Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

Description: งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

Search

Read the Text Version

ปา้ ยจราจร  พิจารณาชนิดและการติดต้ังป้ายจราจร (เช่น รูปแบบป้ายจราจรที่ติดต้ังเป็นไปตาม มาตรฐานหรอื ไม่ ตําแหนง่ ของการติดตง้ั ปา้ ยจราจรมคี วามเหมาะสมหรือไม่ เปน็ ต้น)  การมองเห็นป้ายจราจร (เช่น ป้ายจราจรอยู่ในสภาพท่ีสามารถมองเห็นได้ชัดเจนทุก ช่วงเวลา ทุกสภาวะ และไม่มีส่ิงบดบังหรือไม่ ป้ายจราจรสามารถมองเห็นได้อย่าง ชดั เจนโดยไมถ่ ูกดงึ ดูดความสนใจจากส่ิงรอบข้างหรอื ไม่ เป็นต้น) 102

9/8/2021 สานักอานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 103

มาตรฐานและการติดต้งั ปา้ ยจราจร ค่มู ือการติดตงั้ ป้ายจราจร (ทช.) ค่มู อื และมาตรฐานเคร่อื งหมายจราจร (สนข.)

 เพอื่ ให้การใช้ถนนเป็นไปตามการออกแบบ ถนนทไี่ ด้มาตรฐาน และความจําเป็น ประเภทของป้ายจราจร  ปา้ ยบังคบั  ป้ายเตือน  ปา้ ยแนะนาํ







บ.๓๗ บ.๓๘ บ.๓๙ บ.๔๐ บ.๔๑ บ.๔๒ บ.๔๓ บ.๔๔ บ.๔๕ บ.๔๖ บ.๔๗ บ.๔๘ บ.๔๙ บ.๕๐ บ.๕๑ บ.๕๒ บ.๕๓ บ.๕๔ บ.๕๕



111

สีของป้ายแนะนําท่ัวไปจะเป็นแบบพ้ืนขาว ขอบ/สัญลักษณ์/ อักษรดํา แต่ป้ายแนะนําสถานท่ีท่องเที่ยวจะเป็นป้ายสีฟ้าพื้นสีขาว และป้ายขนาดใหญ่บนทางพิเศษจะเป็นป้ายพื้นสีเขียวตัวหนังสือ สีขาว







ความหมายของป้าย?

ปา้ ยจราจรชาํ รดุ ขาดการบาํ รงุ รกั ษา

118

119

สาํ นกั อํานวยความปลอดภัย บ.54 บ.32 ป้าย บ.54 “ปา้ ยความเร็วข้ันต่ํา” ปา้ ย บ.32 “ปา้ ยจาํ กัดความเรว็ ” หมายความว่า ผขู้ บั ขีต่ อ้ งใช้ หมายความวา่ ห้ามใช้ความเรว็ ความเร็วไมต่ ํ่ากวา่ ท่กี าํ หนดตาม เกนิ ทีก่ าํ หนดตามจํานวนตัวเลขที่ จาํ นวนตัวเลขท่ีระบุในปา้ ย ระบใุ นป้าย

สาํ นักอาํ นวยความปลอดภยั บ.55 ป้าย บ.55 “ป้ายสดุ เขตบังคับ” หมายความวา่ หมดระยะบงั คับตามความหมายของป้ายบงั คับ ท่ไี ดต้ ิดต้ังไว้กอ่ นทีจ่ ะถึงป้ายน้ี

สํานกั อาํ นวยความปลอดภัย ปา้ ยชุด ต.62+ต.71 ปา้ ยชดุ บ.42+ต.71 ปา้ ยชดุ ต.62+ต.71 แสดงการจราจร ที่แยกกันจากป้ายนี้จดุ หมาย ปา้ ยชดุ บ.42+ต.71 แสดงการจราจร ปลายทางทต่ี า่ งกนั ท่ีแยกกันจากป้ายน้จี ะกลบั มาพบกนั อีกคร้ังที่จดุ หมายปลายทางเดยี วกนั

สญั ญาณไฟจราจร  พิจารณาการติดต้ังและการทํางานของสัญญาณไฟจราจร (เช่น สัญญาณไฟจราจร ทํางานอย่างถูกต้องหรือไม่จํานวนตําแหน่ง และชนิดของ สัญญาณไฟจราจร มีความเหมาะสมสําหรับ ยานพาหนะในแต่ละประเภท หรือไม่ เป็นตน้ )  การมองเห็นสัญญาณไฟจราจร (เช่น สัญญาณไฟจราจร อยู่ในสภาพท่ี สามารถมองเห็นได้ อย่างชัดเจนหรือไม่ การมองเห็นสีของสัญญาณไฟ จราจรมปี ญั หาจากสี ของไฟฟ้าสอ่ งสว่างในบรเิ วณใกล้เคียงหรือไมเ่ ป็นต้น) 123

มาตรฐานและการติดตง้ั สญั ญาณไฟจราจร คมู่ ือและมาตรฐานสญั ญานไฟจราจร (สนข.) ค่มู อื การตดิ ตั้งอปุ กรณอ์ ํานวยความปลอดภยั (ทล.) 124

งานตดิ ต้งั สัญญาณไฟจราจร ระบบควบคมุ ไฟฟา้ มีอยู่ 2 ระบบ ดงั นี้ 1. ระบบตัง้ เวลาแนน่ อน (Fixed Time) 2. ระบบควบคมุ สัญญาณไฟฟ้าแบบเปลี่ยนตามปริมาณจราจร (Vehicle Actuated (VA)) 125

งานติดต้งั สญั ญาณไฟจราจร - Design Criteria (Ref: ค่มู ือและมาตรฐานเครื่องหมายจราจร สนข.) 126

ตาํ แหน่งตดิ ต้งั บนทางแยกขนาดเลก็

ตาํ แหน่งตดิ ต้งั บนทางแยกขนาดใหญ่

เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย จ ร า จ ร แ ล ะ เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย นํ า ท า ง  พิจารณาปัญหาทั่วไป (เช่น เครื่องหมายจราจรและเคร่ืองหมายนําทางมีความสมํ่าเสมอ ไปตลอดเส้นทางหรอื ไม่ เป็นตน้ )  เคร่อื งหมายจราจร (เช่น เสน้ หยดุ หรอื เส้นใหท้ าง มคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ เป็นตน้ )  เครื่องหมายนําทาง (เช่น เครื่องหมายนําทางถูกบดบังการมองเห็นจาก ต้นไม้ป้ายต่าง ๆ การจอดรถ ฯลฯ หรอื ไม่ เป็นตน้ )  อุปกรณ์บนผิวจราจรหรือปุ่มจราจร (เช่น อุปกรณ์บนผิวจราจรได้มีการติดตั้งอย่าง ถูกตอ้ งและเหมาะสมหรอื ไม่ เป็นตน้ )  แถบชะลอความเร็ว หรือ Rumble Strips (เช่น รูปแบบการติดตั้งของแถบชะลอ ความเร็วมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ เป็นตน้ ) 129

ปจั จยั ดา้ นวศิ วกรรมจราจร 130

ปจั จัยด้านวิศวกรรมจราจร • เครอื่ งหมายจราจรบนพื้นทาง (Pavement Marking) – เคร่อื งหมายจราจรบนพนื้ ทางประเภทบังคบั • เครอื่ งหมายหา้ มจอดรถ (เหลอื งขาว) • เคร่ืองหมายหา้ มหยดุ รถ (แดงขาว) 131

ปัจจยั ด้านวศิ วกรรมจราจร • เครอ่ื งหมายจราจรบนพน้ื ทาง (Pavement Marking) – เครือ่ งหมายจราจรบนพ้ืนทางประเภทบงั คับ • เส้นแนวหยุด ให้ผ้ขู บั รถหยุดรถกอ่ นถึงแนวเส้นแนวหยุด เม่ือได้รบั สญั ญาณจราจรใหไ้ ปได้ หรือไมม่ เี หตกุ ีดขวางการจราจร จึงใหผ้ ่านเสน้ แนวหยุดไปได้ • เสน้ ให้ทาง ใหผ้ ู้ขบั ข่ขี ับรถใหช้ า้ ลง หากเห็นว่าจะไมป่ ลอดภยั ตอ่ ผอู้ ่ืนในทางขวางหน้า และเปน็ การกดี ขวางการจราจร ใหห้ ยดุ รถก่อนถึงแนวทางเส้นให้ทาง • เส้นทางข้าม • เส้นทแยงห้ามจอดรถ 132

ปัจจยั ดา้ นวศิ วกรรมจราจร (ตอ่ ) • เครอื่ งหมายจราจรบนพนื้ (Pavement Marking) – เครอ่ื งหมายจราจรบนพนื้ ทางประเภทเตือน • เส้นชะลอความเร็ว • เส้นทางรถไฟผา่ น • เคร่ืองหมายขาว ดาํ บนขอบทาง • ขอ้ ความเตอื นหรอื แนะนําบนพื้นทาง 133

ปจั จยั ด้านวิศวกรรมจราจร (ตอ่ ) • เครือ่ งหมายจราจรบนพน้ื (Pavement Marking) – เคร่ืองหมายอ่นื ๆ • ลกู ศร • ให้ทาง • เขตปลอดภัยหรือเกาะสี • เสน้ ช่องจอดรถ • ขอ้ ความบังคบั บนพ้นื ทาง 134

ปจั จัยดา้ นวิศวกรรมจราจร (ตอ่ ) • การแบง่ ชอ่ งจราจร – เสน้ แบ่งทิศทางจราจรปกติ – เส้นแบง่ ทิศทางจราจรหา้ มแซงเฉพาะดา้ น – เสน้ แบ่งช่องเดินรถ หรือ เสน้ แบ่งชอ่ งจราจร – เส้นหา้ มเปล่ยี นช่องเดินรถ หรอื เสน้ ห้ามเปลยี่ นชอ่ งจราจร 135







139

สภาพอนั ตรายข้างทาง  เขตปลอดภัย หรือ Clear Zone สภาพข้างทางที่ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อผู้ขับ ขี่และไม่มีวัสดุกีดขวาง ท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ขับขี่ ติดตั้งอยู่ในเขตน้ัน (AASHTO, 2011)  อุปกรณก์ ันชน (เชน่ อปุ กรณ์กันชนไดร้ บั การตดิ ตัง้ อยา่ งเหมาะสมหรอื ไม่ เปน็ ตน้ )  อุปกรณ์กั้นข้างทาง (เช่น ชนิดและการติดต้ังราวกันอันตรายมีความ ปลอดภัยต่อ ผู้ใช้รถใชถ้ นนหรือไม่ เป็นตน้ ) 140

141

142

สงิ่ กดี ขวาง (Fixed objects) • คันทางท่สี ูงชนั • ครู ะบายนา้ํ ข้างทาง • แอ่งน้ําที่ลึก > 60 ซม. คลอง แมน่ า้ํ หรอื แหลง่ นํ้าธรรมชาตอิ ่นื ๆ • ต้นไม้เส้นผ่านศนู ยก์ ลางลาํ ต้น > 10 ซม. สูงจากพ้นื ดิน > 15 ซม. • บ่อพกั ท่อระบายนํา้ ทโี่ ผล่พน้ ผิวดิน • เสาและโครงสร้างรองรับเสาปา้ ยจราจร เสาสญั ญาณไฟจราจร 143

ระยะเขตปลอดภยั ข้างทาง (Clear Zone Distance) ความเรว็ ออกแบบ ปริมาณจราจรเฉลยี่ ความลาดเอยี งบริเวณดนิ ถม ความลาดเอยี งบริเวณดนิ ตัด 1:3 1:5 ถึง 1:4 1:6 หรือราบกวา่ (กม./ชม) ต่อวนั 1:6 หรือราบกวา่ 1:5 ถึง 1:4 1:3 นอ้ ยวา่ 750 2.0 – 3.0 2.0 – 3.0 •• 2.0 – 3.0 2.0 – 3.0 2.0 – 3.0 750-1500 3.0 – 3.5 3.5 – 4.5 < 60 1500-6000 3.5 – 4.5 4.5 – 5.0 •• 3.0 – 3.5 3.0 – 3.5 3.0 – 3.5 มากกวา่ 6000 4.5 – 5.0 5.0 – 5.5 •• 3.5 – 4.5 3.5 – 4.5 3.5 – 4.5 4.5 – 5.0 4.5 – 5.0 4.5 – 5.0 •• 70-80 นอ้ ยวา่ 750 3.0 – 3.5 3.5 – 4.5 •• 2.5 – 3.0 2.5 – 3.0 3.0 – 3.5 750-1500 4.5 – 5.0 5.0 – 6.0 1500-6000 5.0 – 5.5 6.0 – 8.0 •• 3.0 – 3.5 3.5 – 4.5 4.5 – 5.0 มากกวา่ 6000 6.0 – 6.5 7.5 – 8.5 •• 3.5 – 4.5 4.5 – 5.0 5.0 – 5.5 4.5 – 5.0 5.5 – 6.0 6.0 – 6.5 •• นอ้ ยวา่ 750 3.5 – 4.5 4.5 – 5.5 •• 2.5 – 3.0 3.0 – 3.5 3.0 – 3.5 90 750-1500 1500-6000 5.0 – 5.5 6.0 – 7.5 •• 3.0 – 3.5 4.5 – 5.0 5.0 – 5.5 6.0 – 6.5 7.5 – 9.0 มากกวา่ 6000 •• 4.5 – 5.0 5.0 – 5.5 6.0 – 6.5 6.5 – 7.5 8.0 – 10.0 • 5.0 – 5.5 6.0 – 6.5 6.5 – 7..5 •• นอ้ ยวา่ 750 5.0 – 5.5 6.0 – 7.5 •• 3.0 – 3.5 3.5 – 4.5 4.5 – 5.0 100 750-1500 6.0 – 7.5 8.0 – 10.0 • •• 3.5 – 4.5 5.0 – 5.5 6.0 – 6.5 1500-6000 8.0 – 9.0 10.0 – 12.0 • •• 4.5 – 5.5 5.5 – 6.5 7.5 – 8.0 มากกวา่ 6000 9.0 – 10.0 • 11.0 – 13.5 • 6.0 – 6.5 7.5 – 8.0 8.0 – 8.5 •• นอ้ ยวา่ 750 5.5 – 6.0 6.0 – 8.0 •• 3.0 – 3.5 4.5 – 5.0 4.5 – 4.9 110 750-1500 1500-6000 7.5 – 8.0 8.5 – 11.0 • •• 3.5 – 5.0 5.5 – 6.0 6.0 – 6.5 8.5 – 10.0 • 10.5 – 13.0 • มากกวา่ 6000 •• 5.0 – 6.0 6.5 – 7.5 8.0 – 8.5 9.0 – 10.5 • 11.5 – 14.0 • 6.5 – 7.5 (189.802)–อ9า้ ง.0ใน 8.5 – 9.0 • • Graham 144 and Wardwood AASHTO (2011) ท่ีมา:

แนวทางจดั การ 1. กําจดั สิ่งกดี ขวาง 2. ออกแบบลักษณะของสิ่งกีดขวางเหลา่ นั้น เพือ่ มใิ ห้เป็นอันตรายหากเกิดการชน 3. เคลอ่ื นย้ายสง่ิ กดี ขวางเหลา่ นน้ั ไปอยใู่ นตาํ แหนง่ ซึ่งมโี อกาสทจ่ี ะถูกชนนอ้ ยลง 4. ใหชาอ้กปุเกกดิ รกณา์ทรชถี่ นกู ชปนะทและสว้ ง่ิหกกั ดี หขรวอื าลง้มได้ (Breakaway Device) เพอื่ ลดความรนุ แรง 5. ตกรดิ ะตแัง้ ทอกุปก(Cรณra์กsันhชCนuตsาhมioยาnว) (Longitudinal Traffic Barrier) หรอื เบาะกัน 6. ทปาํ้าใยหเต้ผอื ู้ขนบั สข่ิง่ีสกาดี มขาวราถงมหอรงือเหวัสน็ ดอุสุปะสทร้อรคนอแันสงตรายเหล่านน้ั ไดอ้ ย่างชดั เจน เช่น ติดต้งั 145

พืน้ ถนน • พิจารณาประเด็นสภาพพ้ืนถนน เช่น ผิวจราจรเกิดความ เสียหายท่ีอาจเป็นอันตรายต่อผู้ขับขี่หรือไม่มีความแตกต่าง ระหว่างระดับผิวทางและไหล่ทางหรือไม่ เปน็ ตน้





ไฟฟ้าแสงสวา่ ง • พิจารณาประเด็นปัญหาทั่วไป เช่น มีการติดต้ังไฟฟ้าส่องสว่างอย่างเพียงพอหรือไม่ ระดับของความสว่างมเี พียงพอหรอื ไม่ เป็นตน้