❝ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน ดอกไม้ทบ่ี านได้ทา่ มกลาง สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ลวร้าย ส�ำ นักการพยาบาล ส�ำ นักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ คือดอกไม้ท่หี ายาก และงดงามที่สุด ❞ “MULAN” (1998)สำ�นักการพยาบาล สำ�นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุขอาคาร 4 ช้ัน 4 ตกึ กรมการแพทย์ ถ.ตวิ านนท์ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี โทรศพั ท ์ : 0-2590-6260 โทรสาร : 0-2590-6295 www.nursing.go.th
มาตรฐานการพยาบาล ในชุมชน ส�ำ นักการพยาบาล สำ�นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
1บทที่ แนวคิดและโครงสร้าง มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน การพยาบาลชมุ ชนเปน็ สว่ นหนง่ึ ของระบบบรกิ ารสขุ ภาพทมี่ เี ปา้ หมาย มงุ่ ดแู ลประชาชน ในชมุ ชน ซง่ึ ประกอบดว้ ย บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน เพื่อให้ประชาชนมีภาวะสุขภาพดี การจัดบริการดูแลสุขภาพชุมชนจึงต้อง ผสมผสานองค์ความรู้ศาสตร์ด้านการพยาบาลและการสาธารณสุข มาประยุกต์ใช้ดำ�เนินการให้บริการสุขภาพครอบคลุมศาสตร์ท้ัง 4 มิติ ประกอบด้วย การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟืน้ ฟูสภาพ ความส�ำ คัญของมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน การพยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่งในทีมสุขภาพ จึงต้องมีการควบคุม มาตรฐานการปฏิบัติงานของสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพ เพ่ือรักษาคุณค่า การทำ�งานแบบวิชาชีพ มาตรฐานการพยาบาลจะแสดงให้ผู้ใช้บริการเห็น หลักการบริหารและการปฏิบัติท่ีสะท้อนความรู้ ทักษะ และทัศนคติ การตดั สนิ ใจทจี่ �ำ เปน็ ในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพอื่ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารปลอดภยั และบอกผลการดำ�เนินงาน โดยกำ�หนดเกณฑ์ วัดประสิทธิภาพการทำ�งาน ที่เกิดข้ึนจรงิ
2 พยาบาลทุกคนในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพต้องรับผิดชอบพัฒนาตนเองให้มีความรู้พ้ืนฐาน สามารถปฏิบัติการพยาบาลทั่วไป และหลักปฏิบัติท่ีเฉพาะเจาะจง เพื่อสามารถให้บริการครอบคลุม การดแู ลสขุ ภาพประชาชนในชมุ ชน ตอ้ งใชม้ าตรฐานการพยาบาลชมุ ชนนจ้ี ดั บรกิ ารใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน กำ�หนด และใช้ประเมินผลการทำ�งาน รวมถึงใช้มาตรฐานสอนเพ่ือเตรียมพยาบาลใหม่ก่อนเข้าไป ปฏิบัติงานในชุมชน ผู้บริหารการพยาบาลใช้มาตรฐานเป็นแนวทางกำ�หนดนโยบายและการพัฒนา สมรรถนะพยาบาลเพอื่ ใหพ้ รอ้ มปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นชมุ ชน พยาบาลวชิ าชพี ทมี่ ปี ระสบการณท์ �ำ งานในชมุ ชน ระยะเร่มิ ตน้ สามารถใชเ้ ป็นแนวการใหบ้ ริการ และเรียนร้ตู อ่ ยอดเพ่ือพัฒนาตนเองสู่การเป็นพยาบาล เช่ียวชาญเฉพาะทาง/สาขา ทข่ี ยายบทบาทเพิ่มมากขึน้ จากมาตรฐานน้ี มาตรฐานการพยาบาลในชุมชนจะต้องสะท้อนปรัชญา ค่านิยมพ้ืนฐาน และความเชื่อเกี่ยวกับ การดูแล โดยใช้หลักการดูแลสุขภาพเบื้องต้น การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย การใช้ กลยุทธ์สร้างการมสี ว่ นรว่ มดแู ลสขุ ภาพตนเองของผใู้ ชบ้ รกิ าร ความรว่ มมอื ในระดบั บคุ คล ชุมชนและ การเพม่ิ ขดี ความสามารถของประชาชน การปฏบิ ตั กิ ารดแู ลของพยาบาลชมุ ชนคอื การท�ำ งานโดยปฏบิ ตั ิ การดแู ลประชาชนใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานก�ำ หนด โดยการใชก้ ระบวนการพยาบาลเปน็ เครอื่ งมอื ส�ำ คญั ในการประเมนิ ปญั หา วางแผนการพยาบาล การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามแผนและการประเมนิ ผลลพั ธ์ การปฏิบัติการพยาบาล เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของกระบวนการนำ�สู่การมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชน ส่งเสริมวิธีการเรียนรู้เก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลปัญหาที่เกิดจากความเจ็บป่วยที่หลาก หลาย ความตระหนกั ถงึ อทิ ธพิ ลของสภาพแวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขนึ้ มากนอ้ ยขน้ึ กบั แตล่ ะบคุ คล หรอื ชมุ ชนใน แต่ละบริบท นอกจากน้ีพยาบาลชุมชนยังต้องทำ�งานภายใต้บริบทส่ิงแวดล้อม ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองที่มีอิทธิพลซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้าง การปฏิบัติงาน เป้าหมาย การทำ�งาน วัตถปุ ระสงค์ มาตรฐานและผลลัพธก์ ารทำ�งานของพยาบาลชมุ ชน การจะทำ�ให้ประชาชนเชื่อมั่นว่าบริการสุขภาพท่ีได้รับมีคุณภาพ ได้มาตรฐานหรือไม่มากน้อย เพียงใด จำ�เป็นต้องมีการประกันคุณภาพบริการการพยาบาลในชุมชนด้วยเช่นเดียวกัน เพ่ือจะเป็น หลกั ประกนั แกป่ ระชาชนในชมุ ชนวา่ จะไดร้ บั บรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพไดต้ ามมาตรฐานสอดคลอ้ งกบั ปญั หา และความต้องการด้านสุขภาพอย่างแท้จริง ดังนั้น การประกันคุณภาพการพยาบาลในชุมชน จึงเป็น เรอื่ งส�ำ คญั ที่พยาบาลในชุมชนต้องดำ�เนินการใหเ้ กิดขึ้นตามขั้นตอน ดงั น้ี 1. การกำ�หนดมาตรฐานการพยาบาลในชุมชนระดับหน่วยงาน เฉพาะเร่ือง/เฉพาะทาง เพ่ือให้ พยาบาลสามารถใชเ้ ป็นมาตรฐานปฏิบตั ิการพยาบาลในหนว่ ยงานเฉพาะเร่อื ง/เฉพาะทาง 2. การนำ�มาตรฐานการพยาบาลของหน่วยงานเฉพาะเร่ือง/เฉพาะทาง ให้พยาบาลทุกคนนำ�สู่ การปฏบิ ัตเิ พื่อใหเ้ กิดเปน็ มาตรฐานบริการของหน่วยงาน 3. การติดตาม กำ�กับ วัดและประเมินผลคุณภาพการพยาบาลท่ีเกิดขึ้นกับประชาชนในชุมชน ตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์ช้วี ัดท่ีก�ำ หนดไว้ในมาตรฐานเฉพาะเรื่อง/เฉพาะทาง อยา่ งตอ่ เนอื่ ง มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
3 4. การนำ�ผลการวัดและประเมินมาพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการทำ�งาน แก้ไขข้อบกพร่องนำ�ไปสู่การพัฒนากำ�หนดมาตรฐานใหม่เพ่ือยกระดับมาตรฐานการพยาบาล ดังแผนภาพที่ 1 - 1แสดงวงจรการดำ�เนินงานการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเน่ือง (Continuous QualityImprovement: CQI) เพือ่ ให้เกิดการประกันคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชนแกป่ ระชาชนผู้ใชบ้ ริการ จากการมุ่งเน้นให้ประชาชนได้มีหลักประกันคุณภาพการพยาบาลในชุมชนดังกล่าว จึงต้องมีการกำ�หนดมาตรฐานการพยาบาลในชุมชนระดับสถาบันข้ึน เพ่ือให้พยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอ่ืน ๆ ที่ปฏิบัติงานดูแลสุขภาพในชุมชนได้ใช้หรือประยุกต์ใช้เป็นเกณฑ์หรือแนวทางในการปฏิบัติงาน รวมท้ังใช้สำ�หรับการเปรียบเทียบ วัด ประเมินผลระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานทง้ั ดา้ นการบรหิ ารจดั การ และการปฏบิ ตั กิ ารดแู ลสขุ ภาพทง้ั 4 มติ ิ ตลอดจนการจดั การดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและระบบสนบั สนนุ ทม่ี ผี ลกระทบทง้ั เชงิ บวกและเชงิ ลบ โดยทางตรงและทางออ้ มตอ่ ภาวะสขุ ภาพของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน แผนภาพท่ี 1 - 1 แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน กับการประกันคุณภาพการพยาบาลในชุมชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
4 ระดับของมาตรฐาน หลักการในการกำ�หนดมาตรฐานจะต้องคำ�นึงถึงระดับขององค์กรหรือหน่วยงาน เพ่ือความ เหมาะสมและสอดคล้องต่อการนำ�มาตรฐานไปใช้ในหน่วยงานแต่ละระดับ การจัดระดับมาตรฐาน แบ่งเป็น 3 ระดับ คอื 1. มาตรฐานระดับชาติ เป็นมาตรฐานท่ีกำ�หนดโดยองค์กรวิชาชีพในลักษณะกว้าง ๆ เพื่อให้ ครอบคลุมแนวทางปฏิบัติท่ีหลากหลายในทุก ๆ สถานการณ์ด้านการพยาบาล หรืออาจกำ�หนดใน ลกั ษณะทเ่ี ปน็ ระเบยี บ หรอื กฎหมายการประกอบวชิ าชพี เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ถอื เปน็ เกณฑใ์ นการ ปฏบิ ตั ิ มาตรฐานการพยาบาลระดบั ชาติ ไดแ้ ก่ มาตรฐานการพยาบาลทกี่ �ำ หนดโดยสภาการพยาบาล 2. มาตรฐานระดับสถาบัน เป็นมาตรฐานท่ีองค์กรหรือหน่วยงานกลาง ผู้รับผิดชอบด้านการ ก�ำ หนดมาตรฐานและการควบคมุ คณุ ภาพการบรกิ ารเปน็ ผกู้ �ำ หนด โดยก�ำ หนดจากกรอบแนวคดิ ของ มาตรฐานระดับชาติ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำ�ไปกำ�หนดมาตรฐานระดับหน่วยงาน และใช้เป็น เกณฑใ์ นการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการพยาบาล มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชนฉบบั ทสี่ �ำ นกั การพยาบาลกำ�หนดขนึ้ นี้ จัดเป็นมาตรฐานระดับสถาบนั 3. มาตรฐานระดับหน่วยงาน เป็นมาตรฐานท่ีคณะผู้บริหารและคณะกรรมการควบคุมและ พฒั นาคณุ ภาพของหนว่ ยงานเป็นผ้กู �ำ หนด ซ่งึ การก�ำ หนดมาตรฐานระดบั นตี้ อ้ งก�ำ หนดใหส้ อดคลอ้ ง กับมาตรฐานระดับชาติ และมาตรฐานระดับสถาบัน นโยบาย และพันธกิจของแต่ละหน่วยงาน มาตรฐานระดับหน่วยงานเน้นการใช้ปฏิบัติเป็นเรื่อง ๆ มีความเฉพาะเจาะจง เฉพาะเรื่อง/เฉพาะทาง มากขนึ้ สะดวกสำ�หรับผปู้ ฏิบัตงิ านนำ�ไปใช้ วัตถุประสงคข์ องมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน 1. เพอ่ื ให้ผ้บู รกิ ารและผปู้ ฏบิ ัติการพยาบาลในชมุ ชนใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดบริการ จดั ระบบ และพฒั นาคณุ ภาพงานการพยาบาลในชมุ ชนของสถานบริการ 2. ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการพยาบาลในชุมชนใชเป็นขอบเขต/แนวทาง การกำ�หนดมาตรฐาน การปฏิบัติการพยาบาลในหน่วยงานเฉพาะเรื่อง/เฉพาะทาง/เฉพาะโรค ให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่ององค์กร ประชาชน/ผู้ป่วย และทมี สขุ ภาพผใู้ ห้บริการ 3. นักวิจยั ใชเ้ ป็นหลักฐาน เอกสารอา้ งอิงเพ่ือการพัฒนางานการพยาบาลในชุมชน มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
5 ห ลักการและแนวคิดพืน้ ฐาน ในการก�ำ หนดมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน การกำ�หนดมาตรฐานการพยาบาลในชุมชนระดับสถาบันฉบับน้ี จัดทำ�ขึ้นให้สอดคล้องกับกฎหมาย ขอ้ บงั คบั มาตรฐานวชิ าชพี และโครงสรา้ งองคก์ รของหนว่ ยงาน โดยยดึ หลกั การ และแนวคดิทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การก�ำ หนดมาตรฐาน และการจดั บรกิ ารดา้ นการพยาบาลในชมุ ชน ประกอบดว้ ย7 แนวคดิ คอื 1. เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั 2. มาตรฐานการบริการพยาบาลและผดงุ ครรภใ์ นระดับปฐมภมู ิ 3. ความเชือ่ พนื้ ฐานของการพยาบาลในชมุ ชน 4. แนวคิดการปฏิบัตกิ ารพยาบาลในชุมชน 5. กระบวนการพยาบาล 6. การพยาบาลองค์รวม 7. การดูแลตอ่ เน่อื งØแนวคิดท่ ี 1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Segtor Management QUality Award) มีพนื้ ฐานทางเทคนคิ และกระบวนการเทยี บเทา่ กบั เกณฑร์ างวลั คณุ ภาพของนานาชาติ เปน็ กรอบแนวคดิในการบรหิ ารจดั การทส่ี ามารถน�ำ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การพฒั นาการบรหิ ารราชการ เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รภาครฐัมีกระบวนการทำ�งานและผลการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีย่ิงข้ึน มีเป้าหมายคือประโยชน์สุขของประชาชนและประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ โดยใช้กรอบของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ซึ่งองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 2 ส่วน(สำ�นกั การพยาบาล, 2551) 1. ลักษณะสำ�คัญขององค์กร เป็นการอธิบายภาพรวมของส่วนราชการ สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติภารกิจ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานอ่ืนในการปฏิบัติราชการ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และระบบการปรับปรุงผลการดำ�เนินการ ซ่ึงเป็นแนวทางท่ีครอบคลุมระบบการบริหารจัดการการด�ำ เนนิ การขององคก์ รโดยรวม 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นเกณฑ์ท่ีใช้เป็นเครื่องมือ ในการจัดการการดำ�เนินการของส่วนราชการ เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของส่วนราชการ เพ่ือให้สามารถ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
6 ส่งมอบคุณค่าที่ดีข้ึนท้ังผลผลิตและบริการ ให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย เกณฑ์ 7 หมวด ดังนี้ หมวด 1 การนำ�องค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การ ให้ความสำ�คัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ และหมวด 7 ผลลัพธ์ การดำ�เนินการ Øแนวคดิ ท่ี 2 ม าตรฐานการบรกิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ ในระดบั ปฐมภูมิ สภาการพยาบาลได้กำ�หนดมาตรฐานการบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับปฐมภูมิ และไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา ลงวนั ท่ี 3 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2548 มีรายละเอยี ดคอื มาตรฐานที่ 1 การจัดองค์กรและบริหารองค์กรบรกิ ารพยาบาลและการผดุงครรภ์ มาตรฐานท่ี 2 การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรบุคคล มาตรฐานที่ 3 การจัดระบบงานและกระบวนการให้บริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มาตรฐานท่ี 4 การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มาตรฐานที่ 5 การปฏิบตั กิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ มาตรฐานที่ 6 การรักษาสทิ ธขิ องผูป้ ว่ ย จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรฐานท่ี 7 การให้บรกิ ารพยาบาลท่ีบา้ น มาตรฐานท่ี 8 ก ารบนั ทกึ และการรายงาน จดั ระบบขอ้ มลู เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจในการ บรกิ ารพยาบาล มาตรฐานที่ 9 ด้านผลลพั ธ์ 9.1 การบริการพยาบาล 9.2 การใหบ้ รกิ ารร่วมกับทมี สขุ ภาพอื่น 9.3 การประเมนิ ผลการบรกิ ารสขุ ภาพในชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
7 การØแนวคดิ ท ่ี 3 ความเชื่อพ้นื ฐานของการพยาบาลในชมุ ชน การพยาบาลในชุมชน เป็นการพยาบาลท่ีมีเป้าหมายในการดำ�รงซ่ึงสุขภาพและสุขภาวะของประชาชนหรือผู้ใช้บริการทุกระดับตั้งแต่บุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคม การพยาบาลที่จัดให้กับประชาชนมีหลายรูปแบบ ขึ้นกับนโยบายสุขภาพหรือสาธารณสุขของแต่ละหน่วยงาน (กีรดาไกรนุวัตร, 2008) โดยความเช่ือพ้ืนฐานคือการดูแลเป็นความต้องการท่ีจำ�เป็นของมนุษย์ที่เป็นสากลการพยาบาลเป็นการแสดงออกด้วยการปฏิบัติการดูแลท่ีแตกต่างกันไป โดยคำ�นึงถึงวัฒนธรรมและหลกั การดแู ลตามหลกั การของความยตุ ธิ รรมทางสงั คม การสนบั สนนุ และค�ำ นงึ ถงึ สทิ ธขิ น้ั พนื้ ฐานของมนษุ ยท์ กุ คนทจ่ี ะสามารถเขา้ ถงึ การดแู ลสขุ ภาพและปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ สขุ ภาพ โดยพยาบาลตอ้ งยอมรบัทางกายภาพ จิตวิญญาณ ธรรมชาติทางอารมณ์และความรู้ความเข้าใจของบุคคล ครอบครัว กลุ่มและชุมชน การดูแลของพยาบาลจะแสดงความสามารถผ่านการปฏิบัติ การพยาบาลเพื่อแก้ไข/และการพัฒนาของความสัมพันธ์ท่ีมีค่าของแต่ละบุคคลและชุมชนท่ีเป็นเอกลักษณ์และคุณค่าของความเป็นวิชาชีพการพยาบาลท่ีเติมเต็มความต้องการของสังคมและประชาชน พยาบาลชุมชนจะรักษาปกป้องและเพ่ิมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในทุกการปฏิบัติการพยาบาล (Maureen Best and others,2008)Øแนวคิดท่ี 4 แนวคดิ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในชุมชน การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลชมุ ชน เปน็ การปฏบิ ตั ทิ สี่ ะทอ้ นปรชั ญาความเชอ่ื และคา่ นยิ มพนื้ ฐานการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน โดยใช้กระบวนการพยาบาลประเมินภาวะสุขภาพท่ีบ้าน/ชุมชนเน้นการมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคล/ชุมชนโดยดึงบุคคลและผู้นำ�ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเจ้าของสขุ ภาพคนในชมุ ชน ดแู ลสงิ่ แวดลอ้ มและผลกระทบทมี่ ผี ลตอ่ สขุ ภาพและการฟนื้ หายของคนในชมุ ชนใช้หลักการสาธารณสุขมูลฐานในการดูแลส่ิงแวดล้อมท่ีบ้านและชุมชน เสริมสร้างพลังอำ�นาจในการเพ่ิมขีดความสามารถให้ผู้ป่วย/ญาติสามารถดูแลสุขภาพตนเอง โดยสนับสนุนแนวทางการรับรู้หลายช่องทาง/หลากหลายเร่ือง เพื่อให้บรรลุการมีสุขภาพดีของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาต่อเน่ืองไปในแต่ละกลุ่มวัยจนถึงผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต โดยพยาบาลชุมชนจะให้การดูแลบุคคล กลุ่ม ชุมชน รวมถึงเครือข่ายสังคม ดังแผนภาพที่ 1 - 2 Canadian CommunityHealth Nursingมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
8 แผนภาพที่ 1 - 2 Canadian Community Health Nursing (ที่มา Maureen Best and others, 2008) Øแนวคดิ ท่ี 5 กระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือที่แสดงกระบวนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพชุมชน แต่ภาวะสุขภาพชุมชนมีความเก่ียวข้องกับปัจจัยอ่ืน ๆ ท้ังปัญหาสุขภาพ ปัญหาด้านสังคมและ สงิ่ แวดลอ้ ม ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ สขุ ภาพของคนในชมุ ชน การประเมนิ ปญั หาสขุ ภาพชมุ ชนจงึ ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื หลายอย่างมาประกอบกันจึงจะสามารถวินิจฉัยปัญหาท่ีเป็นสาเหตุเก่ียวข้องกับสุขภาพได้ชัดเจนข้ึน การนำ�กระบวนการพยาบาลมาใช้จะช่วยให้พยาบาลชุมชนสามารถประเมินภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ ปัญหา กำ�หนดแนวทางแก้ไขปัญหาเพ่ือประสานภาคีเครือข่ายและสหวิชาชีพเข้ามาร่วมดำ�เนินการ แก้ไขปญั หาสุขภาพในระดบั บคุ คล ครอบครัว ปญั หาดา้ นสงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม พยาบาลชมุ ชนต้อง ประสานความรว่ มมือไปยงั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องมาร่วมแกไ้ ขปญั หาชมุ ชนต่อไปได้ กระบวนการพยาบาล ประกอบดว้ ย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
9 1. การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Assessment) พยาบาลชุมชนต้องมีความเข้าใจวัฒนธรรม วิถีความเป็นอยู่การใช้ชีวิตของคนในชุมชน โครงสร้างและองค์ประกอบ สิ่งแวดล้อมของชมุ ชน การเชอ่ื มโยงปญั หาสขุ ภาพของชมุ ชนกบั ปจั จยั ดา้ นพนั ธกุ รรม พฤตกิ รรม เพอ่ื หาความสมั พนั ธ์เช่ือมโยงสาเหตุท่ีมีอิทธิพลส่งผลต่อสุขภาพของบุคคล ข้อมูลท่ีต้องนำ�มาใช้มีดังน้ี ข้อมูลทั่วไปของชุมชน ข้อมูลทางด้านประชากร ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคม ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ขอ้ มลู อนามยั สิง่ แวดล้อมฯ 2. การวนิ จิ ฉยั ภาวะสขุ ภาพชมุ ชน (Diagnosis) เปน็ การคน้ หาโรคหรอื สภาวะสขุ ภาพทท่ี �ำ ให้บุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน ป่วย ตาย พิการ ท้ังทางร่างกายและจิตใจ การวินิจฉัยว่าเป็นปัญหาสุขภาพชุมชน จะต้องนำ�ผลการป่วย การตาย หรือปัญหาสุขภาพไปเปรียบเทียบกับชุมชนอื่นหรือเทียบกับเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ตามแผนพัฒนาฯ หากปัญหาสุขภาพชุมชนที่ได้จากการวินิจฉัยมีหลายปญั หาอาจต้องนำ�มาจัดล�ำ ดบั ความสำ�คัญและเลือกแกไ้ ขตามลำ�ดบั ความจ�ำ เปน็ 3. การวางแผน (Planning) การกำ�หนดแผนพัฒนาภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชนท่ีได้จากการวินิจฉัยสุขภาพชุมชนและปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง การยอมรับของชุมชนต่อผลการวินิจฉัยปัญหา การมีส่วนร่วมจัดลำ�ดับความส�ำ คญั ของปญั หา การรว่ มกนั อภปิ รายหาแนวทางแกไ้ ขปญั หาทเี่ ปน็ ไปได้ ก�ำ หนดเปา้ หมายหลกัของการพัฒนาสุขภาพชุมชน กำ�หนดวัตถุประสงค์ว่าต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไร แล้วจึงนำ�มาเปน็ แนวทางวางแผนเพื่อปอ้ งกนั ส่งเสริม แก้ไขปัญหาสขุ ภาพชุมชน 4. การปฏิบัติการ (Implementation) เป็นขั้นตอนการนำ�แผนการดูแลสุขภาพของบุคคลครอบครวั และชมุ ชน ทง้ั ในภาวะสขุ ภาพดี เสย่ี ง และปว่ ย ทแ่ี สดงความตอ้ งการใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอะไร อยา่ งไร กบั ใคร สถานทใี่ ด มาก�ำ หนดเปน็ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมทวี่ ดั ผลส�ำ เรจ็ ได้ มาก�ำ หนดเปา้ หมายกจิ กรรมด�ำ เนนิ การปฏบิ ตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกนั โดยใชค้ วามรู้ ทกั ษะเกย่ี วกบั เทคนคิ การพยาบาลการสาธารณสุข หรือกิจกรรมการดูแลสุขภาพ อื่น ๆ และปฏิบัติการดูแลสุขภาพตามท่ีกำ�หนดแล้วหลังการปฏิบัติการทุกคร้ังจะต้องบันทึกผลการดูแลในลักษณะของพฤติกรรมบุคคล ครอบครัวและชมุ ชนทป่ี รบั เปลย่ี นไป หรอื บนั ทกึ การเปลย่ี นแปลงภาวะสขุ ภาพ ภายหลงั จากไดร้ บั การดแู ลแกไ้ ขปัญหา 5. การประเมนิ ผล (Evaluation) แบง่ การด�ำ เนนิ การเปน็ การประเมนิ กอ่ นด�ำ เนนิ การ เปน็ การศกึ ษาความเปน็ ไปไดก้ อ่ นด�ำ เนนิ การเพอ่ื ศกึ ษาความคมุ้ คา่ การเกดิ ผลกระทบตอ่ คนในชมุ ชนกลมุ่ ใดบา้ งจะปรับปรุงองค์ประกอบและกระบวนการบริหารจัดการอย่างไรเพื่อให้เกิดผลงานที่ดี การประเมินระหวา่ งด�ำ เนนิ การ เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ปรบั ปรงุ การด�ำ เนนิ งานวา่ เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคห์ รอื แผนที่ก�ำ หนดไวห้ รอื ไมก่ ารประเมนิ ผลกจิ กรรมการดแู ลทใ่ี หก้ บั บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน การประเมนิ ผลการดูแลจะกระทำ�ได้โดยการเปรียบเทียบข้อมูลการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนภายหลังจากการได้รับการ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
10 ดแู ลแกไ้ ขปญั หา (Actual outcome) กบั เปา้ หมายหรอื ระดบั คณุ ภาพทก่ี �ำ หนดไวใ้ นเกณฑป์ ระเมนิ ผล การประเมนิ ผลดงั กลา่ ว จะตอ้ งกระท�ำ เปน็ ระยะ ๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ งทง้ั ในระยะภายหลงั การดแู ลทนั ที และ เม่ือเสร็จส้ินโครงการ ตลอดจนนำ�ผลการประเมินไปทบทวนเพ่ือปรับปรุงแผน และการปฏิบัติต่อไป ทง้ั น้ีตอ้ งมกี ารบนั ทกึ ไวเ้ ป็นลายลกั ษณ์อักษรเสมอ Øแนวคิดท่ ี 6 การพยาบาลองค์รวม การพยาบาลแบบองค์รวม เป็นการพยาบาลท่ีดูแลบุคคลเป็นหนึ่งเดียว ผสมผสานระหว่าง ร่างกาย จิตวิญญาณ อารมณ์ สังคม และส่ิงแวดล้อม มุ่งตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในเร่ือง ภาวะสขุ ภาพการพยาบาลแบบองคร์ วมเปน็ สว่ นส�ำ คญั ของการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทต่ี อ้ งค�ำ นงึ ถงึ ปจั จยั ที่มีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพและความเจ็บป่วย การพยาบาลจะมุ่งดูแลเฉพาะอาการของโรคไม่เพียง พอ จะตอ้ งดปู จั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ จติ ใจของผปู้ ว่ ยดว้ ยเพราะหวั ใจปว่ ยกายกฟ็ นื้ หายยาก จงึ เปน็ กรอบแนวคดิ ส�ำ คญั ของมาตรฐานการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชน แนวคดิ ของการพยาบาลแบบองคร์ วมสามารถ สรปุ ได้ดงั น้ี คือ (สำ�นกั การพยาบาล, 2551) 1. เป็นการพยาบาลที่มองคนท้ังคน และถือว่าบุคคลเป็นหน่วยเดียวที่มีการผสมผสานระหว่าง ร่างกาย จิตวิญญาณ อารมณ์ และสังคม ออกมาเป็นหนึ่ง เพราะฉะน้ันจะไม่มีคำ�ว่าผู้ป่วยทางกาย หรอื ผูป้ ว่ ยทางจิต 2. บคุ คลเปน็ ระบบเปดิ และเปน็ ระบบยอ่ ยของระบบอน่ื เชน่ ครอบครวั หรอื ชมุ ชนเปน็ ระบบยอ่ ย ในระบบเปดิ มนษุ ยจ์ ะแสวงหาความเปน็ ระบบระเบยี บใหต้ นเองมากขน้ึ นน่ั คอื มนษุ ยม์ คี วามสามารถ ท่ีจะเสาะแสวงหาความรู้ สร้างปัญญา และแนวคิดของตนเองที่จะเลือกกลยุทธ์ในการจัดการแก้ไข เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในชวี ติ คนทม่ี สี ขุ ภาพดี คอื คนทรี่ จู้ กั ตนเองเปน็ อยา่ งดรี วู้ า่ ตนเองจะกา้ วไปทางใด รูจ้ ักจดั ระบบระเบยี บของตนเอง และมีเป้าหมายในชีวิตจะรักษาสุขภาพให้ดี 3. แรงผลกั ดนั ใหเ้ ลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทสี่ ง่ ผลตอ่ เจตคติ คา่ นยิ ม การรบั รู้ และความเชอื่ จะมผี ล ต่อภาวะสขุ ภาพ และเป็นปัจจยั ทีส่ ามารถท�ำ ใหบ้ ุคคลมีความเปลีย่ นแปลงในภาวะสุขภาพได้ 4. การมีสุขภาพและความผาสุกอันสูงสุด ต้องใช้ทรัพยากรจากแหล่งประโยชน์ท้ังภายในและ ภายนอกของตวั บุคคล ซึง่ บคุ คลจะต้องแสวงหา หรือต้องมีการจัดสรรใหอ้ ย่างเหมาะสม 5. ใชแ้ นวคดิ ของสุขภาพแบบองคร์ วมเป็นพื้นฐานการดูแลคนเจ็บปว่ ยในชุมชน 6. การพยาบาลมุ่งช่วยเหลือบุคคล ให้พัฒนาความสามารถท่ีจะตอบสนองความต้องการของ ตนเอง เพื่อความผาสุกและเพื่อสุขภาพของชวี ติ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
11Øแนวคดิ ท่ ี 7 การดูแลต่อเนื่อง การดูแลต่อเน่ือง เป็นกระบวนการ การประเมิน การวางแผน การประสานงานและบูรณาการรว่ มมอื กนั ดแู ล เพอ่ื สนองความตอ้ งการการดแู ลสขุ ภาพ/ปญั หาของผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเชอ่ื มโยงกนัตงั้ แตโ่ รงพยาบาลถงึ บา้ นเปน็ การดแู ลเพอ่ื จดั เตรยี มเออ้ื อ�ำ นวยใหผ้ รู้ บั บรกิ ารมคี วามพรอ้ มดแู ลตนเองตามสภาพปัญหาความเจ็บป่วย ภายใต้บริบทและทรัพยากรท่ีมีอยู่ การดูแลต้องมีความต่อเนื่องทกุ ปญั หาทผี่ ปู้ ว่ ยตอ้ งไดร้ บั การดแู ลจากผปู้ ระกอบวชิ าชพี เพอ่ื ใหส้ ามารถชว่ ยตวั เองในการท�ำ กจิ วตั รประจำ�วัน ช่วยผู้ป่วยเรียนรู้ความจำ�กัดท่ีเกิดจากโรคและส่งเสริมให้นำ�ส่วนท่ีดีมาทำ�งานทดแทนส่วนที่มีความบกพร่อง/จำ�กัด โดยสามารถเปลี่ยนผ่านจากการปรับตัวดูแลตนเองจากระดับหน่ึงไปยังอีกระดับหน่ึง หรือจากสถานที่หน่ึงไปยังอีกสถานที่หน่ึง หรือเรียกว่าการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Care) การดูแลต่อเน่ืองจึงเป็นกระบวนการดูแลท้ังในระยะมีปัญหาวิกฤติต้องรักษาในโรงพยาบาล ต่อเน่ืองมาถึงระยะฟ้ืนฟูสภาพหลังผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลมาอยู่ที่บ้านอาจมีทมี สขุ ภาพจากโรงพยาบาลตดิ ตามมาเยยี่ มผปู้ ว่ ยทบ่ี า้ น การดแู ลตอ่ เนอื่ งจงึ ตอ้ งมกี ารสอื่ สารระหวา่ งทีมสุขภาพในสถานบริการแต่ละระดับที่ชัดเจน เพ่ือประสานแผนการดูแล และจัดระบบสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมการดำ�เนินงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับ หน่วยงานท่ีจะรับช่วงดูแลผู้ป่วยต่อในแต่ละระยะให้มากที่สุด เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยกลับไปใช้ชีวิตท่ีบ้านได้โดยลดภาวะพึ่งพา (KarenB.Hirschman and others, 2016)มิตกิ ารดแู ลตอ่ เน่อื ง ประกอบดว้ ย 1. ความตอ่ เนอื่ งของระบบข้อมลู (Information Continuity หรือ Record Continuity) หมายถงึการใช้ข้อมูลการรักษาพยาบาลท่ีผ่านมารวมถึงบริบทต่าง ๆ ของผู้รับบริการ เพ่ือนำ�มาใช้วางแผนในการดแู ลให้มคี วามสอดคล้องและเหมาะสมกับผู้รบั บรกิ ารแต่ละคน 2. ความต่อเน่ืองในมิติความสัมพันธ์เชิงการรักษาท่ีต่อเน่ืองระหว่างผู้รับบริการกับผู้ให้บริการ(Personnel Continuity) 3. ความตอ่ เนอ่ื งในมติ ทิ ผ่ี รู้ บั บรกิ ารไดพ้ บกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารคนเดมิ ทกุ ครง้ั ทม่ี ารบั บรกิ าร (LongitudinalContinuity, Provider Continuity, Clinical Continuity) อาจใช้ผู้ให้การรักษา/ดูแลคนเดิม เพื่อความต่อเนื่องในการเข้าใจปญั หาตัวผปู้ ว่ ยและ ความเจ็บปว่ ย 4. ความตอ่ เนอ่ื งในมติ ทิ เ่ี ปน็ ล�ำ ดบั ขน้ั ของเหตกุ ารณ์ (Hierarchical Concept) เรม่ิ จาก informa-tion continuity และตดิ ตามดว้ ย Longitudinal Continuity จะท�ำ ใหเ้ กดิ ความคนุ้ เคยระหวา่ งผใู้ ห้ และผรู้ บับรกิ ารซึ่งจะทำ�ใหผ้ ้รู บั บรกิ ารสามารถเข้าถงึ บรกิ ารได้ง่ายขึน้ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
12 5. ความต่อเนื่องในมิติ การจัดการ (Management Continuity) เพื่อให้เกิดความม่ันใจว่าเมื่อ เปล่ียนผู้ให้บริการ ผู้รับบริการจะได้รับการดูแลที่มีความสอดคล้องซ่ึง จะเน้นที่การให้บริการผู้ป่วย โรคเร้อื รงั ข้อตกลงเบ้ืองตน้ ในการกำ�หนดมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชนของสำ�นกั การพยาบาล มขี อ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ ดงั นี้ 1. มาตรฐานเล่มน้ีเป็นมาตรฐานระดับสถาบัน เพ่ือเป็นแนวทางในการกำ�หนดมาตรฐาน การพยาบาลระดับหน่วยงานต่อไป โดยมีเน้ือหาที่ได้รับการพิจารณาจากผู้เช่ียวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผปู้ ฏิบัติมาแล้ว 2. กำ�หนดขอบเขตของมาตรฐานการพยาบาลในชุมชนครอบคลุมงานบริหารและงานบริการ พยาบาลในชุมชน มีรายละเอียดดังน้ี 2.1 การบริหารการพยาบาลในชุมชน 2.2 การบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน ทจ่ี �ำ แนกตามลกั ษณะการใหบ้ รกิ ารพยาบาลแบง่ เปน็ 3 สว่ น คอื 2.2.1 การจดั บรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน ไดแ้ ก่ (1) การบริการอนามัยมารดาและทารกในครรภ์ (2) การบรกิ ารมารดาและทารกหลงั คลอด (3) การบรกิ ารส่งเสริมสขุ ภาพเดก็ ปฐมวยั 0 - 5 ปี (4) การบริการเดก็ วัยเรยี นและวยั รนุ่ (5) การบรกิ ารวัยเจรญิ พนั ธใุ์ นชุมชน (6) การบรกิ ารผู้สงู อายุ (7) การบริการผูป้ ่วยระยะสดุ ท้าย (8) การบรกิ ารผปู้ ว่ ยท่ีต้องดแู ลพเิ ศษ (9) การบริการประชากรย้ายถน่ิ 2.2.3 การจดั บรกิ ารพยาบาลในสถานบรกิ าร (1) การบรกิ ารตรวจรกั ษาโรคเบื้องต้น 2.2.4 การจดั บรกิ ารพยาบาลต่อเน่อื ง (1) การบริการพยาบาลเยยี่ มบ้าน มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
13 โครงสรา้ งมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชนฉบับนี้ ประกอบด้วย 3 ส่วน คอื ก. มาตรฐานการบริหารการพยาบาลในชมุ ชน ข. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลในชุมชน ค. ตวั ชีว้ ดั ผลการด�ำ เนินงานการพยาบาลในชุมชนØก. มาตรฐานการบริหารการพยาบาลในชมุ ชน เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั ผบู้ รหิ ารทางการพยาบาลในชมุ ชนทกุ ระดบั เพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการจดั โครงสรา้ งองคก์ รและการบรหิ ารจดั การบรกิ ารพยาบาล ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธสิ์ งู สดุ ตามความคาดหวงั และตามบรบิ ทของแตล่ ะองค์กร มาตรฐานการบริหารการพยาบาล ประกอบด้วยสาระส�ำ คัญ 2 ส่วน คอื ส่วนท่ี 1 เนือ้ หามาตรฐานการบรหิ ารการพยาบาล สว่ นที่ 2 เกณฑ์ชีว้ ัดคุณภาพการพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาลØØสว่ นที่ 1 เน้อื หามาตรฐานการบรหิ ารการพยาบาลในชมุ ชน เป็นการกำ�หนดเนื้อหา มาตรฐานท่ีเก่ียวกับปัจจัยนำ�เข้าด้านโครงสร้าง การบริหารจัดการทรัพยากรและกระบวนการบริหารจัดการท่ีเอื้อให้การปฏิบัติการพยาบาลในชุมชนมีคุณภาพตามท่ีคาดหวงั เนอื้ หาของมาตรฐานการบริหารการพยาบาล ประกอบดว้ ย 7 หมวด ได้แก่ หมวด 1 การน�ำ องค์กร หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความส�ำ คญั กบั ผู้รับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ หมวด 5 การมงุ่ เนน้ ทรพั ยากรบุคคล หมวด 6 การจดั การกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธก์ ารด�ำ เนินการขององค์กรพยาบาลในชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
14 ØØสว่ นท ่ี 2 เกณฑช์ ว้ี ดั คณุ ภาพการพยาบาลในภาพรวมขององคก์ รพยาบาล หมายถึงหมวด 7 ผลลัพธ์การดำ�เนินการใน PMQA เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการพยาบาล แสดงถึง มาตรฐานเชิงผลลัพธ์ของการบริหารการพยาบาลและการปฏิบัติการพยาบาล เป็นส่วนที่สำ�นัก การพยาบาลได้พัฒนาขึ้น โดยนำ�ผลลัพธ์ท่ีคาดหวังและเกณฑ์การประเมินมาตรฐานการบริหาร การพยาบาลและมาตรฐานปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชน มาก�ำ หนดเปน็ ตวั ชว้ี ดั และเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ เพื่อใช้ ในการประเมินตนเองและเฝ้าระวังคุณภาพการพยาบาลในชุมชนครอบคลุมทั้ง ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ คุณภาพ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ การพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาลในชุมชน ตามแนวทางของเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครฐั (PMQA) ไดก้ �ำ หนดเป็น 4 มติ ิ ดงั นี้ มติ ิท่ี 1 ดา้ นประสิทธผิ ลตามพันธกิจ มติ ทิ ี่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธภิ าพของการปฏิบัติการพยาบาล มิติท่ี 4 ดา้ นการพฒั นาองค์กรพยาบาล Øข. มาตรฐานการบริการพยาบาลในชมุ ชน เป็นเครื่องมือสำ�หรับงานบริการพยาบาลในชุมชน ท่ีใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล ใหม้ ีคุณภาพตามบทบาทความรบั ผดิ ชอบของวชิ าชพี โดยยึดผใู้ ช้บรกิ ารและครอบครวั เป็นศูนย์กลาง ดงั นั้นเนอื้ หาของมาตรฐานการบริการพยาบาล ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื ส่วนที่ 1 เนอ้ื หามาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล ส่วนท่ี 2 เกณฑช์ ี้วดั คุณภาพการปฏบิ ตั ิการพยาบาล ØØส่วนที ่ 1 เน้อื หามาตรฐานการบริการพยาบาล เปน็ กระบวนการดแู ลหรอื กจิ กรรมการพยาบาลทปี่ ฏบิ ตั ติ อ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารและครอบครวั ตามบทบาท หน้าทีแ่ ละจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยเนอื้ หาของมาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล ประกอบดว้ ย 3 สว่ น ส่วนที่ 1 การจัดบริการพยาบาลในชมุ ชน ส่วนที่ 2 การจัดบริการพยาบาลในสถานบรกิ าร สว่ นที่ 3 การจัดบรกิ ารพยาบาลตอ่ เน่ือง โดยรายละเอียดของแตล่ ะมาตรฐานจะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
15 1. หัวข้อมาตรฐาน เป็นข้อความที่แสดงถึงองค์ประกอบหลักของการปฏิบัติการพยาบาลท่คี รอบคลุมการปฏิบัตกิ ารพยาบาลในทกุ ๆ ดา้ นของวิชาชพี การพยาบาล 2. ขอ้ ความมาตรฐาน เปน็ ขอ้ ความทข่ี ยายความหวั ขอ้ มาตรฐาน และแสดงวตั ถปุ ระสงคก์ ารปฏิบตั ิการพยาบาลในประเด็นนนั้ ๆ 3. แนวทางปฏบิ ตั ิ เป็นกจิ กรรมการพยาบาลท่กี ำ�หนดข้นึ เพ่อื เปน็ แนวทางสำ�หรบั พยาบาลวชิ าชีพในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในกระบวนการนน้ั ๆ 4. ผลลัพธ์ที่คาดหวังเป็นข้อความท่ีแสดงถึงผลที่ควรจะเกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการและครอบครัวหลังจากไดร้ ับการพยาบาลตามแนวทางทีก่ �ำ หนดØØสว่ นท ่ี 2 เกณฑ์ช้ีวัดคุณภาพการปฏิบัตกิ ารพยาบาล เปน็ สว่ นทใ่ี ชแ้ สดงผลลพั ธข์ องการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทสี่ ะทอ้ นคณุ ภาพการบรกิ ารการพยาบาลทเี่ กดิ ขนึ้ ในชมุ ชนเปรยี บไดก้ บั มาตรฐานเชงิ ผลลพั ธ์ ซง่ึ ตวั ชวี้ ดั และเกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพทก่ี �ำ หนดนำ�มาใช้ เพ่ือการประเมินตนเองและเฝ้าระวังคุณภาพ การพยาบาลในชุมชน โดยรายละเอียดของแต่ละเกณฑ์ชว้ี ัดคุณภาพการปฏบิ ตั ิการพยาบาลอยู่ในบทท่ี 4Øค.ตัวชวี้ ัดผลการดำ�เนินงานการพยาบาลในชมุ ชน เป็นส่วนที่แสดงผลลัพธ์การปฏิบัติการพยาบาลของทีมการพยาบาล/พยาบาลท่ีให้บริการพยาบาลในชุมชน โดยรายละเอียดของแต่ละตัวชวี้ ัดจะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบคือ 1. เกณฑ์ เป็นตัวเลขที่กำ�หนดเป็นจำ�นวนที่ต้องการให้เกิดข้ึน เพื่อบอกคุณภาพของการพยาบาลเป็นการประเมินคุณภาพ 2. วัตถุประสงค์ เปน็ ข้อความทแ่ี สดงถงึ เป้าหมายของตัวชวี้ ัด 3. นิยาม เปน็ ข้อความทบ่ี รรยายคณุ ลกั ษณะของตัวช้ีวัด เพื่อใหผ้ นู้ �ำ ไปใช้เข้าใจตรงกนั 4. สูตรการค�ำ นวณ เปน็ สูตรท่ีใชค้ �ำ นวณเพ่อื ตอบผลลพั ธข์ องตวั ชี้วดั มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
มาตรฐานการบรหิ าร 164. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การพยาบาลมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน ●●ดา้ นประสทิ ธิผลตามพันธกจิ 2. การวางแผนกลยุทธ์ 5. การมงุ่ เนน้ ทรัพยากรบคุ คล ●●ด า้ นคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร1. การนำ�องคก์ ร 3. การใหค้ วามส�ำ คัญ 7. ผลลัพธ์ พยาบาล กับผ้รู บั บริการและ ●●ด า้ นประสิทธภิ าพ ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 6. การจัดการกระบวนการ การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล ●●ด้านการพัฒนาองค์กร มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล มาตรฐานการบริการพยาบาลในชมุ ชน การจัดบรกิ ารพยาบาล1. การจัดการบรกิ ารพยาบาลในชุมชน 1. งานบรกิ ารพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ 1. กระบวนการพยาบาล2. การจดั การบริการพยาบาลใน 2. งานบริการพยาบาลมารดาและทารก 1.1 การประเมินการพยาบาล สถานบริการ หลังคลอด 1.2 การวนิ จิ ฉยั การพยาบาล3. การจดั การบรกิ ารพยาบาลตอ่ เน่อื ง 3. งานบริการพยาบาลเด็กปฐมวัย 1.3 การวางแผนการพยาบาล 4. งานบรกิ ารพยาบาลเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ 1.4 การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 5. งานบริการพยาบาลวัยท�ำ งาน 1.5 การประเมินผลการพยาบาล 6. งานบริการพยาบาลผู้สูงอายุ 2. การดูแลตอ่ เนอ่ื ง 7. งานบริการพยาบาลผู้ปว่ ยระยะสุดทา้ ย 3.การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ 8. งานบรกิ ารพยาบาลประชากรย้ายถน่ิ 4. การคุ้มครองสขุ ภาพ 9. งานบรกิ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยทต่ี อ้ งดแู ลพเิ ศษ 5. การให้ข้อมูลและความรูด้ า้ นสุขภาพ 10. งานบรกิ ารพยาบาลตรวจรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ 6. การพทิ ักษส์ ทิ ธิ์ 11. งานบรกิ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยทบ่ี ้าน 7. การบนั ทกึ ทางการพายบาล แผนภาพท่ี 1 - 3 โครงสร้างมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
2บทท่ี มาตรฐานการบรหิ าร การพยาบาลในชุมชน มาตรฐานการบรหิ ารการพยาบาลในชมุ ชนระดบั สถาบนั เปรยี บเสมอื น ข้อกำ�หนดด้านโครงสร้างของการจัดบริการการพยาบาลในชุมชน ก�ำ หนดขนึ้ เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานทกุ ระดบั ทมี่ บี ทบาทหนา้ ทเี่ กยี่ วกบั การจดั บรกิ าร ในชุมชน ใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ดา้ นการจดั ระบบบรหิ ารและระบบบรกิ ารสขุ ภาพทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ทงั้ นเ้ี พอื่ เป็นหลักประกันว่า การบริหารจัดการของหน่วยงานจะมีศักยภาพเพียงพอ สำ�หรับการน�ำ องค์กรและสนบั สนุนใหง้ านบริการการพยาบาลประชาชนใน ชมุ ชนเปน็ ไปอย่างมีคณุ ภาพตามที่ม่งุ หวงั ภารกจิ ส�ำ คญั ของผบู้ รหิ ารการพยาบาลในชมุ ชน จะตอ้ งน�ำ มาตรฐาน ฉบับนี้ไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพและดำ�เนินการเพื่อดำ�รงไว้ ซึ่งคุณภาพการพยาบาลเพ่ือสุขภาพท่ีดีของประชาชนในชุมชน มาตรฐาน การบริหารการพยาบาลในชมุ ชนประกอบด้วย 2 สว่ น คอื 1. มาตรฐานการบรหิ ารการพยาบาลในชุมชน 2. เกณฑช์ ว้ี ัดคณุ ภาพการพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาล
18 1. มาตรฐานการบริหารการพยาบาลในชมุ ชน 7 หมวด 12 มาตรฐาน ดังนี้ คือ ■■หมวดท่ี 1 การน�ำ องคก์ ร มาตรฐานที่ 1 การน�ำ องคก์ ร มาตรฐานท่ี 2 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ■■หมวดท่ี 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ มาตรฐานที่ 3 การจัดทำ�กลยทุ ธ์ มาตรฐานท่ี 4 การถ่ายทอดกลยทุ ธ์สกู่ ารปฏบิ ัติ ■■หมวดท่ี 3 การให้ความสำ�คัญกบั ผใู้ ชบ้ ริการและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย มาตรฐานที่ 5 ความรู้เกี่ยวกับผใู้ ช้บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย มาตรฐานที่ 6 ความผูกพนั ของผ้ใู ช้บริการและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย ■■หมวดท่ี 4 การวัด การวเิ คราะห์ การจัดการสารสนเทศและความรู้ มาตรฐานที่ 7 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรงุ ผลการดำ�เนนิ งานขององค์กร พยาบาล มาตรฐานที่ 8 การจดั การความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ■■หมวดท่ี 5 การมุ่งเนน้ บคุ ลากร มาตรฐานท่ี 9 สภาพแวดล้อมของบุคลากร มาตรฐานที่ 10 ความผกู พนั ของบคุ ลากรทางการพยาบาลในชุมชน ■■หมวดที่ 6 การมุ่งเน้นการปฏบิ ตั กิ าร มาตรฐานที่ 11 กระบวนการสรา้ งคณุ คา่ งานการพยาบาลในชุมชน ■■หมวดท่ี 7 ผลลพั ธ์การดำ�เนินการขององค์กรพยาบาลชุมชน มาตรฐานที่ 12 ผลลัพธก์ ารด�ำ เนินการขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน 2. เกณฑ์ช้ีวัดคุณภาพการพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาล ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจาก การปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานการบรหิ ารการพยาบาลในชมุ ชน และมาตรฐานการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลของ แต่ละงาน ก�ำ หนดเป็น 4 มติ ิ คอื มิตทิ ่ี 1 ดา้ นประสิทธิผลตามพันธกจิ มิตทิ ่ี 2 ด้านคณุ ภาพการให้บริการพยาบาล มิติท่ี 3 ดา้ นประสิทธภิ าพของการปฏบิ ตั ิการพยาบาล มติ ิที่ 4 ด้านการพฒั นาองค์กร มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
19 หมวดที่ 1 การน�ำ องค์กรØมาตรฐานท่ ี 1 การน�ำ องค์กร ผู้บริหารองค์กรพยาบาลในชุมชน เป็นผู้นำ�ในการกำ�หนดวิสัยทัศน์และค่านิยมและดำ�เนินการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติผ่านระบบการนำ�องค์กรไปยังบุคลากร และพันธมิตร ท่ีสำ�คัญ ลูกค้า รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอ่ืน ๆ มีการกำ�หนดขอบเขตการบริหารการพยาบาลในชุมชน รวมทั้งดูแลกำ�กับตนเองที่ดี และการทบทวนผลการดำ�เนินงานอย่างต่อเน่ืองโดยบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนมสี ่วนรว่ มØØก. การก�ำ หนดทิศทางขององคก์ รพยาบาลในชุมชนแนวทางปฏบิ ัติ 1. ก�ำ หนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ คา่ นยิ ม ทศิ ทาง ผลการด�ำ เนนิ งานทค่ี าดหวงั และวธิ กี ารถา่ ยทอดไปสู่การปฏบิ ตั ิโดยการมสี ่วนร่วมของบุคลากรพยาบาลในชุมชนทั่วทง้ั องค์กร 2. กำ�หนดวิสัยทัศน์ขององค์กรให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงพยาบาลและมีสาระสำ�คัญทแ่ี สดงถงึ ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลในชุมชน 3. กำ�หนดกลไกการสื่อสารแบบสองทิศทาง เพื่อให้พยาบาลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรับทราบวิสัยทัศน์ คา่ นยิ ม ทิศทาง ผลการด�ำ เนนิ งานท่ีคาดหวัง เพื่อใชก้ ำ�หนดเป้าหมายการบริการได้ 4. กำ�หนดลักษณะของบุคลากรเป็นกลุ่มเพ่ือกำ�หนดแผนการพัฒนาบุคคลากร ให้ตรงกับลักษณะงานเพื่อมุ่งตอบสนองวสิ ยั ทัศน์พันธกจิ ขององค์กร 5. กำ�หนดวิธีการสร้างบรรยากาศองค์กรที่เอื้อให้ เป็นองค์กรการเรียนรู้ในระดับองค์กรและผปู้ ฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ การสง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรปฏิบตั ติ ามระเบียบและจริยธรรม 6. ก�ำ หนดแหลง่ ขอ้ มลู ส�ำ คญั ทใี่ ชบ้ รหิ ารองคก์ ร และขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บเพอื่ ใชพ้ ฒั นา/แขง่ ขนั 7. ก�ำ หนดระบบการรายงานผลการด�ำ เนนิ งานขององคก์ รทส่ี ง่ ผลตอ่ พฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลในชุมชน 8. ก�ำ หนดระบบการปรบั ปรงุ การด�ำ เนนิ งานขององคก์ รโดยมกี ระบวนการประเมนิ ผลและปรบั ปรงุกระบวนการ/โครงการที่สำ�คัญขององค์กร มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
20 ผลลัพธท์ ่ีคาดหวัง 1. องคก์ รมสี ภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรรลพุ นั ธกจิ และสรา้ งคณุ คา่ งานการพยาบาล/ สรา้ งนวัตกรรม 2. องคก์ รมีวฒั นธรรมการทำ�งานของบุคลากรทสี่ ง่ มอบบรกิ ารแกล่ กู ค้าอย่างสมํา่ เสมอ ØØข. การก�ำ กบั ดแู ลตนเองทีด่ ี แนวทางปฏบิ ัติ 1. มีระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในโดยใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ในการบริหาร เพอื่ ให้เกดิ ความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งาน 1.1 กำ�หนดระบบควบคุมการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนท้ังระดับผู้ บรหิ ารและระดบั ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี และกฎระเบยี บของโรงพยาบาลและองคก์ ร 1.2 มีการดำ�เนินการทบทวนและปรับกลยุทธ์การดำ�เนินงานเป็นระยะ เพื่อทำ�ให้องค์กร ประสบความส�ำ เรจ็ ในเร่ืองส�ำ คัญในระบบการกำ�กบั ดแู ลองคก์ ร 1.3 มีการตรวจสอบภายในและภายนอกที่เป็นอิสระและมีประสิทธิผล โดยกำ�หนดระบบ ควบคุมกำ�กับด้านการเงินและงบประมาณที่ได้รับ ให้มีการใช้จ่ายเป็นไปตามระเบียบ เกิดประโยชน์ คุ้มคา่ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 1.4 กำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้ในการติดตามกำ�กับการ ดำ�เนนิ งานขององค์กร ผลลพั ธท์ ่ีคาดหวงั หน่วยบริการในความรับผิดชอบขององค์กรพยาบาลในชุมชนมีการกำ�กับดูแลตนเองที่ดี ทง้ั ด้านการดำ�เนนิ งานขององคก์ ร ดา้ นการเงนิ และการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานที่กำ�หนดเพ่อื ใหเ้ กดิ ธรรมาภิบาล มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
21ØØค. การทบทวนผลการดำ�เนินงานแนวทางปฏบิ ัติ 1. กำ�หนดระบบทบทวนผลการดำ�เนินงานขององค์กรพยาบาลในชุมชนอย่างสม่ําเสมอและทกุ คร้งั ทเ่ี กดิ อบุ ัตกิ ารณใ์ นทกุ ระดับ ครอบคลมุ ด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1.1 ด้านความสำ�เร็จขององค์กร เช่น การใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่าตามกรอบเวลา ผลผลิตและผลงานเชิงปริมาณและคุณภาพ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนเปน็ ตน้ 1.2 ความสามารถในการแขง่ ขนั เชน่ การเทยี บเคยี งคณุ ภาพ (Benchmarking) ความส�ำ เรจ็ของการด�ำ เนินงานของตนเองกับหนว่ ยงานอนื่ ๆ 1.3 ความก้าวหน้าตามเป้าประสงค์ การปรับเปล่ียนเป้าประสงค์และเป้าหมายตามสถานการณแ์ ละสภาพแวดลอ้ มที่เปลี่ยนไปทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร 1.4 ความสามารถขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ในการตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการและบรบิ ทท่ีเปล่ยี นแปลงไป เชน่ การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งองค์กรตามพนั ธกิจท่ีเปลย่ี นไป เปน็ ต้น 2. กำ�หนดตัวช้ีวัดให้ครอบคลุมทั้งด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาลในชมุ ชน ดา้ นประสทิ ธภิ าพของการปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นการพฒั นาองคก์ ร และตอ้ งมกี ารทบทวนเปน็ ประจ�ำ อย่างชัดเจน 3. กำ�หนดระบบการประเมินผลผู้บริหารทางการพยาบาลในชุมชนทุกระดับ เพ่ือนำ�ผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพของการปฏิบัตงิ าน 4. น�ำ ผลกระทบการด�ำ เนนิ งานขององคก์ ร มาจดั ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ งานสร้างองคค์ วามรู้และนวตั กรรมอย่างต่อเนอ่ื ง น�ำ ไปสู่การปฏิบตั ทิ ่วั ท้ังองคก์ รผลลัพธ์ท่ีคาดหวงั 1. มกี ารทบทวนผลการด�ำ เนนิ งานสมา่ํ เสมอ ทงั้ ดา้ นความส�ำ เรจ็ ความไมส่ �ำ เรจ็ ความสามารถในการแขง่ ขนั ความกา้ วหนา้ ตามเปา้ ประสงคแ์ ละการตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงและทกุ ครงั้ ทเี่ กดิอุบตั ิการณ์ 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนสามารถตอบสนองต่อความต้องการบริการสุขภาพในปัจจุบัน โดยสามารถตอบสนองต่อความเส่ยี งและโอกาสต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม 3. สามารถเตรยี มขอ้ มลู องคก์ รทผ่ี า่ นการประเมนิ ผลใหพ้ รอ้ มตอ่ การตดั สนิ ใจผลไดผ้ ลเสยี ทท่ี �ำ ให้องค์กรประสบความสำ�เร็จ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
22 Øมาตรฐานที ่ 2 ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ดว้ ยการด�ำ เนนิ งานภายในองคก์ รอยา่ ง มจี ริยธรรมและใหก้ ารสนับสนุนชมุ ชนท่อี ยู่ในความรับผดิ ชอบขององค์กร ØØก. ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมและการสนับสนุนชุมชนทสี่ ำ�คญั แนวทางปฏิบตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลมสี ว่ นรว่ มกบั องคก์ รในชมุ ชนและสงั คมดว้ ยการคนื ขอ้ มลู สชู่ มุ ชน จดั กจิ กรรม สนับสนุนชุมชนทีร่ บั ผิดชอบ เพอ่ื ให้เกิดความเข้มแขง็ ของชมุ ชนด้วยการด�ำ เนนิ งานดังน้ี 1.1 กำ�หนดระบบและวิธีการสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน โดยกำ�หนด กิจกรรมท่ีใช้ประโยชนข์ องสมรรถนะหลักขององค์กรเข้าไปมีสว่ นรว่ ม 1.2 ประสานความรว่ มมอื กบั องคก์ รชมุ ชนและองคก์ รอนื่ ๆ เพอื่ จดั ใหม้ บี รกิ ารในชมุ ชน โดย การใชท้ รัพยากรรว่ มกนั ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ชุมชน 1.3 รว่ มใหค้ �ำ ปรกึ ษา ขอ้ เสนอแนะในการก�ำ หนดนโยบายสาธารณะดา้ นสขุ ภาพ 1.4 ประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานดา้ นสขุ ภาพ และจัดกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้แก่ชุมชน 1.5 มสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งความสมบรู ณใ์ หก้ บั ระบบสง่ิ แวดลอ้ ม ทส่ี ง่ ผลใหป้ ระชาชนในชมุ ชน มีสขุ ภาพดี ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวัง ชมุ ชนในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบมคี วามเขม้ แขง็ และสามารถบรหิ ารจดั การดา้ นสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ØØข. การดำ�เนนิ งานอย่างมจี รยิ ธรรม แนวทางปฏิบัติ 1. องคก์ รพยาบาลด�ำ เนินงานด้านจริยธรรมตามมาตรฐานวชิ าชพี ดงั ต่อไปน้ี 1.1 กำ�หนดแนวทางการปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพของบุคลากรทางการ พยาบาลในชมุ ชน 1.2 ติดตาม นิเทศ ควบคุมและกำ�กับบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนให้ปฏิบัติตาม แนวทางจรยิ ธรรมตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำ�หนด มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
23 1.3 จดั การบรหิ ารความเสย่ี งขอ้ รอ้ งเรยี นดา้ นจรยิ ธรรมของบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนอยา่ งรวดเรว็ และทนั ตอ่ เหตุการณ์ 1.4 น�ำ ผลการตดิ ตาม นเิ ทศ ควบคมุ ก�ำ กบั เรอ่ื งขอ้ รอ้ งเรยี นดา้ นจรยิ ธรรมของบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน มาพฒั นาพฤตกิ รรมบริการอย่างต่อเนือ่ งผลลัพธท์ ี่คาดหวัง มรี ะบบควบคมุ ก�ำ กบั บคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นกฎหมายดา้ นจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี หมวดท ่ี 2 การวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์Øมาตรฐานท่ี 3 การจัดทำ�กลยทุ ธ์ องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ และแผนปฏบิ ตั กิ ารขององคก์ ร การน�ำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การยกระดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั รวมถงึ การก�ำ หนดเปา้ หมาย ผลการด�ำ เนนิ การโดยรวมและความส�ำ เรจ็ ในอนาคตØØก. กระบวนการจดั ทำ�กลยทุ ธ ์แนวทางปฏบิ ัติ 1. องคก์ รพยาบาลในชุมชนวางแผนยทุ ธศาสตรด์ ้านการพยาบาลในชมุ ชน ดงั นี้ 1.1 กำ�หนดขั้นตอนท่ีสำ�คัญ ของกระบวนการการจัดทำ�แผนกลยุทธ์ด้านการพยาบาลในชุมชน ผู้เกี่ยวข้องท่ีสำ�คัญ การมีส่วนร่วมของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนให้สอดคล้องกับนโยบายขององคก์ ร 1.2 ก�ำ หนดกรอบเวลาการวางแผน กจิ กรรม เปา้ ประสงคร์ ะยะยาว ระยะสน้ั ก�ำ หนดวธิ กี ารท�ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานของแผนมคี วามสอดคลอ้ งกบั กรอบเวลาทใ่ี ชใ้ นการวางแผนประจ�ำ ปี และแผน 5 ปีไว้ชัดเจน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
24 2. วิเคราะห์ปัจจัยตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องใช้ในการวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์ ดังนี้ 2.1 ปญั หาสาธารณสุขของพืน้ ท่ี 2.2 ความเสีย่ งท่ีคุกคามตอ่ ความย่งั ยนื ขององคก์ ร 2.3 ความตอ้ งการ ความคาดหวงั ของผใู้ ชบ้ รกิ าร ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี รวมทงั้ ของสว่ นราชการ หรอื องค์กรอ่ืน ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง 2.4 สภาพการแข่งขันและความสามารถขององค์กรพยาบาลในชุมชนเม่ือเทียบเคียงกับ องคก์ รอ่ืน ๆ ท่ีมภี ารกิจใกลเ้ คียงกนั 2.5 สารสนเทศทเ่ี กย่ี วกบั องคป์ ระกอบส�ำ คัญในกระบวนการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ 2.6 นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงท่สี �ำ คญั ทางดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สงั คม และอืน่ ๆ ทม่ี ผี ลตอ่ บรกิ ารและการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทส่ี นบั สนนุ การสรา้ งนวตั กรรมขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน 2.7 ทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรอ่ืน ๆ ขององค์กรพยาบาลในชุมชนและหน่วยงานอ่ืน ที่เกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ท่คี าดหวงั 1. แผนกลยทุ ธข์ ององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ตอบสนองตอ่ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และนโยบายขององคก์ ร 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีแผนเชิงกลยุทธ์ที่ดำ�เนินการได้สอดคล้องกับกรอบเวลา และมี ความยืดหยุน่ ในการปฏิบัตกิ าร ØØข. วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธด์ า้ นการพยาบาลในชมุ ชน มลี กั ษณะดงั น้ี 1.1 เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธท์ ส่ี �ำ คญั ทง้ั ระยะสน้ั ระยะยาว ตวั ชว้ี ดั ส�ำ คญั และมกี รอบเวลาชดั เจน 1.2 เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์สอดคล้องและตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ขององคก์ รพยาบาลในชุมชน 1.3 ระบกุ ารจดั ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั ของเปา้ ประสงคต์ ามสภาพปญั หาและความตอ้ งการเรง่ ดว่ น ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวัง เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กรพยาบาลในชุมชน ตอบสนองความท้าทายเชิงกลยุทธ์ท้ัง ระยะสั้นและระยะยาว ตวั ชีว้ ดั ทส่ี �ำ คญั และกรอบเวลา มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
25Øมาตรฐานท่ ี 4 การถ่ายทอดกลยุทธ์สกู่ ารปฏิบัติ องค์กรพยาบาลในชุมชนแปลงวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่แผนปฏิบัติการ มีการถ่ายทอดสู่การปฏบิ ัติ กำ�หนดตัวช้วี ัดติดตามผลการด�ำ เนินการเทยี บกับเป้าหมายที่ตอ้ งการØØก. การจัดท�ำ แผนปฏบิ ัติการและการถ่ายทอดแผนเพอ่ื น�ำ ไปปฏิบตั ิแนวทางปฏบิ ัติ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชนสมั พนั ธ์กับวตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ สอดคล้องกับความตอ้ งการดา้ นขีดความสามารถและอตั ราก�ำ ลงัครอบคลุมบุคลากรทกุ ระดบั 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดวิธีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการฯ สู่การปฏิบัติไปยังทีมการพยาบาลและพนั ธมิตร ที่สำ�คัญทว่ั ท้ังองค์กร 3. องค์กรพยาบาลในชุมชนจัดสรรทรัพยากรเพ่ือสนับสนุนแผนปฏิบัติการฯ ให้บรรลุเป้าหมายทก่ี ำ�หนด 4. องค์กรพยาบาลในชุมชนปรับแผนปฏิบัติการฯ ให้สอดคล้องและทันเหตุการณ์กับการเปลยี่ นแปลงทส่ี �ำ คญั หรอื ผลการด�ำ นนิ การไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณท์ งั้ ดา้ นการบรกิ าร ผ้ใู ช้บริการ และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย 5. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดแผนด้านบุคลากรที่สนับสนุนวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏบิ ัติการฯ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 6. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดตวั ชว้ี ดั ผลการด�ำ เนนิ งาน ทใ่ี ชต้ ดิ ตามความกา้ วหนา้ /ความส�ำ เร็จและประสิทธผิ ลของแผนปฏิบตั ิการฯ 7. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดกลไกการส่ือสารแผนปฏิบัติการฯ และระบบการวัดผลของแผนปฏิบตั กิ ารไปยงั บคุ ลากรทางการพยาบาลในชุมชนทุกระดับอยา่ งทว่ั ถงึผลลัพธท์ ีค่ าดหวงั 1. แผนปฏิบัติด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในชุมชนสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของกลยทุ ธ์ 2. บคุ ลากรพยาบาลในชมุ ชนเขา้ ใจสามารถจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละแผนกลยุทธ์ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
26 หมวดท ี่ 3 ก ารใหค้ วามส�ำ คัญกบั ผู้ใชบ้ รกิ าร และผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี Øมาตรฐานที่ 5 ความรเู้ ก่ียวกบั ผู้ใชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดช่องทางการเรียนรู้ วิธีการรับฟัง ด้วยการสร้างปฏิสัมพันธ์ แตกตา่ งกนั ตามกลมุ่ ของผใู้ ชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ ง สมาํ่ เสมอ เพอื่ น�ำ มาใชพ้ ฒั นาบรกิ าร พยาบาล ØØก. ความรู้เกีย่ วกบั ผู้ใช้บริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี แนวทางปฏบิ ัติ 1. องคก์ รพยาบาลในชุมชน เรียนรเู้ ก่ียวกับผใู้ ช้บรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ดังน้ี 1.1 กำ�หนดกลุ่มผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำ�คัญ และกลุ่มท่ีต้องการมุ่งเน้นเพ่ือ ให้บริการเฉพาะเจาะจงตามความต้องการ โดยจำ�แนกตามพฤติกรรมการใช้บริการ ปัญหาสุขภาพ หรือปัจจัยอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม 1.2 กำ�หนดผู้ใช้บริการในอนาคต เช่น กลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม กลุ่มนักท่องเท่ียว กลมุ่ ตา่ งดา้ ว ฯลฯ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู มาใชพ้ ฒั นาบคุ ลากร และปรบั เปลยี่ นแนวทางปฏบิ ตั กิ ารจดั บรกิ าร ในอนาคต 1.3 ใชว้ ธิ กี ารทห่ี ลากหลายในการรบั ฟงั เรยี นรคู้ วามตอ้ งการ และความคาดหวงั ส�ำ คญั ของ ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม เช่น การสอบถามความคิดเห็น การรับฟัง ข้อร้องเรียน ทางจดหมายและทางสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ เพอื่ น�ำ ขอ้ มลู มาพฒั นาบรกิ ารทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคต ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั มขี อ้ มลู ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของกลมุ่ เปา้ หมายในชมุ ชนมาใชป้ รบั ปรงุ กระบวนการ ทำ�งาน แผนปฏิบัติการตามข้อคดิ เหน็ และขอ้ รอ้ งเรียน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
27Øมาตรฐานท ่ี 6 ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดวิธีการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้ใช้บริการและผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย เพ่อื นำ�มาใช้ตอบสนองความคาดหวังของผใู้ ช้บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยีØØก. ก ารประเมนิ ความพึงพอใจและความผูกพนั ธข์ องผู้ใชบ้ รกิ าร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสยีแนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องค์กรมีวิธีการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันธ์ ของผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้สว่ นเสียโดย 1.1 กำ�หนดระบบและเคร่ืองมือที่น่าเช่ือถือวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเน่อื ง 1.2 ก�ำ หนดวธิ กี ารประเมนิ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ไดเ้ สนอขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ รอ้ งเรยี นผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆท่หี ลากหลายเหมาะสมและสะดวก 1.3 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน จัดทำ�เป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ไขและพัฒนา การปฏบิ ตั ิงาน หรือพฤติกรรมบริการใหท้ นั ตอ่ ความตอ้ งการและการเปลี่ยนแปลง 1.4 กำ�หนดวิธีการจัดทำ�สารสนเทศด้านความพึงพอใจและ ความไม่พึงพอใจที่มีต่อองค์กรพยาบาลในชมุ ชนและองคก์ รเปรยี บเทยี บ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ อบสนองความตอ้ งการและความคาดหวงั ของลูกคา้ ได้ 1.5 แสวงหาขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บในดา้ นความพงึ พอใจ จากหนว่ ยงานหรอื องคก์ รทเี่ ปน็ เลศิแล้วน�ำ ขอ้ มลู มาเปรยี บเทียบ เพอ่ื การพฒั นาองคก์ ร 1.6 พฒั นาระบบการวดั ความพงึ พอใจและไมพ่ งึ พอใจใหเ้ หมาะสมกบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารแตล่ ะกลมุ่และปรบั ปรงุ ใหท้ ันสมยั อยเู่ สมอผลลัพธท์ ค่ี าดหวงั 1. มีช่องทางรับข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็นท่ีหลากหลายและทั่วถึง เช่น ตู้รับข้อคิดเห็น เว็บไซต์และอ่นื ๆ ตามบริบทขององคก์ รพยาบาลในชุมชน 2. การบริการและพฤติกรรมบริการของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชน ได้รับการปรับปรุงและแก้ไขตามข้อร้องเรยี น/ ข้อคดิ เหน็ ของผใู้ ชบ้ รกิ าร มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
28 3. ข้อคิดเห็นด้านบริการของผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในความรับผิดชอบขององค์กร พยาบาลในชมุ ชน ไดน้ �ำ ไปเทียบเคียงกับองค์กรขนาดใกล้เคียง เพ่อื พฒั นาคุณภาพบรกิ าร ØØข. ความผูกพันธ์ของผู้ใชบ้ ริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวิธกี ารพัฒนาบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชนเพื่อตอบสนองความ ต้องการบริการสุขภาพของประชาชนในพ้นื ท่ี ดงั นคี้ ือ 1.1 สรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั ผใู้ ชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ และปัญหาของผู้ใช้บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี และสง่ ผลต่อการมภี าพลักษณท์ ี่ดีขององคก์ ร 1.2 ก�ำ หนดวธิ กี ารหา/ส�ำ รวจความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ าร และน�ำ มาปรบั ปรงุ /เปลย่ี นแปลง บริการเพ่อื ตอบสนองความต้องการและท�ำ ให้เหนือกว่าความคาดหวงั ของผูใ้ ช้บรกิ าร 2. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนมขี อ้ ก�ำ หนดวธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ หบ้ คุ ลากรทกุ คนพรอ้ มใหบ้ รกิ ารผใู้ ชบ้ รกิ าร ทุกกระบวนการทีเ่ ก่ียวข้อง 3. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีการใช้สารสนเทศเกี่ยวกับลูกค้าเพื่อจำ�แนกกลุ่มลูกค้า จัดระบบ บริการ และวางแผนพัฒนาบริการท้ังด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การวางแผนจำ�หน่ายฯ เพ่ือลดการ เขา้ รับการรกั ษาในโรงพยาบาล 4. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวธิ กี ารจดั การกบั ขอ้ รอ้ งเรยี นของผใู้ ชบ้ รกิ าร เพอ่ื ใหข้ อ้ รอ้ งเรยี น ไดร้ ับการแกไ้ ขทนั ท่วงทีและมีประสทิ ธผิ ล 5. ก�ำ หนดระบบการตอบกลบั ขอ้ มลู ใหก้ บั ผใู้ ชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใหไ้ ดร้ บั ทราบขอ้ มลู และการปรบั ปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะ ผลลพั ธ์ที่คาดหวัง 1. ข้อคดิ เหน็ ด้านบริการ ไดร้ ับการแกไ้ ขและตอบกลับภายในเวลาทก่ี �ำ หนด 2. ข้อคิดเห็นด้านบริการของผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในความรับผิดชอบขององค์กร พยาบาลในชุมชน ไดน้ ำ�ไปเทยี บเคียงกบั องคก์ รขนาดใกลเ้ คยี ง เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพบรกิ าร มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
29 หมวดที ่ 4 การวัด การวิเคราะห์ การจดั การสารสนเทศ และความรู้Øมาตรฐานที่ 7 การวดั การวิเคราะห ์ และการปรับปรงุ ผลการดำ�เนินงานขององคก์ รพยาบาล องค์กรพยาบาลในชุมชน มีการเลือก รวบรวมวิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศรวมทงั้ มีการใชผ้ ลการทบทวนเพ่ือปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศอย่างต่อเนื่องØØก. การวดั ผลการดำ�เนนิ งานแนวทางปฏิบตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนกำ�หนดระบบการวัดผลงานขององคก์ ร ดงั น้ี 1.1 กำ�หนดวิธีการคัดเลือกตัวช้ีวัดผลการดำ�เนินงานที่สำ�คัญขององค์กรพยาบาลในชุมชนท้ังด้านการบริหารจัดการและการบริการพยาบาลในชุมชน เพ่ือใช้สะท้อนผลการดำ�เนินงานโดยรวมขององค์กร 1.2 รวบรวมและเช่ือมโยงข้อมูลการวัดผลการดำ�เนินงานขององค์กรพยาบาลในชุมชนให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน 1.3 นำ�ข้อมูลและสารสนเทศมาใช้ในการการตัดสินใจขององค์กร และสนับสนุนให้เกิดองคค์ วามรู้ นวตั กรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง เพอื่ ปรบั ปรงุ กระบวนการบรกิ ารและคณุ ภาพบรกิ ารรวมทัง้ การเพม่ิ มูลค่าการบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน 1.4 เลือกข้อมูลและสารสนเทศเทียบเคียงกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) และเปรยี บเทยี บในเชงิ แขง่ ขนั กบั องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนอน่ื มาใชส้ นบั สนนุ การตดั สนิ ใจใหเ้ กดิ นวตั กรรมและการพัฒนาองค์กรในด้านต่าง ๆ 1.5 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการวัดผลการดำ�เนินงานขององค์กร ให้มีความทันสมัยและมคี วามไวในการบง่ ชถ้ี งึ การเปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ ทงั้ ทเ่ี กดิ จากปจั จยั ภายในและภายนอกองคก์ ร มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
30 ผลลัพธ์ท่ีคาดหวงั 1. มีการใช้ระบบการวัดผลข้อมูล กระบวนการและคุณภาพบริการพยาบาลในชุมชน รวมทั้ง การเพิ่มมูลคา่ การบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน 2. ขอ้ มลู และสารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากการวดั ผลการด�ำ เนนิ งานขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ถกู น�ำ ไป เทียบเคียง และเปรียบเทียบ (Comparisons) กับองค์กรอื่นขนาดใกล้เคียง เพ่ือสะท้อนประเด็น การพฒั นาบริการให้ดขี ้นึ ØØข. การวเิ คราะหผ์ ลการด�ำ เนินงาน แนวทางปฏิบตั ิ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชนวิเคราะห์ผลการดำ�เนินการขององค์กร เพื่อทบทวนกระบวนการ ด�ำ เนนิ งาน และขีดความสามารถขององค์กร ดงั นี้ 1.1 กำ�หนดวิธีการวิเคราะห์ทบทวนผลการดำ�เนินงานขององค์กร เพ่ือหาสาเหตุของปัญหา ความสมั พนั ธ์ของการใช้ทรัพยากรและผลการด�ำ เนนิ งาน 1.2 ก�ำ หนด ตวั วดั ผลการด�ำ เนนิ การทส่ี �ำ คญั เพอ่ื ประเมนิ ผลส�ำ เรจ็ ขององคก์ ร ผลการด�ำ เนนิ การ ในเชงิ เปรยี บเทยี บ ความกา้ วหนา้ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ และแผนปฏบิ ตั กิ าร เพอ่ื ประเมนิ ความสามารถขององคก์ รทีจ่ ะตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลง โดยวิเคราะห์ เกีย่ วกบั 1.2.1 ข้อมูลด้านผใู้ ช้บริการและผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี 1.2.2 ขอ้ มลู ด้านการเงินและการตลาด 1.2.3 ขอ้ มลู ด้านคุณภาพการพยาบาลในชุมชน 1.2.4 ขอ้ มูลดา้ นบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน 1.2.5 ข้อมูลดา้ นการพัฒนาองค์กร 1.2.6 กำ�หนดช่วงเวลาและวิธีการส่ือสารการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานขององค์กรแก่ บคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนทกุ ระดบั เพอื่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สนบั สนนุ การปรบั กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวัง 1. หน่วยงานในความรับผิดชอบขององค์กรพยาบาลในชุมชนมีการทบทวนผลการดำ�เนินงาน และนำ�ผลการวเิ คราะหม์ าก�ำ หนดแผนกลยุทธ์ 2. บุคลากรพยาบาลในชมุ ชนทกุ ระดับ รบั ทราบผลการวเิ คราะหผ์ ลการด�ำ เนินงานขององคก์ ร มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
31ØØค. การปรบั ปรงุ ผลการดำ�เนนิ การแนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนมวี ธิ กี ารคน้ หาหนว่ ยงานหรอื หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารทมี่ ผี ลการด�ำ เนนิ การทดี่ ี 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีวิธีการค้นหาวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศของหน่วยงานและเครือข่าย เพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ 3. องค์กรกำ�หนดวธิ กี ารใชผ้ ลการทบทวนผลการด�ำ เนนิ การและข้อมลู เชิงเปรียบเทียบทีส่ �ำ คัญเพือ่ คาดการณผ์ ลการด�ำ เนินการในอนาคต 4. องค์กรมีวิธีการใช้ผลการทบทวนผลการดำ�เนินงานไปสร้างนวัตกรรมในเรื่องที่ต้องปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง และกำ�หนดข้ันตอนการถ่ายทอดนวัตกรรม แนวทางปฏิบัติฯ ให้ทีมงานในหน่วยงาน/เครอื ข่ายนำ�ไปปฏบิ ัติท่ัวทงั้ องค์กรผลลัพธ์ทคี่ าดหวงั 1. บุคลากรพยาบาลในชุมชนนำ�ผลการทบทวนมาวิเคราะหป์ รับปรงุ การดำ�เนนิ งาน 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีการปฏิบัติการพยาบาลท่ีมุ่งผลลัพธ์สอดคล้องเป็นไปในแนวทางเดยี วกันท้งั องคก์ รและเครอื ขา่ ยบริการพยาบาลØมาตรฐานที ่ 8 การจดั การความร ู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยี สารสนเทศ องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในชมุ ชนใหพ้ รอ้ มใชง้ านตลอดเวลาทง้ั ภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ รวมทง้ั มกี ารจดั การความรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผลการจดั การความรู้อย่างเปน็ ระบบØØก. ความพร้อมใชง้ านของข้อมูลและสารสนเทศแนวทางปฏิบตั ิ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในชมุ ชนใหพ้ รอ้ มใชง้ านไดท้ งั้ภาวะปกติและภาวะฉกุ เฉนิ ดังนี้ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
32 1.1 ก�ำ หนดฐานข้อมูลท่ีจำ�เป็น (Minimum Data Set) ประกอบดว้ ย 1.1.1 ฐานข้อมูลด้านการบริหาร ได้แก่ การบริหารบุคคล ทะเบียนพัสดุ ครุภัณฑ์ การพัฒนาบุคลากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน อัตราการลาออก โอนย้ายของบุคลากร คา่ ใชจ้ า่ ยและงบประมาณขอ้ มลู คณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชน รวมทงั้ องคค์ วามรใู้ หมท่ างการพยาบาล ในชมุ ชน 1.1.2 ฐานข้อมูลด้านบริการ ได้แก่ ปริมาณภาระงาน จำ�นวนผู้ป่วย ผู้ใช้บริการแต่ละ ประเภท ปญั หาสขุ ภาพทพ่ี บบอ่ ย การบ�ำ บดั ทางการพยาบาลหรอื กจิ กรรมการบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน 1.2 ก�ำ หนดระบบบนั ทกึ และจดั เกบ็ ฐานขอ้ มลู ทางการพยาบาลในชมุ ชนเปน็ หมวดหมคู่ รบถว้ น 1.3 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อนำ�มาใช้ในการบริหาร การจัดบริการ และการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลในชุมชน 1.4 กำ�หนดระบบรายงานและเผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศให้กับหน่วยบริการในความรับผิด ชอบอยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ทันเวลา และรูปแบบท่ีง่ายตอ่ การน�ำ ไปใช้ 1.5 ก�ำ หนดกลไกการสอื่ สารใหบ้ คุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนทเี่ กย่ี วขอ้ งทราบและเขา้ ใจ วิธีการจดั เก็บข้อมลู และการรายงานขอ้ มูล 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดแนวทางปฏิบัติที่ทำ�ให้เกิดระบบการจัดการสารสนเทศ ทางการพยาบาลในชุมชน ดังน้ี 2.1 เช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศกับหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้เกิดเครือข่ายการทำ�งาน ท�ำ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู เชงิ พลวัตรทท่ี นั สมัย 2.3 มรี ะบบตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลก่อนทำ�การจัดเก็บและภายหลงั การจดั เกบ็ 2.4 พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลโดยปรับปรุงแก้ไขข้อมูลให้มีความทันสมัย รวมทั้งนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมยั มาใช้ 2.5 มกี ารแลกเปล่ียนข้อมูลซึ่งกนั และกัน รวมถึงการติดตามตรวจสอบขอ้ มูลรว่ มกัน 2.6 มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ใหบ้ คุ คลภายนอกรบั ทราบ มกี ารปรบั ปรงุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้มีความทันสมยั และนา่ เช่อื ถอื สม่ําเสมอ 3. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มก�ำ หนดฐานขอ้ มลู และสารสนเทศในชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ย สรา้ งระบบการประสานดำ�เนนิ งานด้านขอ้ มูลรว่ มกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ทุกภาคส่วน 4. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีวิธีการทดสอบให้ม่ันใจว่าระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้ง ข้อมูลและสารสนเทศ มคี วามพรอ้ มใชง้ านต่อเนอื่ งในกรณีฉุกเฉนิ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
33ผลลัพธท์ ่คี าดหวัง 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนมฐี านขอ้ มลู ทจ่ี �ำ เปน็ ดา้ นการบรหิ าร และผลลพั ธก์ ารบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชนพร้อมใช้ 2. สารสนเทศขององค์กรพยาบาลในชุมชน มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย และบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนและภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศ 3. มีการบูรณาการน�ำ ขอ้ มูลและสารสนเทศในชมุ ชนมาใชป้ ระโยชน์ØØข. การจัดการความรู้แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดวิสัยทัศน์ นโยบายและแผนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ และต่อเนอื่ ง 2. ผู้บริหารองค์กรพยาบาลในชุมชน เป็นผู้นำ�ในการสร้างบรรยากาศและสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรใู้ นองคก์ ร และการจดั การความรอู้ ย่างเป็นระบบ 3. องค์กรพยาบาลในชุมชนก�ำ หนดทมี งานการจดั การความรู้ เพอ่ื ทำ�หนา้ ทีว่ างแผนดำ�เนินการและจัดกจิ กรรมการจดั การความรูใ้ นองคก์ ร 4. องค์กรพยาบาลในชมุ ชนกำ�หนดวิธีการสอื่ สารและถา่ ยทอดความรู้ เพ่ือก่อให้เกิดการเรยี นรู้และการจัดการความรใู้ นองคก์ ร 5. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดกระบวนการและเครอื่ งมอื ในการจดั การความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบทั้งประเด็นการค้นหา การสร้างและแสวงหาความรู้ การแบ่งปันและ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพ่ือตอ่ ยอดให้เกิดความรู้ใหม่ 6. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวธิ กี ารทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ ระบบการจดั การความรแู้ ละความรใู้ หม่สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการจดั การความรขู้ องบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน ทกุ ระดบั และภาคเี ครอื ขา่ ย สรา้ งระบบการดำ�เนินงานร่วมกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ทกุ ภาคส่วนผลลพั ธท์ ค่ี าดหวัง 1. บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชน สามารถดำ�เนินการให้การจัดการความรู้เก้ือหนุนการทำ�งานบรรลผุ ลลพั ธท์ ี่คาดหวัง 2. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน มกี ระบวนการและน�ำ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการจดั การความรมู้ าใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพบริการอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
34 หมวดท ่ี 5 การมงุ่ เน้นบุคลากร Øมาตรฐานท่ ี 9 สภาพแวดล้อมของบุคลากร องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดระบบการบริหารงานบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในการทำ�งานที่เอื้อให้บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชน มีผลการดำ�เนนิ งานทท่ี ้าทาย ØØก. ขีดความสามารถและอตั ราก�ำ ลังบุคลากร แนวทางปฏิบัติ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดวิธีการประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ การบริการในชุมชนและอัตรากำ�ลังบุคลากร เพื่อจัดสรรกระจายกำ�ลังคนในสถานบริการ แตล่ ะระดบั 2. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนจดั ทมี การพยาบาลในชมุ ชนใหม้ คี วามพรอ้ ม ใหบ้ รกิ ารพยาบาลใน ชุมชนที่มีคณุ ภาพ ดว้ ยการจัดสรรอัตราก�ำ ลงั อย่างเปน็ ระบบ เพียงพอ ทั้งภาวะปกตแิ ละฉุกเฉนิ ดังนี้ 2.1 ประเมนิ ปรมิ าณภาระงาน (Work Load) ความเพยี งพอของอตั ราก�ำ ลงั หรอื ความตอ้ งการ บุคลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน จำ�แนกตามหนว่ ยบริการในแตล่ ะปี 2.2 จัดและกระจายอัตรากำ�ลังบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนให้ทุกหน่วยบริการ ตามปรมิ าณภาระงาน โดยคิดสัดสว่ นเทยี บจำ�นวนประชากรและอตั รากำ�ลงั ทง้ั หมดท่ีมีอยู่จริง 2.3 จัดสรรบคุ ลากรทางการพยาบาลในชุมชน ในแตล่ ะหนว่ ยบริการ โดยค�ำ นึงถึง 2.3.1 จ�ำ นวนผปู้ ว่ ย/ผใู้ ชบ้ รกิ าร ลกั ษณะของผปู้ ว่ ยและความรนุ แรงตามเกณฑก์ ารจ�ำ แนก ประเภทผู้ป่วย 2.3.2 ลกั ษณะการให้บริการพยาบาลในชุมชนและลกั ษณะงานของแตล่ ะหน่วยบริการ 2.3.3 ประเภท จ�ำ นวนของบคุ ลากรทางการพยาบาลทม่ี ีอยู่ 2.4 ก�ำ หนดวิธีการสรรหา วา่ จ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรใหม่ไว้ในระบบ 3. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีการจัดโครงสร้างเพ่ือสนับสนุนผู้รับบริการให้ได้รับบริการท่ีดี มคี ณุ ภาพ ใหอ้ งคก์ รมผี ลการด�ำ เนินงานม่งุ สคู่ วามเป็นเลศิ 4. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีการเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง และเตรียม การลดผลกระทบต่อการลดและเพมิ่ จ�ำ นวนบคุ ลากรในหนว่ ยงานแตล่ ะระดบั มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
35ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน มกี ารบรหิ ารตามขดี ความสามารถและอตั ราก�ำ ลงั บคุ ลากร เพอื่ ให้งานองค์กรบรรลผุ ลสำ�เร็จ 2. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน มกี ารบรหิ ารจดั การดา้ นทรพั ยากรบคุ คลทค่ี รอบคลมุ และสอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจ โครงสรา้ งองค์กร ทรัพยากร และความต้องการอตั ราก�ำ ลงั ในปจั จบุ นั และอนาคต 3. บุคลากรทางการพยาบาลทุกคน รับทราบถึงระบบบริหารงานบุคคลขององค์กรพยาบาลในชุมชนØØข. บรรยากาศการท�ำ งานของบุคลากรแนวทางปฏิบตั ิ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชนมีมาตรการเก่ียวกับปัจจัยเอ้ือที่สนับสนุนการทำ�งานในชุมชน เพ่ือสร้างความมน่ั ใจด้านสวัสดภิ าพ และสง่ เสรมิ การปฏิบัติหน้าท่ใี นพืน้ ทห่ี ่างไกลที่ทำ�งาน 2. องค์กรพยาบาลในชุมชนสนับสนุนการทำ�งานของบุคลากรโดยกำ�หนดให้มีนโยบายด้านสิทธิประโยชน์ตามความต้องการของบุคลากรทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับบริบท 3. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดนโยบายและจดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารเพอื่ สนบั สนนุ บคุ ลากร ไดแ้ ก่ 3.1 สวสั ดกิ ารตามกฎหมาย เชน่ สภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน ทอ่ี ยอู่ าศยั คา่ รกั ษาพยาบาลเปน็ ต้น 3.2 สวัสดิการพิเศษแก่บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนในกลุ่มที่ติดโรคติดต่อและได้รับบาดเจบ็ จากการปฏิบตั ิงานอยา่ งเปน็ รปู ธรรม 3.3 สวัสดิการอ่นื ๆ เช่น จัดสวัสดิการดูแลบุตรของบุคลากรในช่วั โมงการทำ�งาน การให้คำ�ปรกึ ษาด้านกฎหมาย การจัดกิจกรรมสันทนาการ เป็นต้น 4. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดแนวทางการปฏิบัติเพ่ือปกป้องสิทธิของบุคลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน ในฐานะผ้ปู ระกอบวิชาชพี ไดแ้ ก่ 4.1 ทำ�คำ�ส่ังมอบหมายให้ปฏิบัติงานที่ไม่อยู่ในขอบเขตบทบาท/หน้าท่ีความรับผิดชอบเป็นลายลักษณอ์ ักษร 4.2 การจัดการเม่ือบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนได้รับการร้องเรียนหรือปฏิบัติงานผดิ ระเบียบ 4.3 การจดั การเมือ่ บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนถกู ดูหมน่ิ ศักดิ์ศรี หรือมภี ยั คกุ คาม 5. องค์กรพยาบาลในชุมชนกำ�หนดระบบการดูแลสุขภาพบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนเหมาะสมในการทำ�งาน ท้ังด้านการส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันและการปรับปรุง มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
36 สภาพแวดล้อม ดงั น้ี 5.1 มฐี านขอ้ มลู สขุ ภาพพนื้ ฐานของบคุ ลากรพยาบาลในชมุ ชน ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู การตรวจสขุ ภาพ ท่ัวไป การได้รับภูมิคุ้มกัน การได้รับอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อซ่ึงเส่ียงต่อการรับหรือ แพรก่ ระจายโรค 5.2 จัดระบบเฝา้ ระวังบุคลากรกลุม่ เส่ียงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5.3 การตรวจสขุ ภาพบคุ ลากรพยาบาลในชมุ ชนอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั เพอ่ื ประเมนิ การเจบ็ ปว่ ย เนอื่ งมาจากการท�ำ งาน รวมทงั้ การตดิ เช้ือซึ่งอาจ มีผลต่อการดูแลผปู้ ่วยในชมุ ชนและบคุ ลากรอื่น ๆ 5.4 บุคลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนได้รบั ภูมิคมุ้ กันโรคตดิ ต่อตอ่ เน่อื ง 5.5 การกำ�หนดนโยบายและมาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำ�งาน ของบคุ ลากรทางการพยาบาลในชุมชน ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวัง องคก์ รด�ำ เนนิ การสรา้ งบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรแมใ้ นยามเกดิ โรคระบาด ภยั พบิ ตั ิ และภาวะปกติ Øมาตรฐานท ี่ 10 ความผูกพนั ของบคุ ลากรทางการพยาบาล องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนก�ำ หนดวธิ กี ารสรา้ งความผกู พนั กบั บคุ คลากรเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลการด�ำ เนนิ งานทด่ี ี และรกั ษาบรรยากาศการท�ำ งานทมี่ ีความปลอดภยั ØØก. การสร้างความผกู พนั ของบคุ ลากร แนวทางปฏิบัติ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชน ร่วมกับกลุ่มงานบริหารงานบุคคล กำ�หนดระบบการจ้างงาน และ ความกา้ วหนา้ ในงานของบคุ ลากร ดังนี้ 1.1 กำ�หนดคุณลักษณะและทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชน ทั้งด้านการศึกษา การอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทักษะ ความรู้ และ ความสามารถพิเศษ 1.2 ก�ำ หนดกระบวนการสรรหา การจา้ งงานและธ�ำ รงรกั ษาบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน โดยค�ำ นงึ ถงึ วัฒนธรรมและความคดิ เหน็ ของบคุ ลากรและชุมชนทีอ่ งคก์ รพยาบาลตั้งอยู่ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
37 1.3 รวบรวม ตรวจสอบ และประเมินคุณลักษณะของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนในด้านใบประกอบวิชาชพี การศกึ ษา การฝกึ อบรม และประสบการณ์ 1.4 กำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบของตำ�แหน่งงานและการมอบหมายงานตามความรู้ความสามารถของผูป้ ระกอบวิชาชีพและขอ้ ก�ำ หนดในกฎหมาย 2. กำ�หนดคุณสมบัติเฉพาะตำ�แหน่ง (Job Specification) ของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนไวช้ ดั เจนทงั้ ต�ำ แหนง่ หัวหนา้ หนว่ ยงาน และระดับปฏบิ ตั ิการ 3. กำ�หนดเกณฑ์การสรรหาและคัดเลือกพยาบาลวิชาชีพเพ่ือดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารทางการพยาบาลในชมุ ชนแตล่ ะระดบั ไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร โดยสอดคลอ้ งกบั กฎระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิของกระทรวงสาธารณสุข 4. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ก�ำ หนดหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบหลกั ของพยาบาลวชิ าชพี แตล่ ะระดบัประกอบดว้ ย 4.1 สรุปลักษณะงาน (Summary Position) เป็นคำ�บรรยายลักษณะงาน ตามภาระหน้าท่ีโดยยอ่ ของตำ�แหน่งงานในแตล่ ะระดบั 4.2 หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบหลกั (Accountability) เปน็ รายละเอยี ดหนา้ ที่ รบั ผดิ ชอบหลกั ท่ี ผปู้ ฏบิ ตั ิต้องทำ� เพื่อให้ภารกิจของหน่วยงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ คือ ปฏิบัติการ/งานเช่ยี วชาญเฉพาะด้าน การวางแผน การประสานงาน และบริการวิชาการ 5. กำ�หนดมาตรฐานระดับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่จำ�เป็นในงานของผู้บริหารทางการพยาบาลในชมุ ชน และพยาบาลวิชาชพี แตล่ ะระดบั 6. กำ�หนดสมรรถนะ (Competency) ท่ีจำ�เป็นของพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการและระดับผู้บริหารท้ังด้านสมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะประจำ�กลุ่มงาน (FunctionalCompetency) และสมรรถนะด้านอ่ืน ๆ ตามความจำ�เป็นของหน่วยงาน 7. สื่อสารหน้าท่ีความรับผิดชอบและสมรรถนะให้บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนทุกคนรับทราบ เข้าใจ และถอื ปฏิบัติ 8. น�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการประเมนิ บคุ ลากรทางการพยาบาลทกุ ระดบั เพอ่ื การวางแผนพฒั นาบคุ ลากร และเลอ่ื นระดบั ตามความกา้ วหนา้ ในต�ำ แหน่ง 9. กำ�หนดแผนและหลักเกณฑ์การสืบทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) ของบุคลากรทางการพยาบาลในชุมชน เพ่อื การพัฒนาบนั ไดอาชพี ของบคุ ลากร ดังน้ี 9.1 วางแผนการเลอ่ื นตำ�แหนง่ อย่างมีหลกั การ ชัดเจน เปน็ ระบบ รอบคอบและรดั กมุ โดย 9.1.1 ก�ำ หนดนโยบาย เกณฑค์ ณุ สมบตั เิ ฉพาะต�ำ แหนง่ ทงั้ ดา้ นคณุ สมบตั ิ ความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ในการเล่อื นระดบั สูต่ ำ�แหนง่ ที่สงู ขึ้น 9.1.2 กำ�หนดข้ันตอนและแนวทางท่ีบุคคลจะได้รับการเล่ือนตำ�แหน่งตามลำ�ดับช้ันของ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
38 งาน ความสามารถ และอาวโุ ส โดยก�ำ หนดเปน็ ลายลักษณ์อักษรชัดเจน 9.1.3 พัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการปฏิบัติหน้าที่และเล่ือนตำ�แหน่ง ในอนาคต เพ่ือใหม้ คี วามพร้อมปฏิบตั งิ านในต�ำ แหนง่ ท่ีสูงขึ้น 9.2 กำ�หนดหลักเกณฑ์การเลื่อนตำ�แหน่งโดยคำ�นึงถึงหลักเกณฑ์ทั้งหลักความสามารถ (Competence) หลกั อาวโุ สและประสบการณ์ (Seniority) และหลกั เกณฑอ์ นื่ ๆ ตามความจ�ำ เปน็ ของ หน่วยงาน ผลลัพธ์ทค่ี าดหวงั 1. บคุ ลากร ผบู้ รหิ ารทางการพยาบาล ไดร้ บั การพฒั นาจากองคก์ รเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลการด�ำ เนนิ งาน ทด่ี แี ละกา้ วหน้าในอาชพี 2. องค์กรมีระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานของบุคลากร พิจารณาการบริหารค่าตอบแทน การให้รางวลั การยกย่องชมเชย ท่สี ่งผลตอ่ ความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร 3. บคุ ลากร มแี รงจงู ใจในการท�ำ งาน มคี วามกา้ วหนา้ และไดร้ บั การกระตนุ้ ใหม้ กี ารพฒั นาตนเอง และใชศ้ ักยภาพของตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี ØØข. การพัฒนาบคุ ลากรและผู้น�ำ แนวทางปฏบิ ัติ 1. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ก�ำ หนด ระบบการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาบคุ ลากร ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการขององคก์ รและความตอ้ งการการพฒั นาตนเองของผบู้ รหิ ารใหม่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านใหม่ และ ระหว่างประจำ�การ เก่ียวกับการปฏิบัติการบริการใหม่ ๆ การปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะทาง และการ บริหารการพยาบาล โดยค�ำ นึงถึง 1.1 สมรรถนะหลักขององค์กร ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การบรรลุผลสำ�เร็จของแผนปฏิบัติ การขององค์กรทัง้ ในระยะสน้ั และระยะยาว 1.2 สนบั สนุนการปรบั ปรงุ ผลการด�ำ เนนิ การขององคก์ รและการสร้างนวัตกรรม 1.3 สนบั สนนุ การเพม่ิ ประสิทธิภาพบริการทมี่ งุ่ เน้นลูกคา้ กลมุ่ เปา้ หมาย 1.4 การผลักดันใหใ้ ชค้ วามรู้และทกั ษะใหมใ่ นการปฏิบตั งิ าน 2. องคก์ รก�ำ หนดวธิ กี ารประเมนิ ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพของระบบการเรยี นรแู้ ละการพฒั นา 3. องค์กรมีวิธีจัดการความก้าวหน้าในอาชีพ รวมถึงมีการวางแผนการสืบทอดตำ�แหน่งของผู้ บรหิ ารและผ้นู �ำ อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
39ผลลัพธท์ ค่ี าดหวัง 1. บุคลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน ไดร้ ับการฝึกทักษะท่จี �ำ เป็นตามแผนพฒั นา 2. บคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชน น�ำ ความรแู้ ละทกั ษะใหมท่ ไ่ี ดร้ บั จากการศกึ ษาและอบรมไปพัฒนางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง 3. บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้ก้าวหน้าในอาชีพตามแผนการสบื ทอดตำ�แหน่งระดบั ตา่ ง ๆ หมวดท่ ี 6 การมงุ่ เน้นการปฏิบัติการØมาตรฐานท ี่ 11 กระบวนการทำ�งาน องค์กรพยาบาลในชุมชนออกแบบกระบวนการหลัก มาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติและวิธีการนำ�มาตรฐานสู่การปฏิบัติ การติดตาม ควบคุม กำ�กับ ประเมินผลและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยการใหบ้ ุคคลและชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม เพ่อื ส่งมอบคณุ ค่าของงานการพยาบาลใหผ้ ูร้ ับบริการØØก. การออกแบบกระบวนการท�ำ งานแนวทางปฏบิ ตั ิ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชน มีกระบวนการส่งเสริม/สนับสนุนให้มีการสร้างแนวทางปฏิบัติ/แนวทางการจัดบริการการพยาบาลในชุมชน เพื่อนำ�มาจัดบริการดูแลสุขภาพบุคคล ครวบครัว และชมุ ชน โดยเนน้ การมีสว่ นร่วมของคนในชมุ ชนโดยใช้หลกั การดังน้คี ือ 1.1 นำ�หลักการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมมาบูรณาการกับองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการสั่งสมประสบการณข์ องบคุ ลากรทางการพยาบาลในชมุ ชนรว่ มกบั การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายและน�ำ เทคโนโลยีใหม ่ ๆ มาใหบ้ ริการพยาบาลใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความเจบ็ ปว่ ยของผูป้ ่วยที่บ้าน/ชมุ ชน 1.2 ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผลลัพธ์การพยาบาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บรกิ ารและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
40 1.3 กำ�หนดขน้ั ตอน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ผลิตภาพ (Productivity) และการควบคุมคา่ ใชจ้ า่ ย เปา้ หมายและผลลพั ธข์ องภารกจิ ต่าง ๆ 2. องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดกระบวนการหลักในการให้บริการพยาบาลในชุมชน ครอบคลมุ ขั้นตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้ 2.1 การจดั บริการพยาบาลในหน่วยบริการ ประกอบด้วย 1) การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการดูแลกลุ่มเป้าหมายเชิงรุก เพ่ือให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนทั้งกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย ให้สามารถคงภาวะสุขภาพดีไว้ให้นานท่ีสุด กลุ่มป่วยก็สามารถ ยืดเวลาการเกิดภาวะซบั ซ้อนและแทรกซอ้ นได้ 2) การรกั ษาพยาบาล เปน็ การคดั กรองเพ่ือให้การรักษาโรคเบ้ืองต้น และส่งต่อ 3) การฟืน้ ฟสู ภาพ สอนสาธติ ฝึกปฏิบัติ 4) การส่งต่อ 5) การสรา้ งเสรมิ พลงั อำ�นาจ 2.2 การจดั บรกิ ารพยาบาลในชุมชน ประกอบดว้ ย 1) การประเมินและวนิ จิ ฉยั ชุมชน 2) การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน แบง่ เปน็ ประชาชนกลมุ่ มสี ขุ ภาพ ดี เสยี่ ง ป่วย 3) การประเมนิ สภาพแวดล้อมและสิง่ แวดล้อมที่มผี ลกระทบตอ่ ภาวะสขุ ภาพ 4) ใหก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยทบ่ี า้ น และสง่ เสรมิ ผดู้ แู ลใหส้ ามารถชว่ ยเหลอื ดแู ลผปู้ ว่ ยในครอบครวั ได้ 5) การดแู ลสขุ ภาพชมุ ชน เนน้ การดแู ลสขุ ภาพประชากรในภาพรวม มงุ่ จดั ระบบการดแู ล เพอ่ื ลดปัญหาสขุ ภาพของประชาชนในภาพรวมทงั้ ชมุ ชน 2.3 การดำ�เนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนโดยนำ�แนวคิดด้านการป้องกันโรค มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรค เพ่ือจัดบริการพยาบาลแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน (Maureen Best and other, 2008) โดยแบง่ เป็น 1) การปอ้ งกนั ขน้ั ปฐมภมู ิ (Primary Prevention) มงุ่ ดแู ลเพอ่ื ลดปจั จยั ความเสย่ี งทที่ �ำ ให้ เกิดโรคโดยการสร้างแรงบันดาลใจ ผ่านสื่อถึงประชาชน ซ่ึงส่งผลให้มวลชนตระหนักและร่วมกัน สนบั สนนุ บคุ คลในชมุ ชนสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพตนเอง เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ โรค ไดแ้ ก่ การปฏบิ ตั ติ วั เพอ่ื ไม่ ให้เกิดโรค การให้วคั ซนี สรา้ งภูมคิ มุ้ กนั การใส่ฟลอู อไรดใ์ นนา้ํ ประปาปอ้ งกันโรคฟนั ผุฯ 2) การป้องกันข้ันทุติยภูมิ (Secondary Prevention) มุ่งการหาวิธีป้องกันโรค และการ คดั กรองโรคกอ่ นทอ่ี าการปรากฏขนึ้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การลกุ ลามของกระบวนการเกดิ โรคอยา่ งเรว็ ทสี่ ดุ เชน่ การตรวจ Pap test เพื่อคัดกรองมะเร็งปากมดลูก รวมถึงการสอนสังเกตสัญญาณเริ่มต้นของอาการ ผิดปกตทิ ีเ่ กดิ ขึ้น เพ่อื คน้ หาผู้ปว่ ยในระยะเริม่ แรกให้ได้รับการรกั ษาเรว็ ท่สี ุด มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
41 3) การปอ้ งกนั ขน้ั ตตยิ ภมู ิ (Tertiary Prevention) มงุ่ ควบคมุ ความคบื หนา้ และผลกระทบเชงิ ลบของโรค อาการทเ่ี กดิ จากภาวะเรอื้ รงั มคี วามจ�ำ กดั การเคลอ่ื นไหวฯ เพอ่ื ลดความพกิ ารและความทุกข์ทรมาณ รวมถึงการปรับตัวของผู้ป่วยให้ยอมรับสภาพท่ีไม่มีทางรักษา เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนท่ีจะเกิดตามมา 2.4 ระบบการดูแลต่อเนอื่ งเช่อื มโยงการดูแลผูป้ ว่ ย 1) ระบบการวางแผนจ�ำ หนา่ ย (Discharge Planning) 2) ระบบการสนับสนุนการดแู ลตนเองของผู้ปว่ ยและครอบครวั 3. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ก�ำ หนดรปู แบบการใหบ้ รกิ ารพยาบาลในชมุ ชนทต่ี อบสนองปญั หาความต้องการของผู้ใช้บริการ และสอดคล้องกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ ในรูปแบบที่หลากหลาย เชน่ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี (Case Management) เป็นต้น 4. ผู้บริหารทางการพยาบาลในชุมชนทุกระดับ ติดตาม สนับสนุน ช่วยเหลือและให้คำ�แนะนำ�บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนให้มีการดำ�เนินการพัฒนา เพ่ือประกันคุณภาพการพยาบาลในชุมชนของหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพอยา่ งสม่ําเสมอ โดยให้การสนับสนุนในเรือ่ งต่อไปนี้ 4.1 กำ�หนดกิจกรรมการประเมินตนเองเพ่ือประเมินสถานการณ์ทางการพยาบาลในชุมชนครอบคลมุ การวเิ คราะหร์ ะบบงานบรกิ าร ความตอ้ งการ และความคาดหวงั ของผใู้ ชบ้ รกิ าร หรอื หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง 4.2 ติดตามเฝ้าระวังคุณภาพการพยาบาลในชุมชน ตามเกณฑ์ช้ีวัดคุณภาพการพยาบาลในชุมชน 4.3 วิเคราะห์ ทบทวนหาข้อบกพร่องของกระบวนการดูแล/ การให้บริการ โดยการติดตามผลการน�ำ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน/ มาตรฐานวิธีปฏบิ ัติไปใช้ 4.4 กำ�หนดกิจกรรม หรือโครงการปรับปรุงคุณภาพบริการพยาบาลในชุมชนและประเมินผลส�ำ เรจ็ ของกิจกรรมหรอื โครงการ 4.5 ก�ำ หนดระบบและรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชนใหก้ บั หนว่ ยบรกิ ารพยาบาลอยา่ งทว่ั ถงึ 5. วิเคราะห์ระบบบริการพยาบาลเพ่ือประเมินสถานการณ์ และติดตามเฝ้าระวังคุณภาพการพยาบาล และพฒั นาคุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนือ่ ง โดย 5.1 วิเคราะห์และทบทวนคุณภาพการพยาบาลในชุมชนของทุกหน่วยบริการพยาบาลในชมุ ชน 5.2 ติดตามและทบทวนข้อมูลผลลัพธ์ด้านคุณภาพการพยาบาลในชุมชน ตามเกณฑ์ช้ีวัดคณุ ภาพ โดยทบทวนอุบัติการณ์หรือความเสี่ยงตอ่ ผู้ใชบ้ ริการ ผู้ให้บรกิ าร และภาพพจนข์ องวิชาชพี มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
42 6. กำ�หนดวิธีการนำ�ผลการปรับปรุงและพัฒนาระบบกระบวนการปฏิบัติงานของหน่วยบริการ มาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพ 7. ผบู้ รหิ ารทางการพยาบาลในชมุ ชน ด�ำ เนนิ การและสนบั สนนุ หนว่ ยบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน ดงั น้ี 7.1 สนบั สนนุ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารพยาบาลในชมุ ชน ใชเ้ กณฑช์ ว้ี ดั คณุ ภาพการพยาบาลในชมุ ชน และดำ�เนินการเฝ้าระวงั คุณภาพการพยาบาลในชุมชน 7.2 สนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรทางการพยาบาลในชุมชนแต่ละหน่วยบริการสุขภาพ มคี วามรู้ ความสามารถ และให้บรกิ ารได้อยา่ งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ ำ�หนด ในเรือ่ งต่อไปน้ี 7.2.1 การใชม้ าตรฐานการพยาบาลในชุมชน 7.2.2 การใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการปฏิบัตกิ ารพยาบาลในชุมชน 7.2.3 การท�ำ งานรว่ มกนั เป็นทีมและร่วมกับทีมสหวชิ าชีพ 7.2.4 การพัฒนาความสามารถในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลในชุมชนเชงิ วชิ าชีพ 7.2.5 การพัฒนาทักษะและความชำ�นาญในการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงเพื่อการดูแล ผปู้ ่วยเฉพาะทางและการดูแลประชาชนในชมุ ชน ผลลพั ธท์ ค่ี าดหวัง 1. หนว่ ยงานในความรบั ผดิ ชอบขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน มกี ระบวนการหลกั ในการใหบ้ รกิ าร พยาบาลในชมุ ชน ทีส่ อดคลอ้ งกับลกั ษณะงานและความรับผิดชอบของหนว่ ยงาน 2. หน่วยงานในความรับผิดชอบขององค์กรพยาบาลในชุมชนมีรูปแบบมาตรฐาน ระบบและ แนวทางปฏิบัติ ที่เอื้อให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ กลมุ่ ต่าง ๆ ในชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
43 หมวดท่ ี 7 ผลลัพธก์ ารดำ�เนนิ การØมาตรฐานท ่ี 12 ผ ลลพั ธก์ ารดำ�เนินการขององคก์ รพยาบาล องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ก�ำ หนดขน้ั ตอนวธิ กี ารประเมนิ ผลงานบรกิ ารพยาบาลทกุ ดา้ น ผลลพั ธ์การดำ�เนินงานด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาองค์กร ท่ีแสดงให้เห็นถึงความสำ�เร็จหรือแนวโน้มความสำ�เร็จการด�ำ เนินงานขององคก์ รพยาบาลในชมุ ชน และการปรับปรงุ ขององคก์ รในภาพรวมแนวทางปฏบิ ัติ 1. องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ในปจั จบุ นั เปรยี บเทยี บกบั เปา้ หมาย แนวโนม้ ของผลการด�ำ เนนิ การและผลการด�ำ เนนิ การเทยี บเคยี งกบัองคก์ รพยาบาลในชมุ ชนอน่ื 2.องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดตัวช้ีวัดผลลัพธ์ด้านคุณภาพการบริการพยาบาลในชุมชนในปจั จบุ นั เทยี บเคยี งกบั เปา้ หมาย แนวโนม้ ของผลการด�ำ เนนิ การ และผลการด�ำ เนนิ การเปรยี บเทยี บกบั องคก์ รพยาบาลในชุมชนอน่ื โดยครอบคลมุ ผลลพั ธ์ดังตอ่ ไปนี้ 2.1 ความพงึ พอใจและไมพ่ ึงพอใจของผู้ใช้บริการและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี 2.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการกำ�หนดช่องทางให้ผู้ใช้บริการ/ประชาชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ต่อการบริการพยาบาลในชุมชน 2.3 ความโปรง่ ใสในการใหบ้ รกิ ารพยาบาลในชมุ ชน โดยการใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู การรกั ษาพยาบาลในชมุ ชน และใหป้ ระชาชนร่วมตดิ ตามตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน 2.4 คุณภาพการปฏบิ ัติการพยาบาลในชมุ ชนตามตัวช้ีวัดคุณภาพการพยาบาลในชมุ ชน 3. องคก์ รพยาบาลในชมุ ชน ก�ำ หนดตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธด์ า้ นประสทิ ธภิ าพของการปฏบิ ตั งิ านในปจั จบุ นัเปรียบเทียบกับเป้าหมาย แนวโน้มของผลการดำ�เนินงาน และผลการเทียบเคียงกับองค์กรอ่ืน ซึ่งครอบคลมุ ผลลพั ธด์ งั นี้ 3.1 การบริหารงบประมาณ 3.2 การประหยัดพลงั งาน 3.3 การลดระยะเวลารอคอยหรอื ลดขั้นตอนในการบริการ 3.4 การจัดทำ�ตน้ ทนุ ต่อหนว่ ย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
44 4. องค์กรพยาบาลในชุมชน กำ�หนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร ทั้งในปัจจุบัน เทียบเคียงกับเป้าหมาย แนวโน้มของผลการดำ�เนินการ และผลการดำ�เนินการเทียบเคียงกับ องคก์ รพยาบาลในชมุ ชนอน่ื ซง่ึ ครอบคลมุ ผลลพั ธด์ ังน้ี 4.1 การจดั การความรู้ 4.2 การจัดการทนุ ด้านมนษุ ย์ และการบรหิ ารงานบุคคล 4.3 การจัดการสารสนเทศ 4.4 การพฒั นากฎหมายและการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั และกฎหมายดา้ นการพยาบาลในชมุ ชน 4.5 การบรหิ ารความเสี่ยง 4.6 การบรหิ ารจดั การองคก์ ร 4.7 การสร้างนวตั กรรมทางการพยาบาลในชุมชนและการนำ�เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมมาใช้ 4.8 การด�ำ เนนิ งานอยา่ งมจี รยิ ธรรม การสรา้ งความเชอ่ื มน่ั แกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารงาน 4.9 การสนบั สนนุ ชมุ ชนในความรบั ผดิ ชอบขององคก์ รใหเ้ ข้มแขง็ ผลลพั ธ์ทค่ี าดหวงั องค์กรทางการพยาบาลในชุมชนมีตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลด้านคุณภาพการบริการพยาบาลใน ชุมชน ดา้ นประสิทธภิ าพของการปฏบิ ัติงานและด้านการพัฒนาองคก์ ร Øเกณฑ์ช้วี ัดคุณภาพการพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาล ตัวชว้ี ัดคณุ ภาพการพยาบาล 4 มิติ ได้แก่ มติ ทิ ี่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกจิ มิตทิ ่ี 2 ด้านคณุ ภาพการให้บริการพยาบาล มติ ิท่ี 3 ดา้ นประสิทธิภาพของการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล มติ ทิ ี่ 4 ดา้ นการพัฒนาองคก์ รพยาบาล มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
45ØØมิตทิ ่ ี 1 ด้านประสทิ ธผิ ลตามพันธกจิ × 1001. รอ้ ยละของแผนงาน/โครงการท่บี รรลตุ ามเปา้ หมาย ●●เกณฑ์ ≥ 80% ●●แหลง่ ข้อมลู /วิธกี ารคำ�นวณ จ�ำ นวนแผนงานในแผนยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรพยาบาลท่ผี า่ นเกณฑ์ จำ�นวนแผนงานในแผนยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรพยาบาลทงั้ หมดØØมิตทิ ่ี 2 ดา้ นคณุ ภาพการให้บริการพยาบาล × 1001. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ทมี่ าฝากครรภค์ รบตามเกณฑ์ ●●เกณฑ์ 100% ●●แหลง่ ขอ้ มลู /วิธกี ารค�ำ นวณ จำ�นวนหญงิ ตั้งครรภท์ ่ีฝากครรภค์ รบตามเกณฑ์ จำ�นวนหญงิ ต้งั ครรภ์ทีฝ่ ากครรภท์ ัง้ หมด2. รอ้ ยละของมารดาและทารกหลงั คลอดไมเ่ กิดภาวะแทรกซ้อนท่ีป้องกนั ได้ ●●เกณฑ์ ร้อยละ 90 ●●แหลง่ ข้อมลู /วิธกี ารคำ�นวณจ�ำ นวนมารดาและทารกหลังคลอดไมเ่ กิดภาวะแทรกซอ้ นทป่ี ้องกนั ได้ × 100 จำ�นวนมารดาและทารกหลงั คลอดทงั้ หมดมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
46 × 100 3. รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาการปกติ ●●เกณฑ์ รอ้ ยละ 100 ●●แหล่งข้อมูล/วิธกี ารค�ำ นวณ จำ�นวนเดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการปกตติ ามช่วงวยั จ�ำ นวนเด็กปฐมวัยทงั้ หมด4. รอ้ ยละของเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ กลมุ่ เสย่ี งทส่ี ามารถปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเสย่ี งได้ ●●เกณฑ์ รอ้ ยละ 80 ●●แหลง่ ขอ้ มลู /วธิ กี ารคำ�นวณ จ�ำ นวนเดก็ วยั เรียนและวยั รนุ่ กลมุ่ เสย่ี งท่ีสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้ × 100 จ�ำ นวนเดก็ วยั เรยี นและวยั รุน่ กลมุ่ เส่ยี งท้ังหมด5. ร ้อยละของประชากรวยั ท�ำ งานท่ีไดร้ ับการวินจิ ฉัยเป็นเบาหวาน ความดันโลหติ สูง รายใหม่ ●●เกณฑ์ ร้อยละ 4 ●●แหลง่ ข้อมูล/วิธกี ารคำ�นวณ จำ�นวนประชากรวัยท�ำ งานทไ่ี ดร้ ับการวนิ จิ ฉัยเปน็ เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู รายใหม่ × 100 จำ�นวนประชากรวยั ท�ำ งานทั้งหมดมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
6. ร้อยละของผสู้ งู อายุทมี่ ภี าวะพง่ึ พิงไม่มภี าวะแทรกซ้อน 47 ●●เกณฑ์ ร้อยละ 100 × 100 ●●แหลง่ ขอ้ มูล/วธิ กี ารคำ�นวณ จ�ำ นวนผู้สูงอายทุ ีม่ ภี าวะพ่งึ พิงไม่มภี าวะแทรกซ้อน จ�ำ นวนผูส้ ูงอายุทีม่ ีภาวะพง่ึ พงิ ทัง้ หมด7. รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยระยะสุดทา้ ยและครอบครวั ไดร้ บั การเตรยี มความพรอ้ ม เมอื่ เข้าสู่ระยะสุดทา้ ยของชีวิต ●●เกณฑ์ ร้อยละ 80 ●●แหลง่ ข้อมลู /วิธีการคำ�นวณ จำ�นวนผ้ปู ่วยระยะสดุ ท้ายและครอบครัวไดร้ ับการเตรยี มความพรอ้ มเม่ือเขา้ สูร่ ะยะสดุ ท้ายของชวี ติ × 100 จ�ำ นวนผู้ปว่ ยระยะสุดท้ายของชีวติ ทงั้ หมด8. รอ้ ยละของผู้ปว่ ยท่ไี ดร้ บั การรักษา กลบั มารักษาซา้ํ ภายใน 24 ชม. × 100 ●●เกณฑ์ รอ้ ยละ 80 ●●แหลง่ ข้อมลู /วิธีการค�ำ นวณ จำ�นวนผู้ป่วยทีไ่ ด้รบั การรักษา กลับมารักษาซาํ้ ภายใน 24 ชม. จำ�นวนผู้ปว่ ยท่ีได้รับการรกั ษาทั้งหมดมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
489. รอ้ ยละของผูป้ ว่ ย/ครอบครัวได้รบั การเยี่ยมบา้ นปฏิบตั ติ ัวดแู ลตนเองถกู ต้อง ●●เกณฑ์ รอ้ ยละ 80 ●●แหล่งขอ้ มลู /วธิ ีการคำ�นวณ จำ�นวนผ้ปู ว่ ย/ครอบครัวได้รับการเย่ียมบา้ นปฏบิ ตั ติ ัวดแู ลตนเองถูกต้อง × 100 จำ�นวนผปู้ ว่ ยท่ีได้รับการเยี่ยมบ้านท้ังหมด10. รอ้ ยละของขอ้ รอ้ งเรียนเกี่ยวกับการละเมดิ สิทธิของผู้ใชบ้ รกิ าร ●●เกณฑ์ 0 ●●แหล่งข้อมลู /วธิ ีการค�ำ นวณ ตรวจสอบจากขอ้ ร้องเรยี นเกี่ยวกบั การละเมิดสทิ ธขิ องผู้ใชบ้ รกิ าร11. ร อ้ ยละของข้อรอ้ งเรียนเก่ียวกับพฤตกิ รรมบริการของบคุ ลากร ทางการพยาบาล ●●เกณฑ์ 0 ●●แหลง่ ขอ้ มูล/วิธีการคำ�นวณ ตรวจสอบจากขอ้ ร้องเรียนเกยี่ วกับพฤติกรรมบริการของบุคลากรทางการพยาบาล12. รอ้ ยละของการแก้ไขและ/หรือตอบกลบั ขอ้ ร้องเรียนของผู้ใช้บรกิ าร × 100 ●●เกณฑ์ 100% ●●แหลง่ ข้อมูล/วิธกี ารค�ำ นวณ จ�ำ นวนขอ้ รอ้ งเรยี นที่ไดร้ บั การแก้ไข/ตอบกลบั จ�ำ นวนขอ้ ร้องเรยี นท้ังหมดในช่วงเวลาเดียวกัน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250