Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด

คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด

Published by fontiamshinee, 2020-03-27 06:29:25

Description: คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด

Search

Read the Text Version

คูม่ ือการใชห้ นงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) และแผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ลกั ษณะทางกายภาพของจงั หวดั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4

คูม่ ือการใชห้ นังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) และแผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ลกั ษณะทางกายภาพของจงั หวดั ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 จดั ทาโดย นางสาวฐาปนี รอดสวสั ด์ิ รหสั นักศึกษา 6015107001010 นางสาวเกตนิภา สมภกั ดี รหสั นักศึกษา 6015107001027 กล่มุ เรียน 60013.151 สาขาสงั คมศึกษา คณะครศุ าสตร์ รายวิชาสารสนเทศและนวัตกรรมสาหรับการสอนสังคมศึกษา (ESO0201) มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี

ก คานา หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) เปน็ นวตั กรรมสือ่ การเรียนการสอนทางคอมพวิ เตอร์รูปแบบ หนงึ่ ซ่งึ ใช้ความสามารถของคอมพวิ เตอร์ในการนาเสนอ เร่ือง ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด โดยมี ขอ้ ความ ภาพนิ่ง ภาพเคลอื่ นไหว เพอ่ื ถา่ ยทอดเนือ้ หาบทเรยี น หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่เหมาะสม มีจุดดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้ของผู้เรียน หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นตัวอย่างท่ีดีของสื่อการศึกษาในลักษณะที่ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหา ความร้ไู ด้ดว้ ยตวั เอง นอกจากน้ียงั เป็นสอ่ื ท่ีสามารถตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลไดด้ ี ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ อาจารย์ ดร. ทวัช บุญแสง และคุณครูศิวพร พันธ์ลาภักด์ิ ตาแหน่ง วทิ ยาฐานะครชู านาญการพิเศษวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอนุบาลสุราษฎร์ธานี ทค่ี อยให้คาแนะนาตลอดการทางานเพ่อื ใหเ้ กดิ ความถูกต้องและสมบรู ณใ์ นท่สี ุด ฐาปนี รอดสวสั ดิ์ เกตนิภา สมภกั ดี

ข สารบัญ เรื่อง หนา้ คานา ก สารบญั ข แนวคิดและหลกั การ 1 ขอบขา่ ยของสงั คมศึกษา 1 หลกั การสอนในหอ้ งเรยี นวิชาสังคมศึกษา 2 คาแนะนาสาหรบั ครู 3 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3 ขน้ั ตอนการใช้งานหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 4 ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ยี วกับหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6 1. ความหมายของหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 6 2. ววิ ฒั นาการของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ 8 3. ทมี่ าของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 9 4. วตั ถปุ ระสงคข์ องการสรา้ งหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ 10 5. ลกั ษณะของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 11 6. ความแตกต่างของหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) กบั หนงั สอื ทว่ั ไป 12 7. องคป์ ระกอบของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ 13 8. กระบวนการและข้ันตอนการออกแบบและพฒั นาหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ 15 9. ประโยชนข์ องหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ 17 10. การตรวจสอบคุณภาพของหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 19 ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 21 ทาไมต้องเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 21 เรียนรอู้ ะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 21 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 23

ค สารบญั (ตอ่ ) เรอ่ื ง หนา้ คุณภาพผเู้ รยี น 25 28 ตัวชวี้ ัด 97 63 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 การเข้าใจพน้ื ท่จี งั หวัด 77 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของจังหวดั ทมี่ ีบทบาทตอ่ การดารงชีวติ 94 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 พื้นที่ภูมิสัมพันธ์สร้างสรรคส์ งิ่ แวดลอ้ มทรพั ยากรธรรมชาติ 110 111 และการดาเนนิ ชวี ติ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การใช้แผนท่แี ละรปู ถา่ ยเพ่อื การเรยี นรู้พน้ื ที่จงั หวดั บรรณานกุ รม ภาคผนวก

1 แนวคิดและหลักการ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวข้าม“สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะ แห่งศตวรรษท่ี 2” ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะ ออกแบบการเรียนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรูแ้ บบ PBL (Problem-Based Learning) ของนกั เรียน ซ่งึ สิง่ ท่เี ป็นตัวช่วย ของครูในจัดการเรียนรู้ คือ ชุมชนการเรียนรู้เพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทาหนา้ ทีข่ องครูแต่ละคนน่ันเอง ขอบข่ายของสังคมศกึ ษา สังคมศึกษา เป็นการบูรณาการประสบการณ์และความรู้ท่ีเช่ือมโยง ความสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษย์หรือการศกึ ษาเพ่ือความเป็นพลเมืองดี สังคมศาสตร์กับสังคมศึกษา กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยากลุ่มวิชา ทางมนุษยศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีการจัด ระเบียบ และระบบ มีลาดับข้ันตอน แสดง โครงสรา้ งของวชิ า ซงึ่ ประกอบไปด้วยมโนทัศน์พื้นฐาน กระบวนการวิธีการศึกษาหรือ แสวงหาความร้ใู นศาสตรน์ ้ัน ๆ

2 หลักการสอนในหอ้ งเรยี น วิชาสงั คมศึกษา ในการเรียนการสอนหากนักเรียนไม่สามารถที่นั่งฟังได้นาน ๆ เกิน 20 นาที สิ่ง เหล่านี้มีผลต่อการเรียน ของนักเรียนอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ วิธีการควบคุมพฤติกรรม ของ นักเรียนนัน้ สามารถทาได้หลายวธิ ี เช่น การแบ่งกลุ่มใหก้ ลมุ่ ควบคุมกนั เอง การเสรมิ แรงด้วย การให้รางวัล การลงโทษ ใช้วิธีการตัดสิทธิ์ในผลประโยชน์ท่ี เด็กพึงจะได้รับเช่น ไม่ให้ ทางานรว่ มกบั คนอืน่ งดกจิ กรรมบางอย่างทเี่ พือ่ นได้ทากัน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ครูควรงดเว้นการสอนด้วยการบรรยาย ถ้ามากเกินไป ถ้าจะใช้ก็พยายามใช้ให้น้อย ๆ เลือกส่ือการสอนให้น่าสนใจก็เป็นส่ิงสาคัญ เวลาสอนต้องยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลางให้นักเรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด เช่น แบ่งกลุ่มให้ อภปิ ราย จัดนิทรรศการด้วยตนเอง หรือเตรียมส่ือขณะสอนสร้างความสนใจเรื่องที่จะเรียน ในช่วั โมงดว้ ย การใช้ส่ือ หรือโดยเฉพาะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพ่ือให้ นักเรียนกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนในเน้ือเร่ืองที่จะสอน เพราะถ้านักเรียนมีความสนใจ การเรยี นยอ่ มต่อเน่ืองไปในทางที่ดี ซงึ่ หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ E-book เรื่อง“ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด” ท่ี ผู้จัดทาได้คิดค้นจัดทาขึ้น เป็นสื่อนวัตกรรมในการเรียนการสอนประกอบด้วยเน้ือหาสาระ ภาพที่สวยงามดึงดูดความสนใจจากผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อีกท้ังเนื้อหาไม่มีความซับซ้อน หรือมากจนเกินไป เหมาะสมอย่างยิ่งสาหรับการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เนอ้ื หาสาระนัน้ ประกอบดว้ ย การเข้าใจพ้ืนท่ีจังหวัด ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด พื้นที่

3 คาแนะนาสาหรบั ครู 1. ดาเนินกิจกรรมการสอนโดยใช้นวัตกรรมหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 2. ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน เพ่อื ทบทวนความรู้ 3. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดเพอื่ เสริมสรา้ งทักษะในการทางานท้ังงานกลมุ่ และงานเดีย่ ว 4. ใช้เปน็ ส่ือการสอนสาหรับครู 5. ใช้เปน็ บทเรยี นท่ใี หน้ ักเรียนเรียนรแู้ ละซ่อมเสริมตนเอง คาแนะนาสาหรบั นักเรยี น บทเรียนเล่มนี้ เป็นบทเรียนท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอน และเป็นบทเรียนท่ี นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนอ่านคาแนะนาและทาตามขั้นตอนต้ัง แตต้ ้นจนจบ ซึ่งนักเรียนจะสามารถได้ความรู้อย่างครบถว้ นโดยมหี ลักปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 1. ใหน้ กั เรียนอา่ นจดุ ประสงคข์ องการเรยี นรู้ 2. บทเรยี น จะเสนอเนือ้ เรือ่ งแบบย่อยท่ีมีความสาคัญ ซึ่งจะมีความต่อเนื่องในทุก บทเรียน 3. นกั เรยี นสามารถเลือกหวั ขอ้ ท่ีจะเรียนรูแ้ ละศึกษาเองได้

4 ขัน้ ตอนการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1. นาแผ่นซีดีบทเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ใส่เข้าในเคร่ืองอ่านซีดี-รอม โปรแกรมจะ ทาการเปดิ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และนาผูเ้ รยี นเขา้ สูบ่ ทเรียน ภาพที่ 1 เขา้ ส่บู ทเรียน 2. หลังจากเข้าสู่บทเรียนแล้วจะปรากฏหน้าถัดไปคือ คานา และสารบัญ ท่านสามารถเลือกเปิด หน้าที่ต้องการได้ ภาพที่ 2 หน้าคานา สารบัญ

5 3. ท่านสามารถเลือกอ่านได้โดยเปิดหน้าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ได้ท่ีลูกศรดังภาพท่ี 3 หรือใช้แถบเครอ่ื งมอื ดังภาพท่ี 4 ภาพท่ี 3 หน้าหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) 4. แถบเคร่ืองมือ แถบเคร่ืองมือเป็นแถบ คาดยาวสีน้าเงินด้านบนสุดของ E-Book จะเป็น เคร่ืองมอื เพอื่ ใชอ้ านวยความสะดวกในการอ่าน E-Book โดยเคร่ืองมอื ต่าง ๆ ได้แก่ ภาพที่ 4 แทบเครื่องมือ หมายเลข 1 กลับไปสู่หน้าแรก (ปกหน้า) หมายเลข 2 กลบั ไปหน้าที่แลว้ หมายเลข 3 เปิดหน้าถัดไป หมายเลข 4 เปดิ ไปสู่หน้าสุดทา้ ย (ปกหลงั )

6 ความร้เู บอื้ งต้นเกี่ยวกบั หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ 1. ความหมายของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสือซ่ึงจัดทาข้ึนด้วยระบบคอมพิวเตอร์และสามารถอ่านได้ จากหนา้ จอคอมพิวเตอรเ์ หมอื นเปิดอา่ นจากหนังสือโดยตรงท่ีเป็นกระดาษแต่ไม่มีการเข้าเล่มเหมือน หนังสือที่เป็นกระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถมากมาย คือ การเช่ือมโยง(LINK) กับ หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์เลม่ อืน่ ๆ ได้ เพราะอยู่บนเครือข่าย www. และมีบราวเซอร์ท่ีหน้าที่ดึงข้อมูล มาแสดงตามท่ีเราต้องการเหมือนการเล่นอินเตอร์เน็ตทั่วไปเพียงแต่เป็นหนังสือบนเครือข่ายเท่าน้ัน หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ามารถแสดงข้อความ รูปภาพ เสียง และความเคล่ือนไหวได้ เราสามารถอ่าน หนงั สือ ค้นหาข้อมูลและสอบถามขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทง้ั ในและต่างประเทศท่ัวโลกได้ จากอินเตอร์เน็ตจาก คอมพวิ เตอร์เพียงเครือ่ งเดียว ไดม้ ีผใู้ ห้นิยามเก่ยี วกบั หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ วห้ ลายทา่ น ดังน้ี รวีวรรณ ขาพล (2550, หน้า 18) กล่าวว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Books – E - Books) เป็นหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านอินเทอร์เน็ต หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่น ๆ มีการบันทึกและนาเสนอเน้ือหาสาระของหนังสือในรูป สญั ญาณดจิ ิทัลมกี ารบนั ทึกลงในสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่าง ๆ เช่น ซีดี-รอม (CD-ROM) ปาล์มบุ๊ค (Plam Book) หนังสอื ในระบบเครอื ขา่ ย (Online Book) และส่อื อิเล็กทรอนิกสอ์ นื่ ทองสุข คาแกว้ (2553, หน้า 11) ได้ให้ความหมายของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ว่าเป็น การประยกุ ต์ เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การอ่านเข้าด้วยกันโดยการนาเสนอในรูปแบบของสื่อประสมท่ี หลากหลายโดยมี ส่วนประกอบท้ังข้อความภาพนิ่งภาพเคล่ือนไหวและเสียงเข้าด้วยกัน ด้วยการ เชื่อมโยงข้อมูลทั้งท่ีอยูในแฟ้ม เดียวกันหรือคนละแฟ้มมีลักษณะคล้ายกับหนังสือสะดวกและง่ายใน การศกึ ษา

7 ไพฑรู ย์ ศรีฟ้า (2551, หนา้ 14) กลา่ ววา่ “อีบุ๊ค” (E - book, e - Book, eBOOK , EBOOK) เป็นคา ภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่า Electronic Book หมายถึง หนังสือท่ีสร้างข้ึนด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลท่ีสามารถ อ่านป่านทางหนา้ จอคอมพิวเตอร์ ทง้ั ในระบบออฟไลน์และออนไลน์ กล่าวโดยสรุป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การนาหนังสือเล่มหน่ึง หรือหลายๆเล่ม มา ออกแบบใหม่ ใหอ้ ยูใ่ นรปู ของอเิ ล็กทรอนิกส์โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเหล่าน้ันให้อยู่ ในรูป ของตัวอักษร ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว เสียงลักษณะที่ตอบโต้กัน (Interactive) การเชื่อมโยงแบบ ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ สามารถทบุค๊ มาร์ก

8 2. ววิ ฒั นาการของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ อาภรณ์ ไชยสุวรรณ (ออนไลน์, ม.ป.ป) กล่าวถึงวิวัฒนาการของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ว่าแนวคิดเก่ียวกับเก่ียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นภายหลังปี ค.ศ. 1940 โดย ปรากฏในนิยายวิทยาศาสตร์ ต่อมาได้มีพัฒนาการโดยนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสแกน หนังสือจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มภาพตัวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และนาแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่าน กระบวนการแปลงภาพเป็นข้อความด้วยการทา OCR (Optical character recognition) โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือแปลงภาพเป็นตัวหนังสือให้เป็นข้อความท่ีสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ การ ถ่ายทอดข้อมูลจะถ่ายทอดทางแป้นพิมพ์และประมวลผลออกมาเป็น และประมวลผลออกมาเป็น ตัวหนังสอื และขอ้ ความดว้ ยดว้ ยคอมพิวเตอร์ ดงั น้ันหน้ากระดาษจึงเปล่ียนรูป เป็นไฟล์ข้อมูลแทน ท้ัง ยงั มคี วามสะดวกตอ่ การเผยแพร่และพิมพ์เป็นเอกสาร ทาให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท DOC,TXT,RTF และ PDF ไฟล์ เม่ือมีการพัฒนา ภาษา HTML (Hypertext marup) ต่อมาเมื่ออินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมากข้ึน บริษัทไมโครซอฟท์ได้ผลิตเอกสาร อิเลก็ ทรอนิกส์เพอ่ื ให้คาแนะนาในรูปแบบ HTML Help ข้นึ มา มีรปู แบบไฟลเ์ ป็น .CHM โดยมีตัวอ่าน คือ Microsoft Reader และหลังจากน้ันมีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จานวนมากได้พัฒนา โปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือท่ัวไป กล่าวคือ สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และท่ี พิเศษกวา่ น้ันคือ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ หลา่ นี้ สามารถสร้าง จุดเช่ือมโยงเอกสารไปยังเว็บไซต์ท่ีเกี่ยวข้องอ่ืน ๆ ท้ังภายในและภายนอกได้ อีกท้ังยัง สามารถแทรกภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ลงไปในหนังสือได้ คุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทาในหนังสือ ทั่วไปได้ กล่าวโดยสรุปหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีวิวัฒนาการที่ยาวนาน มีการพัฒนาพร้อมกับอุปกรณ์ที่ รองรับที่สามารถพกพาได้สะดวกหรือบรรจุลงแผ่นซีดีรอมแทนการพกหนังสือใช้งานง่ายเพรา ะ เน่ืองจากนาเสนอได้ รูปแบบไฟล์ต่าง ๆ และดาวน์โหลดมาอ่านโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนามาประยุกต์ใช้ ในด้านการศกึ ษาไดอ้ ย่างแพรห่ ลาย

9 3. ที่มาของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในอดีต ผ้เู รยี นคุ้นเคยกับการคน้ หาข้อมลู ความรู้ต่าง ๆ จากหนังสือเรียน หรือคู่มือต่าง ๆ แต่ ปัจจุบันมีแหล่งสารสนเทศมากมายบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตท่ีสามารถใช้ค้นหาข้อมูลเก่ียวกับความรู้ ต่าง ๆ ได้ ซึ่งเป็นทางเลือกหน่ึงในการเรียนรู้ นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนโดยใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานท่ีและทุกเวลา ปัจจุบันสื่อ สิ่งพิมพ์ถูกนามาใช้ในสถานศึกษาอย่าง กว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ ตารา แบบเรียน แบบฝึกหัด ต่าง ๆ ทาให้ผู้เรียนและผู้สอนเข้าใจเน้ือหาหลักสูตรต่าง ๆ ยิ่งข้ึนได้ดี สื่อส่ิงพิมพ์ดังกล่าวสามารถ เปล่ียนแปลงและพัฒนาเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาได้รวดเร็วขึ้น สามารถดาว โหลดและอ่านด้วยคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (Smartphone) แท็บแล็ต (Tablet) พีดี เอ (PDA) หรือเคร่ืองอ่าน E-book (E-book reader) การพฒั นาของเทคโนโลยีในปจั จุบนั สง่ ผลให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเปล่ียนแปลงไป เคร่ืองมือ บน เครอื ขา่ ยเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนให้ความสนใจ โดยเฉาะผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา จะชอบ การอ่านผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนต่าง ๆ โดยเฉพาะในเร่ืองที่ตนเองสนใจ จะทาให้เกิดการ กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ อยากรู้อยากเห็นได้เป็นอย่างดี อีกทั้งสามารถส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ซึ่ง แตกต่างจากหนังสือเรียน ที่มีเพียงเนื้อหาและภาพประกอบ แต่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้สามารถใส่ ลูกเล่นได้ไม่ว่าจะ ภาพเคล่ือนไหว คลิปวิดีโอต่าง ๆ รวมถึงการเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ต เพ่ือให้ได้ ความรู้อย่างครบถ้วนเป็นการพัฒนารูปแบบส่ือการศึกษาใหม่เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว และสร้างสรรค์มากย่ิงขึ้น เขมณัฏฐ์ มงิ่ ศิรธิ รรม (2559: 43)

10 4. วัตถปุ ระสงคข์ องการสรา้ งหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ การจดั ทาหนงั สืออิเล็กทรอนิกสม์ ี วัตถุประสงคด์ ังนี้ (ชนัญชดิ า สุวรรณเลศิ . 2548 : 4) 4.1 เพอ่ื อานวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ชบ้ ริการ 4.2 เพอ่ื ความรวดเร็วในการเขา้ ถงึ สารสนเทศ 4.3 เพื่อเป็นแหล่งสารสนเทศท่ีทันสมัย 4.4 เพือ่ พัฒนารปู แบบการบริการ 4.5 เพ่อื เป็นแหล่งเรียนรอู้ อนไลนต์ ลอด 24 ชวั่ โมง 4.6 เพอื่ ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางสาหรบั ผู้ใชบ้ ริการ

11 5. ลกั ษณะของหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-book) ย่อมาจากคาว่า Electronic Book หมายถึง หนังสือท่ี สร้างข้ึนดว้ ยโปรแกรม คอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยคุณลักษณะของหนังสือ อิเลก็ ทรอนิกส์สามารถเช่อื มไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ กับผู้เรียนได้ นอกจากนี้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวแบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็คือ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์สามารปรับปรุงข้อมูลได้ตลอดเวลา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีรูปแบบการแสดงผลแบบ “พลิก” อ่านคล้ายกับการเปิดหนังสือจริง สามารถนาไป ประยุกต์เพ่ือสร้างองค์ความรู้ให้เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนได้ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ แบบเรียน ส่ือการสอนสอน เอกสารเผยแพร่ รายงานต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3 มิติในรูปแบบทาให้ผู้อ่าน เกิดความรู้สึก เหมือนได้เรียนรู้จากหนังสือจริง ๆ เพื่อให้การนาเสนอมีความน่าสนใจและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านๆ เพือ่ ใหม้ ากข้ึน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแตกต่างจากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยท่ีไม่ได้มีการพลิกหน้า จริงหากแต่เป็นไปในลักษณะของการซ้อนทับกัน ส่ิงที่แตกต่างกันระหว่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับ อย่างเด่นชัดน่ันก็คือ การปฏิสัมพันธ์ ซ่ึงอาจแตกต่างกันบ้างในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แต่ละเล่ม ท้ังนี้ ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การใช้งานและการปฏิสัมพันธ์จากผู้อ่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีลักษณะ เหมือนกับหนังสือเล่ม คือ มีหน้าปกเพื่อบอกข้อมูลต่าง ๆ เก่ียวกับหนังสือ 1 หน้ามีข้อมูลเป็นหน้าคู่ หาก ด้านซ้ายมือเป็นหน้าซ้ายด้าน ขวามือจะเป็นหน้าขวา กดปุ่มไปหน้าก็จะไปยังหน้าต่อไป กดปุ่ม ถอยหลงั จะกลบั ไปหนา้ ก่อน เขมณัฏฐ์ มิง่ ศิริธรรม (2559 : 44)

12 6. ความแตกต่างของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) กบั หนังสอื ทัว่ ไป ไพฑูรย์ ศรีฟ้า (2551, หน้า 15 - 16) ได้อธิบายถึงความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กับ หนงั สือท่ัวไป ดงั น้ี 6.1 หนังสอื ทว่ั ไปใช้กระดาษ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ไมใ่ ชก้ ระดาษ 6.2 หนังสือท่ัวไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้าง ภาพเคลื่อนไหวได้ 6.3 หนงั สือทัว่ ไปไมม่ ีเสียงประกอบหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสยี งประกอบได้ 6.4 หนงั สือทว่ั ไปแกไ้ ขปรับปรุงยาก หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์แก้ไขและปรับปรุงข้อมลู งา่ ย 6.5 หนังสือท่ัวไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (Links) ออกไปเชื่อมต่อกบั ข้อมูลภายนอกได้ 6.6 หนังสอื ทว่ั ไปใช้ตน้ ทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนการผลิตหนังสือต่า ราคา ประหยัด 6.7 หนังสือท่ัวไปมีขีดจากัดในการพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจากัดในการพิมพ์ สามารถทาสานาได้ง่ายไมจ่ ากดั 6.8 หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ด้วย โปรแกรมผ่านจอคอมพวิ เตอร์ 6.9 หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจากอ่านได้แล้วยังสามารถส่ัง พิมพไ์ ด้ (Print) 6.10หนงั สือท่ัวไปอา่ นได้ 1 คนต่อ 1 เลม่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1 เล่มสามารถอ่านพร้อมกัน ไดจ้ านวนมาก (อา่ นออนไลน์ผา่ นอินเตอร์เน็ต) 6.11หนังสือท่ัวไปพกพาลาบาก (ต้องใช้พ้ืนท่ี) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวกได้ครั้งละ จานวนมาก ในรปู แบบของไฟล์คอมพวิ เตอร์ Handy ใน Dirve หรอื CD 6.12 หนังสืออิเล็กทรอนกิ สเ์ ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม กล่าวโดยสรุป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นั้นแตกต่างจากหนังสือท่ัวไปในรูปแบบการสร้างการ ผลติ และการใชง้ าน หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ไม่ใชก้ ระดาษในการสรา้ ง สามารถสรา้ งให้มีภาพเคล่ือนไหว และเสยี งประกอบไดร้ วมทั้งแกไ้ ขและปรับปรงุ ข้อมูลสร้างจดุ เช่ือโยงออกไปเชือ่ มต่อกับข้อมูลภายนอก สามารถอา่ น พร้อมกันได้เปน็ จนวนมากและพกพาสะดวก

13 7. องค์ประกอบของหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ อคั รเดช ศรีมณพี ันธ์ (2547)ไดก้ ล่าวถงึ องค์ประกอบของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ ดังน้ี 7.1 อักขระ (text) หรือข้อความ เป็นองค์ประกอบของโปรแกรมมัลติมีเดีย สามารถนา อักขระมา ออกแบบเป็นส่วนหนงึ่ ของภาพ หรือสัญลักษณ์ กาหนดหน้าที่การเชื่อมโยง นาเนื้อหาเสียง ภาพ กราฟิก หรือวีดีทัศน์ เพ่ือให้ผู้ใช้เลือกข้อมูลท่ีจะศึกษาการใช้อักขระเพ่ือกาหนดหน้าท่ีในการ สือ่ สารความหมายในคอมพิวเตอร์ ควรมลี ักษณะ ดังน้ี 1) สอ่ื ความหมายให้ชดั เจน เพอ่ื อธิบายความสาคญั ท่ตี อ้ งการนาเสนอส่วนของเนื้อหาสรุป แนวคดิ ท่ีได้เรียนรู้ 2) การเช่ือมโยงอักขระบนจอภาพสาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ในมัลติมีเดีย การเชื่อมโยง ทา ไดห้ ลายรปู แบบจากจุดหน่ึงไปจุดหนึ่งในระบบเครือข่าย ด้วยแฟ้มเอกสารข้อมูลด้วยหรือต่างแฟ้มกัน ได้ทันทีในลักษณะรูปแบบตัวอักษร (font) เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ (symbol) การเลือกใช้แบบ อักขระ เครือ่ งหมายหรอื สัญลักษณ์ และการใหส้ แี บบใดให้ดูองคป์ ระกอบการจัดวางองค์ประกอบด้าน ศลิ ป์ทดี่ ีแล้วมีความเหมาะสม 3) กาหนดความยาวเน้อื หาให้เหมาะสมแกก่ ารอา่ น 4) การสร้างเคลื่อนไหวให้อักขระ เพื่อสร้างความสนใจก่อนนาเสนอข้อมูลสามารถทาได้ หลายวธิ ีเช่น การเคล่อื นยา้ ยตาแหนง่ การหมนุ การกาหนดให้เปน็ ช่วง ๆ จงั หวะ เปน็ ตน้ ข้อสาคัญคือ ควรศึกษาถึงจิตวิทยาความต้องการรับรู้กับความต้องการรับรู้กับความถี่การใช้เทคนิคการเคลื่ อนไหว ของผู้ศกึ ษาโปรแกรมแตล่ ะวัยให้เหมาะกบั กลุ่มเปา้ หมาย 5) เครื่องหมายและสัญลักษณ์ เป็นส่ือกลางท่ีสาคัญที่ติดต่อกับผู้ศึกษาในบทเรียน มลั ตมิ ีเดยี ปฏิสัมพันธ์ การนาเสนอหรืออกแบบสญั ลักษณ์หรอื เคร่ืองหมาย ควรใหส้ ัมพันธ์กับเน้ือหาใน บทเรียน สามารถทาความเขา้ ใจกับความหมายและสญั ลกั ษณต์ า่ ง นัน้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ อักขระเป็นส่วนหน่ึงที่สาคัญต่อการเรียนรู้ การทาความเข้าใจ เสนอความหมายที่ก่อประโยชน์ต่อ ผู้เรียน อักขระท่ีมีประสิทธิผลในการส่ือข้อความท่ีตรงและชัดเจนได้ดีในขณะที่รูปภาพ ภาพเคลอื่ นไหวและเสยี ง ช่วยทาใหผ้ เู้ รียนจดจาสารสนเทศได้งา่ ยข้ึน 7.2 ภาพน่ิง (still image) เป็นภาพกราฟิก เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพลายเส้น แผนที่ภูมิ ท่ไี ด้จากการสรา้ งภายในดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

14 7.3 ภาพเคล่ือนไหว (animation) เกิดจากชุดภาพท่ีมีความแตกต่างนามาแสดงเรียง ตอ่ เน่ืองกนั ไปความแตกตา่ งของแต่ละภาพทน่ี าเสนอทาให้มองเห็นเป็นการเคลื่อนไหวขอส่ิงต่าง ๆ ใน เทคนิคเดียวกับภาพยนตร์การ์ตูน ภาพเคลื่อนไหวจะทาให้สามารถนาเสนอความคิดที่ซับซ้อนหรือ ยงุ่ ยากใหง้ ่ายต่อการเขา้ ใจ 7.4 เสยี ง (sound) เปน็ ส่อื ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเข้าใจในเน้ือหาได้ดีขึ้นและทาให้คอมพิวเตอร์ มีชีวิตชวี าข้นึ อาจอยู่ในรปู ของเสยี งดนตรีเสียงสงั เคราะห์ปรุงแต่ง 7.5 ภาพวีดิทศั น์ (video) ภาพวีดทิ ัศนเ์ ป็นภาพเหมือนจรงิ ท่ีถกู เก็บในรูปของดิจิทัลมีลักษณะ แตกต่าง จากภาพเคลอื่ นไหวท่ถี ูกสรา้ งข้ึนจากคอมพวิ เตอร์ ในลกั ษณะคล้ายภาพยนตร์ 7.6 การเชื่อมโยงข้อมูลแบบปฏิสัมพันธ์ (interactive links) หมายถึง การที่ผู้ใช้มัลติมีเดีย สามารถเลือก ข้อมูลได้ตามต้องการโดยใช้ตัวอักษร ปุ่ม หรือรูปภาพ สาหรับตัวอักษรท่ีสามารถ เชื่อมโยงได้จะเปน็ ตัวอักษรที่มีสีแตกต่างจากตัวอักษรอ่ืน ๆ ส่วนปุ่มก็จะมีลักษณะคล้ายกับปุ่มเพื่อชม ภาพยนตร์ หรือคลิกลงบนปุ่มเพ่ือเข้าไปหาข้อมูลท่ีต้องการหรือเปล่ียนหน้าข้อมูลส่วนมัลติมีเดีย ปฏสิ ัมพันธ์ (interactive multimedia) เปน็ การสอ่ื สารผ่านคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะการส่ือสารไปมา ทั้งสองทางคือการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และการมีปฏิสัมพันธ์ผู้ใช้เลือกได้ว่า จะดูข้อมูลดู ภาพ ฟังเสียง หรือดูภาพวีดีทัศน์ ซ่ึงรูปแบบของการมีปฏิสัมพันธ์อาจอยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) การใช้เมนู (menu driven) ลักษณะท่ีพบเห็นได้ท่ัวไปของการใช้เมนู คือ การจัดลาดับ หัวข้อทาให้ผู้ใช้สามารถเลือกข่าวสารข้อมูลที่ต้องการได้ตามที่ต้องการและสนใจ เมนู ประกอบด้วย เมนหู ลัก เมนยู ่อย 2) การใช้ฐานข้อมูลไฮเปอร์มีเดีย (hypermedia databa) เป็นรูปแบบปฏิสัมพันธ์ท่ีให้ผู้ใช้ สามารถเลือกไปตามเสน้ ทางท่ีเช่ือมคาสาคัญ ซ่ึงอาจเป็นคา ข้อความ เสียงหรือภาพ คาสาคัญเหล่านี้ จะเชือ่ มโยงกนั อยใู่ นลกั ษณะเหมือนใยแมงมมุ โดยสามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ตามความต้องการ ของผู้ใช้ เขมณฏั ฐ์ ม่ิงศริ ิธรรม (2559. 7 : 4)

15 8. กระบวนการและขนั้ ตอนการออกแบบและพัฒนาหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การออกแบบการเรยี นการสอนเปน็ หัวใจหลกั ของการพัฒนาส่ือการเรยี นการสอนทุกประเภท กระบวนการเรียนการสอนทมี่ผู้นิยมนามาเป็นหลักการเพ่ือประยุกต์ใช้ในกา รออกแบบหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ The Events of Instruction ของกาเย (ม.ป.ป. ,อ้างถึงในณัฐกร สงคราม. 2553, หนา้ 85) ซึง่ เสนอ ลาดับข้ันตอนกระบวนการเรยี นการสอนรวม 9 ขัน้ ดังน้ี 8.1 เร่งเรา้ ความสนใจ (Gaining Attention) ตามหลกั จิตวิทยาแลว้ ผู้เรียนท่มี ีแรงจูงใจในการ เรียนสูง ย่อมจะเรียนได้ดีกว่าผู้เรียนท่ีมีแรงจูงใจน้อยหรือไม่มีแรงจูงใจเลย ดังน้ันก่อนท่ีจะเร่ิมการ นาเสนอเน้ือหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ควรมีการจูงใจและเร่งเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากเรียนด้วย การใชภ้ าพแสงสีเสียงหรอื ใช้ส่ือประกอบกันหลาย ๆ อย่าง 8.2 บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) วัตถุประสงค์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นับว่า เป็นส่วนสาคัญย่ิงต่อกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความคาดหวังของหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส์และเปน็ การแจง้ ให้ทราบลว่ งหน้าถงึ ประเด็นสาคัญของเน้ือหารวมท้ังเค้าโครงสร้างของ เนอื้ หาดว้ ย 8.3 ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) การปูความรู้พ้ืนฐานที่จาเป็นหรือ การทบทวนความรู้เดิมก่อนที่จะนาเสนอความรู้ใหม่แก่ผู้เรียน จึงเป็นสิ่งจาเป็นวิธีปฏิบัติโดยทั่วไป สาหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คือ การทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) อาจอยู่ในรูปแบบของการ กระตุน้ ให้ผ้เู รียนคดิ ย้อนหลงั ถงึ ส่งิ ทเี่ รียนรู้มากอ่ นหน้านีก้ ไ็ ด้ การกระตุ้นดังกล่าวอาจแสดงด้วยคาพูด ข้อความภาพ หรอื ผสมผสานกนั แล้วแตค่ วามเหมาะสมปรมิ าณมากหรอื นอ้ ยขึน้ อยู่กับเน้ือหา 8.4 นาเสนอเน้ือหาใหม่ (Present New Information) การนาเสนอเน้ือหาใหม่ของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์คือใช้ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมในการเสนอเน้ือหาใหม่ทั้งน้ีเพื่อช่วยในการรับรู้นั้นเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ รูปแบบในการนเสนอเน้ือหานั้นมีด้วยกันหลายลักษณะ ต้ังแต่การใช้ข้อความ ภาพนิ่ง ตาราง ข้อมลู กราฟ แผนภาพ กราฟกิ ไปจนถึงการใชภ้ าพเคลอ่ื นไหว 8.5 ช้ีแนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) คือ พยายามค้นหาเทคนิคที่จะกระตุ้นให้ ผู้เรียนนาความรู้เดิมมาใช้ในการศึกษาความรู้ใหม่และหาวิธีท่ีจะช่วยให้การศึกษาความรู้ใหม่ ถ้า เน้ือหายากควรให้ตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรมจนผู้เรียนสามารถค้นพบแนวคิดด้วยตนเองก่อนที่ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์จะมีการสรุปแนวคิดให้ผู้เรียน อีกคร้ังหนึ่ง ในข้ันนี้ผู้ออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

16 จะต้องยึดหลักการจัดการเรียนรู้จากสิ่งท่ีเป็นประสบการณ์เดิมไปสู่เน้ือหาใหม่จากส่ิงท่ียากไปสู่ส่ิงท่ี งา่ ยตามลาดบั ขั้น 8.6 กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) คือการอนุญาตให้ผู้สอนได้มีโอกาส ทดสอบว่า ผู้เรียนเข้าใจในสิ่งที่ตนกาลังสอนอยู่หรือไม่ การกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองนี้มักจะ ออกมาในรปู ของกิจกรรมต่าง ๆ ใหผ้ ู้เรียนไดม้ สี ่วนร่วมในการคดิ และการปฏิบัติในเชงิ โต้ตอบ 8.7 ให้ข้อมูลย้อนกลับProvide (Feedback) เป็นการให้ผลป้อนกลับหรือการให้ข้อมูล ย้อนกลับไปยังผู้เรียนเกี่ยวกับความถูกต้องและระดับความถูกต้องของคาตอบน้ัน ๆ การให้ผล ป้อนกลับถือวาเปน็ การเสริมแรงอยา่ งหน่งึ ซึ่งทาให้เกดิ การเรียนรู้ในตวั ผู้เรียน 8.8 ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) เป็นการประเมินว่าผู้เรียนน้ันได้เกิดการ เรียนรู้ตามที่ได้ต้ังเป้าหมายหรือไม่ อย่างไรการทดสอบความรู้นั้นอาจเป็นการทดสอบหลังจากท่ี ผู้เรียนได้เรียนจบจากวัตถุประสงค์หน่ึงซ่ึงอาจจะเป็นช่วงระหว่างบทเรียนของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเป็นการทดสอบหลังจากผเู้ รยี นไดเ้ รียนจบทั้งบทแลว้ ก็ได้ 8.9 สรุปและนาไปใช้ (Review and Transfer) ขั้นตอนสุดท้ายคือการช่วยให้ผู้เรียนเกิด ความคงทนในการจาและสามารถในความรู้ทไี่ ด้ไปใช้ ขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอนท้ัง 9 ประการของกาเย่ แม้จะดูเป็นหลักการที่กว้าง แต่ก็สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งบทเรียนสาหรับการสอนปกติและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เทคนิค อย่างหน่งึ ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้เป็นหลักพิจารณาท่ัวไป คือ การทาให้ผู้เรียนเกิด ความรู้สึกใกล้เคียงกับการเรียนรู้โดยผู้สอนในช้ันเรียน โดยปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับสมรรถนะของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามข้ันตอนการออกแบบท้ัง 9 ขั้นตอน น้ีไม่ใช่ข้ันตอนที่ตายตัวแต่เป็นขั้นตอนท่ีมีความยืดหยุ่น กล่าวคือผู้ออกแบบไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ ตามตวั ตามที่ไดก้ าหนดไว้ และไม่จาเป็นต้องใช้ครบทั้งหมดโดยผู้ออกแบบสามารถนาขั้นตอนท้ัง 9 ข้ัน นไี้ ปใช้เป็นหลักการพื้นฐานดัดแปลงใหส้ อดคลอ้ งกับปัจจยั ต่าง ๆ ท่มี อี ิทธพิ ลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ในเนอ้ื หาหนึ่งๆ

17 ‘ 9. ประโยชนข์ องหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ เสาวลกั ษณ์ (2545) ไดก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) ไวด้ ังน้ี 9.1 ช่วยให้ผู้เรียนสามารถย้อนกลับเพ่ือทบทวนบทเรียนหากไม่เข้าใจ และสามารถเลือกเรียน ไดต้ ามเวลาและสถานทท่ี ต่ี นสะดวก 9.2 การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ที่ให้ทั้งสีสัน ภาพ และเสียง ทาให้เกิดความ ต่ืนเตน้ และไมแ่ ละไมเ่ บื่อหน่าย 9.3 ช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีประสิทธิภาพในแง่ท่ีลดค่าใช้จ่ายสนอง ความต้องการและความสามารถของบุคคล มีประสทิ ธผิ ลในแง่ทีท่ าใหผ้ ูเ้ รียนบรรลจุ ุดมงุ่ หมาย 9.4 ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนหัวข้อท่ีสนใจข้อใดก่อนก็ได้ และสามารย้อนกลับไปกลับมาใน เอกสาร หรอื กลับมาเริ่มต้นทีจ่ ดุ เริ่มตน้ ใหมไ่ ด้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว 9.5 สามารถแสดงทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงได้พร้อมกัน หรือจะเลือกให้ แสดงเพ เพยี งอยา่ งใดอย่างหนึ่งก็ได้ 9.6 การจัดเก็บขอ้ มลู จะสามารถจดั เกบ็ ไฟลแ์ ยกระหว่างตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหวและ เสียง โดยใช้เท็กซ์ไฟล์เป็นศูนย์รวม แล้วเรียกมาใช้ร่วมกันได้โดยการเชื่อมโยงข้อมูลจากส่ือ ต่าง ๆ ที่ ดว้ ยกัน 9.7 สามารถปรบั เปลยี่ น แก้ไข เพิ่มเตมิ ขอ้ มูลไดง้ ่ายสะดวกและรวดเร็ว ทาให้สามารถปรับปรุง บทเรียน ใหท้ ันสมัยกับเหตุการณ์ได้เป็นอยา่ งดี 9.8 ผู้เรียนสามารถค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองท่ีกาลังศึกษา จากแฟ้มเอกสารอื่น ๆ ที่ เช่ือมโยงอยูไ่ ด้อยา่ งแมน่ ยา ไมจ่ ากดั จากทวั่ โลก 9.9 เสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้มีเหตุผล มีความคิดและทัศนะคติท่ีเป็น Logical เพราะการ โต้ตอบกบั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนจะต้องทาอย่างมีข้ันตอน มีระเบียบ และมีเหตุผลพอสมควรเป็น การฝึกเป็นลกั ษณะนิสยั ทด่ี ใี หก้ บั ผเู้ รียน 9.10 ผู้เรียนสามารถบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันได้อย่างเกี่ยวเน่ือง และมีความหมาย

18 กลา่ วโดยสรุป หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ปน็ นวตั กรรมทางการศึกษารูปแบบใหม่ที่มีความน่าสนใจ เหมาะสาหรับที่จะนาไปสร้างและพัฒนาเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนเพ่ือกระตุ้นและเร้าความ สนใจของนักเรียน ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เน่ืองจากมีลักษณะของรูปแบบมัลติมีเดียท่ีปรับปรุง ให้ทันสมัยกับเหตุการณ์ผู้ เรียนจึงได้พัฒนาตนเองตลอดเวลา สามารถเลือกเรียนหรือทบทวนเนื้อหา ตามความต้องการ และทราบผลการเรียนรู้ด้วยตนเองเพราะข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ แทรกไดท้ ั้งรูปภาพและเสียงซง่ึ ดีกว่าหนงั สือเรยี นธรรมดา ผู้ศึกษาจึงได้ออกแบบพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เพ่ือเป็นส่ือการเรียนรู้และพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้ สงู ขนึ้

19 10. การตรวจสอบคณุ ภาพของหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 10.1 ด้านเน้ือหา 10.1.1 เน้อื หาตรงกบั สาระการเรียนรู้และระดบั ชัน้ เรยี น 10.1.2 เนอ้ื หามีความถกู ต้องและชดั เจนตามหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ 10.1.3 เนื้อหาสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ 10.1.4 การจดั ลาดบั เนอ้ื หามคี วามเหมาะสมกับการนาไปใช้ในระดับชั้นทีร่ ะบุ 10.1.5 ส่ือมีความสอดคล้องกบั การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นการสอน 10.2 ด้านกราฟกิ และการออกแบบ 10.2.1 การออกแบบสื่อมคี วามสวย สรา้ งสรรค์ 10.2.2 การใชภ้ าษาในเน้อื หาของสื่อสามารถสอื่ ความหมายได้ชัดเจน 10.2.3 รปู ภาพประกอบเน้ือหา สามารถส่ือความหมายไดช้ ัดเจน 10.2.4 มคี วามเหมาะสมของขนาด สี ตวั อกั ษร สามารถอา่ นได้ง่าย ชดั เจนในการนาเสนอ 10.2.5 การจัดสพี ้นื หลงั ชดั เจน มีความสวยงาม 10.2.6 การจัดองคป์ ระกอบโดยรวมมีความเหมาะสม 10.3 ด้านเทคนคิ 10.3.1 มีการออกแบบโครงร่างและรายละเอียดของเนื้อหาและเขียนสตอร่ีบอร์ดก่อนการ จดั ทาสอื่ ไดถ้ กู ต้องชดั เจนตามกลุม่ สาระการเรยี นรู้และระดับช้นั ทน่ี าไปใช้งาน 10.3.2 มีแฟ้มเก็บสารสนเทศโดยใช้ ICT สืบค้นข้อมูล รูปภาพและ ClipVDO ต่างๆ ให้ สามารถตรวจสอบได้ 10.3.3 ส่ือมกี ารออกแบบและจัดทางเทคนิคตามหลกั ของการออกแบบของ โปรแกรมทีใ่ ช้ 10.3.4 สอ่ื มกี ารจดั ตามสตอร่บี อรด์ ทอ่ี อกแบบ 10.3.5 คุณภาพเสยี งประกอบบทเรียนในสอ่ื เหมาะสม ชดั เจน 10.3.6 มีความสมบูรณข์ องเนอ้ื หาและมกี ารเชอ่ื มโยงข้อมูลในสื่อได้ดี

20 10.3.7 มีความเสถียรของตัวอักษร เม่ือนาไปใช้กับระบบปฏิบัติการของออฟฟิศในเวอร์ชัน ตา่ ง ๆได้ กล่าวโดยสรุป การประเมินสื่อเป็นการพิจารณาประสิทธิภาพและคุณภาพของสื่อการเรียน การสอน ผปู้ ระเมนิ จะต้องกาหนดจุดมงุ่ หมาย วธิ ีการประเมิน วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนสรุป เพอ่ื ชีแ้ นะแนวทางการปรับปรงุ สอื่ น้ัน ๆ การประเมินสื่อทาได้โดยการสังเกตพฤติกรรม การเรียน การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน การอภิปรายระหว่างผู้สอนกบผู้เรียน ซึ่งการ ประเมินมี 5 วธิ ีคือ 1) การประเมินโดยผู้สอนผู้ประเมินส่ือน้ันควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการใช้สื่อการเรียน การสอนผู้สอนทม่ี ีเชี่ยวชาญเกี่ยวกบั ส่อื และวิธกี ารสอน 2) การประเมินโดยผู้ชานาญ หมายถึง ผู้ชานาญด้านส่ือการเรียนการสอนและมี ประสบการณ์ดา้ นการประเมินด้วย 3) การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ คณะกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือประเมินส่ือการ สอนเปน็ กล่มุ บคุ คลทหี่ นว่ ยงานแตง่ ตัง้ ขึ้นมาประเมนิ ส่อื 4) การประเมนิ โดยผเู้ รียน ผู้เรยี นเป็นผู้รับรแู้ ละเรยี นรู้จากสอื่ ดังน้ันการให้ผู้เรียนได้มีโอกาส ประเมินสอื่ จงึ ช่วยใหไ้ ดข้ ้อคดิ ในการปรบั ปรุงส่ืออยา่ งเหมาะสมกับผเู้ รียน 5) การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของสอื่ การประเมนิ สอ่ื อกี วิธหี นง่ึ เป็นการประเมินประสิทธิภาพ ของส่ือ ส่ือท่ีจะต้องได้รับการประเมินประสิทธิภาพส่วนใหญ่จะเป็นส่ือท่ีผลิตขึ้นมาตามหลักการของ การสอนแบบโปรแกรม

21 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 ทาไมตอ้ งเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สังคมโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ ดารงชีวิตอย่างไร ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัว ตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด นอกจากน้ี ยังช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความ แตกต่าง และมคี ณุ ธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมือง ดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรู้อะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความเช่ือมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความ รับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม โดยได้กาหนดสาระ ตา่ ง ๆ ไว้ ดังนี้

22 ศาสนา ศลี ธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอยู่รว่ มกนั อย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่ เสมอ รวมท้งั บาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สังคมและสว่ นรวม หนา้ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและ ความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าท่ี เสรภี าพการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งสนั ติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนา หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบ ที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมท่สี าคัญของโลก ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของส่ิงต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึน การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ่ังยืน

23 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลกั ธรรม เพอ่ื อยรู่ ่วมกันอย่างสนั ติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื สาระท่ี 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ท่ขี องการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นิยมท่ีดงี าม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอยา่ งสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง รักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชวี ิตอย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก

24 สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จและธารงความเป็นไทย สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อ มาตรฐาน ส 5.1 กัน ใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุป ข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมี มาตรฐาน ส 5.2 ประสทิ ธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์ วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการ ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยนื

25 คุณภาพผู้เรยี น จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 • ได้เรียนรู้เรื่องเก่ียวกับตนเองและผู้ท่ีอยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่อยู่ อาศัยและเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทางานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ ฝึกหัดในการตัดสนิ ใจ • ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับ รายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมข้ันต้นและวิธีการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง • ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และภูมิปญั ญา เพ่ือเปน็ พนื้ ฐานในการทาความเขา้ ใจในข้ันท่ีสูงต่อไป

26 จบช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 • ได้เรียนรู้เร่ืองของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ท้ังเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง กายภาพ สงั คม ประเพณี และวฒั นธรรม รวมทงั้ การเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความ เป็นประเทศไทย • ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตาม หลักคาสอนของศาสนาท่ตี นนับถือ รวมทงั้ มีสว่ นรว่ มศาสนพธิ ี และพธิ กี รรมทางศาสนามากยิง่ ขน้ึ • ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด ภาค และประเทศ รวมท้ังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถนิ่ ตนเองมากย่งิ ข้ึน • ไดศ้ ึกษาเปรียบเทยี บเร่ืองราวของจงั หวดั และภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อน บ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และภมู ิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวนั ออกและตะวันตกเก่ียวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดาเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปล่ียนแปลงทางสังคมจาก อดีตสู่ปจั จุบนั

27 จบชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 • ได้เรียนรู้และศึกษาเก่ียวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคตา่ ง ๆ ในโลก เพ่ือพฒั นาแนวคดิ เร่ืองการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ • ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการ พฒั นาแนวคดิ และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวตั ิศาสตร์และภูมศิ าสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ • ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนนิ ชวี ิตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม จบชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 • ไดเ้ รียนรแู้ ละศึกษาความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกว้างขวางและลึกซึ้งยิง่ ขึน้ • ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติ ตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมท้ังมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนและอยู่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ รวมทง้ั มศี ักยภาพเพ่ือการศกึ ษาต่อในชัน้ สงู ตามความประสงค์ได้ • ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่นในวิถชี ีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ • ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยท่ีดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดล้อม มีความรักท้องถ่ิน และประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสรา้ งสิ่งทีด่ งี ามใหก้ ับสงั คม • เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ช้ีนาตนเองได้ และสามารถ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชวี ติ

28 ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้ แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

29

30

31

32 ‘

33

34

35

36

37 มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิด การสร้างสรรค์ วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพื่อการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน

38

39

40

41

42

43

44

45