Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครั้ง 1_2564

ครั้ง 1_2564

Published by grad.ptwit, 2021-01-26 17:06:22

Description: 000 รวมเล่มวาระการประชุม ครัง 1_2564 รวมเล่มวาระ

Search

Read the Text Version

วาระการประชุม คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา ครั้งท่ี 1 / 256๔ วนั องั คารท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. 256๔ เวลา 13.30 น. หอ้ งประชมุ ประดู่บาน 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ สถาบันเทคโนโลยปี ทมุ วัน คณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษา

1 ระเบยี บวาระที่ 1 ระเบยี บวาระการประชุมคณะกรรมการบณั ฑิตศกึ ษา ครงั้ ที่ 1 /256๔ วนั องั คารท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. 256๔ เวลา 13.30 น. ณ หอ้ งประชุมประด่บู าน 1 อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ***************************************** ประธานแจง้ ทปี่ ระชุมทราบ ระเบยี บวาระท่ี 2 พจิ ารณารบั รองรายงานการประชมุ วาระท่ี 2.1 พจิ ารณารบั รองรายงานการประชุมคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา ครัง้ ท่ี 1๒/2563 ระเบียบวาระที่ 3 เรอื่ งเสนอเพ่ือทราบ - ไมม่ ี ระเบียบวาระที่ 4 เร่อื งสืบเน่ือง วาระท่ี ๔.1 พจิ ารณาการส่งเลม่ วิทยานิพนธแ์ ละหลกั ฐานงานวิจยั ของ นางสาวสิรญิ า เครอื ธิ เพื่อพจิ ารณาขอสาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญ เอก ประจาภาคเรียนที่ ๒/256๒ (เพมิ่ เติมครง้ั ท่ี 2) จานวน 1 คน วาระที่ ๔.๒ แจ้งมตสิ ภาวชิ าการ ครงั้ ที่ 10 วาระที่ 5.10 พิจารณาเห็นชอบการขอแต่งต้ังผูท้ รงคณุ วฒุ ิภายนอกเพอ่ื ทาหน้าทีเ่ ป็น อาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธร์ ่วมและอาจารยผ์ สู้ อบวิทยานพิ นธ์ ในระดับปริญญาโท จานวน 2 คน ระเบียบวาระท่ี 5 เรือ่ งเสนอเพื่อพจิ ารณา วาระที่ 5.1 พจิ ารณาเหน็ ชอบการขอแต่งต้ัง ผศ.ดร.ฟา้ ใส ววิ ัฒน์วงศว์ นา เป็นอาจารย์ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธห์ ลัก แกน่ ักศึกษาปรญิ ญาเอก คณะ คณะควิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตขนั้ สงู จานวน 1 คน วาระที่ 5.2 พิจารณาเหน็ ชอบการขอแต่งต้ัง ผศ.ดร.เสกสรร ไชยจิตต์ เปน็ อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธห์ ลัก แก่นกั ศึกษาปริญญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขัน้ สูง จานวน ๒ คน วาระท่ี 5.3 พจิ ารณาเห็นชอบการขอแตง่ ต้ัง ผศ.ดร.ศักดศ์ิ รี รักไทย เปน็ อาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธห์ ลัก แกน่ กั ศกึ ษาปริญญาโทและ ปรญิ ญาเอก คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยสี ง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื การเกษตร จานวน ๓ คน วาระท่ี 5.4 พิจารณาเหน็ ชอบการขอแต่งตั้ง ผศ.ดร.ณฐั กร อนิ ทรวิชะ เป็นอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวทิ ยานิพนธห์ ลัก แกน่ กั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ิ่งแวดล้อมเพอื่ การเกษตร จานวน ๔ คน วาระที่ 5.5 พจิ ารณาเห็นชอบการขอแต่งต้ัง รศ.ดร.สนั ติ หวังนิพพานโต เป็นอาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธห์ ลัก แก่นกั ศกึ ษาปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ จานวน ๑ คน วาระท่ี 5.6 พิจารณาเห็นชอบการขอแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบตั ิระดับปริญญาเอก ประจาภาคเรยี น ที่ 2/256๓ (รอบที่ ๒) สาหรบั นักศกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์ฯ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ่งิ แวดลอ้ มเพ่ือการเกษตร จานวน ๖ คน วาระที่ 5.7 พจิ ารณาการขออนุมตั ิยกเลิกอาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์รว่ ม ให้แก่ นายยุติ ฉัตรวรานนท์ นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า วาระที่ 5.8 พจิ ารณาการขอขยายเวลาการศกึ ษาให้แก่นักศึกษาปรญิ ญาโท คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ า วศิ วกรรมไฟฟา้ จานวน 1 คน (ครั้งที่ ๑) วาระที่ 5.9 พิจารณาการขอขยายเวลาการศึกษาใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาปริญญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิชา เทคโนโลยกี ารผลิตขัน้ สงู จานวน 1 คน (คร้งั ท่ี ๑) วาระที่ 5.๑๐ พิจารณาเห็นชอบการขอเปลยี่ นอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์หลัก แก่ วา่ ที่ ร.ต.ปิยะพงษ์ ธนสมบรู ณ์ นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า วาระที่ 5.๑๑ พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลสอบวทิ ยานิพนธ์ข้นั สุดท้าย แก่นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง ประจา ภาคเรยี นที่ ๒/2563 จานวน ๒ คน ระเบียบวาระที่ 6 เรือ่ ง อื่นๆ (ถ้าม)ี

เร่ิมการประชุม 13.30 น. 2 ระเบยี บวาระท่ี 1 ประธานแจ้งท่ีประชุมทราบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ระเบยี บวาระที่ 2 รบั รองรายงานการประชุมคณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษา 3 วาระท่ี 2.1 พจิ ารณารบั รองรายงานการประชมุ คณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษา ครั้งที่ 1๒/2563 . (ดังเอกสารแนบ) . ความเห็นคณะกรรมการ . . . . . . . . . . . . . . .\\\\\\มตทิ ปี่ ระชมุ . . . . . . . . . กรรมการบัณฑติ ศึกษา

14 รายงานการประชมุ คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา ครง้ั ที่ 1๒ / ๒๕๖๓ วนั อังคารที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ห้องประชมุ ประดบู่ าน ๑ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ช้ัน ๓ ***************************************************************************************************** กรรมการผมู้ าประชมุ ประธานในที่ประชมุ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๑.รองศาสตราจารย์ ดร.ประยรู สรุ ินทร์ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ (รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดี) กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการโดยต าแหนง่ ๒.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นภดล วิวชั รโกเศศ กรรมการโดยตาแหนง่ 3.ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั พงษ์ คงประเสริฐ กรรมการโดยตาแหน่ง ๔. ดร.วจิ ารย์ สิมาฉายา กรรมการโดยตาแหน่ง ๕.รองศาสตราจารย์ ดร.ณาวดี ศรีศริ วิ ัฒน์ กรรมการโดยตาแหนง่ กรรมการโดยตาแหน่ง (รักษาราชการแทนคณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์) เลขานกุ าร ๖.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สเุ นตร มูลทา ผชู้ ่วยเลขานกุ าร ผชู้ ่วยเลขานุการ (รกั ษาราชการคณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) ๗.รองศาสตราจารย์ ดร.จกั รพงษ์ จารมุ ิศร์ (ประธานหลกั สูตรสาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟ้า ๘.ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ญา คมุ้ ทรัพย์ (ประธานหลักสูตรสาขาวชิ าปิโตรเคมแี ละการจดั การสง่ิ แวดล้อม) ๙.ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฟ้าใส ววิ ฒั น์วงศว์ นา (ประธานหลกั สตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ ข้ันสูง) ๑๐.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศักด์ิศรี รกั ไทย (ประธานหลักสูตรสาขาวชิ าเทคโนโลยีสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการเกษตร) ๑๑.รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ ศรีศิริวฒั น์ (อาจารย์สังกัดคณะวศิ วกรรมศาสตร์) ๑๒.นางสาวสุทธวรรณ บุญราศรี (เจ้าหน้าทส่ี ังกดั คณะวิศวกรรมศาสตร)์ ๑๓.นางสาวพีรยิ า จารุเศรษฐการ (เจา้ หนา้ ที่สังกดั คณะวิศวกรรมศาสตร์) /เรมิ่ ประชมุ ……

2 5 เริ่มประชุม ๑๓.๓๐ น. ระเบียบวาระที่ ๑ ประธานแจง้ ทป่ี ระชุมทราบ วาระท่ี ๑.๑ อธกิ ารบดีกลา่ วขอบคณุ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ทงั้ 3 ท่าน ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ววิ ัชรโกเศศ ผ้ชู ่วย ศาสตราจารย์ ดร.ณฐั พงษ์ คงประเสริฐ ท่ใี ห้ความอนเุ คราะห์ตลอดปี 2563 ทผี่ า่ นมา กับสถาบันเทคโนโลยปี ทมุ วนั วาระท่ี ๑.๒ อธกิ ารบดีแจ้ง คู่มอื การศกึ ษาในปี 2563 โดยด าเนินการเสรจ็ เรียบรอ้ ย และเนอ่ื งจากนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา มจี านวนน้อยจงึ ได้ให้สามารถ ด าเนินการ ทง้ั รูปแบบไฟล์ดจิ ิตอล และรูปแบบเล่มคมู่ ือ ระเบียบวาระท่ี ๒ รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา วาระที่ ๒.๑ พจิ ารณารับรองรายงานการประชมุ คณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษา คร้ังที่ 1๑/๒๕๖๓ มตทิ ป่ี ระชมุ รับรองรายงานการประชุม คร้ังที่ 1๑/๒๕๖๓ ระเบยี บวาระที่ 3 เรือ่ งเสนอเพ่ือทราบ -ไม่มี- ระเบยี บวาระที่ ๔ เรือ่ งสืบเนื่อง วาระที่ ๔.1 พจิ ารณามตสิ ภาวิชาการ คร้งั ท่ี 9/2563วาระท่ี 5.1 พจิ ารณารายชอื่ ผู้สาเร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก ประจาภาคเรยี นท่ี 1/2563 เพ่มิ เติมคร้งั ที่ 2 จานวน 1 คน (นายกาไร จันทรพ์ รหม) ตามเอกสาร สวช.101/2563 ลงวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2563 เร่ืองแจ้งมติที่ประชุมสภาวิชาการ คร้ังที่ 9/2563 วาระที่ 5.1 พิจารณารายช่ือผู้สาเร็จการศกึ ษาระดับ ปริญญาเอก ประจาภาคเรียนที่ 1/2563 (เพิ่มเติม คร้ังที่ 2) จานวน 1 คน นนั้ ความเหน็ คณะกรรมการสภาวชิ าการ ดังน้ี 1. ควรตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่เกีย่ วข้อง และเลม่ วทิ ยานพิ นธ์ใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบการเขยี น และรปู แบบการจดั วางข้อความ รวมถงึ ความถูกต้องของไวยากรณ์ 2. ขอใหค้ ณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาตรวจสอบความซา้ ซ้อนของผลงานทางวิชาการของนกั ศกึ ษาท้ัง 3 เรือ่ ง เนื่องจากงานวจิ ัย 2 เรื่อง ท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ในการประชุมวชิ าการน้นั เผยแพร่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันและงานวิจัยอีก 1 เรือ่ ง ทเี่ ผยแพรใ่ นวารสาร Journal of Control Science and Engineering มีชว่ งเวลาห่างกนั 3 ปี เป็นงานท่ี ทาตอ่ เน่อื งกนั หรือเป็นงานทีเกิดจากการรวมผลงานวจิ ยั 2 เรอ่ื ง ที่ตีพมิ พใ์ นการประชุมวิชาการหรอื ไม่ มติที่ประชุมสภาวชิ าการ มอบคณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาพิจารณาดาเนินการตามความเห็นของคณะกรรมการ และ เสนอต่อสภาวชิ าการครงั้ ถดั ไป จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณา ความเห็นคณะกรรมการบัณฑิตครัง้ ที่ 12/2563 ประธานหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าระดับบัณฑิตศึกษา ได้ช้ีแจงจากข้อคิดเห็นของกรรมการสภาวิชาการว่าผลงาน วิชาการของ นายกาไร จนั ทร์พรหม นักศึกษาปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟ้า ไมซ่ ้าซ้อน ดงั น้ี 1. ผลงานทางวชิ าการ ทง้ั 3 เรื่องมเี น้ือหาไมซ่ ้าซ้อน 2. ผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในการประชุมวิชาการ ซ่ึงเผยแพร่ในช่วงเวลาใกลัเคียงท้ัง 2 เรื่องนั้น มีเน้ือหา ไม่ซ้าซ้อน เน่ืองจากบทความทั้ง 2 เร่ือง ใช้หลักการควบคุมอุณหภูมิ และความช้ืนสัมพัทธ์คนละวิธี (ดังเอกสาร ตารางเปรียบเทยี บผลงานวจิ ัย) /๓.ผลงาน..

3 6๓. ผลงานท่ีตีพิมพ์ในวารสารชื่อ Journal of Control Science and Engineering เป็นผลงานท่ีปรับปรุง จากการประชุมวิชาการ โดยการนาวิธี Ant colony optimization และ วิธี Symbiotic organism search มา กาหนดตัวแปรของการควบคุมแบบ PID ให้มีสมรรถที่ดีขึ้น (ดังเอกสารตารางเปรียบเทียบผลงานวิจัยแนบท้าย)ท้ังนี้ ขอใหแ้ จ้งนกั ศึกษาแนบเอกสารแสดงการเปรียบเทียบผลงานวจิ ยั มติทป่ี ระชุม 1. เห็นชอบโดยหลักการให้เสนอรายช่ือนายกาไร จันทร์พรหม นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาเร็จการศึกษาประจาภาคเรยี นท่ี 1/2563 ตอ่ สภาวชิ าการ เงื่อนไขจบหลกั สตู ร ผลการเรยี นท่ีได้ ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ ๑. นายกาไร จันทร์พรม รหสั 5801021901 ศกึ ษารายวชิ าครบถว้ นตามเงอื่ นไข 52 หน่วย ผลการเรยี นคะแนนเฉลีย่ สะสม 3.62 ผลเทยี บความรู้ภาษาต่างประเทศ S (เรียนผา่ นตามเง่อื นไขของประกาศสถาบันฯ) ตีพิมพ์ผลงานวทิ ยานพิ นธ์ ตามเงอ่ื นไข ผ ล ง า น ไ ด้ รั บ ก า ร ตี พิ ม พ์ ใน ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ จานวน 1 เรื่อง และผลงานได้เสนอต่อที่ประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่มีรายงานการประชุม (proceedings) จานวน 2 เร่ือง สอบผ่านวิทยานพิ นธข์ ้นั สดุ ทา้ ย ผลสอบเปน็ G (good) ส่งวทิ ยานพิ นธฉ์ บับสมบูรณ์แล้ว วันที่ 6 ตลุ าคม 2563 จานวน 5 เล่ม เลขท่ี PIT- 2020-D-ENG-EEE- 012 2. แจ้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ประสานกับประธานหลักสูตรให้แนบเอกสารแสดงตารางเปรียบเทียบ ผลงานวิจยั ทัง้ 3 เรื่อง ก่อนเสนอรายช่ือผู้สาเรจ็ การศกึ ษาตอ่ สภาวชิ าการ 3. มอบเลขานุการดาเนินการเสนอรายช่ือ นายกาไร จันทร์พรหม นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาเรจ็ การศึกษาประจาภาคเรยี นที่ 1/2563 ตอ่ สภาวิชาการเพอื่ เสนอตอ่ สภาสถาบันฯอนมุ ตั ิปรญิ ญา ระเบยี บวาระที่ 5 เรอื่ งเสนอเพ่ือพิจารณ วาระที่ 5.1 พิจารณาเห็นชอบการขอแต่งต้ังอาจารย์ ดร.นฐิตา หวังโซะ๊ เป็นอาจารย์ประจาระดับบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยกี ารผลติ ขั้นสูง จานวน 1 ท่าน ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ ประวัตดิ ้านการศกึ ษา ระดบั ปีท่สี าเร็จ สถาบนั การศึกษา วิชาเอก/สาขา วฒุ ิ ปรญิ ญาเอก พศ. 2560 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี คณิตศาสตรป์ ระยกุ ต์ ปร.ด. ปรญิ ญาโท พศ. 2555 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี คณิตศาสตร์ประยุกต์ วท.ม. ปริญญาตรี พศ. 2553 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี คณิตศาสตร์ วท.บ. ความเชีย่ วชาญเฉพาะ - การสรา้ งแบบจาลองคณติ ศาสตร์ – การหาคา่ พารามเิ ตอรท์ ี่เหมาะสมสาหรบั การพยากรณ์ ขอ้ มลู ในอนาคต มีผลงานวจิ ัยท่ีไมใ่ ชส่ ว่ นหนึ่งของการรบั ปริญญา 4 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง (ดงั เอกสารทแี่ นบมาพร้อมน)้ี /เพอื่ ทาหนา้ ท…ี่

4 7 เพือ่ ทาหนา้ ทเ่ี ป็นอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ์ร่วมระดับปริญญาเอก ระเบยี บท่ีเกี่ยวข้อง : 1. ตามข้อบงั คับหมวด 8 ข้อ 35 ขอ้ 35.1 อาจารย์ประจา หมายถึง บคุ คลที่ดารงอาจารย์ ผ้ชู ว่ ย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ในสถาบัน ที่มีหน้าทีร่ ับผิดชอบตามพนั ธกิจของสถาบันและปฏบิ ัติหน้าท่เี ต็มเวลา 2. ตามขอ้ บงั คับฯ หมวด 8 ข้อ 39 อาจารย์ระดบั ปริญญาเอก ขอ้ 39.3 อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื (1) อาจารยท์ ่ปี รึกษาวิทยานพิ นธ์หลกั ต้องเป็นอาจารยป์ ระจาหลักสูตรมคี ณุ วฒุ ปิ ริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรอื เทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการทไี่ ม่ใช่ส่วน หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการ พิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเปน็ ผลงานวิจยั (2)อาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม (ถา้ ม)ี ตอ้ งมีคณุ วุฒแิ ละคณุ สมบัติ ดงั น้ี อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับ อาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั ในการนี้เลขานุการคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา จึงขอเสนอท่ีประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเห็นชอบการ ขอแตง่ ต้ัง ดร.นฐติ า หวังโซ๊ะ เพอ่ื ทาหน้าทเ่ี ป็นอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ร่วมประจาหลักสตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยี การผลิตขัน้ สงู ในระดับปริญญาเอก โดยมผี ลงานวิชาการตามหลักเกณฑฯ์ จานวน 4 รายการ จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดพจิ ารณาเห็นชอบ มตทิ ีป่ ระชมุ 1. เหน็ ชอบแต่งตง้ั อาจารย์ ดร.นฐติ า หวงั โซ๊ะ เป็นอาจารย์ประจาระดับบัณฑติ ทาหน้าที่ เปน็ อาจารย์ทปี่ รึกษา วทิ ยานพิ นธร์ ่วม ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรเทคโนโลยีการผลิตข้นั สูง ระดับปรญิ ญาเอก 2. มอบเลขานุการเสนออธิกาบดีลงนามคาสั่งแต่งตงั้ .. วาระที่ 5.2 พจิ ารณาเหน็ ชอบการขอแต่งตง้ั ดร.นฐิตา หวังโซะ๊ เปน็ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ์รว่ มแก่ นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ ขน้ั สงู จานวน 1 คน ดงั น้ี คารอ้ งเสนอพิจารณา ตามเอกสารคาร้องนกั ศึกษาได้ขอเสนอแตง่ ตั้งที่ปรกึ ษารว่ ม (ดงั เอกสารแนบท้าย 1 คน) ดังนี้ ระเบียบทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตามข้อบงั คบั สถาบันฯ ว่าด้วยการจัดการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2562 หมวด 7 ขอ้ 28 การทาและการสอบวทิ ยานพิ นธ์ มีหลักเกณฑ์และวิธกี ารปฏิบตั ิดังน้ี ข้อ 28.1. ให้คณบดีแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) โดยความ เหน็ ชอบจากคณะกรรมการบัณฑิต เพื่อทาหน้าท่ีใหค้ าปรึกษาและคาแนะนาการเขียนวทิ ยานิพนธ์ ในการนฝ้ี ่ายเลขานุการจงึ ขอเสนอท่ีประชมุ เพื่อพิจารณาเห็นชอบโดยเป็นไปตามข้อระเบียบข้อบังคับฯ มติทป่ี ระชมุ ๑.เห็นชอบใหแ้ ตง่ ต้งั อาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลักและอาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม ดงั น้ี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ ขน้ั สูง 1. นายอภศิ ักด์ิ พรหมฝาย รหสั 6101023906 นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก เสนอ ดร.นฐิตา หวงั โซะ๊ เป็นอาจารย์ท่ีปรกึ ษารว่ ม ๒.มอบเลขานุการเสนอคณบดีลงนามคาส่ังแตง่ ตั้ง /วาระท่ี 5.3…

58 วาระท่ี 5.3 พจิ ารณาเหน็ ชอบการขอแต่งตง้ั ผศ.ดร.ณัฐญา คุม้ ทรัพย์ เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลกั แก่นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิชาปิโตรเคมแี ละการจัดการส่ิงแวดล้อม จานวน 1 คน ดังตอ่ ไปนี้ คารอ้ งเสนอพจิ ารณา ตามเอกสารคาร้องนักศึกษาได้ขอเสนอแตง่ ตั้งที่ปรึกษาหลัก (ดังเอกสารแนบทา้ ย 1 คน) ระเบียบท่เี กี่ยวข้อง ตามข้อบังคบั สถาบันฯ ว่าด้วยการจัดการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2562 หมวด 7 ข้อ 28 การทาและการสอบวทิ ยานิพนธ์ มีหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารปฏิบัติดงั นี้ ข้อ 28.1. ให้คณบดีแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) โดยความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบณั ฑิต เพ่อื ทาหนา้ ที่ใหค้ าปรึกษาและคาแนะนาการเขียนวทิ ยานิพนธ์ หมวด 8 ข้อ 39 อาจารย์ระดบั ดุษฎีบณั ฑิตตอ้ งมีคุณวฒุ คิ ุณสมบัตดิ งั นี้ ข้อ 39.3 อาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ์หลักและการคน้ ควา้ อสิ ระ 1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอินสะ ต้องเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทยี บเท่า หรอื ข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเทา่ ที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานวชิ าการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึง ของการศึกษา และผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล ดารงตาแหนง่ ทางวิชาการ อยา่ งนอ้ ย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั อยา่ งน้อย 1 รายการ ตอ้ งเปน็ ผลงานวิจยั ข้อ 40 ภาระอาจารย์ท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ์และการคน้ คว้าอิสระ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี ขอ้ 40.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ใหเ้ ป็นอาจารยท์ ปี่ รึกษาหลักของนักศกึ ษาปรญิ ญาโทและ ปริญญาเอก ดังน้ี (1) อาจารยป์ ระจาหลักสตู รมวี ฒุ ปิ รญิ ญาเอก ดร. ใหเ้ ป็นทีป่ รกึ ษาวิทยานิพนธ์ ไม่เกิน 5 คน (2) อาจารยป์ ระจาหลักสตู รมีวุฒิและตาแหน่งผศ.ดร.ขนึ้ ไป ให้เป็นท่ีปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ ไมเ่ กนิ 10 คน ในการน้ีฝา่ ยเลขานกุ ารจงึ ขอเสนอทป่ี ระชมุ เพื่อพิจารณาเหน็ ชอบโดยเปน็ ไปตามข้อระเบียบข้อบงั คับฯ มติทป่ี ระชมุ .๑.เหน็ ชอบให้แตง่ ต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์หลักและอาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ดังน้ี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิชาปิโตรเคมแี ละการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 1. นายวชั รพล นนั ทอปุ การ รหสั 6201022903 นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก เสนอ ผศ.ดร.ณัฐญา ค้มุ ทรัพย์ เปน็ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาหลัก สัดส่วนที่ 1 : 1 ๒.มอบเลขานกุ ารเสนอคณบดลี งนามคาสง่ั แตง่ ต้ัง วาระท่ี 5.4 พจิ ารณาอนุมัตทิ ุนสนบั สนุนการเผยแพร่ผลงานนักศึกษา แกน่ ักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ ข้นั สูง และ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา้ จานวน ๒ คน เรือ่ งเสนอพิจารณา ตามคารอ้ งนกั ศึกษา ไดเ้ สนอคารอ้ งขอทนุ สนับสนนุ การเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก จานวน ๒ คน ตามระเบยี บสถาบันฯว่าดว้ ยการใหท้ นุ สนบั สนุน ข้อ 5, ขอ้ 6 ทั้งน้ีตามระเบียบสถาบันฯ ว่าด้วยการให้ทุนสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ นักศึกษาระดับ บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.2560 นักศึกษาได้แนบเอกสารประกอบการพิจารณาตามเง่อื นไขเรียบร้อยแลว้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุมัติทุนสนับสนุน นายดุษฎี บุญธรรม นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี การผลิตขั้นสูง และสาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ มติทป่ี ระชุม 1. อนุมัตใิ หท้ นุ สนบั สนุนแก่นักศึกษาระดบั ปริญญาเอก จานวน ๒ คน รายละเอียด ดงั นี้ /ทุนสนบั …

69 ทุนสนับสนนุ การตีพิมพ์ผลงานวชิ าการ ระดบั นานาชาติ ตามระเบยี บขอ้ 6.2 รหัส /วนั อนุมตั หิ วั ขอ้ อาจารย์ รายการขอทุน จานวนเงนิ ขอ ใบเสร็จรับเงนิ / เอกสารแทนใบเสร็จ ทีป่ รึกษา สนับสนนุ ผลงาน อนมุ ตั ิ หลักฐานการจา่ ยเงนิ 1. นายดษุ ฎี บญุ ธรรม รศ.ดร.ประยูร - ค่าตีพมิ พ์ผลงาน 10,000.00 บาท INVOICE Number รหัส 5801021902 สรุ ินทร์ หมายเลข 932921 1536.07 USD 932921 อนมุ ัติหวั ขอ้ เคา้ โครง ในวารสาร : Symmetry ที่อยปู่ ลายทาง เม่ือ 29 พ.ย. 2559 ผลงานชอ่ื : “The Application of a MDPI Hybrid Model Using St.Alban-Anlage 66 Mathematical Optimization and Intelligent Algorithms 4052 Basel for Improving Talc Pellet Switzerland Manufacturing Process” เมื่อ วนั ท่ี 24 กันยายน 2563 อตั ราแลกเปล่ียนเงินไทย 1 THB = 31.392 บาท - รวมเป็นเงนิ 10,000.00 บาท 2. วา่ ทรี่ ้อยตรีภชุ งค์ รศ.ดร.เสถยี ร - ค่าตพี มิ พผ์ ลงาน 10,000.00 บาท หลักฐานการจ่ายเงิน จันทรจ์ ริ ะ ธญั ญศรรี ัตน์ หมายเลข 13491 INVOICE Number รหสั 5801021906 1350.00 USD 5462871ทีอ่ ยปู่ ลายทาง ในวารสาร : Hindawi Journal Hindawi Limited อนมุ ตั หิ ัวขอ้ เคา้ โครง of Engineering Hinadawi Ltd. Adam ผลงานช่ือ : House Third Floor เม่อื 25 เม.ย. 2562 “Intelligent Control Using 1Fitzroy Square Metaheuristic Optimization London W1T 5HF UK for Buck-Boost Converter” เมอื่ วันท่ี 29 กรกฎาคม 2563 - รวมเปน็ เงิน 10,000.00 บาท 2. มอบเลขานุการจดั ทาประกาศฯแจง้ นักศกึ ษา 3. มอบเลขานุการแจ้งสาขาวิชาฯและส่วนงานท่เี ก่ยี วขอ้ งทราบเพอ่ื ดาเนนิ การต่อไป. วาระที่ 5.5 พิจารณาอนุมัติผลสอบวิทยานิพนธ์ข้นั สุดทา้ ย แก่นกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า จานวน 1 คน ประจาภาคเรียนที่ 1/2563 ตามท่ีอาจารย์บัณฑิตหลักสูตรวิศวกรรมศาสตราดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้รายงานผล การสอบวิทยานิพนธข์ ้ันสุดท้าย ซึ่งตามข้อบงั คับฯ หมวด 7 ขอ้ 33 ให้อาจารยท์ ่ีปรึกษาส่งผลการสอบและ รายงาน ผลสอบวิทยานิพนธ์ข้ันสุดท้าย ต่อคณะกรรมการบัณฑิตเพ่ือพิจารณาอนุมัติผลกาสอบวิทยานิพนธ์ จึงจะถือว่าการ สอบเสรจ็ สมบูรณ์ /ในการนี้…

7 10ในการน้ีฝ่ายเลขานุการจึงขอเสนอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณาอนุมัติผล การสอบวิทยานิพนธ์ สุดทา้ ยและเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์แก่นักศึกษาระดบั ปริญญาเอก ประจาภาคการศึกษาที่ 1/2563 จานวน 1 คน (พร้อมเอกสารแนบท้าย) จึงเรีย น ม าเพ่ื อโป รด พิ จ ารณ าอ นุ มั ติ ผล ส อ บ วิท ย านิ พ น ธ์ขั้ น สุ ด ท้ าย แ ก่ นั ก ศึ ก ษ าป ริญ ญ าเอ ก จานวน 1 คน ดงั รายชอ่ื แนบท้าย มติที่ประชุม 1. อนมุ ตั ผิ ลสอบวทิ ยานพิ นธข์ ้นั สุดท้ายของนักศกึ ษาระดับปริญญาเอก จานวน ๑ คน ดังนี้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ า ผลสอบวทิ ยานพิ นธ์ขนั้ สดุ ทา้ ย ระดบั ปริญญาเอก วศิ วกรรมไฟฟา้ O (Outstanding) ภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 รหัส ช่ือ-สกุล 5801021902 นายเกษตร เมืองทอง ๒. มอบฝา่ ยทะเบียนนักศึกษาประมวลผลและรายงานผล วาระที่ 5.6 พิจารณาเห็นชอบแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธข์ ัน้ สุดท้าย แก่นกั ศึกษาปรญิ ญาโท คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวชิ าเทคโนโลยีส่ิงแวดล้อมเพ่ือการเกษตร และระดบั ปริญญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ ภาคเรยี นที่ 2/2563 (ครงั้ ท่ี 1) จานวน 2 คน ตามคาร้องนักศึกษา ได้ยื่นขอสอบวิทยานิพนธ์ขั้นสุดท้าย จานวน 2 คน โดยประธานหลักสูตรได้เสนอรายชื่อ คณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ ดงั ต่อไปนี้ ซ่ึงตามข้อบังคับฯว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 หมวด 7 ข้อ 29.4 การสอบ วิทยานิพนธ์ข้ันสุดท้าย (1) ระดับมหาบัณฑิต ให้คณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาแต่งต้ัง กรรมการสอบ ประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ไม่น้อยกว่า 3 คน (๒) ระดับดุษฎี บัณฑิตให้คณบดี โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาแต่งต้ังกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก ประกอบกับสถาบนั ฯได้มปี ระกาศฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การขอสอบวทิ ยานพิ นธ์ ลงวนั ที่ 19 พฤษภาคม 2559 ในการน้ี ฝ่ายเลขานุ การได้ขอเสน อท่ี ป ระชุม คณ ะกรรมการบั ณ ฑิ ตศึกษ า พิ จารณ าเห็ น ช อบ การเสนอช่อื แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ขั้นสดุ ทา้ ย สาหรบั นักศึกษาปริญญาเอก จานวน 2 คน มตทิ ปี่ ระชมุ 1.เห็นชอบในการขอแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธข์ ัน้ สดุ ทา้ ยดงั นี้ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับปรญิ ญาโท สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ิ่งแวดลอ้ มเพ่อื การเกษตร 1. นางสาวสัตตบงกช ยอดแก้ว รหสั 6101011701 ดร.วิจารย์ สิมาฉายา อาจารย์ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก ประธานกรรมการสอบผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อาจารย์ ดร.อติรัฐ มากสุวรรณ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร กรรมการสอบ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกร อินทรวชิ ะ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร กรรมการและเลขานกุ าร /คณะวศิ ว…

8 11 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า 2. นายคณติ พนั ธ์ บญุ สมเช้ือ รหัส 5801021903 รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ มงั่ คงั่ อาจารย์ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก ประธานกรรมการสอบผู้ทรงคณุ วฒุ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.สนั ติ หวงั นิพพานโต อาจารย์ประจาหลกั สตู ร กรรมการสอบ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสทิ ธิ์ นางทนิ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร กรรมการสอบ อาจารย์ ดร.แสนศักด์ิ ดีอ่อน อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร กรรมการสอบ รองศาสตราจารย์ ดร.เสถียร ธญั ญศรีรัตน์ อาจารย์ประจาหลักสูตร ๒.เสนอคณบดลี งนามคาสงั่ แตง่ ตัง้ กรรมการและเลขานุการ วาระที่ 5.7 พิจารณาเห็นชอบรายชอื่ บคุ คลเพอ่ื แต่งตั้งเป็นกรรมการร่างหลักสูตรและคณะกรรมการวิพากษ์หลักสตู ร หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑติ และหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และ ปญั ญาประดิษฐ์ (หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2564) เร่ืองเสนอพจิ ารณา ตามบันทกึ ข้อความลงวนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 ว่าที่ รต.ดร.มงคล กล่ินกระจายอาจารยป์ ระจา หลักสตู ร สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ แขนงอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม ไดเ้ สนอรายช่ือแตง่ ต้ังคณะกรรมการรา่ งหลักสตู ร และคณะกรรมการวิพากษ์หลักสตู รระดับปรญิ ญาโท และปริญญาเอก (ดงั เอกสารรายชอื่ แนบท้าย) นนั้ ในการนี้เพื่อให้การดาเนนิ งานเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย เลขานกุ ารจงึ ขอเสนอรายช่ือพิจารณาเห็นชอบเพ่ือแต่งตัง้ เป็นคณะกรรมการรา่ งหลักสูตรและคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต และ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ.2564) จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบและพจิ ารณาเหน็ ชอบรายช่ือคณะกรรมการ มตกิ ารประชุม 1. เหน็ ชอบการเสนอคณะกรรมการร่างหลกั สูตรและคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาโทและปริญญาเอก สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละปญั ญาประดิษฐ์ หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2564 2.มอบเลขานกุ ารเสนออธิการบดลี งนามคาสัง่ วาระท่ี 5.8 พจิ ารณาเหน็ ชอบการขอเปล่ียนอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลกั แก่ นายธงชัย ระยา้ และ นายสุรยิ ะ สร้อยแสง นักศกึ ษาปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คาร้องเสนอพจิ ารณา ตามเอกสารคารอ้ งนกั ศึกษาได้ขอเปล่ยี นแปลงอาจารยท์ ่ปี รึกษาวิทยานิพนธห์ ลกั ดงั นี้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ระดับปริญญาโท 1. นายธงชัย ระยา้ รหสั 5901021701 ขอเปลีย่ นจาก ดร.แสนศกั ด์ิ ดอี ่อน เปน็ รศ.ดร.เสถยี ร ธัญญศรีรัตน์ สดั ส่วนท่ี 1 : 8 ระดับปรญิ ญาเอก 2. นายสุรยิ ะ สรอ้ ยแสง รหสั ๖๑01021๙0๒ ขอเปล่ียนจาก ผศ.ดร.พฒั นา อนิ ทนิ เป็น ผศ.ดร.สุวทิ ย์ ภูมิฤทธิกลุ สดั สว่ นท่ี 1 : ๓ ระเบียบท่เี ก่ียวขอ้ ง ตามข้อบังคับสถาบนั ฯ วา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2562 /หมวด ๗…

9 12 หมวด 7 ขอ้ 28.4 การเปลี่ยนแปลงใดๆก่อนการสอบวิทยานิพนธ์ใหด้ าเนินการตามหลกั เกณฑ์ (2) การเปล่ยี นอาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ ให้นักศกึ ษายื่นคาร้องต่อสว่ นงานบัณฑติ ศกึ ษาเพ่ือเสนอให้ คณบดีอนมุ ัติ โดยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา ในการนฝี้ ่ายเลขานุการจึงขอเสนอที่ประชมุ เพ่ือพิจารณาเหน็ ชอบโดยเป็นไปตามข้อระเบียบข้อบงั คับฯ ความเหน็ ของคณะกรรมการ ๑.เสนอให้เปลยี่ นอาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์ได้ แต่นักศึกษาจะตอ้ งสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานพิ นธใ์ หม่ โดย ผลงานวิจยั ท่ีตพี มิ พแ์ ละเผยแพรจ่ ะต้องมีชื่ออาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธห์ ลัก ดว้ ย ๒.เพ่อื ใหก้ ารด าเนินงานด้านการเปล่ียนแปลงอาจารย์ท่ีปรกึ ษาหลกั ส าหรับนักศึกษาซ่ึงมิใหเ้ กดิ ธรรมเนยี มปฏบิ ัติ ท่ไี มด่ ีในอนาคต ผทู้ รงคุณวฒุ ิเสนอให้เพิ่มเติม ประกาศฯ หรอื ระเบียบใหช้ ัดเจน โดยเห็นว่าเรอ่ี งน้ีส าคัญมาก มตทิ ป่ี ระชุม 1.อนุมัตใิ ห้เปล่ียนอาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์ ของนายธงชัย ระย้า จาก ดร.แสนศักดิ์ ดีออ่ น เป็น รศ.ดร.เสถยี ร ธญั ญศรีรัตน์ และให้ดาเนินการสอบหัวขอ้ และเค้าโครงวิทยานิพนธใ์ หม่ และตีพิมพผ์ ลงานวิจยั โดยจะตอ้ งมีช่ือ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลกั ใหม่ ในผลงาน ๒.อนมุ ัตใิ หเ้ ปลย่ี นอาจารย์ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ ของนายสุรยิ ะ สรอ้ ยแสง จาก ผศ.ดร.พัฒนา อินทนิ เป็น ผศ.ดร. สวุ ทิ ย์ ภมู ิฤทธิกุล และให้ดาเนนิ การสอบหัวข้อและเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์ใหม่ และตีพิมพ์ผลงานวจิ ัยโดยจะต้องมชี ื่อ อาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์หลกั ใหม่ ในผลงาน วาระที่ 5.9 พจิ ารณาการขอขยายเวลาการศึกษาให้แก่นกั ศกึ ษาปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชา วศิ วกรรมไฟฟา้ และ สาขาปโิ ตรเคมแี ละการจดั การส่ิงแวดล้อม รวม 3 คน (ครั้งที่ ๑) ตามเอกสารคาร้องนักศึกษาไดเ้ สนอขอขยายเวลาการศึกษาต่อ ด้วยเหตุสุดวิสัยท่ีไม่สามารถเดินทางมาท่ีสถาบัน ฯเพ่ือดาเนินงานด้านงานวิจัยต่อได้ ทั้งน้ีนักศึกษากาลังจะครบกาหนดเวลาการศึกษาในหลักสูตร ดังรายช่ือต่อไปน้ี ครงั้ ท่ี 1 ระเบียบที่เก่ียวช้อง (ฉบับ3) พ.ศ.2560 : ตามข้อบังคับฯ ว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดับบัณฑิต (ฉบับ 3 ) พศ. 2560 ขอ้ 8 ระยะเวลาการศึกษาของหลักสตู ร ในแตล่ ะระดับ ดงั น้ี (2) ระดบั ปรญิ ญาโท ตอ้ งศกึ ษาให้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 5 ปกี ารศึกษา (4) ระดับปริญญาเอก (4.2) ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษาปริญญาโท ต้องศึกษาให้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน ระยะเวลาไมเ่ กนิ 6 ปีการศึกษา หนังสือราชการท่ีเกี่ยวข้อง หนังสือเลขท่ี อว.0224.2/ว 647 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับการอนุโลมการ ขอ ขยายเวลาการศกึ ษาใหก้ ับนักศกึ ษา ลงวันท่ี 4 ตุลาคม 2562 หนังสือราชการท่ีเกี่ยวข้อง หนังสือเลขท่ี อว.0224.1/ว 480 เรื่อง ขอความร่วมมือในการพิจารณาขยายเวลา การศึกษาใหก้ ับนักศึกษาทุกระดับการศึกษา อันเน่อื งมาจากผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา หนังสือราชการที่เกี่ยวข้อง : หนังสือเลขท่ี อว.0224 .1/ว ๑๑๐๙ เรอ่ื ง การขยายเวลาการสาเรจ็ การศึกษาให้กับนิสิต นักศกึ ษาอันเน่ืองมาจากการแพ่รระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ลงวันท่ี ๘ กันยายน ๒๕๖๓ ในการน้ีฝ่ายเลขานุการจึงขอเรียนแจ้งเพ่ือเสนอคณะกรรมการพิจารณาการขอขยายเวลาแก่นักศึกษาภาคเรียน ท่ี 1/2564 . มติที่ประชุม 1.เห็นชอบโดยหลักการให้ขยายเวลาการศึกษา 1 ภาคการศึกษา ให้แก่นักศกึ ษา จานวน ๓ คน คร้งั ที่ ๑ ดังนี้ /ชือ่ -สกลุ …

10 13 ชอ่ื – สกลุ อาจารย์ที่ เหตผุ ลการ ผลงานทไี่ ดร้ บั การ ผลงานทอี่ ยู่ระหวา่ ง ภาคเรียน ปรกึ ษา ขอขยาย ท่ขี อขยาย วทิ ยานิพนธ์ ตพี มิ พเ์ ผยแพร่แลว้ ดาเนินการ 1/2564 ระดับปรญิ ญาโท 1/2564 สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ 1/2564 เน่อื งจากติดชว่ ง 1. “การควบคุม 1. นายปยิ พงศ์ สถานการณก์ าร มอเตอร์ ธนสมบูรณ์ ดร.แสนศักดิ์ แพรเ่ ชื้อของเชือ้ ไฟฟา้ เหนย่ี วนา 3 เฟส รหัสนกั ศึกษา ดอี ่อน โรคโควคิ - ด้วย SVPWM บน 5901021705 2019 จึงไม่ พื้นฐานของ DSP สถานนะ : สามารถเดนิ TMS320F28335 - รักษาสภาพ ทางเขา้ มา Induction motor by ชั้นปีที่ 5 เทอม 2 ภายในสถาบนั ฯ SVPWM based on เพอ่ื ทาวจิ ยั ได้ DSPTMS320F2833 5” (ประชมุ วิชาการ) ดังแนบ เนอ่ื งจากติดช่วง “การควบคมุ ความเร็ว 2. นายธงชยั ระย้า ดร.แสนศักด์ิ สถานการณ์การ รอบของมอเตอร์ รหัสนักศึกษา ดอี ่อน แพร่เช้ือของเช้อื ไฟฟ้าเหนย่ี วนาสามเฟส 5901021701 ดว้ ยบอร์ด สถานนะ : รกั ษาสภาพ โรคโควิค- TMS320F28335 - ชั้นปีท่ี 5 เทอม 2 2019 จึงไม่ DSP โดยใช้เทคนคิ การ สามารถเดนิ ควบคุมแรงดนั และ ทางเขา้ มา ภายในสถาบนั ฯ ความถ่ี ตามเวลาจริง” ได้ (ประชุมวิชาการ) ดังแนบ เนอ่ื งจากตดิ ชว่ ง 3. นายจักรพงษ์ คมุ้ ทรัพย์ ผศ.ดร.เพยี งพศิ สถานการณก์ าร “ผลของสารต้ังต้น รหัสนกั ศึกษา กลนิ่ หรน่ั แพรเ่ ชอ้ื ของเชอ้ื ทังสเตนตอ่ ความ 5901021702 วอ่ งไวของตวั เร่ง สถานนะ : รกั ษาสภาพ โรคโควิค- - ปฏกิ ิริยาทังสเตนเซอร์ ชั้นปีท่ี 5 เทอม 2 2019 โคเนยี 2 จงึ ไม่สามารถ ในปฎกิ ริ ยิ าขจัดนา้ เดินทางเข้ามา ของเอทานอล” ภายในสถาบนั ฯ เพ่อื วเิ คราะห์ ตวั อย่าง 2.มอบเลขานุการดาเนนิ การเสนอต่อสภาวิชาการ เพือ่ ใหค้ วามเหน็ และเสนอต่อสภาสถาบันฯพิจารณา วาระที่ 5.10 พิจารณาการขอขยายเวลาการศึกษาให้แก่นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟา้ รวม 4 คน (ครง้ั ท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2/2563) ตามเอกสารคาร้องนกั ศึกษา ไดเ้ สนอขอขยายเวลาการศกึ ษาต่อ ดว้ ยเหตสุ ุดวิสัยทไ่ี ม่สามารถเดินทางมาทส่ี ถาบัน ฯเพอ่ื ดาเนินงานด้านงานวิจยั ตอ่ ได้ ท้ังน้นี กั ศกึ ษากาลังจะครบกาหนดเวลาการศึกษาในหลักสูตร ดงั รายช่ือตอ่ ไปน้ี /ระเบียบ…

11 14ระเบียบที่เกี่ยวช้อง (ฉบับ3) พ.ศ.2560 : ตามข้อบังคับฯ ว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดับบัณฑิต (ฉบับ 3) พศ. 2560 ข้อ 8 ระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร ในแตล่ ะระดับ ดังน้ี (2) ระดับปรญิ ญาโท ต้องศกึ ษาใหส้ าเร็จการศึกษาตามหลักสตู รภายในระยะเวลาไม่เกนิ 5 ปกี ารศึกษา (4) ระดับปริญญาเอก (4.2) ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษาปริญญาโท ต้องศึกษาให้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน ระยะเวลาไม่เกิน 6 ปกี ารศกึ ษา หนังสือราชการท่ีเก่ียวข้อง : หนังสือเลขท่ี อว.0224.2/ว 647 เร่ือง แนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับการอนุโลมการ ขอขยายเวลาการศกึ ษาใหก้ บั นักศกึ ษา ลงวนั ท่ี 4 ตลุ าคม 2562 หนังสือราชการที่เกี่ยวข้อง : หนังสือเลขที่ อว.0224.1/ว 480 เร่ือง ขอความร่วมมือในการพิจารณาขยายเวลา การศึกษาใหก้ ับนักศกึ ษาทุกระดบั การศึกษา อันเน่ืองมาจากผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา หนังสือราชการท่ีเก่ียวข้อง : หนังสือเลขท่ี อว.0224.1/ว ๑๑๐๙ เรือ่ ง การขยายเวลาการสาเร็จการศกึ ษาให้กับนิสิต นกั ศึกษาอันเน่ืองมาจากการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ลงวนั ที่ ๘ กนั ยายน ๒๕๖๓ ในการน้ีฝ่ายเลขานุการจงึ ขอเรียนแจ้งเพื่อเสนอคณะกรรมการพิจารณาการขอขยายเวลาแก่นักศกึ ษา 4 คน คร้ังท่ี 2 มตทิ ีป่ ระชุม 1.เห็นชอบโดยหลักการให้ขยายเวลาการศกึ ษาต่อ 1 ภาคการศกึ ษา (คร้ังท่ี 2) จานวน 4 คน ช่อื – สกลุ อาจารยท์ ่ี เหตผุ ลการ ผลงานทไี่ ด้รบั การตีพิมพ์ ผลงานทอ่ี ยูร่ ะหว่าง ภาคเรยี น ปรึกษา ขอขยาย วทิ ยานิพนธ์ เผยแพร่แลว้ ดาเนินการ ทขี่ อขยาย ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ 1. นายสมโภชน์ รศ.ดร.เสถยี ร อยรู่ ะหว่างรอ 1. S. Wongkhead, S. วงศ์เขียด ธญั ญศรรี ัตน์ หนงั สอื ตอบรบั Tunyasrirut, W. 5701021904 การตพี มิ พ์ Permpoonsinsup and D. สถานนะ : เผยแพร่ผลงาน Puangdownreong. “Sate รักษาสภาพ Space Model for BLDC ชนั้ ปีที่ 7 เทอม 1 Motor Based on Digital Signal Processors TMS320F28335 for “State Space Speed Control by Using Model for Speed Proportional Integral Control BLDC Controller”. In The Motor Tuning by 2/2563 2019 International Combination of PI- Electrical Engineering Artificial Neural Congress (iEECON Network 2019).2019. IEEE. Controller” 2. S.Wongkhead,S. วารสาร: Journal of Tunyasrirut, W. Electrical and Permpoonsinsup and D. Computer Puangdownreong. Engineering “Simulation and Analysis of Speed Brushless Direct Current Motor Based on State Space Modeling”.In 2018 International Conference on

12 15 Engineering,Applied Sciences, and Technology (ICEAST). 2018.IEEE. ๒.นายเด่น ผศ.ดร.พฒั นา 1. D. Satipar, P.Intani, สตภิ า อินทิน 5701021901 and W. 1“Design of สถานนะ :รักษา รศ.ดร.เสถยี ร สภาพ ธัญญศรรี ตั น์ เนื่องจากตดิ ช่วง Jaikla.“Electronically quadrature 2/2563 ช้ันปที ่ี 7 เทอม ๑ สถานการณก์ าร Tunable Quadrature Sinsoidal Oscillator รศ.ดร.เสถยี ร แพรเ่ ชอื้ ของเชอื้ Sinusoidal Oscillator ๓.นายประยทุ ธิ์ ธัญญศรรี ตั น์ โรคโควิค-2019 with Equal Output with electronic แดงขาว Amplitudes during Controllability of 5701021911 สถานนะ :รกั ษา Frequency” สภาพ ชน้ั ปีท่ี 7 เทอม ๑ Frequency Tuning วารสาร ๔.นายนิพนธ์ Process”. บุณสกันต์ 5701021910 จงึ ไม่สามารถเดนิ 2017, Article ID สถานนะ :รกั ษา สภาพ ทางเข้ามาภายใน 8575743, 10 pages. 1.“Fractional- ช้ันปีที่ 7 เทอม ๑ สถาบนั ฯเพือ่ ทา Journal of Electrical and Order Sliding-Mode วจิ ัยไดม้ ีเหตอุ ัน Computer Control for 2/2563 สุดวสิ ยั จาก EngineeringVolume Interleaved Boots ผลกระทบการ DC/DC Converter” ระบาดของ วารสาร COVID-19 มเี หตุอันสุดวสิ ยั - 1.“Optimization of จากผลกระทบการ VSVPWM-SSP ระบาดของ Method based on COVID-19 Three-phase 2/2563 Voltage Source Inverters For Minimizing Harmonic” 2.มอบเลขานุการดาเนินการเสนอต่อสภาวิชาการ เพ่ือให้ความเห็นและเสนอตอ่ สภาสถาบันฯพิจารณา วาระท่ี 5.11 พิจารณารายช่ือนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ขอสาเรจ็ การศึกษา ประจาภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 (เพ่ิมเติมครง้ั ที่ 3) จานวน ๑ คน ตามที่บันทึกข้อความท่ี ทนศ.0390/2563 ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ฝ่ายทะเบียนนักศึกษาได้เสนอ รายช่ือนกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาท่ขี อสาเรจ็ การศึกษา ประจาภาคเรยี นท่ี 1/2563 (เพิม่ เติมครั้งที่ 3) ในการน้ีฝ่ายเลขานุการจึงขอเสนอให้คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณาอนุมัติการสาเร็จการศึกษา นักศึกษา ประจาภาคการศึกษาที่ 1/2563 เพมิ่ เติมครงั้ ท่ี 3 (จานวน ๑ คน) ดังรายละเอยี ดน้ี ระเบยี บที่เก่ยี วข้อง : ตามขอ้ บงั คบั ฯ วา่ ด้วยการจัดการศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2556 และขอ้ บงั คับฯ วา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 (ฉบับท่ี 2) จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาอนุมัตริ ายช่ือผขู้ อสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ประจาภาคการศึกษาท่ี 1/2563 (เพ่มิ เติมคร้ังท่ี 3) จานวน ๑ คน และเสนอต่อสภาวิชาการใหค้ วามเหน็ เพื่อเสนอตอ่ สภาสถาบนั อนมุ ตั ิ ปรญิ ญา /ความเหน็ …

13 16ความเหน็ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา ขอให้แจ้งนกั ศกึ ษาแนบเอกสารแสดงการเปรียบเทยี บผลงานวจิ ัย มติที่ประชมุ ๑.อนมุ ัตริ ายช่ือนักศกึ ษาต่อไปน้ีสาเร็จการศึกษา จานวน ๑ คน ดงั น้ี เง่ือนไขจบหลกั สตู ร ผลการเรยี นที่ได้ ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ๑. วา่ ทรี่ อ้ ยตรีภุชงค์ จนั ทรจ์ ิระ รหัส 5801021906 ศกึ ษารายวิชาครบถว้ นตามเงอื่ นไข 60 หนว่ ย ผลการเรียนคะแนนเฉลีย่ สะสม 3.50 ผลเทยี บความรู้ภาษาตา่ งประเทศ S (เรยี นผา่ นตามเงื่อนไขของประกาศสถาบันฯ) ตพี มิ พผ์ ลงานวิทยานพิ นธ์ ตามเง่ือนไข ผลงาน ได้รับ การตี พิ ม พ์ ใน วารสารวิชาการระดับ น าน าชาติ จานวน 1 เรื่อง และผลงานไดเ้ สนอตอ่ ทปี่ ระชุมวชิ าการระดับนานาชาติ ท่ีมรี ายงานการประชมุ (proceedings) จานวน 2 เรื่อง สอบผ่านวทิ ยานพิ นธข์ ัน้ สุดท้าย ผลสอบเปน็ G (good) ส่งวทิ ยานิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์แล้ว วนั ที่ 3 พฤศจกิ ายน 2563 จานวน 5 เลม่ เลขที่ PIT- 2020-D-ENG-EEE- 01๔ ๒.มอบเลขานกุ ารเสนอรายชอ่ื ผ้สู าเร็จการศึกษาต่อสภาวิชาการเพื่อเสนอต่อสภาสถาบันฯอนุมตั ปิ รญิ ญา วาระท่ี 5.1๒ พจิ ารณารายชอื่ นักศกึ ษาระดับปริญญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขั้นสูง ขอสาเร็จการศกึ ษา ประจาภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 (เพมิ่ เติมคร้ังท่ี 3) จานวน ๑ คน ตามท่ีบันทึกข้อความที่ ทนศ.0390/2563 ลงวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 ฝ่ายทะเบียนนักศึกษาได้เสนอ รายช่อื นกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษาท่ขี อสาเร็จการศึกษา ประจาภาคเรยี นที่ 1/2563 (เพม่ิ เติมครั้งท่ี 3) ในการน้ีฝ่ายเลขานุการจึงขอเสนอให้คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณาอนุมัติการสาเร็จการศึกษา นักศึกษา ประจาภาคการศึกษาที่ 1/2563 เพิม่ เตมิ คร้งั ที่ 3 (จานวน ๑ คน) ดังรายละเอยี ดนี้ ระเบยี บทเี่ กย่ี วข้อง : ตามข้อบังคบั ฯ ว่าด้วยการจัดการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2556 และขอ้ บงั คบั ฯ วา่ ด้วยการจดั การศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 (ฉบับที่ 2) จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาอนมุ ัตริ ายชื่อผูข้ อสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ประจาภาคการศึกษาที่ 1/2563 (เพม่ิ เตมิ คร้ังท่ี 3) จานวน ๑ คน และเสนอต่อสภาวิชาการใหค้ วามเหน็ เพื่อเสนอต่อสภาสถาบนั อนุมัติ ปรญิ ญา ความเห็นคณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษา ขอให้แจ้งนักศึกษาแนบเอกสารแสดงการเปรียบเทียบผลงานวจิ ยั ไมม่ คี วามซ้าซ้อน มติทป่ี ระชุม ๑.อนมุ ัติรายชือ่ นกั ศกึ ษาต่อไปน้สี าเรจ็ การศกึ ษา จานวน 2 คน ดังนี้ เงื่อนไขจบหลักสูตร ผลการเรียนที่ได้ ระดับปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขัน้ สงู ๑. นายมนตรี แสงสรุ ยิ นั ต์ รหสั 5๙0102๓90๔ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามเง่ือนไข ๕๔ หนว่ ย ผลการเรียนคะแนนเฉล่ียสะสม 3.๗5 ผลเทยี บความรู้ภาษาตา่ งประเทศ S (เรยี นผ่านตามเงอ่ื นไขของประกาศสถาบนั ฯ) ตพี มิ พผ์ ลงานวิทยานพิ นธ์ ตามเงอ่ื นไข ผลงาน ได้รับ การตี พิ ม พ์ ใน วารสารวิชาการระดับ น าน าชาติ จานวน 1 เร่ือง และผลงานไดเ้ สนอตอ่ ทป่ี ระชุมวชิ าการระดับนานาชาติ

1714 ที่มีรายงานการประชมุ (proceedings) จานวน 2 เรอ่ื ง สอบผา่ นวิทยานพิ นธ์ข้ันสดุ ท้าย ผลสอบเป็น G (good) สง่ วิทยานิพนธฉ์ บับสมบรู ณแ์ ล้ว วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2563 จานวน 5 เล่ม เลขท่ี PIT- 2020-D-ENG-AMT- 0๐๗ ๒.มอบเลขานุการเสนอรายชอ่ื ผูส้ าเรจ็ การศึกษาตอ่ สภาวิชาการเพอื่ เสนอต่อสภาสถาบันฯอนุมตั ปิ รญิ ญา วาระที่ 5.13 พจิ ารณาเห็นชอบการขอเปล่ียนเปลงอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสตู ร หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสตู รวิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟ้า ตามบันทึกข้อความที่ DMEEE63/696 ลงวันท่ี 24 พฤศจิกายน 2563 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ระดับบัณฑิต ได้ขอเปล่ียนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จากการประชุมหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าระดับบัณฑิต เม่ือวันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 โดยเห็นชอบแล้ว ให้เปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จาก รศ.ดร.สันติ หวงั นิพพานโต เปน็ ผศ.ดร.ชนัญญ์ชัย วฒุ ิธันยาวฒั น์ มติท่ีประชุม จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดพิจารณา ๑.เหน็ ชอบโดยหลกั การ ในการเปลย่ี นแปลงอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตร หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และ หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ จากรศ.ดร.สนั ติ หวงั นิพพานโต เปน็ ผศ.ดร.ชนญั ญ์ชัย วฒุ ธิ นั ยาวัฒน์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) และ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ (วศ.ด.) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ช่อื อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบ (เดมิ ) ช่ืออาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบ (ใหม่) 1. รศ.ดร.จักรพงษ์ จารมุ ิศร์ ต้ังแตป่ ี 2561 1. รศ.ดร.จักรพงษ์ จารมุ ศิ ร์ ตง้ั แต่ปี 2561 ๒. รศ.ดร.สนั ติ หวงั นิพพานโต ต้งั แต่ปี 2561 ๒. ผศ.ดร.ชนญั ญชัย วฒุ ิธนั ยาวฒั น์ ตั้งแตภ่ าคเรยี นท่ี 2/2563 ๓. ผศ.ดร.พัฒนา อินทนิ ตง้ั แต่ปี 2561 ๓. ผศ.ดร.พฒั นา อินทนิ ตั้งแต่ปี 2561 ๒.มอบเลขานกุ ารเสนอต่อสภาวิชาการพจิ ารณา วาระที่ 5.14 พจิ ารณาจัดสรรงบเพอ่ื จัดทา “ร่าง” ประกาศสถาบันเทคโนโลยปี ทุมวัน เรอ่ื ง นโยบายการ จดั ซอื้ วสั ดุงานวจิ ัย สาหรับนักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดว้ ยปงี บประมาณ พ.ศ.256๔ สถาบนั ฯได้สนับสนนุ คา่ วัสดุวิจัยแก่นักศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา จานวนเงนิ 300,000 บาท (สามแสนบาทถว้ น) ดังเอกสารแนบท้าย ทั้งนี้เพื่อให้การดาเนินการจัดทา “ร่าง” ประกาศสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เรื่องนโยบายการจัดซ้ือวัสดุใน ทางการวิจัยสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (วิทยานิพนธ์) ปีงบประมาณ พ.ศ.256๔ ฝ่ายเลขานุการจึงขอ คณะกรรมการพิจารณาการจัดสรรงบวัสดุวิจัย จากมติกรรมการบัณฑิตศึกษา เมื่อคร้ังที่ 2/2563 วันอังคารท่ี 4 กุมภาพันธ์ 2563 วาระท่ี 3.2 ประกาศฯ เรื่องนโยบายการจัดซ้ือวัสดุวิจัย สาหรับนักศึกษาบัณฑิตประจาปี งบประมาณ 2563 ซึ่งให้จดั สรรงบประมาณดงั ต่อไปน้ี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ (ระดบั ปรญิ ญาโทและปริญญาเอก) เสนอให้ สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า จานวนเงนิ 140,000 บาท เสนอให้ สาขาวิชาปิโตรเคมแี ละการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม จานวนเงิน 30,000 บาท เสนอให้ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ข้นั สงู จานวนเงิน 100,000 บาท /คณะวิทยา…

15 18 คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก) เสนอให้ สาขาวิชาเทคโนโลยีส่งิ แวดล้อมเพือ่ การเกษตร จานวนเงนิ 30,000 บาท รวมจานวนงบทีไ่ ดร้ บั การจดั สรร 300,000 บาท ความเหน็ คณะกรรมการครั้งท่ี 2/2563 หากหลักสูตรใดประสงคจ์ ะของบประมาณการจดั ซ้ือวัสดุวจิ ัย เพิม่ เติม ให้ หลกั สูตรน้ันดาเนินการทาเรอื่ งเสนอตอ่ สถาบนั ฯเพอ่ื พิจารณา จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณาเห็นชอบ ความเห็นคณะกรรมการคร้ังท่ี 12/2563 อธิการบดีเสนองบประมาณ ค่าสนบั สนุนคา่ วสั ดวุ ิจยั แก่นกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ในปี 2564 เพม่ิ ใหอ้ ีก จานวน 7๐,๐๐๐ บาท รวมเปน็ เงนิ งบประมาณทีไ่ ด้ จานวน ๓๗0,000 บาท ท้งั นี้เป็นการเพิ่มงบให้แก่ สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ิ่งแวดล้อมเพื่อการเกษตร เนอ่ื งจาก นกั ศกึ ษาไดด้ าเนินการสอบหัวขอ้ แลว้ จานวนงบทจี่ ดั สรรเปน็ ดงั น้ี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เสนอให้ สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ จานวนเงนิ 140,000 บาท เสนอให้ สาขาวชิ าปโิ ตรเคมแี ละการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม จานวนเงนิ 30,000 บาท เสนอให้ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิตข้ันสงู จานวนเงนิ 100,000 บาท คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ระดับปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก เสนอให้ สาขาวิชาเทคโนโลยสี งิ่ แวดล้อมเพ่อื การเกษตร จานวนเงนิ ๑๐0,000 บาท รวมจานวนงบท่ไี ดร้ ับการจัดสรร ๓๗0,000 บาท มติท่ีประชุม 1. เห็นชอบใหเ้ พ่ิมงบประมาณสนับสนนุ ค่าวัสดวุ จิ ัยแกน่ กั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ในปงี บประมาณ 2564 อกี 7๐,๐๐๐ บาท จากเงินรายไดจ้ าก 300,000 บาท รวมเป็นเงนิ ๓๗0,000 บาท 2. แจ้งกองนโยบายและแผนงบประมาณ งานพสั ดุและงานการเงนิ ทราบ 3. เห็นชอบ “ร่าง” ประกาศสถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วัน เร่อื งนโยบายการจดั ซื้อวัสดใุ นทางการวิจัยสาหรับนกั ศึกษา ระดบั บัณฑิตศึกษา (วทิ ยานิพนธ์) ปีงบประมาณ พ.ศ.256๔ 4. มอบเลขานุการดาเนนิ การ วาระท่ี 5.1๕ พิจารณาเห็นชอบแบบฟอร์มคาร้อง จากขอ้ เสนแนะจากผู้ทรงคณุ วุฒิจากสภาวชิ าการ ตามที่ประชุมวาระพิเศษ จากคณะกรรมการบัณฑิตภายใน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2563 ได้มีมติเห็นชอบ ร่วมกันแลว้ ในการเปลย่ี นแปลงและเพม่ิ เติมแบบฟอร์มคารอ้ งสาหรบั นักศกึ ษา ดังนี้ 1. แบบรายงานความก้าวหนา้ ทางการศกึ ษา 2. ใบรับรองมาตรฐานผลงานวชิ าการ ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 3. แบบรายวานผลการขอสาเร็จการศกึ ษา ระดับปรญิ ญาโท และปริญญาเอก ในการนี้ เพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานการเสนอคารอ้ งตามข้อคิดเห็นจากสภาวชิ าการ ในระดบั บัณฑติ ศึกษา จงึ ขอความเหน็ ชอบในการเปลีย่ นแปลงและเพมิ่ เติมคาร้อง ดงั เอกสารแนบท้าย จึงเรียนมาเพ่อื โปรดพจิ ารณา /มติประชุม…

มติท่ีประชุม 16 19 ๑. เหน็ ชอบให้แก้ไข และปรบั ปรงุ คารอ้ ง ทัง้ 3 แบบฟอรม์ ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ๒. เห็นชอบให้ปรับปรุงคาร้องการขอสาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก แบบรายงานความกา้ วหน้า ทางการศึกษา และใบรบั รองมาตรฐานผลงานวชิ าการระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก ๓. เหน็ ชอบให้นักศกึ ษาเร่มิ ดาเนินการใช้แบบฟอร์มคาร้องแบบใหม่ ตั้งแต่บดั นเี้ ป็นต้นไป ๔.แจง้ นักศึกษาทกุ หลักสูตร ระเบยี บวาระท่ี ๖ เรือ่ งอ่ืนๆ วาระที่ ๖.1 พิจารณาเห็นชอบให้แนบเอกสารแสดงการเปรยี บเทียบผลงานวิจัย เพื่อขอสาเร็จการศกึ ษาสาหรบั นกั ศกึ ษาปริญญาเอก สืบเนอ่ื งจากการพิจารณาการขอส าเรจ็ การศกึ ษาที่ผา่ นมาส าหรบั นักศึกษาปรญิ ญาเอก มีประเดน็ ต่อ การพิจารณาเร่ืองผลงานทซ่ี ้ าซ้อน ตามเงื่อนไขของการส ารเ ็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ทั้งน้ีคณะกรรมการจงึ ขอ เสนอให้นักศึกษาเพิ่มเตมิ เอกสารในการขอสาเร็จการศึกษาสาหรบั นักศึกษาปริญญาเอก อีก 1 แบบฟอร์ม มติที่ประชมุ เห็นชอบใหเ้ พิ่มเตมิ แบบฟอรม์ แสดงการเปรียบเทยี บผลงานวิจยั สาหรับนักศกึ ษาปริญญาเอก ทขี่ อ สาเร็จการศึกษา ทง้ั นี้ต้ังแตภ่ าคเรยี นที่ 2/2563 วาระท่ี ๖.๒ การจัดสัมมนาคณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษา รว่ มกบั สภาวิชาการและสภาสถาบันฯ อธกิ ารบดีแจง้ ทป่ี ระชมุ ในการจัดสมั มนาระหวา่ งคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา โร่วมกับสภาวชิ าการ และสภาสถาบันฯ โดยจะจัดประชุมร่วมกันเพือ่ การพัฒนาพนั ธกจิ หลายๆดา้ นของสถาบันฯ ท้ังน้ไี ด้มอบหมาย เลขานุการกรรมการบัณฑติ ศึกษา ประสานงานตอ่ สภาวิชาการและสภาสถาบนั อกี คร้ัง ในการจัดงาน ปดิ ประชุม ๑๕.๐๐ น. (รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ ศรศี ิรวิ ัฒน์) (รองศาสตราจารย์ ดร.ประยรู สรุ นิ ทร์) เลขานกุ ารคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา ประธานคณะกรรมการบัณฑติ ศึกษา ผู้บนั ทึกรายงานการประชุม ผู้ตรวจรายงานการประชุม

ระเบยี บวาระท่ี 3 เรือ่ งเสนอเพอื่ ทราบ 20 วาระท่ี 3.1 แจง้ แบบฟอร์มคาร้อง จากขอ้ เสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิจากสภาวชิ าการ ทไ่ี ด้ปรบั ปรุงแก้ไข เพ่ิมเตมิ เรยี บร้อยแล้ว จากที่ประชุมกรรมการบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 12/256๓ ได้เห็นชอบแล้ว และให้ปรับปรุงแก้ไข แบบฟอร์มคาร้อง ทั้ง 3 แบบฟอร์ม คือ คาร้องแบบรายงานผลการศึกษาเพ่ือขอสาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอก แบบรายงานความก้าวหน้าทางการศึกษา และ ใบรับรองมาตรฐานผลงาน วชิ าการระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอก (ดังเอกสารแนบ) ในการน้ีการแก้ไขแบบฟอร์มคาร้อง ท้ัง 3 แบบ ตามขอ้ เสนอแนะจากผู้ทรงคุณวฒุ ิเรียบรอ้ ย ท้ังน้ีก่อน ใหน้ กั ศึกษาไดเ้ ริ่มดาเนนิ การใช้ จงึ ขอเสนอต่อคณะกรรมการเพอ่ื ทราบอีกครั้ง จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ความเห็นคณะกรรมการ . . . . .. . .. . . .. . .. . . .. . .. . . .. . .. . . .. . .. . . .. . . .. . มติที่ประชมุ .. . .. . .. . .. . .. . .. . .. .

สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั รหสั ท.11 เรยี น คณบดี 21คาร้องขอสาเรจ็ การศึกษา ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา วันที.่ ....................เดือน...............................................พ.ศ. ......................... ภาคการศึกษาท่ีขอส าเร็จ................../................. ข้าพเจา้ ( ) นาย ( ) นาง ( ) นางสาว................................................................................................................................................................ นกั ศกึ ษาหลกั สตู ร ( ) วศ.ม. ( ) วศ.ด. ( ) วท.ม. ( ) ปร.ด. รหัสประจาตัวนกั ศึกษา.......................................................คณะ..................................................................สาขาวิชา................................................................. ผลการเรยี นเฉล่ยี (GPA.)…………………………………….มีความประสงคข์ อยนื่ ค ารอ้ งขอส ารเ ็จการศึกษาโดยแนบเอกสาร ผ่านความเหน็ ของผทู้ เ่ี ก่ยี วข้อง ที่อย่ทู ีส่ ามารถตดิ ต่อได้บา้ นเลขท่ี...............หม่บู ้าน.........................................................หมู่ที่......................ต าบล/แขวง........................................................ อ าเภอ/เขต.............................................จังหวัด..................................................รหัสไปรษณีย์......................โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่.ี ............................................... โดยทราบแลว้ ว่าใบประมวลผลสาเร็จการศึกษาจะได้รับต่อเม่ือผา่ นการอนุมัติจากสภาวิชาการ รายละเอยี ดขา้ งลา่ งนี้ผ้ยู นื่ ค าร้องตอ้ งกรอกข้อความใหถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน (เขียนตวั บรรจง) 1. ช่ือ ภาษาองั กฤษ Mr./ Mrs. / Miss (กรอกชอ่ งละ 1 ตัวอักษร สระ วรรณยกุ ต์อยู่ช่องเดียวกบั ตัวอกั ษร เวน้ ชอ่ งระหว่างช่อื -นามสกุล) 2. เลขบัตรประจ าตวั ประชาชน - - -- 3. วัน / เดอื น / ปี - - เกดิ (ปี พ.ศ. -543) 4. สถานท่ีเกดิ จังหวัด.......................................................................................... ประเทศ...................................................................................................... 5. เช้ือชาติ ...........................................................สัญชาติ............................................ศาสนา ................................................................................................. 6. วุฒิกอ่ นเข้าศกึ ษาตอ่ ........................................................ แผนก / สาขาวชิ า..................................................................................................................... 7. สถานศึกษาแหง่ สดุ ท้ายกอ่ นเขา้ ศึกษา.................................................................................................................................................................................... ลง ลงชอื่ ......................................................................นักศึกษา (......................................................................) (1) ฝ่ายการเงนิ ( ) ไมม่ ีหนี้สินติดค้างกับสถาบันฯ (2) ความเหน็ หัวหน้าสานกั ห้องสมดุ อื่นๆ......................................................................................................................... ( ) ไม่ติดค้างหนงั สือ หรอื ทรัพยากรสารสนเทศของส านกั หอ้ งสมุด ( ) ช าระค่าใบประมวลผลการศกึ ษา จ านวน................บาท อ่ืนๆ.............................................................................................................. ( ) ชาระค่าใบรบั รองการส าเรจ็ การศึกษา จ านวน................บาท ใบเสร็จเล่มที.่ ........................................เลขท่ี............................. ลงช่ือ........................................................................................... ลงชือ่ ................................................................... วนั ที่........./.............../........... (...................................................................................................) วนั ท.ี่ ............./................./.............. ((3..)....ค...ว...า..ม....เ.ห...น็...ค...ณ....บ...ด...ี...........................................) ( ) ทราบ น าเข้าคณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาพจิ ารณาอนมุ ตั สิ าเรจ็ การศึกษา ( ) แจง้ บณั ฑิตศึกษา ลงนาม ........................................................................................................ (....................................................................................................................) วนั ที่ .................../.........................../........................ การจบ 4.(สาหรบั บณั ฑติ ศกึ ษา) 1. นักศกึ ษาสอบวิทยานพิ นธ์ เม่ือวนั ท่ี........เดอื น...........................พ.ศ..........และ อนมุ ตั ิผลสอบวิทยานพิ นธ์ และเลม่ วทิ ยานิพนธ์ฉบบั สมบรู ณ์แลว้ จาก มตคิ ณะกรรมการบณั ฑติ ศึกษา คร้ังที่ ........./................ เมื่อวันท่ี.........เดอื น........................................พ.ศ……...... 2. เลขที่เลม่ ISBN (หมายเลขเลม่ ) วศ. PIT - -- ENG-- 3 . เลขทเ่ี ล่ม ISBN (หมายเลขเล่ม) วท. PIT- -- SC -- ลงชอ่ื ……………………………..………………. (นางสาวพรี ิยา จารุเศรฐการ) นกั วชิ าการศกึ ษา .............../............../...............

2 บศ.90 แบบรายงานผลการศึกษา เพิ่มเต2ิมเ2ข้ามา เพอื่ ขอสาเรจ็ การศึกษาในระดบั บัณฑติ ศึกษา บณั ฑิตศกึ ษา เรียน ประธานกรรมการบณั ฑติ ศึกษา วนั ที่….….เดอื น…………………………….……พ.ศ.……............... ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) รหัสประจ าตัว ระดบั  ปรญิ ญาโท  ปริญญาเอก คณะ สาขาวชิ า สว่ นที่ 1 ผา่ นเงอ่ื นไขการลงทะเบยี น 1.1 เรยี นครบหนว่ ยกติ ของหลกั สูตรเรียบร้อยแลว้ จานวน …………………………. หน่วยกติ การลงทะเบียนวทิ ยานิพนธ์ ครั้งที่ 1 จ านวน หน่วยกิต เมือ่ ภาคเรยี นท่ี / คร้งั ท่ี 2 จ านวน หนว่ ยกิต เมอ่ื ภาคเรียนท่ี / ครง้ั ที่ 3 จ านวน หน่วยกิต เมื่อภาคเรยี นท่ี / ครง้ั ท่ี 4 จ านวน หนว่ ยกิต เมื่อภาคเรียนท่ี / ครั้งท่ี 5 จ านวน หน่วยกิต เมอ่ื ภาคเรียนท่ี / ครั้งท่ี 6 จ านวน หนว่ ยกิต เม่อื ภาคเรยี นที่ / 1.2 ผลคะแนนภาษาองั กฤษ ตามเกณฑข์ องสถาบันทก่ี าหนด ❑ ผา่ นเกณฑ์การสอบ TOEFL TOEFL ITP IELTS CU-TEP MU-TEST ไดค้ ะแนน ❑ ผา่ นเกณฑ์ การลงทะเบียนเรียนวชิ า GES501 เม่อื ภาคเรียนที่ ผลสอบเปน็ และ การลงทะเบยี นเรยี นวชิ า GES502 เมอื่ ภาคเรียนท่ี ผลสอบเปน็ 1.3 การสอบวัดคณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) *** ใหก้ รอกเฉพาะปรญิ ญาเอก ***  ผ่านเกณฑ์ ตามประกาศฯผลการสอบ QE เมื่อ ว/ด/ป / / 1.4 ไดร้ ับอนุมัติหวั ขอ้ และเค้าโครงวทิ ยานพิ นธ์ ตามประกาศฯ เมื่อ ว/ด/ป / / ชื่อหวั ข้อวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอสิ ระ : ภาษาไทย ชือ่ หัวขอ้ วิทยานิพนธ์/การคน้ ควา้ อิสระ : ภาษาองั กฤษ ส่วนที่ 2 ผลงานทางวิชาการท่ีไดด้ าเนนิ การแล้ว 2.1 ผลงานทไ่ี ดร้ ับการตพี ิมพ์ ในวารสารวชิ าการ (Journal) 1. ชอื่ เร่อื ง : ชอื่ วารสาร (journal): ฉบบั ท่ี (Volume) หน้า (Page) ประเทศ : ปืที่ Year ปที ี่พิมพ์ (year) หนา้ (Page) ประเทศ : เดือน (Month) ฉบับที่ (Volume) ปที ี่พมิ พ์ (year) อยู่ในฐานข้อมลู : 2. ชื่อเรื่อง : ชื่อวารสาร (journal): ปืที่ (Year) เดือน (Month) อยูใ่ นฐานขอ้ มูล :

3 2.2 ผลงานท่ไี ดร้ บั การเสนอตอ่ ท่ีประชุมวิชาการ (Conference)  ระดบั นานาชาติ  ระดับชาติ 231. ชือ่ เร่ือง : ชื่อการประชมุ Conference : สถานทีจ่ ัดประชุม : ประเทศ วัน/เดือน/ปี ที่น าเสนอ 2. ชอ่ื เรื่อง : ชื่อการประชุม Conference : สถานท่ีจัดประชมุ : ประเทศ วนั /เดือน/ปี ทนี่ าเสนอ 3. ชอ่ื เร่อื ง : ชอื่ การประชมุ Conference : สถานท่จี ดั ประชมุ : ประเทศ วัน/เดอื น/ปี ที่น าเสนอ สว่ นที่ 3 การสอบวิทยานพิ นธ์ขั้นสุดทา้ ย 3.1 สอบวทิ ยานิพนธ์ขั้นสดุ ทา้ ย เมือ่ วนั /เดือน/ปี / / ผลสอบวทิ ยานิพนธ์ข้ันสดุ ทา้ ยทีไ่ ด้ คือ  O ดีเยี่ยม  G ดี  U ไม่ผา่ น  P ผา่ น ชอ่ื วิทยานพิ นธ/์ การคน้ ควา้ อิสระ ทใ่ี ชส้ าเร็จการศกึ ษา : ไทย ชอ่ื วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ ทใี่ ช้ส าเรจ็ การศกึ ษา : อังกฤษ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ขั้นสุดทา้ ยของข้าพเจา้ ประกอบด้วย (โปรดระบุ) 1. ประธานกรรมการสอบผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก 2. กรรมการ 3. กรรมการ 4. กรรมการ 5. กรรมการและเลขานุการ

4 นกั ศึกษากรอกคารอ้ งขอสาเร็จการศึกษาใหถ้ ูกตอ้ ง ตรวจสอบเอกสารและแนบเอกสาร ใหค้ รบถ้วน 24 1. แนบรูปถา่ ย 1.5 น้วิ 3 รปู ชุดครยุ (เขียนชอ่ื -สกลุ , รหัสประจ าตัว หลงั รูปถ่าย) 2. แบบรายงานผลการศกึ ษาตลอดหลักสูตร 1 ชุด 3. สง่ เลม่ วทิ ยานิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์ทไ่ี ดร้ ับการตรวจรปู แบบแลว้ (คลปิ ด าหรอื เข้าเลม่ ปกออ่ น ส่งท่ีบณั ฑิตศึกษา จานวน 5 เล่ม ) 4. ผลงานวชิ าการ กรณีผลงานตีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการ (Journal) แนบเอกสารตอ่ ไปน้ี  1. ส าเนาบทความทีต่ พี ิมพ์ฉบับสมบรู ณ์ (full paper) 1 ชุด  2.เอกสารที่แสดงวา่ ผลงานอยูใ่ นฐานขอ้ มลู ตามประกาศฯ 1 ชดุ กรณีผลงานทีเ่ สนอตอ่ ท่ปี ระชุมวชิ าการ (Conference) แนบเอกสารต่อไปน้ี  1.ปกนอก 1 ชุด และ สารบญั 1 ชดุ  2.รายนามคณะกรรมการ 1 ชดุ preview  3.ส าเนาบทความทต่ี พี มิ พ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวชิ าการ (proceeding) 1 ชดุ ทง้ั นไ้ี ด้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์แล้ว จึงเรยี นเพือ่ โปรดพจิ ารณา ลงชือ่ ……....………………………..………………..…….………นกั ศกึ ษา (....................................................................................) เบอร์โทรทตี่ ดิ ต่อได้ ...................................................... หมายเหตุ : นกั ศกึ ษาจะต้องเขา้ เลม่ วทิ ยานพิ นธ์ (ปกแข็ง) หลงั ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากสภาวชิ าการแล้ว -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ความเหน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธห์ ลกั ลงนาม อาจารยท์ ี่ปรึกษาหลัก ( ) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. ความเหน็ ประธานหลกั สูตร ลงนาม ประธานหลกั สตู ร () --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ส่งทบ่ี ัณฑติ ศกึ ษา ตรวจสอบเอกสารการขอสาเรจ็ การศึกษา สถานะนกั ศกึ ษา ปัจจุบนั อยู่ชั้นปีท่ี ............................................................................................................................................. ทง้ั นไ้ี ดต้ รวจสอบเอกสาร และผลงานวิชาการเบอ้ื งต้นของนักศกึ ษาเรยี บรอ้ ยแลว้  ใหแ้ ก้ไข / เพ่มิ เตมิ เอกสาร ดังน้ี แจ้ง น.ศ. ไว้ ณ วนั ที่ / /  ตรวจเอกสารแล้วเป็นไปตามเงอ่ื นไขของการขอส ารเ จ็ การศึกษา รบั ไว้ ณ วนั ท่ี / / ลงชอ่ื ……………………………..………………….…..……. (นางสาวสุทธวรรณ บุญราศรี) นักวิชาการศึกษา .........../............../...............

5 บศ.05.1 ใบรับรองมาตรฐานผลงานทางวิชาการ แก2ไ้ ข5ใหม่ หลกั สูตรบัณฑติ ศึกษา เพอื่ ขอสาเรจ็ การศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. เรยี น ประธานกรรมการบัณฑติ ศกึ ษา วนั ท่ี เดือน ขา้ พเจ้า นาย/นาง /นางสาว นกั ศึกษาระดบั ปริญญา  ป.โท  ป.เอก รหสั คณะ สาขาวชิ า ชอ่ื หัวข้อวิทยานิพนธ์ /การคน้ ควา้ อสิ ระ : ภาษาไทย ชอ่ื หัวขอ้ วิทยานิพนธ์ /การคน้ คว้าอิสระ : ภาษาอังกฤษ ขอรบั รองว่า ผลงานทางวชิ าการ ท่ีตีพมิ พ์ในวารสาร (Journal)  ระดบั นานาชาติ  ระดับชาติ  ไดร้ ับการตอบรบั ให้ตพี ิมพ์ผลงานแลว้ (Accepted) จ านวน ........... เรื่อง  ไดร้ ับการตพี มิ พผ์ ลงานแล้ว(Published) จ านวน ........... เรือ่ ง 1.ชอ่ื เรอ่ื ง : ชือ่ วารสาร (journal) : ฉบบั ท่ี (Volume) หนา้ (Page) ประเทศ : ปืท่ี Year ปีที่พมิ พ์ (year) ประเทศ : เดอื น (Month) ฉบับท่ี (Volume) หนา้ (Page) อยใู่ นฐานข้อมูล : ระบุ ปที พ่ี มิ พ์ (year) 2. ช่อื เรอ่ื ง : ชอ่ื วารสาร (journal) : ปืที่ (Year) เดือน (Month) อยู่ในฐานข้อมลู : ระบุ ผลงานท่ีเสนอต่อทีป่ ระชุมวชิ าการ (Conference)  ระดับนานาชาติ  ระดบั ชาติ  ไดร้ ับการตอบรับแลว้ (Accepted) จ านวน .......เรอ่ื ง  ไดร้ ับการตีพิมพ์ในรายงานสบื เนืองจากการประชุมแลว้ (Proceeding) จ านวน ......... เร่ือง 1. ชอื่ เรอื่ ง : ชอื่ การประชมุ วชิ าการ Conference : วัน/เดอื น/ปี ทน่ี าสเ นอ สถานทีจ่ ัดประชุม : ประเทศ 2. ชื่อเรอื่ ง : ชอื่ การประชุมวชิ าการ Conference : สถานท่จี ัดประชุม : ประเทศ วัน/เดอื น/ปี ท่นี าสเ นอ เป็นบทความท่ีไม่เคยตพี มิ พท์ ี่ใดมาก่อน ไมอ่ ย่รู ะหวา่ งการเสนอเพ่อื พจิ ารณาตพี ิมพใ์ นวารสารอืน่ และไม่มีเนื้อหาซ้าซ้อนกับบทความอ่นื และบทความนี้ใชเ้ พ่ือขอสาเรจ็ การศึกษา ของขา้ พเจ้าเพยี งผเู้ ดยี ว ลงช่ือ นักศกึ ษา () อาจารย์ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธห์ ลัก ตรวจสอบแลว้ ผลงานเป็นไปตามเงื่อนไขแลว้ ลงนาม อาจารยท์ ี่ปรึกษาหลกั ให้นักศึกษาแนบหลักฐานประกอบดังต่อไปนี้ () 1. ส าเนาผลงาน ที่ได้รบั การตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการ (Full paper) พร้อมดว้ ยหลักฐานที่แสดงใหเ้ หน็ ว่าวารสารอยใู่ นฐานขอ้ มลู ตามประกาศฯ 2. ส าเนาบทความท่ไี ด้รบั การตพี ิมพใ์ นรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการ(Proceeding)พร้อมด้วยปกนอก สารบัญ และรายนามคณะกรรมการ Pereview

6 26 สาเนาเอกสารหลักฐานงานวจิ ยั --- เพ่อื ประกอบการขอสาเรจ็ การศึกษา ---

แบบรายงานความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา บศ.30 หลกั สตู รบัณฑิตศึกษา 27 ปรญิ ญาโท  ปรญิ ญาเอก แก้ไขใหม่ (ใชส้ าํ หรบั น.ศ.รกั ษาสภาพ) ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว/) วันท่ี….…. เดอื น………………………….……พ.ศ.……............... รหสั นกั ศึกษา คณะทส่ี ังกัด สาขาวิชา ขอรายงานความก้าวหนา้ การศกึ ษา ในภาคการศึกษาท่ี .........ปกี ารศกึ ษา ........................ 1. การเรยี นรายวชิ า  เรียนครบ รายวชิ าในหลกั สูตรแล้ว  ยงั ไม่ครบรายวิชาตามหลักสตู ร 2. เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2562 (ภาษาต่างประเทศ)  ผ่านเงอื่ นไขแล้ว  ยังไมผ่ ่าน / ยงั ไม่มีผลคะแนน 3. การสอบวัดคณุ สมบัติ Qualifying Examination (กรอกเฉพาะ ป.เอก) ผา่ น ไมผ่ ่าน ยังไม่สอบ 4. ช่ือหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธ/์ การคน้ คว้าอิสระ : ไทย Title in Thai Title in English  สอบผ่านโดยไดร้ ับอนมุ ัตหิ ัวขอ้ ฯแล้ว  สอบไมผ่ า่ น  ยังไม่สอบ 5. อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธ์หลัก คือ 6. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม คือ 7. ความกา้ วหนา้ และกจิ กรรมทางวชิ าการทไ่ี ด้ดาเนินการ 7.1 ผลงานวิชาการทีต่ ีพิมพ์ในวารสาร (Journal)  รอส่งผลงานเพ่ือตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการ  รอตอบรับการตีพมิ พผ์ ลงาน  ระดับชาติ  ระดบั นานาชาติ ………. เรอ่ื ง  ระดับชาติ  ระดบั นานาชาติ ………. เรื่อง  ไดร้ ับการตพี ิมพเ์ ผยแพร่ผลงานในวารสารวิชาการแล้ว  ระดบั ชาติ  ระดับนานาชาติ ………. เร่อื ง ดงั นี้ 1. ช่ือเร่อื ง : ช่ือวารสาร (Journal) ปทื ่ี (Year) ฉบับท่ี (Volume) หน้า (Page) ประเทศ : เดอื น (Month) ปีทพ่ี มิ พ์ (year) 2.ชอื่ เรอ่ื ง : ชอื่ วารสาร (Journal) ปืที่ (Year) ฉบบั ที่ (Volume) หน้า (Page) ประเทศ : เดอื น (Month) ปที ่ีพิมพ์ (year) 7.2 ผลงานทไี่ ดน้ าเสนอต่อทป่ี ระชุมวชิ าการ (Conference) ระดบั ชาติ ระดบั นานาชาติ แลว้ จ านวน............... เรอ่ื ง 1. ชอื่ เรื่อง ชอื่ การประชมุ วิชาการ Conference 2. ชอ่ื เรื่อง ชอ่ื การประชุมวชิ าการ Conference 8. ปญั หาและหรอื อุปสรรคในการทาวทิ ยานพิ นธ์ (ถ้ามี โปรดระบุรายละเอียด) ลงชื่อ……....………………………..………………..…….………นกั ศึกษา (.....................................................................................) 9. ความเหน็ ของอาจารย์ที่ปรึกษา  อาจารย์ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์  อาจารยท์ ่ีปรึกษาวชิ าการ .............................................................................................................................................................................................................. ลงนาม……....………………………..…………………………………........ทป่ี รกึ ษา (.......................................................................................)

ระเบียบวาระที่ 4 เรือ่ งสืบเน่ือง 28วาระท่ี ๔.1 พิจารณาการสง่ เลม่ วทิ ยานพิ นธ์และหลกั ฐานงานวจิ ยั ของ นางสาวสิรญิ า เครอื ธิ เพอื่ พิจารณา ขอสาเรจ็ การศกึ ษาในระดับปรญิ ญาเอก ประจาภาคเรยี นท่ี ๒/256๒ (เพิม่ เตมิ ครัง้ ท่ี 2) จานวน 1 คน สืบเน่ืองจาก มติการประชุมกรรมการบัณฑิตศึกษา คร้ังที่ ๗/2563 เม่ือวันท่ี ๘ กรกฎาคม 2563 วาระท่ี 5.๗ พิจารณารายช่ือนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกขอสาเร็จการศึกษา ประจาภาคเรียนที่ ๒/256๒ (เพ่ิมเติม ครั้งท่ี 2) โดย มติท่ปี ระชุมกรรมการบณั ฑิต ดงั นี้ 1. มอบประธานหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตขน้ั สูง ใหก้ ากับและติดตามใหน้ กั ศกึ ษาส่งเลม่ วิทยานพิ นธ์ ฉบับสมบูรณ์เพ่ือประกอบการขอสาเร็จการศกึ ษา 2. มอบประธานหลกั สตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิตข้ันสูง แก้ไขใบรบั รองผลงานวิชาการเพอื่ ขอสาเร็จการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา โดยระบุฐานข้อมูลให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์ การพิจารณา วารสารทางวิชาการสาหรับเผยแพร่ผลงานวชิ าการเพือ่ ขอสาเร็จการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2559 3. ใหต้ รวจสอบการเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ เรื่อง A Simulation to Optimize The Painting Robots ว่าเป็นผลงาน ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ ตามประกาศคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วิชาการสาหรับเผยแพร่ผลงานวชิ าการเพ่อื ขอสาเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2559 หรือไม่ เร่ืองขอพจิ ารณา ตามบันทึกขอ้ ความท่ี AMT /099 ลงวนั ที่ ๒ ธนั วาคม 2563 หลักสูตรเทคโนโลยกี ารผลติ ขัน้ สงู ไดด้ าเนนิ การประสานงาน อาจารย์ท่ีปรกึ ษาและนางสาวสริ ิญา เครอื ธิ นักศึกษาปริญญาเอก เรียบรอ้ ยแลว้ ดงั น้ี 1. ส่งเลม่ วทิ ยานพิ นธ์ฉบับสมบรู ณ์ จานวน 5 เลม่ 2. แนบผลงานวิจัยใหม่ช่ือ“A Simulation Model and Break-Even Analysis for Improving Painting Robots” แทนผลงานเดิมช่อื “A Simulation to Optimize The Painting Robots” ๓. แก้ไขใบรบั รองวิทยานิพนธ์ โดยระบุฐานขอ้ มลู ให้สอดคลอ้ งกบั ประกาศ เรือ่ ง เรอ่ื งหลกั เกณฑ์การพจิ ารณาวารสาร ทางวิชาการสาหรับเผยแพร่ผลงานวิชาการเพอ่ื ขอสาเร็จการศกึ ษา ระดับปริญญาเอก พ.ศ. 2559 ๔. ตารางแสดงการเปรยี บเทียบผลงานวจิ ัย เพอ่ื ขอสาเรจ็ การศึกษา เงอ่ื นไขจบหลกั สตู ร ผลการเรยี นทไี่ ด้ ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลิตขั้นสงู ๑. น.ส.สิริญา เครอื ธิ รหัส 5๗0102๓90๖ ศกึ ษารายวิชาครบถ้วนตามเงื่อนไข 5๙ หนว่ ย ผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.๘๗ ผลเทียบความรภู้ าษาตา่ งประเทศ S (เรียนผ่านตามเงือ่ นไขของประกาศสถาบนั ฯ) ตีพิมพผ์ ลงานวิทยานิพนธ์ ตามเงื่อนไข ผ ล งา น ได้ รั บ ก า ร ตี พิ ม พ์ ใน ว ารส าร วิช าก าร ระ ดั บ น าน าช า ติ จานวน 1 เรื่อง และผลงานได้เสนอต่อที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่ มรี ายงานการประชมุ (proceedings) จานวน 2 เรอื่ ง สอบผา่ นวิทยานพิ นธ์ขน้ั สดุ ทา้ ย ผลสอบเป็น P (Pass) สง่ วิทยานพิ นธ์ฉบับสมบรู ณ์แล้ว วนั ที่ 6 มิถนุ ายน 2563 จานวน 5 เลม่ เลขที่ PIT- 20๑๙-D-ENG-AMT- 00๕ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาการขอสาเร็จการศกึ ษาให้แกน่ างสาวสริ ิญา เครอื ธิ ความเห็นของคณะกรรมการ . . .. .. มตทิ ี่ประชุม .. กรรมการบณั ฑิตศึกษา

29

30

บันทกึ ข้อความ 31 สว่ นราชการ เลขานุการคณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา ท่ี คบศ. ๑๓๔/2563 วนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม 2563 เรอ่ื ง แจง้ มติทป่ี ระชมุ กรรมการบณั ฑิตศกึ ษา คร้งั ท่ี 7/2563 (โดยย่อ) วาระที่ 5.7 พจิ ารณารายชื่อนกั ศกึ ษา ปริญญาโทและปริญญาเอก ขอสาเรจ็ การศกึ ษาประจาภาคเรียนท่ี 2/2562 (เพ่ิมเตมิ จานวน 2 คน) ตรวจเสนอ เรียน คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์/ประธานหลกั สตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขนั้ สูง ตามท่ีประชุมกรรมการบัณฑติ ศึกษา ครัง้ ท่ี 7/2563 เม่อื วนั ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2563 เวลา 13.30 น. นั้น สทุ ธวรรณ บญุ ราศรี ........../............/......... เลขานุการกรรมการบัณฑติ ศึกษา ได้ดาเนนิ การจัดทาสรุปมตทิ ี่ประชมุ (โดยย่อ) วาระท่ี 5.7 พจิ ารณารายชือ่ นกั ศกึ ษา .. ปริญญาโทและปรญิ ญาเอก ขอสาเร็จการศึกษาประจาภาคเรียนท่ี 2/2562 (เพ่มิ เติม จานวน 2 คน) ดงั น้ี ความเห็นคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา จากเอกสารประกอบการขอสาเร็จการศึกษาของ นางสาวสริ ิญา เครอื ธิ นกั ศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี การผลติ ขนั้ สงู มขี อ้ สงั เกตดังนี้ 1. นักศกึ ษาไม่ส่งเลม่ วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณ์ ตามเงือ่ นไขการขอสาเร็จการศึกษา ตามขอ้ บงั คับฯ หมวด 9 ข้อท่ี 43 (5) 2. ในใบรบั รองมาตรฐานผลงานวชิ าการเพื่อขอสาเร็จการศึกษา ไมไ่ ด้ระบุฐานขอ้ มลู การเผยแพร่ผลงานวชิ าการ ตามประกาศฯ เร่ืองหลกั เกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรบั การเผยแพร่ผลงานเพอ่ ขอสาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอก พ.ศ. 2559 มตทิ ป่ี ระชมุ 1. มอบประธานหลักสูตรสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขั้นสูง ให้กากบั และตดิ ตามใหน้ กั ศกึ ษาส่งเลม่ วทิ ยานิพนธ์ ฉบบั สมบูรณเ์ พือ่ ประกอบการขอสาเรจ็ การศึกษา 2. มอบประธานหลักสตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ ขั้นสูง แก้ไขใบรับรองผลงานวิชาการเพอื่ ขอสาเรจ็ การศกึ ษา ระดับบัณฑิตศึกษา โดยระบุฐานข้อมูลให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรบั เผยแพรผ่ ลงานวิชาการเพื่อขอสาเร็จการศึกษา ระดบั ปริญญาเอก พ.ศ. 2559 3. ให้ตรวจสอบการเผยแพร่ผลงานวชิ าการ เร่อื ง A Simulation to Optimize The Painting Robots ว่าเปน็ ผลงาน ท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวชิ าการ ตามประกาศคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วชิ าการสาหรับเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการเพอื่ ขอสาเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก พ.ศ. 2559 หรือไม่ จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและดาเนนิ การสว่ นทเ่ี กีย่ วข้องตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.อนชุ าติ ศรีศริ ิวฒั น์) เลขานกุ ารคณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษา

32

33

34

35

36

37

38

39



ISSN 2278-3091 Siriya K et al., International Journal of Advanced TreVndosluinmCeo9m,pNutoer.4S,cJieunlcye a–nAd uEgnugsinte2er0i2ng0, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering Available Online at http://www.warse.org/IJATCSE/static/pdf/file/ijatcse113942020.pdf 41https://doi.org/10.30534/ijatcse/2020/113942020 A Simulation Model and Break-Even Analysis for Improving Painting Robots Siriya K.1, Seksan C.2, Fasai W.3, Dechathanat T.4, Pramot S.5, Ismail A.H.6 1 Faculty of Engineering, Pathumwan institute of technology, Bangkok, Thailand, [email protected] 2 Faculty of Engineering, Pathumwan institute of technology, Bangkok, Thailand, [email protected] 3 Faculty of Engineering, Pathumwan institute of technology, Bangkok, Thailand, [email protected] 4 Faculty of Engineering, Pathumwan institute of technology, Bangkok, Thailand, [email protected] 5Faculty of Engineering, Kasem Bundit University, Bangkok, Thailand, [email protected] 6 School of Mechatronic Engineering Universiti Malaysia Perlis Perlis, Malaysia, [email protected]  factory required an open environment, dirty of clay slip on ABSTRACT uniform etc. From these reasons, causing workers leave the Robotic automation has long been used to replace human factory higher rate than other industries such as workers for tasks having a high degree of risk, such as areas semiconductor or electric component manufacturers. Thus, with high heat, hazardous chemical area. The use of robots the application of robots in this kind of industry is particularly in industrial painting not only protect human significantly widely required. In addition, consistent of health but also improve the productivity. The robot can work product quality, continue long time production and continuously without being tired is an advantage compared to controllable operation cost are possible to achieve by using the human workers. However, the investment in the robotics robots in the production process. However, high investment project for production is quite high in the initial period. Often cost on the robotic application is one of disadvantages. the inventor will need to ensure that their investment is worth Therefore, the management and engineers must carefully for which the robotics system to be used at full capacity. In study the information of the project in order to demonstrate this works, analyzed the break-even points of the production the effectiveness of the robots, including the provision of level of ceramic products was conducted after simulated the relevant information such as marketing and production painting robot layout. To ensure the improvement of the capability to the investors, and also for the knowledge of other production process to produce satisfactory results before the departments. Initially, the responsible parties for instance the real hands-on trial, the production process is first simulated Process Engineers will look on losses that occur in the with software. FlexSim is a simulation software for simulated, production process before proposing the robotics solutions. analysis and optimized the painting production process for The engineering conventional tools are used for a long time ceramic factory. In summary, the simulation shows the until now for improvement activities [1]. For instance, Lean productivity of a proposed production is more than current six-sigma (LSS) [2], [3], Value Stream Mapping (VSM) [4], production 4.38 times. Total Quality Management (TQM) [5]. While simulation software was interested by engineers such as Arena Key words: Simulation, productivity, motion and time study, simulation software [6], [7], and also Delmia [8]. FlexSim is a break-even point, painting robots simulation software using for models and simulates in many kinds of applications such as healthcare, mining etc. The 1. INTRODUCTION applications are wide, such as in Manufacturing:[9] production, job shop. Material handling: conveyor systems, The industrial robots specifically painting robots were created packaging, warehousing. Logistics and distribution:[10] to keep workers out of \"dangerous\" jobs as well as increase supply chain design, distribution center workflow, service productivity and maintaining quality. Painting Robots have and storage layout. Others: Oil field or mining processes, been invented over 30 years, can be found explicitly in the networking data flow [11]. Engineering economic tool such automotive industries. Painting robots are used by vehicle as net present value, payback period or break-even analysis manufacturers to do detailing work on their cars in a [12] are other indicators commonly used to determine profit consistent and systematic way. Some of these robots are specially for projects that require a large investment. designed with a robotic arm that moves vertically and The break-even analysis is a useful tool to estimate the return horizontally, applying paint jobs on all parts of the car. on investment. Its goal is to find the point, in this case in However, there are many other applications. Ceramic terms of cash and units, where investment costs equates industrial is in group of dusty manufacturing since inside the profits. The business is expected to obtain its profitability [13] factory we will find lot of dust from glaze, heat since the at some targeted goal point. Managerial decisions require a careful analysis of the costs and profits behavior. In these cases, the break-even linear model is widely used [12]. Both 4977

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 revenue and total costs are assumed to be linear in this model, 42Each painting stations consist of two unit of the painting i.e. The constant variables are presented in unit sale price and unit variable cost. The uncertainty is considered implicit. In robots. Each robot is programmed to have a different moving this work, FlexSim is a software using for modelling and path and painting time. This difference affects the number of analysing the painting robots of ceramic production process. the output of each robot (imbalance). The robot installation is Throughput, productivity which presented in unit per hour depicted in Figure 2. It can be seen that the physical (UPH) and number of workers are three key indicators for characteristic of vacuum holding systems for workpieces comparing between current painting production process and gripping has limit the ability of the robots to paint the product proposed painting production process for this ceramic factory. simultaneously on the front and back surface. Therefore, to In order to understand the minimum amount of production encounter this problem, the factory decided to use 3 stationary that will make no loss in investment, break-even analysis of robots which is now able to perform painting in different painting production will be the important indicator of this positions in the expense of extra cost and processing time. study. The layout of current painting process is shown in Figure 3. Two painting lines are working similar procedures. Painting 2. CURRENT SITUATION station-1 is assigned for an exterior painting. There are two robots in this station. The first robot paints exterior path no. 1, 2.1 Painting Process Layout while the second robot paints exterior path no. 2. Painting Currently, standard hanging painting robots as shown in station-2 is assigned for an interior painting. Finally, the 3rd Figure 1 are used in this factory. The Process engineer is painting station is assigned for painting the special pattern on responsible for programming to set the path of movement and the product. The two current painting production processes the painting time for each product. show in Figure 3. Figure 1: Industrial Painting Robot Figure 3: Current Layout of the Painting production process Figure 2: Simulation of the Robots installed in Painting Station 2.2 Motion and Time Study Figure 4 presented the motion and time study of the current painting process. The total cycle time equal to 481 seconds per unit of ceramic plate product. Workpieces flow through station 1 to station 2, and flow from station 2 to station 3 by conveyor. Total distance of movement is 25.5 m. It can be considered as a very long distance of ceramic painting process for plate. The painting process required a lot of labours although the painting process uses six robots, 11 workers and takes a very long time to produce was questioned about the effectiveness of the investment. Process engineers are assigned to find out the losses in the process and find ways to improve to make the most efficient of painting production. It is hoped that the understanding product characteristics will leads to more efficient production process design. 4978

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 Location : Painting robot Summary 3. METHODOLOGY 43 3.1 Break-Even Point Activity : Plate Type Present Proposed Date : 25-Jul-19 Operation 25 Operator : Method and Type : Analyst : Process engineer Transport 3 The break-even point is the point where the business’s sales Method : Present Type : Operator Proposed Delay 0 have generated enough income to cover total of fixed costs Yeild : Material Mat.Margin (%) : Inspection 1 Machine Storage 0 and expenses. Time (sec) 481 Distance (m) 25.5 Cost Time Distance Contribution per unit = P – VC (1) Symbol (Second) (m) Event Description 18 On the other hand, the Break Even Point in Quantity (BEP) Inspection can be computed by Cleaning biscuit with water. 23 Cleaning by water and tape on the logo Loading product to station1 29 Move to Robot#1-1 Spray color#1 position 1 13 2.5 Move to Robot#1-2 Spray color#1 position 2 5 Move to unloading station Unloading the product to conveyor 20 Move to station2 Loading product to station2 5 (2) Move to Robot#2-1 Spray color#2 position 1 15 Where FC is the fixed cost, P is unit sale price and VC is unit Move to Robot#2-2 variable cost. Spray color#2 position 2 5 Move to unloading station The break-even point identifies the total amount of benefit the Unloading the product to conveyor 9 2.5 painting production process needs before profit can be earned. Move to station3 When analysed closely, the break-even analysis also helps the Move to Finish by conveyor 18 12 factory to identify excessive fixed costs. Since the break-even Finishing point is directly related to the fixed costs, then reducing and Loading product to station3 10 controlling these costs aids the factory in achieving a lower Move to Robot#3-1 break-even point, which mean the profit can be accessed Spray color#3 position 1 5 quickly. Move to Robot#3-2 Spray color#3 position 2 23 3.2 Production Process and Layout Design Move to unloading station As described previously, the limitations of vacuum holding Unloading product and Polishing 5 system causes system inefficiency although the colour of Cleaning transfer product to car rack frontal and back are the same. The workpiece is firstly 21 sprayed on the top surface at the first painting station, and then fetch to second painting station to spray the bottom 5 surface. An automated spray booth and vacuum holding system were newly designed to solve this matter. Interior and 9 2.5 exterior painting at the same time and same station was good benefit of the newly design. Figure 6 shows the new painting 18 3 station production process layout. The objective to employ the robot for the proposed layout is to get the highest efficient. It 18 3 should be mentioned that the painting robots are using for painting the special colour pattern only. 94 10 5 23 5 21 5 21 28 Figure 4: Motion and Time Study of Current Painting Production 2.3 Productivity Figure 5 presented the imbalance output of current painting production process. The output of 6.5 working hours is 466 pieces. The productivity at each hour at painting production line no.1 is 6.52 pieces per man per hour only. In order to increase the painting robot efficiency, the Process Engineer is given a task to design a new painting production process which will reduce the losses as occurred in the current painting processes as described previously. Simulation by FlexSim was used to analyse the output that will be get from the proposed process. Then the break-even point analysis used to find the best solution for selecting the improvement project. Figure 5: Output of Current Painting Production Process 4979

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 44Benefit of the proposed painting production process are, reduction of cycle time, distance of movement and reducing the number of workers. These results, lead to process simulation by FlexSim software. The simulation shall compare between current painting process and proposed painting process for single colour plate. 3.4 Simulation Two painting production processes were simulated in this study, which are the current painting process shown in Figure 8, and the proposed painting process for single colour plate shown in Figure 9. The parameters of each variables are based on the motion and time study as described in Figure 4 and Figure 7. Figure 6: Proposed Painting Production Process Location : Painting robot Summary Present Proposed Activity : plate Type Operation 5 Date : 29-Aug-19 Transport 1 Delay 0 Operator : Analyst : Process engineer Inspection 1 Storage 0 Method and Type : Time (sec) 103 Distance (m) 9 Method : Present Proposed Cost Type : Operator Material Machine Yeild : Figure 8: Simulation of Current Painting Production Process Mat.Margin (%) : Event Description Symbol Time Distance (m) (S econd) Inspection and Cleaning biscuit with water 6 Loading product to auto spray booth 21 3 Auto spray booths 9 Loading product to station1 10 Move to Robot#1-1 3 Spray color#1 position 1 37 Move to Robot#1-2 6 Spray color#1 position 2 3 Move to unloading station 18 Unloading product and Polishing 3 CC and Transfer product to car rack 4 16 Figure 7: Motion and Time Study of Proposed Layout for Processes for Single Colour Plate Single Colour Plate 3.3 Motion and Time Study Figure 9: Simulation of Proposed Painting Production Process The motion and processing time of the newly proposed painting production process layout and process flow chart is As depicted in Figure 9, the production lines had been analysed specifically for single-coloured ceramic plate. The shortened, resulting in shorter operation time and shorter result of this analysis is shown in Figure 7 involved 5 workers, moving distance. In addition, it can also help the production yielding the total cycle time of the proposed painting process supervisor to closely supervised the workers, affecting the for single colour plate is 103 seconds per one piece. The production with better quality. The position of the workers process’s cycle time is reduced to 78.59% compared to the has been rearranged as shown in Figure 9. Each worker will current practice, and the distance of movement is reduced to 9 work with different duties and different operation time as meters, or 64.71% reduction from current operation. The shown by the motion and time study in Figure 7 which are, results of the new painting production process design by experienced engineers by using traditional process analysis Worker-1: Inspect and cleaning raw materials. tools have a significant effect on the efficiency of the painting Worker-2: Operate the automated spray booth. process. Worker-3: Load workpiece to painting robots. 4980

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 Worker-4: Unload workpiece from painting robots and 45• The revenue of single colour plate is 1.20 USD per polishing. Worker-5: Collected a finished product and keep on the cart. unit. From the revenues and costs data above, by input the 4. RESULTS AND ANALYSIS value into (2) be able to know the break-even point of the painting production process for single colour plate of this 4.1 Simulation Results factory. Table 1: Current Painting Production Processes Results B. Break-Even Analysis Determined the value of each variables, found Indicator Result  FC is fixed cost of proposed for single colour Daily throughput 2,796 unit painting production process calculated depreciation at 10 years, working hours 19.5 hours per day and 26 Total number of workers 66 persons working day a month. The fixed cost is, Productivity 6.52 unit/man/hour FC = 31.25 x 6 x 19.5 x 26 = 95,062.50 USD/month Table 2: Proposed Painting Production Processes Results of Single  VC1 is variable cost of current painting production Colour Ceramic Plate process. Total worker is 66 persons for 2 painting production processes with 3 shifts operation pattern. Indicator Result VC1 = (1.80 x 66) / 2,796 = 1.02 USD/piece. Daily throughput 16,740 unit Total number of workers 90 persons Productivity 28.61 unit/man/hour A. Number of workers  VC2 is variable cost of proposed painting production Current production process flow chart is shown in Figure 3 process. Total worker is 90 persons for 2 painting the number of current production workers is 11 production processes with 3 shifts operation pattern. workers/shift/line or total workers will be 66 workers per day. While 5 workers/shift/line is employed for the proposed VC2 = (1.80 x 90) / 16,740 = 0.23 USD/piece. painting production process or total required 90 workers per day. From (2) and information we have, This issue is the shortcoming of the proposed system. Although the number of workers increase a bit, the processing BEP current = 3,656 / (1.20 – 1.02) = 20,283 pieces per day time has significantly reduced. For the single colour plate painting production process, throughput has increased to BEP proposed = 3,656 / (1.20 – 0.23) = 3,778 pieces per day almost 6 times from the present while the number of workers has just increase 1.36 times. It’s a balance bargain. The calculation results presented that BEP of the current painting production process is more than BEP of the proposed B. Productivity painting production process equal to 5.37 times. Hence it can Relationship between number of workers and output is be assumed that the opportunities that the proposed painting presented by productivity level. Table 1 shows the production processes can generate profits at 5.37 times faster productivity of current painting production process equal to than current painting production processes. 6.52 UPH. While productivity of the proposed painting production process shows in table 2 is 28.61 UPH. C. Throughput The mostly utilization of the painting robots, the factory must use the robots 24 hours. Table 1 shows the output of current painting production process is 2,796 pieces/day. Simulation result of the proposed painting production process shows in table 2 the output achieved to 16,740 pieces/day. 4.2 Results of Break-Even Analysis A. Conditions Figure 10: Comparison of Output and BEP in Unit of Quantity of • 1.8 USD per man-hr was considered from direct Current Painting Process labour to be presented as Variable cost. • 31.25 USD/hour/painting station was Fixed cost. 4981

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 Current painting process presented in Figure 10 the 46REFERENCES break-even point equal to 20,283 pieces but current output of this process is only 2,796 pieces per day. Therefore, it is not 1. E. Westkämper. Digital Manufacturing in the Global possible to be able to profit from production with the current Era, Digital Enterprise Technology: Perspectives and painting production processes. Future Challenges (ed. Cunha, P.F., Maropoulos, P.G.), Springer, 2007. Figure 11: Comparison of Output and BEP in Unit of Quantity of Proposed Painting Process 2. Burgess, N., Radnor, Z. and Davies, R. Taxonomy of Lean in healthcare: A framework of Evaluating While proposed painting process presented in Figure 11 the Activity and Impact, Proceedings of EurOMA break-even point is 3,778 pieces and output equal to 16,740 conference 2009, pp.1 – 10. pieces per day. Therefore, the proposed production process has the potential to be able to make profit easily. 3. Fairul Anwar A B, Mohd Amran M D, Mohamad Ikbar A W, Khairanum S, Ishamuddin M and Mazlan A. Lean 5. CONCLUSION Six Sigma Implementation on Reducing Incoming Processes Time in QA Department at Reckitt The continuous improvement in factory plant is a must-job to Benckiser Sdn Bhd, International Journal of Advanced do as it could increase production efficiency and reducing the Trends in Computer Science and Engineering, Volume 9, loss while maximizing the profit, especially when dealing No.1.1, 2020, pp.252–258. with costly operation of machineries such as the painting https://doi.org/10.30534/ijatcse/2020/4591.12020 robots. It must be used to its fully potential and maximum capacity. 4. Anand Sasikumar and Kundan Kumar. Value Stream Process analysis using traditional engineering tools such as Mapping in a Manufacturing Company, IRACST – motion and time study can provide better analysis results International Journal of Commerce, Business and when integrated with simulation software such as FlexSim. Management (IJCBM), ISSN: 2319–2828, Vol. 2, No.2, The analysis of break-even point is used to help decide the April 2013, pp.136 – 145. project that should be used to increase the productivity and efficiency of the production process. 5. Mohd Amran M D, Mohamad Ikbar A W, Fairul Anwar To summarise, the methods applied in this work should be AB and Khairanum S. The Implementation able to cater some of efficiency problems where it is found that Effectiveness of Quality Tools and Techniques, the proposed painting process can generate profits 5.37 times International Journal of Advanced Trends in Computer faster than the current painting production, thus benefits both Science and Engineering, Volume 9, No.1.1, 2020, parties i.e. the investor and the workers. pp.191–198. https://doi.org/10.30534/ijatcse/2020/3491.12020 ACKNOWLEDGEMENT 6. Rahman C. M. and Sabuj S. U. PROCESS FLOW This works is done thanks to suggestions and IMPROVEMENT PROPOSAL OF A BATCH recommendations from advisory boards consisting of teachers MANUFACTURING SYSTEM USING ARENA and staffs at the ceramic factory, who participant until the end SIMULATION MODELING, Review of General of project completion. Management, 21(1), 2015, pp.63-77. 7. John B. and E. Jenson Joseph. Analysis and simulation of factory layout using ARENA, International Journal of Scientific and Research Publications, 3(2), 2013, pp.1 – 8. 8. Elena-Iuliana Gingu and Miron Zapciu. Improving layout and workload of manufacturing system using Delmia Quest simulation and inventory approach, International Journal of Innovative Research in Advanced Engineering (IJIRAE), Volume 1, Issue 6, July 2014, pp.52 - 61. 9. Erol Gelenbe and Hatim Guennouni, FlexSim: A flexible manufacturing system simulator, European Journal of Operational Research, Volume 53, Issue 2, July 25, 1991, pp.149 – 165. 10. U.Sravan Kumar and Shivraj Yeole. Productivity Improvement through Optimization of Layout using Flexsim Simulation Software, 5th National Conference on Advances in Mechanical Engineering, At Vasavi College of Engineering, Hyderabad, Volume: 01, May 2015, pp.64 – 67. 11. Marta Rostkowska. SIMULATION OF PRODUCTION LINES IN THE EDUCATION OF ENGINEERS: HOW TO CHOOSE THE RIGHT 4982

Siriya K et al., International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 9(4), July – August 2020, 4977 – 4983 SOFTWARE, Management and Production 47 Engineering Review, Volume 5, No.4, December 2014, pp.53-65. https://doi.org/10.2478/mper-2014-0036 12. Murdock J., Phillips C. and Beane R. Break-even analysis of Medicaid vs. fee for service in orthodontic practice, American Journal of Orthodontics and Dentofacial orthopedics, 137 (3), 2010 pp.334 - 339. https://doi.org/10.1016/j.ajodo.2008.08.024 13. Leon, V.J. Operations research in manufacturing, Manufacturing Engineering Handbook, New York: McGraw-Hill, 2004, pp.15.1–15.18. 4983

11/30/2020 IJATCSE Journal (http://www.warse.org/IJATCSE/) 48 International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering ( IJATCSE ) ISSN ( ONLINE ) : 2278 - 3091 Frequency 6 issues per year (February , April, June , August, October, December) Publication Charges USD 200 Published by The World Academy of Research in Science and Engineering   EDITORIAL BOARD Home (http://www.warse.org/IJATCSE/) /  Editorial Board Editor in Chief Dr. Ibrahiem El Emary Professor of Computer  Science and Engineering Information Science Department,  Faculty of Arts and Humanities, King Abdulaziz University Jeddah, Kingdom of Saudi Arabia     Editorial Board Members www.warse.org/IJATCSE/editorialBoard 1/5

11/30/2020 IJATCSE Journal Prof. Qing Tan 49 Athabasca University, Canada 2/5 Prof. Abdel Badeeh Salem Professor of Computer Science Head of Medical Informatics and Knowledge Engineering Research Unit, Faculty of Computer and Information sciences Ain Shams University Abbasia, Cairo-Egypt   Prof.Bassant Mohamed Humboldt University, Berlin, Germany Prof. Naser M. Tabtabaei Seraj Higher Education Institute, Iran Prof. Musbah J. Aqel Applied Science University, Amman, Jordan Prof. S. Ramakrishnan Dr.Mahalingam College of Engineering & Technology, Pollachi, India Prof.Abo Ella Hassanien Cairo University, Cairo, Egypt Dr. P.K. Suri Kukshetra University, India Dr. O. P. Verma Head of the Department, IT Delhi Technological University (Formerly, Delhi College of Engineering) Delhi, India [email protected] Dr. Mokhtar Beldjehem The School of Information Technology and Engineering(SITE) University of Ottawa, Ottawa, ON, Canada.   Dr K M Pandey,Ph.D(IITK), Professor and Ex-Head Dean, Faculty Welfare Department of Mechanical Engineering, National Institute of Technology, Silchar, Assam, India. www.warse.org/IJATCSE/editorialBoard


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook