลยีดิจิทัล สถานศึกษาควรสงเสริมและสนันบสนุน พัฒนา ใหก บั ครูและผูเรียน ครูผูสอนใหมีความสามารถในการจัดทำส่ือการเรียนรู ออนไลน และสงเสริมความสามารถในการใช เทคโนโลยีดิจิทัลใหกับผูเรียนอยางตอเน่ือง และ สม่ำเสมอ 3. การประเมินหลักสตู รสถานศึกษา สถานศึกษาควรทบทวนหลักสูตรสถานศึกษาอยาง ตอ เน่ือง สงเสรมิ กระบวนการในการประเมินหลักสูตร และการนำผลการประเมินหลักสูตรมาปรับปรุงหรือ พัฒนา ความตองการการสงเสรมิ สนับสนุนจากหนว ยงานตน สงั กัด 1. การจดั โครงการมหกรรมทางวิชาการ เชน มหกรรมเปด บา นวิชาการ การประกวดโครงงาน เพอื่ กระตนุ ใหนักศกึ ษาไดแ สดงความสามารถ และมีพ้ืนทีใ่ นการพัฒนาศักยภาพทางดานวิชาการ 2. สงเสริมกระบวนการในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เชน การจัดอบรมการประเมินหลักสูตร สถานศกึ ษา โดยวิทยากรผูมีความเช่ยี วชาญทางดานหลกั สตู ร 3. การนิเทศ ติดตาม ใหคำปรึกษาในการจัดการศึกษาอยางตอเนื่อง หรือการประเมินคุณภาพ สถานศึกษาโดยตนสงั กดั

122 สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตอเนอื่ ง ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปไดวา สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ตอเนื่อง อยใู นระดับ ยอดเยยี่ ม ผลการดำเนนิ งาน รอ งรอย และหลักฐานท่ีสนับสนนุ ผลการประเมินคณุ ภาพ ดา นคุณภาพของผูเรียนการศกึ ษาตอเนอ่ื ง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก วางแผนการจัดกิจกรรม การศึกษาตอเน่ือง โดยผูบริหารและบุคลากรรวมประชุมวางแผนการทำงาน จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ พ.ศ 2564 โดยกำหนดใหมีโครงการ/กิจกรรม จัดทำและ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาตอเน่ืองท่ีสอดคลองกับความของผูเรียน สอดคลองกับบริบทในพ้ืนที่ สถานการณในปจจุบัน และนโยบายจุดเนนของสำนักงาน กศน. พัฒนาหลกั สูตรการศึกษาตอเนือ่ ง ดำเนนิ การ จัดกิจกรรม โดยใหผูเรียนไดเรียนรูท้ังในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเนนการลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันระหวางวิทยากรกับผูเรียนและระหวา งผูเรยี นดว ยกัน มวี ิทยากรการศึกษาตอ เน่ืองที่มี ความรูความสามารถและประสบการณตรงตามหลักสูตร มีการจัดหาสื่อที่เอื้อตอการเรียนรู จัดใหมีการวัดและ ประเมินผลผูเรียนดวยวิธีการที่เหมาะสม ตรงตามจุดประสงคของการจัดการศึกษาโดยเนนผูเรียนเปนสำคัญ ยึดหลักความสอดคลองกับศักยภาพและความพรอมของผูเรียน รวมทั้งบูรณาการปรัชญาคิดเปนและหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหผูเรียนการศึกษาตอเนื่องมีความรู ความสามารถทักษะ คุณธรรมตาม เกณฑการจบหลักสูตร รวมท้ังไดการนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการศึกษาตอเน่ือง สรางขวัญและกำลังใจ ใหก บั ผเู รยี น วิทยากร และครผู ูส อน แลวนำผลการนิเทศมาใชในการปรับปรุง พฒั นาการจดั การศึกษา ผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาตอเน่ืองของสถานศึกษา พบวา ผูเรียนการศึกษาตอเน่ือง สามารถเขารวมกระบวนการจัดการเรียนรู ที่เปนไปตามตามแผนการจัดการเรียนรูในแตละหลักสูตรได มคี วามรู ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม สามารถผานกระบวนการวัดและประเมินผล จนมีคุณสมบัติครบถวน สามารถจบการศึกษาตามเกณฑการจบหลักสูตรในแตละหลักสูตร และจากการติดตามผูจบการศึกษาตาม หลักสตู รการศึกษาตอเนื่อง พบวา มีผูจบหลกั สูตรการศึกษาตอเน่อื งสามารถนำความรูท่ีไดไปใชหรือประยกุ ตใ ช ในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพของตนเอง ในการตอยอดอาชีพ เพิ่มรายได เพิ่มมูลคาของสินคาหรือ บริการ และประยุกตใชในการดำเนินชีวิตประจำวัน และนำความรูไปใชใหเปนประโยชนตอการพัฒนาสังคมและ ชมุ ชนได

123 ดา นคณุ ภาพการจดั การเรียนรกู ารศกึ ษาตอ เนอ่ื ง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก ไดจัดทำและพัฒนาหลักสูตร การศึกษาตอเนื่องในปงบประมาณ 2564 ท่ีมีความสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมาย มีกระบวนการนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาตอเน่ือง ดำเนินการเปนระบบบริหารงานตามวงจร PDCA โดยเปนหลักสูตรต้ังแต 6 ช่ัวโมงขึ้นไป จำนวน 13 หลักสูตร ที่มีองคประกอบสำคัญครบถวน ผานความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และอนุมัติใชหลักสูตรโดยผูบริหารสถานศึกษากอนนำไปใช จัดกระบวนการเรียนรู มีการสรรหาและคัดเลือกวิทยการการศึกษาตอเนื่องท่ีมีความรู ความสามารถ มีประสบการณตรงตามหลักสูตร ทั้งในและนอกพ้ืนที่อำเภอบานแพรก มีคำสั่งแตงตั้งวิทยากรแตละหลักสูตร วิทยากรจัดแผนการจัดการเรียนรูที่มีความสอดคลองกับหลักสูตร จัดกระบวนการเรียนรูไดสอดคลองกับ แผนการเรียนรู จัดหา จัดทำและพัฒนาส่ือท่ีเอื้อตอการเรียนรู และสอดคลองกับความตองการของผูเรียน มกี ารจัดทำขอมูลสารสนเทศ แหลง เรยี นรู ทำเนียบสื่อ และภูมิปญญาทองถิน่ เลอื กใชสื่อประกอบการเรียนการ สอนที่เหมาะสมกับเน้ือหาและผูเรียน มีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีสอดคลองตามวัตถุประสงคของแต ละหลักสูตร นอกจากนี้ยังไดทบทวน และตรวจสอบ และประเมินการใชหลักสูตรการศึกษาตอเน่ืองหลังการ นำไปใชจ ดั กระบวนการเรยี นรู ดา นคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก มีการกำหนดเปาหมาย วิสยั ทัศน พนั ธกจิ อตั ลกั ษณ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) และแผนปฏิบัติการประจำป พ.ศ. 2564 ท่ีสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถิ่น และสอดคลองตามนโยบายของสำนักงาน กศน. ที่เนนการมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบดว ย ผบู ริหารสถานศกึ ษา ขาราชการ พนักงานราชการ ลกู จาง และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ซึง่ ไดม ี การเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและให ขอเสนอแนะกอนท่ีจะนำไปใชตอไป ท้ังนี้ ในการดำเนินงานตาง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดำเนินงานไดเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจำปที่กำหนดไว โดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขายและจัดใหมี การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง ท้ังน้ีไดรับการรับรองการ ประเมิน SAR ตามเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องคก ารมหาชน)

124 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ประเดน็ ที่ควรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1. หลกั สูตรการศึกษาตอเนื่อง สถานศึกษาควรวิเคราะห ทบทวนหลักสูตรการศึกษา ตอเนื่องทุกหลักสูตร สงเสริมกระบวนการในการ ประเมินหลักสูตรและการนำผลการประเมินหลักสูตร มาปรับปรุงหรือพัฒนา รวมท้ังทำการรวบรวมหรือ จัดทำคลังหลกั สูตรการศกึ ษาตอ เน่ืองอยา งเปนระบบ 2. พัฒนาศักยภาพวิทยากร หรือผูจัดการเรียนรู สถานศึกษาควรสงเสริม สนับสนุนใหครูและวิทยากร การศึกษาตอเนื่อง จัดทำหรือพัฒนาเครื่องมือวัดผล ประเมินผล ทำการ ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวัดและประเมินผล การเรียนรูของแตละหลักสูตร สงเสริม หรือพัฒนา วิทยากรการศึกษาตอเน่ืองทุกคน ใหมีความรู ความสามารถหรือ ประสบการณตรงตามหลักสูตร โดยมีการจัดประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู เชน การประชุมชี้แจงทำความเขาใจบทบาท หนาท่ีของ วิทยากรการศึกษาตอเนื่อง ในการออกแบบการจัด กระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของ หลักสตู ร 3. พฒั นาผเู รียนการศกึ ษาตอเนอ่ื ง ควรสง เสรมิ สนับสนุนใหผ ูเรียนสามารถนำความรทู ่ีได ไปใชในการประกอบอาชีพ การตอยอดอาชีพ เพ่ิมรายได เพิ่มมูลคาของสินคาหรือบริการ รวมท้ัง ประยุกตใชในการดำเนินชีวิต ใหเปนท่ีประจักษอยาง ตอเนื่อง ความตอ งการการสงเสริม สนบั สนนุ จากหนวยงานตนสงั กัด 1. ควรจัดใหมีการพัฒนาองคความรู หรืออบรมเกี่ยวกับการประเมินโครงการ และการประเมิน หลักสตู รการศกึ ษาตอ เนือ่ ง โดยวทิ ยากรผูมคี วามเชย่ี วชาญทางดา นหลกั สตู ร 2. ควรสงเสริมและเปนสื่อกลางในการประชาสัมพันธ เปดโอกาสใหมีการแสดงผลงานจากการจัด การศึกษาตอเนอื่ ง เชน มหกรรมวิชาการ มหกรรมอาชพี หรอื การสรางงาน สรา งอาชพี เปนตน

125 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษาตามอธั ยาศยั ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรปุ ไดวา สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ตามอัธยาศัย อยูในระดับ ยอดเยยี่ ม ผลการดำเนินงาน รอ งรอย และหลักฐานทส่ี นบั สนุนผลการประเมินคุณภาพ ดานคุณภาพของผรู บั บรกิ าร การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก กำหนดโครงการหรือกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยไวในแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำรวจความสนใจและตองการของกลุมเปาหมายผูรับบริการ จัดทำแผนการใชจายงบประมาณ ออกแบบ กิจกรรมใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมายและบริบทของชุมชน และ สถานการณ จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการจัดการเรียนรู และจัดกระบวนการเรียนรู การสงเสริมการอานและการเรียนรูใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย ทุกเพศและชวงวัย จัดใหมีสื่อสงเสริมการ อานที่หลากหลายประชาสัมพันธและเชิญชวนใหประชาชนเขารวมกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรู ทั้งจากการชักชวน บอกตอ ประชาสัมพันธผานผนู ำชุมชน และชอ งทางออนไลน ดำเนินกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยเนนการจัดกิจกรรมเชิงรุก และมีรูปแบบกิจกรรมท่ีหลากหลาย ปรับเปล่ียนไปตามสถานการณ จัดทำรายงาน สรปุ ผลการจดั โครงการ เพอ่ื การปรับปรุงและพัฒนากจิ กรรมการอธั ยาศัยใหม ีคุณภาพตอ ไป สถานศึกษา สงเสริมและสนับสนุนใหผูจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับการพัฒนาศักยภาพ พัฒนาตนเองในรูปแบบตางๆ จากหลากหลายชองทาง เชน การศึกษาเรียนรูดวยตนเอง จากส่ือสิ่งพิมพ สื่อออนไลน เรียนรูจากบุคคล จากการศึกษาดูงานและแหลงเรียนรู ทำใหผูท่ีทำหนาที่จัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย มีความรูความเขาใจท่ีเกี่ยวของกับการบริหารจัดการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีคุณภาพและ สามารถจัดกระบวนการกิจกรรมสงเสรมิ การอา นทีห่ ลากหลายสอดคลอ งกับผใู ชบรกิ าร ผลการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั พบวา ผูรบั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่เขารวมโครงการหรือ กิจกรรม มีความรู ทกั ษะ หรือประสบการณ เปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ/กจิ กรรม ดานคุณภาพการจดั การเรยี นรูการศกึ ษาตามอัธยาศัย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก มีการวางแผน กำหนด ออกแบบกิจกรรมท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงคและกลุมเปาหมายของโครงการ จัดกิจกรรมโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยท่ีสอดคลองกับบริบท ความตองการ หรือความจำเปนของ กลุมเปาหมายในชุมชน สังคม และเปนไปตามนโยบายของหนวยงานตนสังกัด ผูจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี ความรู ความสามารถในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนไดรับการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการพัฒนา ตนเอง เก่ียวกับการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และมีการปรับปรุงตนเองอยางตอเน่ือง เพ่ือใหมีความรู ไดรับ ความรู หรือทักษะ หรือประสบการณ มีการพัฒนา ทำการจัดหาสื่อ และจัดสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรู ท่มี ีความสอดคลองกบั วัตถปุ ระสงคข องการจดั โครงการกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จากการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา พบวา ผรู ับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเขารวม โครงการ มีความพงึ พอใจตอ การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย อยใู นระดบั ดขี น้ึ ไป

126 ดานคณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก มีการกำหนดเปาหมาย วิสยั ทศั น พันธกจิ อัตลกั ษณ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) และแผนปฏิบัติการประจำป พ.ศ. 2564 ที่สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถ่ิน และสอดคลองตามนโยบายของสำนักงาน กศน. ที่เนนการมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบดวย ผูบริหารสถานศกึ ษา ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง และคณะกรรมการสถานศึกษา ซงึ่ ไดมี การเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและให ขอเสนอแนะกอนที่จะนำไปใชตอไป ทั้งน้ี ในการดำเนินงานตาง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดำเนินงานไดเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจำปท่ีกำหนดไว โดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขายและจัดใหมี การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง ท้ังน้ีไดรับการรับรองการ ประเมิน SAR ตามเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา (องคการมหาชน) แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ประเด็นที่ควรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 1. พัฒนาส่ือ นวัตกรรม และสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอการ สถานศึกษาควรสงเสริมและสนับสนุน จัดหาสื่อท่ีมี จัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ความทันสมัย เปนปจจุบัน การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ส ร า ง บ ร ร ย า ก า ศ แ ล ะ ก ร ะ ตุ น ให ป ร ะ ช า ช น ส น ใ จ กิจกรรมสงเสริมการอาน และควรทำการประเมิน ความ พึ งพ อใจเกี่ยวกับ การใชส่ือ เท ค โน โล ยี สารสนเทศ แหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่น ของผูรับบริการในแตละดาน แลวนำผลการประเมิน มาพิจารณา สรุป วิเคราะห เพื่อหาวิธีการในการ สงเสริมพัฒนากิจกรรม 2. พฒั นารปู แบบการจดั กิจกรรมสง เสริมการอา น สถานศึกษาควรพัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมสงเสริม การอานใหมีความหลากหลาย นาสนใจ ตอบโจทย การใชชีวิตในสังคมปจ จุบัน พัฒนาสือ่ นวัตกรรม และ สภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ส ร า ง บ ร ร ย า ก า ศ แ ล ะ ก ร ะ ตุ น ให ป ร ะ ช า ช น ส น ใ จ การอาน และการเขารวมกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย จัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการรูเรียนรู เชิงรุกใหมีความหลากหลายและทั่วถึง ครอบคลุมทุก พน้ื ที่

127 ความตองการการสงเสรมิ สนบั สนุนจากหนวยงานตนสังกดั ตองการใหหนวยงานตนสังกัด จัดสรรงบประมาณในการปรบั ปรุง พัฒนาอาคารสถานท่ี ภูมิทัศนและ สภาพแวดลอมในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนอุปกรณอิเลคทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร แทปเล็ต เพ่อื สง เสรมิ การเขา รู และใหประชาชนเขา ถึงการเรียนรไู ดทกุ ที่ ทกุ เวลา

ภาคผนวก ก • ประกาศใชมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาเพอ่ื การประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา • คาเปาหมายเพอ่ื ใชในการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา • คำส่ังแตง ต้ังคณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ****************************************

ประกาศศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก เรอื่ ง การใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาเพ่ือการประกนั คุณภาพภายใน ของสถานศกึ ษา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นแพรก สำนกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ประกาศศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นแพรก เรือ่ ง การใชม าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพ่อื การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ------------------------------------ ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการไดมีการประกาศใชกฎกระทรวง เร่ือง การประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับ สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ณ วนั ท่ี ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ น้นั เพื่อใหมีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สำหรบั ใชในการประกนั คุณภาพภายในของศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก จึงประกาศใชมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ดังเอกสารแนบทายประกาศน้ี เพ่ือเปนเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการประเมิน คุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันท่ี ๑ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นางสาวอาภาภรณ คานสวิง) ผอู ำนวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแนบทายประกาศ ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบา นแพรก เรื่อง การใชมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพือ่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดวย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ซ่งึ มีประเดน็ การพจิ ารณา จำนวน 8 ประเดน็ ประกอบดวย 1.1 ผูเรียนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นที่ดสี อดคลอ งกับหลักสตู รสถานศึกษา 1.2 ผเู รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คานิยม และคุณลักษณะท่ดี ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 1.3 ผเู รียนการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ และแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ รว มกบั ผูอน่ื 1.4 ผูเรียนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีความสามารถในการสรางสรรคง าน ช้ินงาน หรือนวตั กรรม 1.5 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีดจิ ิทัล 1.6 ผูเรียนการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมสี ุขภาวะทางกาย และสนุ ทรยี ภาพ 1.7 ผูเรยี นการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมคี วามสามารถในการอา น การเขียน 1.8 ผูจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานนำความรู ทักษะพืน้ ฐานท่ีไดร ับไปใชหรอื ประยกุ ตใช มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีเนนผเู รยี นเปน สำคัญ ซึ่งมีประเดน็ การพจิ ารณา จำนวน 4 ประเดน็ ประกอบดวย 2.1 การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาทสี่ อดคลองกบั บรบิ ท และความตองการของผูเรียน ชมุ ชน ทอ งถ่นิ 2.2 สอ่ื ทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู 2.3 ครูมคี วามรู ความสามารถในการจดั การเรยี นรทู ี่เนนผเู รยี นเปน สำคญั 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเ รียนอยางเปน ระบบ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา ซง่ึ มีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเดน็ ประกอบดวย 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาทีเ่ นน การมสี วนรว ม 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ัติหนา ทขี่ องคณะกรรมการสถานศึกษาที่เปนไปตามบทบาททกี่ ำหนด

3.7 การสงเสริม สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา ยใหมีสวนรวมในการจัดการศกึ ษา 3.8 การสงเสริม สนบั สนนุ การสรางสงั คมแหงการเรียนรู 3.9 การวจิ ยั เพื่อการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศึกษา หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใชรวมกันไดทั้งมาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาตอเนื่อง และมาตรฐานการศกึ ษาตาม อัธยาศัย

มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาตอ เนื่อง มาตรฐานการศึกษาตอ เนอ่ื ง มาตรฐานการศึกษาตอ เนือ่ ง มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดวย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี นการศกึ ษาตอ เน่ือง ซ่งึ มีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 3 ประเด็น ประกอบดวย 1.1 ผูเ รยี นการศึกษาตอ เนือ่ งมคี วามรู ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรอื คุณธรรมเปน ไปตาม เกณฑการจบหลักสตู ร 1.2 ผจู บหลกั สตู รการศกึ ษาตอเนื่องสามารถนำความรูท่ีไดไ ปใช หรือประยกุ ตใช บนฐานคา นยิ มรวม ของสังคม 1.3 ผูจบหลกั สูตรการศกึ ษาตอเน่ืองที่นำความรูไปใชจนเห็นเปน ประจักษหรอื ตวั อยางที่ดี มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการเรยี นรูก ารศกึ ษาตอ เนอ่ื ง ซงึ่ มีประเด็นการพิจารณา จำนวน 5 ประเดน็ ประกอบดว ย 2.1 หลักสตู รการศกึ ษาตอเน่ืองมีคุณภาพ 2.2 วทิ ยากรการศึกษาตอเน่ือง มีความรู ความสามารถ หรือประสบการณต รงตามหลกั สูตรการศึกษา ตอ เนอ่ื ง 2.3 สอื่ ทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู 2.4 การวัดและประเมนิ ผลผเู รยี นการศึกษาตอเนอ่ื ง 2.5 การจดั กระบวนการเรียนรกู ารศกึ ษาตอเนอื่ งที่มีคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา ซ่ึงมปี ระเด็นการพจิ ารณา จำนวน 9 ประเดน็ ประกอบดวย 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่ีเนนการมสี ว นรวม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3.6 การปฏบิ ตั ิหนาทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ปน ไปตามบทบาททีก่ ำหนด 3.7 การสง เสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครือขา ยใหม สี วนรวมในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง เสรมิ สนับสนนุ การสรางสงั คมแหงการเรียนรู 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา สามารถใชรว มกนั ไดท้งั มาตรฐาน การศกึ ษา นอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มาตรฐานการศึกษาตอเนอ่ื ง และมาตรฐานการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั

มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว ย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรบั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซึ่งมีประเดน็ การพิจารณา จำนวน 1 ประเดน็ ประกอบดวย 1.1 ผูรับบริการมีความรู หรอื ทกั ษะ หรอื ประสบการณ สอดคลอ งกับวตั ถุประสงคข องโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซ่ึงมปี ระเด็นการพจิ ารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบดวย 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2.3 สอ่ื หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดลอ มท่เี อื้อตอการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.4 ผรู บั บริการมีความพึงพอใจตอการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา ซึ่งมีประเดน็ การพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบดว ย 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทเี่ นน การมีสว นรว ม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ 3.5 การกำกบั นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั ิหนาทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาทเี่ ปน ไปตามบทบาททีก่ ำหนด 3.7 การสงเสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครือขายใหมสี ว นรวมในการจัดการศกึ ษา 3.8 การสง เสริม สนับสนนุ การสรา งสังคมแหงการเรยี นรู 3.9 การวิจยั เพอ่ื การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา สามารถใชรวมกนั ไดท ้ังมาตรฐาน การศกึ ษา นอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาตอเน่อื ง และมาตรฐานการศึกษา ตามอธั ยาศัย

คา เปา หมายของสถานศกึ ษาเพอื่ ใชในการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นแพรก สำนักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ตามที่ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานแพรก ไดกำหนดและ ประกาศใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามประกาศ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอบานแพรก เรื่อง การใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ลงวันที่ 1 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เพื่อใชในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และ การประกันคุณภาพการศึกษา ไวนน้ั เพ่ือเปนการกำหนดเปาหมายของการพฒั นาผูเ รยี นของสถานศึกษา ตามแนวทางการประเมินคุณภาพ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีการกำหนดคาเปาหมายเกี่ยวกับผลลัพธที่จะใหเกิดแก ผูเรียน โดยการมีสวนรวมของผูบริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อใชในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษาเฉพาะในประเด็นการพิจารณาที่สมควรจัดใหมี การกำหนดคาเปา หมาย สำหรับใชใ นการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ไวด ังน้ี มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี สอดคลอง กบั หลักสตู รสถานศกึ ษา คา เปา หมายท่กี ำหนดไว คอื สถานศกึ ษามีการกำหนดคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน รายวิชาบงั คับ ท่ีไวเปน คาเปา หมาย โดยกำหนดจาก  คะแนนเฉล่ยี ผลการสอบปลายภาคเรยี นของผเู รียน จำนวน 2 ภาคเรยี น หรือ  คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-Net) จำนวน 2 ภาคเรยี น ดงั น้ี ระดับ/รายวชิ า คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประถมศึกษา ท่สี ถานศกึ ษากำหนดไวเ ปนคา เปา หมาย 1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. สขุ ศึกษา พลศึกษา 32.84 34.50

ระดบั /รายวิชา คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3. ศิลปศกึ ษา ท่ีสถานศึกษากำหนดไวเ ปนคาเปา หมาย 4. ทักษะการเรียนรู 5. คณิตศาสตร 20.84 6. ภาษาอังกฤษ 34.50 7. ภาษาไทย 36.95 8. วทิ ยาศาสตร 28.84 9. สังคมศกึ ษา 43.00 10. ศาสนาและหนา ทพี่ ลเมอื ง 24.28 11. การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 24.84 12. ชองทางการเขา สูอ าชีพ 24.84 13. ทักษะการประกอบอาชีพ 19.17 14. พัฒนาอาชพี ใหม ีอยมู กี ิน 34.84 มัธยมศกึ ษาตอนตน 25.00 1. เศรษฐกจิ พอเพียง 23.17 2. สุขศกึ ษา พลศึกษา 3. ศิลปศกึ ษา 51.82 4. ทกั ษะการเรียนรู 48.42 5. คณติ ศาสตร 27.65 6. ภาษาองั กฤษ 38.07 7. ภาษาไทย 25.12 8. วิทยาศาสตร 26.47 9. สงั คมศกึ ษา 47.04 10. ศาสนาและหนาทพ่ี ลเมือง 24.35 11. การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 34.86 12. ชอ งทางการพฒั นาอาชพี 31.11 32.84 46.34

ระดบั /รายวชิ า คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 13. ทักษะการพัฒนาอาชพี ทสี่ ถานศึกษากำหนดไวเปนคา เปาหมาย 14. พฒั นาอาชีพใหมคี วามเขมแขง็ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 34.61 1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง 28.90 2. สุขศกึ ษา พลศกึ ษา 3. ศลิ ปศกึ ษา 37.50 4. ทักษะการเรียนรู 32.50 5. คณิตศาสตร 28.00 6. ภาษาองั กฤษ 40.67 7. ภาษาไทย 27.50 8. วทิ ยาศาสตร 19.75 9. สงั คมศึกษา 42.50 10. ศาสนาและหนา ทพ่ี ลเมอื ง 23.17 11. การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 36.00 12. ชอ งทางการขยายอาชพี 27.50 13. ทกั ษะการขยายอาชีพ 22.00 14. พัฒนาอาชพี ใหม ีความมนั่ คง 40.50 37.00 33.50 ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลกั ษณะท่ีดตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด คาเปาหมายที่กำหนดไว คือ สถานศึกษาคาดวาจะมีผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไดรับการยกยอง เชดิ ชูเกยี รติ หรอื เปนแบบอยางที่ดีในดานท่เี ก่ยี วของกับการมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม หรือคุณลักษณะที่ดี จำนวน 10 คน

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.3 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิด อยางมวี ิจารณญาณ และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นรว มกับผูอืน่ คาเปาหมายที่กำหนดไว คือ สถานศึกษาคาดวาจะมีผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห ไตรตรองอยางรอบคอบ โดยใชขอมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แกไขปญหาไดอยาง ถกู ตอง สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นรวมกับผูอืน่ ได จำนวน 13 คน ประเด็นการพิจารณาที่ 1.4 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสรางสรรคงาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม คาเปาหมายที่กำหนดไว คือ สถานศึกษาคาดวาจะมีผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สามารถสราง โครงงาน ชิน้ งาน ส่งิ ประดิษฐ งานสรา งสรรค หรอื สง่ิ ใหมท ่ีสามารถนำไปใชประโยชนไ ดจรงิ จำนวน 23 คน ประเด็นการพิจารณาที่ 1.8 ผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู ทักษะพื้นฐานที่ไดรับไปใชหรือ ประยุกตใช คาเปาหมายที่กำหนดไว คือ สถานศึกษาคาดวาจะมีจำนวนผูจบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถนำความรู ทักษะพื้นฐานที่ไดรับไปใช หรือประยุกตใชในการ ดำเนนิ ชีวิต การประกอบอาชีพ หรือเพอื่ การศึกษาตอในระดับทสี่ ูงขน้ึ จำนวน 31 คน มาตรฐานการศึกษาตอเน่ือง ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1.3 ผจู บหลกั สูตรการศึกษาตอเนื่องทีน่ ำความรูไปใชจนเห็นเปนประจักษ หรือตัวอยางทดี่ ี คาเปาหมายท่ีกำหนดไว คือ สถานศึกษาคาดวาจะมีจำนวนผูจบการศึกษา และหรือจำนวนกลุมผูจบ การศึกษาตอเนอื่ ง ท่มี ผี ลการดำเนินงานทีเ่ หน็ เปน ประจักษใ นพืน้ ท่ี หรอื เปนตัวอยา งทด่ี ี จำนวน 18 คน

คำส่ังศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นแพรก ที่ ๘๗ / ๒๕๖๔ เรื่อง แตง ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ประกอบกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 แหง พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหง ชาติ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ซ่ึงไดก ำหนดใหสถานศึกษาแตละแหงจัดใหมีระบบการประกนั คุณภาพ การศกึ ษาภายในสถานศึกษา และจัดสงรายงานผลการประเมินตนเอง ใหแกหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเปน ประจำทกุ ป อาศัยอำนาจตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง การมอบอำนาจใหผูอำนวยการสถานศึกษาศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอำเภอและผอู ำนวยการสถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัตริ าชการแทน เพื่อใหการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอย จึงแตงตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ดงั ตอไปนี้ ๑. คณะกรรมการฝายอำนวยการ มีหนาที่ใหคำปรึกษา แนะนำชวยเหลือ กำกับดูแล ติดตาม และอำนวยความสะดวก ใหแกคณะทำงานใหปฏิบัติงานและดำเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย บรรลุวัตถุประสงคของทางราชการ ประกอบดวย ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวงิ ผอ. กศน.อำเภอบา นแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพญ็ ประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวนิตยา โสภณพศิ ครูอาสาสมคั รฯ กรรมการ ๔. นางสาวนติ ยา เอีย่ มละออ ครูอาสาสมคั รฯ กรรมการ ๕. นางสาวรุจิรา บญุ เจรญิ ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ ๖. นายหฤษชน เพง็ ชัยภมู ิ ครูผชู ว ย กรรมการและเลขานกุ าร ๒. คณะกรรมการฝายดำเนินงาน มีหนาที่จัดเตรียม รวบรวมเอกสาร หลักฐานมาตรฐานและประเด็น การพจิ ารณาไดร ับมอบหมาย ดำเนนิ งานใหเ ปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคของทางราชการ ประกอบดวย มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู รียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๑ - ๑.๘) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบานแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพญ็ ประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวรุจิรา บุญเจริญ ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ ๔. นางสาวกนกรดา นม่ิ ละมลู ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๕. นางสาวพรพมิ ล พรมมนิ ทร ครู กศน.ตำบล กรรมการ มาตรฐานท่ี ๒ ...

มาตรฐานท่ี ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เนนผูเรียน เปนสำคัญ (ประเดน็ การพิจารณาท่ี ๒.๑ – ๒.๔) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบา นแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพ็ญประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวรจุ ริ า บญุ เจริญ ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ ๔. นางสาวกนกรดา นมิ่ ละมลู ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๕. นางสาวพรพิมล พรมมนิ ทร ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๖. นายหฤษชน เพ็งชยั ภมู ิ ครผู ชู ว ย กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพการจดั ของสถานศึกษา (ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี ๓.๑ – ๓.๙) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบา นแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพ็ญประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวรุจริ า บุญเจรญิ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ ๔. นางสาวนติ ยา โสภณพศิ ครอู าสาสมคั รฯ กรรมการ ๕. นางสาวนติ ยา เอยี่ มละออ ครอู าสาสมคั รฯ กรรมการ ๖. นายหฤษชน เพ็งชัยภมู ิ ครผู ูช วย กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานการศึกษาตอเน่ือง มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู รยี นการศึกษาตอเนอ่ื ง (ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๑ – ๑.๓) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบา นแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพญ็ ประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวกนกรดา น่มิ ละมลู ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๔. นางสาวพรพมิ ล พรมมนิ ทร ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๕. นายภูรวิ ัจน ธนวฒั นกุลศิริ ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๖. นายเฉลิมชัย พง่ึ วงศญ าติ ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๗. นางสาวประภัสสร วงษคำ ครู กศน.ตำบล กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพการจดั การศึกษาตอเน่อื ง (ประเดน็ การพจิ ารณาที่ ๒.๑ – ๒.๕) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบา นแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพ็ญประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นายหฤษชน เพ็งชยั ภมู ิ ครผู ชู ว ย กรรมการ ๕. นางสาวประภสั สร วงษค ำ ครู กศน.ตำบล กรรมการและเลขานุการ มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพการจดั ของสถานศกึ ษา (ประเด็นการพิจารณาท่ี ๓.๑ – ๓.๙) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวงิ ผอ. กศน.อำเภอบานแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพ็ญประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวนติ ยา โสภณพศิ ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ ๔. นางสาวประภัสสร วงษค ำ ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๕. นายหฤษชน เพง็ ชัยภูมิ ครผู ูช ว ย กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั ...

มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผรู บั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (ประเดน็ การพิจารณาที่ ๑.๑) มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (ประเด็นการพจิ ารณาที่ ๒.๑ – ๒.๔) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวงิ ผอ. กศน.อำเภอบานแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพ็ญประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นายเฉลิมชัย พ่ึงวงศญ าติ ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๔. นายวสนั ต รตั สงิ ห บรรณารกั ษ กรรมการและเลขานุการ มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพการจัดของสถานศกึ ษา (ประเดน็ การพิจารณาท่ี ๓.๑ – ๓.๙) ๑. นางสาวอาภาภรณ คานสวิง ผอ. กศน.อำเภอบานแพรก ประธานกรรมการ ๒. นางเพญ็ ประกาย ณ ลำปาง ครู รองประธานกรรมการ ๓. นายเฉลมิ ชยั พึ่งวงศญาติ ครู กศน.ตำบล กรรมการ ๔. นายหฤษชน เพง็ ชัยภูมิ ครผู ูช ว ย กรรมการ ๕. นายวสันต รตั สิงห บรรณารักษ กรรมการและเลขานกุ าร ใหคณะกรรมการท่ีไดรับการแตงต้ังตามคำส่ังน้ี ปฏิบัติหนาที่โดยเครงครัด อยางเต็ม ความสามารถ เพื่อบังเกิดผลดแี ละบรรลุวตั ถุประสงคข องทางราชการท่ีกำหนดไว ท้ังนี้ ต้งั แตว นั ที่ ๑๐ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ สง่ั ณ วนั ท่ี ๑๐ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ (นางสาวอาภาภรณ คานสวงิ ) ผอู ำนวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นแพรก

คณะผูจดั ทำ ที่ปรกึ ษา เสถียรพันธุ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา นายประสาน คานสวงิ ผอู ำนวยการ กศน.อำเภอบา นแพรก นางสาวอาภาภรณ คณะทำงาน ณ ลำปาง ครู 1. นางเพ็ญประกาย เพง็ ชยั ภมู ิ ครูผูช ว ย 2. นายหฤษชน โสภณพศิ ครูอาสาสมัครฯ 3. นางสาวนิตยา เอ่ยี มละออ ครอู าสาสมัครฯ 4. นางสาวนติ ยา บุญเจริญ ครูอาสาสมัครฯ 5. นางสาวรุจริ า วงษคำ ครู กศน.ตำบล 6. นางสาวประภสั สร พรมมา ครู กศน.ตำบล 7. นางสาวพรพิมล นมิ่ ละมลู ครู กศน.ตำบล 8. นางสาวกนกรดา ธนวฒั นกลุ ศริ ิ ครู กศน.ตำบล 9. นายภรู วิ จั น พงึ่ วงศญ าติ ครู กศน.ตำบล 10. นายเฉลมิ ชัย รตั สิงห บรรณารกั ษ 11. นายวสนั ต ผูเรยี บเรียง/ผูจ ัดพิมพ ณ ลำปาง ครู นางเพ็ญประกาย เพง็ ชยั ภมู ิ ครูผชู วย นายหฤษชน เพ็งชยั ภมู ิ ครผู ูชวย ผูออกแบบปก นายหฤษชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook