Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

Description: งานอำนวยความปลอดภัยสำหรับหมวดบำรุงทางหลวงชนบท

Search

Read the Text Version

กรมทางหลวงชนบท 1

กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS



45













ปจั จัยทที่ าํ ให้เกิดอบุ ตั ิเหตุ สภถานพนแวแดลละอ้ ม คน ยานพาหนะ ทัง้ สามปัจจยั มักจะเกดิ รวมกนั เป็น เหตกุ ารณล์ ูกโซ่ (Chain of Events) ซงึ่ นําไปสู่การเกดิ อุบตั เิ หตุ

เหตุการณ์ลกู โซข่ องการเกดิ อบุ ัติเหตุ +ผ้ขู บั ขม่ี พี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม สภาพพน้ื ผวิ ถนนลื่น ฝนตก ทศั นวิสัยไม่เหมาะสม เมา หรือ ขับรถเรว็ เกนิ กาํ หนด เกิดอุบัตเิ หตุและความสูญเสีย 12

เหตกุ ารณล์ ูกโซ่ของการเกิดอบุ ตั เิ หตุ +ผู้ขับขม่ี พี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม สภาพพ้นื ผิวถนนล่นื ฝนตก ทัศนวิสัยไมเ่ หมาะสม เมา หรอื ขับรถเรว็ เกินกําหนด การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน สามารถตัดลกู โซ่ของ เหตุการณ์ลูกโซข่ องการเกิดอบุ ัติเหตุด้านปจั จัยทางถนน 13

ขอบเขตการบรรยาย 1. ภาพรวมความปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทยและกรมทางหลวงชนบท 2. งบประมาณด้านอํานวยความปลอดภยั และปรับปรงุ แกไ้ ขบรเิ วณเส่ยี งอันตราย 3. วศิ วกรรมความปลอดภัยทางถนน 4. การสาํ รวจข้อมูลดา้ นวศิ วกรรมเพ่อื ใชใ้ นการดา้ นความปลอดภัยทางถนน 5. แบบทเี่ กีย่ วข้องกับงานอาํ นวยความปลอดภยั 6. งานตดิ ตามและประเมนิ ผล 9/8/2021 สาํ นกั อาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 14

•ประเทศไทย อันดบั เท่าไร? กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS

สถติ อิ บุ ัตเิ หตุประเทศไทย • เป็นอนั ดับที่ 9 ของโลก • อัตราการเสียชวี ติ 32.7 คน/แสนประชากร Source: (WHO) Global status report on road safety 2018 16

ในแตล ะช่ัวโมง จะมผี สู ญู เสียชีวติ เน่อื งจาก อบุ ตั ิเหตทุ างถนน ในประเทศไทย 9/8/2021 สานักอานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 17

เสยี ชีวติผู้ จากอุบตั เิ หตุทางถนนปี 2563 ทั่วประเทศ 15,749 ราย คิดเปน็ มูลค่าความเสียหาย ประมาณ 150,749 ลา้ นบาท ในความเสยี หายทเ่ี กิดขน้ึ น้ี เราสามารถจัดหาวคั ซีน Covid19 ให้ประชากรได้ 83 ล้านคน 110หรือ ประมาณ % ของประชากรในประเทศ 9/8/2021 สาํ นกั อาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 18

สถิตอิ ุบัติเหตบุ นทางหลวงชนบท (รายป)ี 2000 1800 1600 1400 1200 1000 800 600 400 200 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 อบุ ตั ิเหตุ 1381 772 483 425 418 658 817 659 917 1219 1188 1532 1595 1516 1653 1608 บาดเจบ็ 1836 961 598 502 515 767 852 632 957 989 1345 1747 1904 1735 1800 1586 เสียชีวติ 213 152 97 95 68 134 134 109 161 144 217 283 348 311 391 549 กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS

กราฟแสดงจาํ นวนอบุ ตั เิ หตุตามคนเดนิ เทา้ และรถยนตท์ ่เี กีย่ วขอ้ ง ปี พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS

กราฟแสดงจํานวนอบุ ัตเิ หตุตามมูลเหตุสนั นิษฐานดา้ นผู้ขับข่ี ปี พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS

กราฟแสดงอุบัติเหตุตามมลู เหตสุ ันนษิ ฐานดา้ นสภาพ สายทางปี พ.ศ. 2562 กรมทางหลวงชนบท DEPARTMENT OF RURAL ROADS

สํานกั อํานวยความ กรอบยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) ปลอดภัย ภารกิจดา้ นอาํ นวย ความปลอดภยั ทาง ถนนอยภู่ ายใต้ ยทุ ธศาสตรท์ ี 2 การสรา้ ง ความสามารถในการ แขง่ ขนั 23 23

งานสํารวจ ออกแบบ ประมาณราคา กลุม่ พฒั นาวศิ วกรรมจราจร งานมาตรฐานวิศวกรรมจราจรและความปลอดภัย 1.สาํ รวจ วิเคราะห์ ข้อมูลจราจร ข้อมูลด้านวศิ วกรรม ฝา่ ยธรุ การ 1. ศกึ ษา พัฒนา กําหนดมาตรฐานดา้ นวศิ วกรรมจราจร และ และข้อมลู อุบตั เิ หตุบนทางหลวงชนบท เพอ่ื เสนอแนว ทางแก้ไข ปรับปรุง ใหค้ ําปรึกษา และตรวจสอบงาน - ตัวช้วี ดั สาํ นกั อํานวยความ ความปลอดภัยทางถนน 2. สํารวจ วเิ คราะห์ ออกแบบ แกไ้ ขปญั หาด้านความ ปลอดภัย ปลอดภยั โดยใชห้ ลักการดา้ นวศิ วกรรม เพอ่ื แก้ไข - ดูแลเวบ๊ ไซต,์ FB สํานักอาํ นวย 2. ศกึ ษา พัฒนา จัดทาํ แบบมาตรฐานการปรับปรงุ จดุ อนั ตราย ปรบั ปรงุ จดุ อันตรายบนทางหลวงชนบท ความปลอดภยั 3. พิจารณาความถกู ตอ้ งเหมาะสมของแบบรูป - ระบบสารบรรณ หนงั สือบนั ทกึ กาํ หนดรูปแบบการปรับปรุงและแกไ้ ขปญั หาดา้ นการจราจรและ ประมาณการของโครงการด้านความปลอดภัยงานทาง ตา่ ง ๆ บนทางหลวงชนบทให้สอดคลอ้ งกบั หลักวิศวกรรม - จัดเกบ็ และทําทะเบียนการใช้งาน สง่ เสริมการเดินทางใหม้ ีความสะดวก รวดเรว็ ความปลอดภยั (Area) ครุภัณฑ์งานสาํ รวจ 4. ปฏิบตั ิงานอ่ืนท่เี กยี่ วข้องหรอื ที่ได้รับมอบหมาย - ทาํ ทะเบยี นรถยนตใ์ ชใ้ นราชการ 3. จดั ทาํ พฒั นา ปรับปรุง หลกั เกณฑ์ ข้อกาํ หนดการควบคุมทาง อาํ นวยความปลอดภยั สํานักอาํ นวยความปลอดภัย หลวงชนบทและทางหลวงทอ้ งถิน่ ให้สอดคลอ้ งกบั หลกั การดา้ น ความปลอดภยั 4. ศึกษา พัฒนาการนําระบบขนสง่ อัจฉริยะ (Intelligent Transport Systems, (ITS)) มาใช้ในการกาํ กบั ตดิ ตามสภาพ จราจรและอุบตั ิเหตุ การรายงานผลแก่ผใู้ ชท้ าง เพ่ือเตรยี มความ พร้อมรองรบั เหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินตา่ ง ๆ ทีอ่ าจเกิดขน้ึ 5. ศึกษา พฒั นา จัดทาํ ค่มู ือเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ดา้ น การจราจร เคร่อื งหมายจราจร ระบบสญั ญาณไฟจราจร 6. ศกึ ษา พัฒนา ปรับปรงุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อ ประยุกต์ใชก้ บั งานดา้ นความปลอดภัยทางถนน เพ่ือนําไปใชว้ าง แผนการปรับปรุงจุดอนั ตราย 7. ส่งเสริมและสนบั สนนุ เกีย่ วกับการพัฒนาความปลอดภยั บน ทางหลวงทอ้ งถ่ิน 8. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ทเี่ กี่ยวขอ้ งหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย 24

กลุ่มบริหารแผนงานงบประมาณ งานวชิ าการ งานแผนงาน งบประมาณ 1. จัดเตรยี มข้อมลู คาํ ช้แี จงงบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปี และงบประมาณอน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 1. กาํ หนดกลยทุ ธ์แผนงานป้องกนั และลดอุบัตเิ หตุ 2. ศึกษา กาํ หนดวธิ กี ารคัดเลอื กและจดั ลําดับความสาํ คญั บนทางหลวงชนบทรองรับนโยบายและยุทธศาสตร์ ของโครงการ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 3. ตรวจตดิ ตามความพร้อมของแบบประมาณราคางาน 2. จดั ทําแผนแมบ่ ทและแผนปฏบิ ัติการด้านความ อาํ นวยความปลอดภยั และจุดเสย่ี งอนั ตราย ปลอดภยั ทางถนน 4. จดั ทาํ ฐานขอ้ มูลโครงการท่ีได้รบั การจัดสรรงบประมาณ 3. พิจารณาความเหมาะสมคมุ้ ค่าและจัดลาํ ดับ และดําเนนิ การแลว้ เสรจ็ สําคญั โครงการที่พนื้ ท่ขี อรับการสนับสนุนให้เกิด 5. ติดตามผลการดําเนินงานงบประมาณปกติดําเนนิ การเอง ประโยชน์สูงสุด ประจําปีงบประมาณ 4. จัดทาํ คําของบประมาณและบรหิ ารงบประมาณ 6. สาํ รวจและออกแบบตามข้อเสนอแนะด้านวชิ าการงาน ด้านอาํ นวยความปลอดภยั และปรบั ปรงุ แก้ไข อาํ นวยความปลอดภยั (Area) บริเวณเส่ยี งอนั ตราย 7. กํากับและบริหารจัดการโรงงานผลิตปา้ ยจราจร 5. กํากบั และติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 8. ปฏิบตั ิงานอ่นื ที่เกี่ยวข้องหรือท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 6. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ทเี่ กี่ยวข้องหรือทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 25

งานวิเคราะหป์ ระเมินผล กลมุ่ ติดตามและประเมนิ ผล ศนู ย์รับเรอื่ งร้องเรียน สายดว่ น 1146 งานติดตาม ตรวจสอบ 1. จดั ทาํ กํากับ วิเคราะห์ สรุปข้อมูลแผนงาน 1. กํากบั ตดิ ตามผลการดําเนนิ งานโครงการ 1. วิเคราะห์ สรปุ ผล การรับเร่ืองผ่าน อํานวยความสะดวกและปลอดภยั ฯ ปรับปรุงแกไ้ ขบรเิ วณเสี่ยงอนั ตรายท่อี ยู่ สายดว่ น 1146 2. กาํ กับ ติดตามผลดําเนนิ โครงการ ระหวา่ งก่อสร้างและตรวจสอบสภาพ 2. กํากับ ตดิ ตามผลการดําเนินงานแกไ้ ข อาสาสมคั รทางหลวงชนบท ระหว่างคาํ้ ประกัน ปัญหาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น 3. สรปุ วเิ คราะหผ์ ลสถติ อิ บุ ตั ิเหตทุ ีเ่ กิดบนทาง 2. รวบรวม ตรวจสอบผลการอํานวยความ 3. กาํ กบั ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงาน หลวงชนบท สะดวกและปลอดภัยชว่ งเทศกาลและวนั ของเจ้าหน้าท่ีสายด่วน 1146 4. วเิ คราะห์ ประเมินผล งานด้านวศิ วกรรม สาํ คญั 4. ปฏบิ ัติงานอืน่ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งหรอื ทไ่ี ดร้ บั จราจรและอํานวยความปลอดภัยบนทางหลวง 3. ติดตามผลการดําเนนิ งานและตรวจสอบ มอบหมาย ชนบท ภายหลังที่ไดร้ ับการปรบั ปรุงแลว้ การใชจ้ า่ ยงบประมาณฯ ของส่วนภมู ภิ าค 5. ตดิ ตามผลการดําเนนิ งานงบประมาณ 4. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนทีเ่ กี่ยวข้องหรอื ท่ีไดร้ บั ดาํ เนนิ การเองช่วงเทศกาลประจาํ ปี มอบหมาย งบประมาณ 26

งบประมาณดา้ นอาํ นวยความปลอดภัยและ ปรับปรุงแกไ้ ขบรเิ วณเสย่ี งอนั ตราย 27

งบประมาณรายจา่ ยดา้ นความปลอดภัยทางถนน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 7,830.3895 ลบ. แผนงานบูรณาการพฒั นาด้านคมนาคม แผนงานพื้นฐานดา้ นการสรา้ ง และระบบโลจิสติกส์ ความสามารถในการแขง่ ขนั 4,848.1171 ลบ. 2,982.2724 ลบ. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขจดุ เสี่ยงจดุ อนั ตรายท่ีกาํ หนดเป้าหมายชัดเจน งานเร่งดว่ น/เร่อื งรอ้ งเรยี น/ความต้องการประชาชน เชิงรกุ : ปรบั ปรงุ จุดเส่ยี งจากระบบตรวจสอบความ ซอ่ มบํารุงอุปกรณ์อํานวยความปลอดภยั ที่ชาํ รุด ปลอดภยั (Road Safety Audit: RSA) เสียหายจากการใชง้ านและตามอายกุ ารใชง้ าน เชิงรบั : ปรบั ปรงุ จุดเสี่ยงจากรายงานสบื สวนอุบตั เิ หตุ ตดิ ตงั้ เพ่ิมเตมิ ในบรเิ วณเสี่ยง (Risk Spot) และ (Road Accident Investigation : RAI) บรเิ วณอันตราย (Black Spot) สาํ นกั อํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 28

ประเภท แผนงานบูรณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ โครงการ/ กจิ กรรม ● กจิ กรรมปรับปรงุ บรเิ วณคอขวดไหล่ทาง ปี 2566 ● กจิ กรรมขยายความกว้างสะพาน ● กจิ กรรมไฟฟ้าแสงสว่างบริเวณเข้าสทู่ างแยกหลัก ● กิจกรรมปรบั ปรงุ เรขาคณติ ของทาง ● กจิ กรรมปรบั ปรงุ ทางแยกและจุดต่อเช่อื ม ● กจิ กรรมปรบั ปรงุ บรเิ วณยา่ นชมุ ชน ● กจิ กรรมเพิม่ ประสทิ ธิภาพความปลอดภัย ● กิจกรรมปรับปรุงจุดเส่ยี งจดุ อนั ตราย แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ● กจิ กรรมอํานวยความปลอดภัยทางถนน 29 ● กจิ กรรมอาํ นวยความปลอดภยั ปกติ ● กจิ กรรมป้องกันและอาํ นวยความปลอดภัยชว่ งเทศกาล ● กิจกรรมบรหิ ารจัดการระบบขนสง่ และจราจรอจั ฉริยะ (ITS : Intelligent Transport System) สํานักอาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท

กิจกรรมปรับปรุงบริเวณคอขวดไหล่ทาง แผนงานบรู ณาการพฒั นาคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ ดาํ เนินการเฉพาะถนนท่ีแคบเป็นชว่ งๆ ความยาวชว่ งละไมเ่ กนิ 500 เมตร การปรบั ปรงุ บริเวณที่มลี ักษณะทางแคบเป็นชว่ ง ๆ เชน่ บรเิ วณทีไ่ ม่มไี หล่ทางหรือไหลท่ างเปน็ ลกู รังแต่เปน็ ถนนทเี่ ช่ือมตอ่ กบั ช่วง ถนนทก่ี วา้ ง ขยายไหล่ทางเป็นผิวจราจรลาดยางให้สภาพทางมีลักษณะความกว้างทีเ่ ท่ากันอย่างต่อเน่อื ง รวมทงั้ การปรับปรงุ เครื่องหมายจราจรปา้ ยจราจรให้เป็นไปตามมาตรฐาน กอ่ นดาํ เนนิ การ หลังดําเนินการ สาํ นักอาํ นวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 30

กิจกรรมขยายความกว้างสะพาน แผนงานบรู ณาการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ดําเนินการเฉพาะรปู แบบขยายสะพานท่ีมีอยเู่ ดมิ เท่านั้น และตดิ ตัง้ อปุ กรณ์อํานวยความปลอดภยั ใหค้ รบถว้ น การปรบั ปรงุ /แกไ้ ขความกว้างสะพานหรอื ทอ่ ลอดเหลย่ี มเดมิ ทค่ี วามกว้างน้อยกว่าถนน ซึง่ มลี กั ษณะเปน็ “คอขวด (Bottle Neck)” บรเิ วณคอสะพาน ใหม้ คี วามกวา้ งเทา่ กับถนน ก่อนดําเนินการ หลงั ดําเนนิ การ สาํ นักอาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 31

กจิ กรรมไฟฟ้าแสงสวา่ งบริเวณเขา้ สู่ทางแยกหลกั แผนงานบูรณาการพฒั นาคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ ดําเนนิ การบรเิ วณทางแยกระหว่าง ทช. กับ ทช./ทล./ท้องถ่นิ ติดตงั้ ไฟฟา้ แสงสว่างบริเวณทางแยกถนนทางหลวงชนบททีเ่ ชื่อมกบั ทางหลวงแผน่ ดิน เพอื่ อาํ นวยความสะดวกและเพิ่มระยะการมองเห็นตอ่ ผู้ขบั รถในเวลากลางคืน ก่อนดาํ เนินการ หลังดําเนินการ สาํ นกั อํานวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 32

กิจกรรมปรับปรุงเรขาคณติ ของทาง แผนงานบูรณาการพฒั นาคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ ดําเนินการบรเิ วณโคง้ อันตราย ทมี่ ลี ักษณะแคบ ปรบั ปรงุ ทางโค้งอันตรายทมี่ ลี ักษณะแคบ การปรบั ปรงุ จะดําเนินการโดยการขยายความกว้างในบรเิ วณทางโคง้ (Widening) แนวทางราบหรือแนวทางด่ิง (Horizontal and Vertical Alignment) และ/หรือยกระดบั ทางโคง้ (Super Elevation) การยกโค้ง ใหร้ องรับกับความเรว็ ยานพาหนะ รวมทง้ั งานติดตงั้ อปุ กรณ์ เช่น ราวกันอันตราย ป้ายเตือนแนวทางโคง้ เป้าสะทอ้ นแสง ปมุ่ สะทอ้ นแสง ปา้ ยเตือนและปา้ ยบงั คับ ฯลฯ ก่อนดาํ เนนิ การ หลังดําเนนิ การ สํานกั อาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 33

กจิ กรรมปรบั ปรุงทางแยกและจุดต่อเช่อื ม แผนงานบรู ณาการพฒั นาคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ ดาํ เนินการบรเิ วณทางแยกและจุดต่อเชือ่ ม เช่น สามแยก สี่แยก การปรบั ปรงุ ขยายช่องทางเล้ียว ปรบั ปรุงผวิ ทาง การจัดชอ่ งจราจรทเ่ี หมาะสม วางทอ่ ระบายนาํ้ รวมทง้ั งานติดต้ังป้ายและเครอ่ื งหมายจราจร ก่อนดาํ เนนิ การ หลงั ดําเนินการ สาํ นกั อํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 34

กิจกรรมปรับปรุงบริเวณยา่ นชมุ ชน แผนงานบรู ณาการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ดําเนนิ การบรเิ วณถนนชว่ งทผี่ า่ นยา่ นชมุ ชน มีการจราจรและคนเดินเทา้ หนาแน่น การปรับปรงุ ถนน กอ่ สร้างทางเทา้ ปรับปรุงผิวทาง วางท่อระบายนา้ํ รวมท้ังงานปรับปรุงหรือ ตดิ ตัง้ ไฟฟา้ แสงสว่าง ติดตัง้ ป้าย และเคร่อื งหมายจราจร ก่อนดาํ เนนิ การ หลังดําเนินการ สาํ นักอาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 35

กจิ กรรมเพิม่ ประสิทธภิ าพความปลอดภัย * แผนงานบูรณาการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ * ไม่มใี นปีงบประมาณ 65 ปรบั ปรงุ บรเิ วณหนา้ โรงเรียน โครงการถนนสวยหน้าหมูบ่ ้าน และจุดตัดรถไฟท่เี ส่อื มสภาพ เชน่ เสน้ จราจรเลือนลาง คา่ สะทอ้ นแสงป้ายลดลง ป้ายอปุ กรณ์ท่ชี ํารุด (เช่น ปา้ ย your speed) สาํ นักอํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 36

กจิ กรรมเพิม่ ประสิทธภิ าพความปลอดภัย * แผนงานบูรณาการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ * ไม่มใี นปีงบประมาณ 65 ปรบั ปรงุ บรเิ วณหนา้ โรงเรียน โครงการถนนสวยหน้าหมูบ่ ้าน และจุดตัดรถไฟท่เี ส่อื มสภาพ เชน่ เสน้ จราจรเลือนลาง คา่ สะทอ้ นแสงป้ายลดลง ป้ายอปุ กรณ์ท่ชี ํารุด (เช่น ปา้ ย your speed) สาํ นักอํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 37

กจิ กรรมปรับปรุงจุดเส่ียงจุดอันตราย แผนงานบรู ณาการพฒั นาคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ ดําเนินการบรเิ วณถนนจุดเสย่ี ง จดุ อันตราย และจดุ ทท่ี ํา RSA การตดิ ตงั้ ปา้ ยและเครอื่ งหมายจราจร ในการเพ่ิมความปลอดภยั จุดเส่ยี ง(Risk Spot) จุดอันตราย (Black Spot) ที่มีสถิตกิ ารเกดิ อุบตั ิเหตุ และจุดทไี่ ดร้ บั การตรวจสอบความปลอดภยั ทางถนน (Road Safety Audit : RSA) แล้วพบจดุ บกพร่องทางถนน กอ่ นดาํ เนินการ หลงั ดําเนินการ สาํ นกั อาํ นวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 38

แผนงานพ้นื ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั กจิ กรรมอํานวย ประเภทเครอ่ื งหมาย ประเภท ความปลอดภัย จราจรบนผิวทาง ราวกันอันตราย ทางถนน ประเภทไฟฟ้าแสงสวา่ ง ประเภทปรับปรุง และสญั ญาณไฟจราจร ทางเพื่อ ความปลอดภยั กจิ กรรมอํานวยความ กจิ กรรมปอ้ งกนั และอาํ นวย ปลอดภยั ปกติ ความปลอดภัยชว่ งเทศกาล สาํ นกั อาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 39

งบดําเนนิ การเอง งานอาํ นวยความปลอดภยั ปกติ ดําเนินการตลอดท้ังปี ประกอบด้วยงานด้านตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. งานสาํ รวจภาคสนามเพอ่ื ตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (RSA) • สาํ รวจบริเวณจดุ เสย่ี งอันตราย • สํารวจบริเวณท่เี กดิ อบุ ตั เิ หตุรนุ แรง/มีผเู้ สียชีวติ /ผู้ไดร้ ับการบาดเจบ็ จํานวนมาก (ขอ้ มลู อบุ ัตเิ หตจุ ากระบบ ARMS) • เสนอแนะแนวทางการปรับปรงุ แก้ไข • ผ้ตู รวจสอบความปลอดภยั ของแตล่ ะจงั หวดั จะเป็นผ้ดู าํ เนินการตรวจสอบ สํานักอํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 40

งบดําเนินการเอง งานอํานวยความปลอดภัยปกติ 2. งานปรบั ปรุงระยะเรง่ ด่วนบรเิ วณเสีย่ งอันตราย/บรเิ วณอันตราย • งานปรับปรงุ แก้ไขบริเวณเสี่ยงอนั ตราย/บรเิ วณที่เกดิ อบุ ัตเิ หตุรุนแรงจากผลการ ตรวจสอบความปลอดภยั ทางถนน (RSA) • เปน็ การปรับปรงุ แบบเรง่ ด่วน เช่น ตดิ ต้งั ราวกันอนั ตรายทางโคง้ /ทางตรง, ติดตง้ั ปา้ ย, ปุ่มสะทอ้ นแสง และตีเสน้ ช่องจราจร (นอกช่วงเทศกาล) สาํ นักอาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 41

งบดาํ เนินการเอง งานอาํ นวยความปลอดภัยปกติ 3. งานซอ่ มบาํ รุงระบบไฟฟ้าแสงสว่างและไฟสัญญาณจราจรเพอ่ื ความปลอดภยั • การซอ่ มอุปกรณ์สว่ นประกอบของงานไฟฟ้าแสงสวา่ ง ไฟสัญญาณจราจรและไฟกะพรบิ เชน่ ชุดดวงโคม, ระบบควบคมุ (Controller), ตแู้ ละหลงั คาคลมุ (Controller and Shelter), สายไฟ, ฟวิ ส์, บาลาสต์ (Bal-last), อิกนิเตอร์ (Igniter) และหลอดไฟ • จ้างบุคลากรไฟฟ้าประจาํ ขทช. (กองแผนงาน) หากมีความจําเป็นเร่งด่วนเพ่ือแก้ไขปัญหาร้องเรียน หรือเกิดอุบัติเหตุรุนแรง สามารถขอ สนบั สนนุ งบประมาณเพ่ิมเติมไดเ้ ปน็ รายกรณี สาํ นกั อาํ นวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 42

งบดําเนินการเอง งานป้องกนั และอาํ นวยความปลอดภัยช่วงเทศกาล งบประมาณงานปอ้ งกนั และอํานวยความปลอดภยั ชว่ งเทศกาล (ปีใหม่ / สงกรานต)์ ได้แบง่ เปน็ แนวทาง การดําเนนิ งานเป็น 2 ช่วง คอื 1. โอนชว่ งกอ่ นเทศกาล เป็นงบประมาณท่ี สอป. จะดาํ เนินการโอนให้สว่ นภมู ิภาคในการสนับสนุน ดําเนนิ งานเชงิ รุก โดยเน้นงานทางด้านปรับปรงุ แก้ไขจดุ เสย่ี งอนั ตราย เพอ่ื รองรับการเดินทางของ ประชาชน และใชร้ ะหวา่ งชว่ งเทศกาล (ควบคมุ เข้มข้น) 2.โอนช่วงหลังเทศกาล เป็นงบประมาณที่ สอป. จะดําเนินการโอนให้ส่วนภูมิภาคในการสนับสนุน ดําเนินงานเชงิ รบั ทางด้านการปรบั ปรุงจุดท่ีเกดิ อุบตั ิเหตุ เพ่อื ป้องกันไมใ่ ห้เกิดเหตซุ า้ํ อกี ในอนาคต

งบดําเนินการเอง งานป้องกนั และอาํ นวยความปลอดภยั ช่วงเทศกาล ก่อน 1. งานเตรียมความพร้อมเส้นทาง เพ่ืออํานวยความปลอดภัยช่วงเทศกาล งานอํานวยความ ระหวา่ ง ปลอดภัยบริเวณสายทางที่สําคัญในช่วงเทศกาล โดยเฉพาะสายทางที่เป็นทางเล่ียง ทางสายหลักในการ หลงั เดินทางของประชาชนในช่วงเทศกาล เช่น งานตัดหญ้า/พุ่มไม้ข้างทาง เพ่ือเพิ่มระยะมองเห็นปลอดภัยงาน ทําความสะอาดและติดต้ังป้ายจราจร ป้ายแนะนําเส้นทางเครื่องหมายนําทาง ปุ่มสะท้อนแสง เคร่ืองหมาย จราจรบนผวิ ทาง ตลอดจนตรวจสอบและซอ่ มบาํ รุงไฟฟ้าแสงสว่างท่ีชํารุดเสียหาย เปน็ ต้น 2. งานภาคสนามชุดลาดตระเวน เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนในพนื้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 3. งานสํารวจภาคสนาม เพื่อสอบสวนวิเคราะห์บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ สํารวจภาคสนามเพ่ือ สอบสวนวิเคราะหอ์ บุ ัติเหตุ และวิเคราะห์หาสาเหตขุ องอุบตั เิ หตุวา่ เกดิ จากลกั ษณะทางกายภาพของถนนที่ไม่ เหมาะสมหรือไม่ พร้อมกําหนดแนวทางในเชิงแก้ไขเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุซ้ําในอนาคตด้วยการ ปรบั ปรุงระยะส้นั เรง่ ดว่ น และระยะยาวโดยการตงั้ งบประมาณในปีถัดไป 4. งานปรับปรุงระยะเร่งด่วนจากการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (RSA) ช่วงเทศกาล ปรับปรุงแก้ไขบริเวณเส่ียงอันตรายจากผลการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (RSA) ในบริเวณท่ีเกิด อุบัติเหตุ โดยเป็นการปรับปรุงแบบเร่งด่วน เพื่อเป็นการเตือนผู้ใช้ทางให้ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษก่อนที่ จะเตรียมดําเนินการแบบระยะยาวต่อไป เช่น ติดต้ังป้ายเตือน ป้ายแนะนํา ไฟกะพริบ ราวกันอันตราย ตีเส้นจราจร ติดหมดุ สะทอ้ นแสง เป็นตน้ สํานักอํานวยความปลอดภยั กรมทางหลวงชนบท 44

วศิ วกรรมความปลอดภยั ทางถนน 45

วิศวกรรมความปลอดภัยทางถนน คอื ?  การประยุกตใ์ ช้หลกั การด้านวศิ วกรรมมาชว่ ยในการออกแบบถนนรวมทั้ง จัดการจราจร เพ่ือแก้ไขปัญหาอุบัติเหตทุ างถนน  หลกั วศิ วกรรมท่ีใช้  วิศวกรรมทางถนน (Highway Engineering)  วศิ วกรรมขนส่งและจราจร (Traffic Engineering)  วศิ วกรรมไฟฟา้  เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม 46

วิถีระบบท่ปี ลอดภยั Safe System Approach • องคป์ ระกอบ 4 สว่ นหลัก – คน – ถนน – รถ – ความเรว็ • หลกั การของระบบที่ปลอดภัย – คนจะเกดิ ความผดิ พลาด – ตอ้ งสร้างระบบทีม่ สี ่วนชว่ ยใหอ้ ภยั ต่อความผิดพลาด – ความรบั ผิดชอบร่วมกัน (ผ้อู อกแบบระบบและผู้ใช้ถนน) 47

วถิ แี ห่งระบบทป่ี ลอดภัย (Safe System Approach) วิถแี ห่งระบบทป่ี ลอดภยั ให้ความสําคญั กบั การลดจาํ นวนการบาดเจบ็ สาหสั และการ เสียชวี ิต โดยคาํ นึงถงึ หลักการทส่ี ําคัญ ดังน้ี • ขอ้ จาํ กดั ในสมรรถภาพมนุษย์ มนุษย์ผิดพลาด ชอบเส่ยี ง ระบบตอ้ งชว่ ยรองรบั ความ ผดิ พลาด • ความทนทานของร่างกาย ร่างกายมนุษยบ์ อบบาง ระบบต้องคุมพลังงานขณะชนให้ อยใู่ นเกณฑ์ทร่ี า่ งกายรบั ได้ • ความรับผดิ ชอบร่วมกนั ผ้อู อกแบบระบบและผ้ใู ชถ้ นนมคี วามรบั ผิดชอบต่อความ ปลอดภัย • ระบบถนนท่ใี ห้อภยั ผใู้ ช้ ถนนและอุปกรณต์ ้องรองรบั ความผดิ พลาดและการชนที่จะ เกิดขน้ึ ได้ 48

ระบบทปี ลอดภยั (Safe System) คนที่ปลอดภัย (Safe Road User) ม่งุ เนน้ มาตรการความปลอดภัยทีเ่ กย่ี วกับพฤติกรรมผู้ใช้รถใชถ้ นน เช่น การประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ หรอื บงั คบั ใช้กฎหมาย ถนนที่ปลอดภยั (Safe Road) มงุ่ เน้นมาตรการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งถนน เพื่อลดโอกาสการชนและ ลดความรุนแรงในการบาดเจ็บหากเกดิ อบุ ัตเิ หตุ ความเร็วทีป่ ลอดภัย (Safe Speed) มุ่งเน้นการจดั การความเร็วในการเดนิ ทางใหอ้ ยู่ในระดบั ที่ ปลอดภัย ผา่ นการให้ความรู้ การควบคุมและกาํ หนดความเร็ว จํากดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพถนน ยานพาหนะท่ีปลอดภยั (Safe Vehicle) มงุ่ เนน้ มาตรการเพม่ิ ความปลอดภยั ให้แกย่ านพาหนะ เชน่ เทคโนโลยีระบบเบรก ระบบเตือนภัยสําหรับผูข้ ับขห่ี ลดุ ข้างทาง อปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตราย 49

วศิ วกรรมความปลอดภยั กบั การแก้ไขปญั หาอบุ ตั เิ หตุ การแกป้ ัญหา การป้องกนั ปัญหา Reactive Approach Proactive Approach Road Safety Audit Accident Investigation and Blackspot Improvement Road Safety Upgrading 50