Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

Published by gotonong, 2021-12-02 02:55:08

Description: แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนปฏิบัติราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย ซึ่งพิจารณาถึงความเชื่อมโยงกับแผน ยทุ ธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565-2569 แผนพลิกโฉมสู่การ เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน พ.ศ. 2566-2570 ภายใต้กรอบการดาเนินงานตาม พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 ในมาตรา 7 เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพอ่ื การพัฒนาท้องถ่ิน ที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟ้ืนฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถ่ิน สร้างสรรค์ ศลิ ปวิทยา มุ่งตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูปประเทศและปฏิรปู การศึกษา เพื่อก้าวสู่ประเทศ ท่พี ัฒนาแล้ว มคี วาม ม่ันคง มงั่ คั่งและย่งั ยนื นโยบายของกระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ในการพลิกโฉมระบบการอุดมศึกษาของไทย ท่ีจะสามารถดาเนินงานท่ีตอบสนองนโยบายของ รัฐบาลตามศักยภาพ ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมของมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยเพื่อการ พฒั นาชุมชนเชงิ พื้นที่ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ สิงหาคม พ.ศ. 2564

บทสรุปผ้บู ริหาร แผนปฏิบัติราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ฉบับน้ีจัดทา ขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย ซ่ึงพิจารณาถึงความเชื่อมโยงกับแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565-2569 แผนพลิกโฉมสู่การ เป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือพัฒนาชุมชนท้องถิ่น พ.ศ. 2566-2570 ภายใต้กรอบการดาเนินงานตาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ในมาตรา 7 เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา ท้องถ่ินท่ีเสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟ้ืนฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถ่ิน สร้างสรรค์ ศลิ ปวิทยา มุง่ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูปประเทศและปฏิรปู การศึกษา เพือ่ ก้าวสู่ประเทศ ที่พัฒนาแล้ว มีความ ม่ันคง มั่งคั่งและย่ังยืน นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม ในการพลิกโฉมระบบการอุดมศึกษาของไทย ที่จะสามารถดาเนินงานที่ตอบสนองนโยบาย ของรัฐบาลตามศักยภาพ ความเช่ียวชาญ และความพรอ้ มของมหาวทิ ยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยเพอ่ื การ พฒั นาชมุ ชนเชิงพน้ื ท่ี อนึ่งตามที่กฎกระทรวงการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมผี ลบังคับใช้ เม่อื วันท่ี 25 มีนาคม 2564 กาหนดให้ทุกมหาวิทยาลัยจะต้องมีการการประเมินตนเอง ผ่านระบบการประเมินตนเองและการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเชิงยุทธศาสตร์ (Thai University Strategic Classification and Self-Assessment System - UCLAS) เพ่ือรองรับการประเมินตนเอง ตามตัวช้ีวัดกลุ่มยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษานั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ได้วางทิศทางของ มหาวิทยาลัยอยู่ใน กลุ่มยุทธศาสตร์กลุ่มท่ี 3 ท่ีเป็นมหาวิทยาลัยเชิงพื้นที่เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน (Area- Based and Community) ที่มีจุดเน้น และความเช่ียวชาญในด้านการพัฒนาท้องถิ่นที่โดดเด่น ตาม ปรัชญาการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน และเอกลักษณ์ “มหาวิทยาลัย ราชภฏั อุตรดติ ถเ์ ปน็ ปัญญาของชุมชน (Wisdom of Community)” ภายใต้หลกั การดังกล่าวส่งผลให้ในด้านการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จึงได้มุ่ง ผลิตบัณฑิตตามความเช่ียวชาญในด้านการพัฒนาท้องถ่ิน คือ สาขาด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และ สาขาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น (บูรณาการศาสตร์) โดยกาหนด อัตลักษณ์บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เป็น “บัณฑิตนักคิด นักจัดการ สร้างงานด้วยความรู้ คู่คุณธรรม” มีการจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบบูรณาการพันธกิจการเรียนการสอน การวิจัยและ บริการวชิ าการ ทางานแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือขา่ ย ชุมชนและภาควิชาการ นาประเด็นปญั หาและ ความต้องการของชุมชนทอ้ งถ่ิน เป็นโจทย์ในการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนาร่วมกับการใช้องค์ความรู้ วจิ ยั สร้าง นวัตกรรมและเทคโนโลยีโดยใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญหลากหลายสาขา และสามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ เพ่ือแก้ปัญหาที่ซับซ้อนของชุมชนและสังคมได้ครอบคลมุ ทุกมิติ และเกิดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกัน ทาให้ชุมชนเขม้ แขง็ และสามารถพัฒนาแบบพง่ึ ตนเองได้ในทีส่ ุด

ค ท้ังน้ีมหาวิทยาลัยได้กาหนด วิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยพันธกิจสัมพันธ์ท่ีมีคุณภาพ สร้างคุณค่าเพื่อพฒั นาทอ้ งถิ่น” มยี ุทธศาสตรใ์ นการดาเนนิ งานเพอ่ื ให้บรรลตุ ามวสิ ยั ทศั นด์ ังต่อไปน้ี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ขับเคล่ือนการดาเนินงานตามแผนแม่บท มีเป้าประสงค์หลักคือการ ดาเนนิ การพฒั นาท้องถิ่นในด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาพันธกิจหลักเพ่ือขับเคลื่อนสู่การเป็นมหาวิทยาลัยพันธกิจ สัมพันธ์ มีเป้าประสงค์หลักคือ การผลิตบัณฑิตและการยกระดับคุณภาพการศึกษา การพัฒนาด้าน หลักสูตรและการจัดการศึกษา ด้านการพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับความเปล่ียนแปลงของประเทศ ด้านการพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการและ ศิลปวัฒนธรรม และ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีเป้าประสงค์หลักคือ การพัฒนาระบบบริหารจัดการสคู่ วามเป็นเลศิ ด้านการพฒั นากายภาพ และด้านบุคลากร ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ มีเป้าประสงค์หลักคือ การ สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาทักษะเพ่ืออนาคตในรูปแบบ non-degree และ degree และเพ่ิมทักษะด้านการประกอบอาชีพและการทางาน การพัฒนาคนและสถาบันความรู้ชุมชน เชงิ พื้นท่ี ม่งุ เน้นการสรา้ งและพัฒนาบคุ ลากรที่มที ักษะสูงตามความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ วิสยั ทัศน์ (Vision) Strategic Issue : 4 ยทุ ธศาสตร์ “มหาวิทยาลยั พันธกจิ ยทุ ธศาสตรy์ ouraudience and สมั พนั ธ์ที่มีคณุ ภาพ สร้าง aOdbdjeactu:n7iqเuปe้าปzรinะgสงaคn์หdลกั 36 เปา้ ประสงค์ยอ่ ย คุณค่าเพ่ือพฒั นาท้องถิน่ ” appeal to your Presentations. Strategy : 35 กลยทุ ธ์ Key Performance Indicator 134 ตวั ชวี้ ดั Project : 17 YโoครuงกrาTรeหxลกัt Here อนึ่งความสาเร็จของการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยทุกภาคส่วน โดย ต้องคานึงถึงหลักการบริหารจัดการแบบบูรณาการภารกิจ ตลอดจนการทางานร่วมกันกับหน่วยงาน ภายนอก เครือข่ายท้องถิ่น บุคลากร นักศึกษา ประชาชนในพ้ืนที่ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม และเกิด ความรู้สึกเป็นเจ้าของมหาวิทยาลัยร่วมกัน จึงได้กาหนดแนวทางในการขับเคลื่อนแผน คือสร้างความรู้ความ เข้าใจในแผนปฏิบัติราชการ โดยการเสริมสร้างความเข้าใจและถ่ายทอดสาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการ

ง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ที่ผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ลงสู่หน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลัย เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัย ตระหนักถึงความสาคัญและพร้อมเข้าร่วมในการผลักดันแผนไปสู่การปฏิบัติ และสนับสนุนให้มี งบประมาณและการดาเนินโครงการในระดับมหาวิทยาลัย และระดับหน่วยงานภายใน ให้เป็นไปตามกรอบของ แผนปฏิบัติราชการ สร้างระบบการติดตามประเมินผล กาหนดดัชนีช้ีวัดความสาเร็จ และสรุปรายงานผลการ ดาเนินงานและประชาสัมพันธ์ให้ หน่วยงานและบุคลากรทุกภาคสว่ นรับทราบ

สารบัญ คานา…………………………………………………………………………………………………………………………………… หน้า บทสรปุ สาหรบั ผูบ้ รหิ าร…………………………………………………………………………………………………………. ก สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………… ข บทที่ 1 กรอบแนวคิดการทาแผนปฏบิ ัตริ าชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ จ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 …………………………….…………………………………………… 1 1.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ…์ ….............……….……………. 1 1.2 การวิเคราะหป์ จั จยั ภายในมหาวิทยาลยั ………………………………………………………… 3 1.3 การวิเคราะห์ปจั จยั ภายนอกมหาวทิ ยาลัย…………………………………………..………… 6 1.4 ผลการวิเคราะหป์ ัจจัยภายในและภายนอก (SWOT) ……………………………..……… 11 1.5 นโยบายการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถข์ องอธิการบดี……………………… 14 บทท่ี 2 แผนปฏบิ ัติราชการ มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 17 2.1 ปรัชญา.....................................……………….…………….………..………….………..…….... 17 2.2 วสิ ัยทศั น์..................................……………….…………….………..………….……..…..…….... 17 2.3 อตั ลกั ษณ์..................................……………….…………….………..………….………..…….... 17 2.4 เอกลักษณ์..................................……………….…………….………..………….………..……... 17 2.5 คา่ นยิ มองค์กร..................................……………….…………….………..………….………..… 17 2.6 พนั ธกิจหลกั ..................................……………….…………….………..………….………..…… 17 2.7 ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวดั ความสาเรจ็ และกลยทุ ธ์ท่ีรองรบั …….…….……..… 18 2.8 ผังแสดงความเชอื่ มโยงระหวา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตร์แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 36 ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏ ยุทธศาสตร์จังหวดั และทิศทางการขบั เคลื่อน ของอธิการบดี.....................……………….…………….………..………….………..………………….… 37 2.9 ผงั แสดงความเชือ่ มโยงของวสิ ัยทศั น์ ยทุ ธศาสตร์ และเป้าประสงค์..…………………… 38 2.10 เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ โครงการ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ.......……………….…………….………..………….………..…… 62 บทท่ี 3 การนาแผนปฏบิ ตั ิราชการไปส่กู ารปฏิบัติ…………….…………….………..………….………..…… 66 ภาคผนวก ตัวช้วี ดั (KPI) และคา่ เปา้ หมายของแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี พ.ศ. 2565 จาแนกตาม โครงการและหน่วยงาน………….…………….………..…………………………………..…………..……

1 บทท่ี 1 กรอบแนวคิดการทาแผนปฏิบัติราชการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1.1 ประวตั ิมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์เป็นมหาวิทยาลัยทีก่ ่อต้งั มาอย่างยาวนาน ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2479 จาก “โรงเรียนฝึกหัดครู”, “วิทยาลัยครู”, “สถาบันราชภัฏ” และตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ได้ปรับเปล่ียนเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์” จนถึงปัจจุบัน ตง้ั อยู่เลขท่ี 27 ถนน อินใจมี ตาบลท่าอิฐ อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีหน้าที่จัดการศึกษาในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบจังหวัด อุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน โดยมีศูนย์วิทยบริการจังหวัดแพร่ วิทยาลัยน่านเป็นหน่วยงาน หลักในการดาเนินการในสองจังหวัด ในจังหวัดอุตรดิตถ์มีพื้นท่ีหลักตาบลท่าอิฐ พื้นที่หมอนไม้จัด การศึกษาโดยคณะเกษตรศาสตร์ และพ้ืนท่ีลารางทุ่งกะโล่จัดการศึกษาโดยคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

2 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 กาหนดให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็น สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน มีวัตถุประสงค์ให้จัดการศึกษาวิชาการและวิชาชีพช้ันสูง ทา การวิจัยให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครู และส่งเสริมวิทยฐานะครู โดยได้น้อมนาพระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีได้ทรงมอบให้มหาวิทยาลัยราชภัฏจัด การศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน “มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคง มีคุณธรรม มีงานทา มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี” โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏท้ัง 38 แห่ง ร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) สร้างพลังของแผ่นดินโดย ยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจชุมชน โดยยึดหลัก “เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนา” กาหนดวิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏว่า “เป็นสถาบันท่ีผลิตบัณฑิตที่มี อัตลักษณ์ มีคุณภาพ และเป็นสถาบันหลักที่ บรู ณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถน่ิ เพื่อสร้างความมนั่ คงให้กบั ประเทศ” โดยมีพันธกิจ ดงั นี้ (สานกั งานท่ปี ระชมุ อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ, 2561) 1. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ มีทัศนคติที่ดี เป็นพลเมืองดีในสังคมและมีสมรรถนะตาม ความตอ้ งการของผูใ้ ช้บณั ฑิต 2. วิจัยสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพและได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ มุง่ เน้นการบรู ณาการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. พัฒนาท้องถิ่นตามศักยภาพ สภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของชุมชน โดยการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนอ้ มนาแนวพระราชดารสิ ู่การปฏิบตั ิ 4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และเสริมสร้าง ความเขม้ แข็งของผนู้ าชุมชนให้มคี ุณธรรมและความสามารถในการบริหารงานเพื่อประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 5. บริหารจัดการทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพด้วยหลักธรรมาภิ บาล พร้อมรองรบั บรบิ ทการเปลยี่ นแปลงเพอ่ื ใหเ้ กดิ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยนื บริบทข้างต้นเป็นปัจจัยสาคญั ในการกาหนดทิศทางการบริหารมหาวทิ ยาลัย เพื่อสรา้ งระบบและ กลไกการบรหิ ารภายในมหาวิทยาลยั สรา้ งระบบสนับสนุนการปฏิบตั ิภารกจิ ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์

3 1.2 ปัจจัยภายในมหาวทิ ยาลยั ปัจจบุ นั มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถม์ ีท่ีต้ังในกการจดั การเรยี นการสอนได้แก่ 1) มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ (ทา่ อิฐ) 2) วิทยาลยั น่าน 3)คณะเกษตรศาสตร์ (หมอนไม้) 4)คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี พื้นท่ีลารางทงุ่ กะโล่ และ5)ศูนยว์ ทิ ยบริการจงั หวัดแพร่ ขอ้ มลู จานวนหลักสตู ร นกั ศกึ ษา จาแนกตามคณะ/วิทยาลัย และจานวนนักเรยี นโรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2563 คณะ/วิทยาลยั จานวนหลกั สตู ร จานวนนกั ศกึ ษา/นกั เรียน 2559 2560 2561 2562 2563 1) คณะครศุ าสตร์ 17 (หลกั สูตร 5 ป)ี 17 (หลกั สตู ร 4 ป)ี 3,301 3,421 3,512 3,435 3,294 2) คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 3) คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 15 2,015 1,847 1,532 1,167 932 4) คณะวทิ ยาการจัดการ 9 1,076 939 669 542 470 5) คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 9 1,893 1,780 1,453 1,190 997 6) คณะเกษตรศาสตร์ 9 7) วทิ ยาลยั นานาชาติ 2 594 613 588 532 529 8) วทิ ยาลัยนา่ น 2 181 142 129 90 98 9) บณั ฑิตวิทยาลยั 2 219 184 129 90 98 5 58 135 185 192 157 รวม 59 62 64 52 62 10) โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั บริบาล-ม.4 9,396 9,123 8,261 7,290 6,637 ราชภฏั อตุ รดิตถ์ 1,652 1,683 1,789 1,914 2,018 ทม่ี า : ข้อมูลนกั ศกึ ษาทีม่ อี ย่ใู นช้ันเรียน กองบรกิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์, โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์

4 บุคลากร จานวนบคุ ลกรของมหาวทิ ยาลยั จาแนกตามคณะ/วิทยาลัย และหน่วยงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 คณะ/วทิ ยาลัย/หน่วยงาน จานวนบคุ ลากร (คน) 2560 2561 2562 2563 2564 1) คณะครุศาสตร์ 2) คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 87 97 94 94 94 3) คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 103 105 103 104 104 4) คณะวิทยาการจัดการ 109 108 107 108 108 5) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 77 77 74 72 72 6) คณะเกษตรศาสตร์ 70 68 69 70 70 7) วทิ ยาลยั นานาชาติ 34 38 32 31 32 8) วทิ ยาลยั น่าน 25 24 21 21 21 9) บัณฑิตวทิ ยาลยั 36 36 32 31 31 10) โรงเรียนสาธิต 11) ศูนย์วทิ ยบรกิ ารจงั หวดั แพร่ 55555 12) สานักงานอธกิ ารบดี 106 100 100 100 93 13) สานักงานวิทยาเขตทุ่งกะโล่ 10 10 8 8 8 14) สานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 204 215 240 235 247 15) สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา 30 45 45 40 40 16) สานกั งานคณะกรรมการมาตรฐานคุณภาพฯ 30 27 28 28 28 17) ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 18) โครงการจัดหารายได้ 77777 56667 รวม 11 11 8 8 8 16 16 16 16 16 965 995 995 984 991 ที่มา : กองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์

5 จานวนบุคลากรจาแนกตามประเภทของบคุ ลากรมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ปีงบประมาณ 2560 - 2564 ประเภท จานวนบุคลากร (คน) 2560 2561 2562 2563 2564 1) ขา้ ราชการพลเรือนในสถาบนั อุดมศึกษา 2) ลกู จ้างประจา 83 76 73 72 65 3) ลกู จา้ งชวั่ คราวชาวตา่ งชาติ 12 11 10 8 5 4) พนักงานราชการ 10 14 6 5 5 5) พนักงานมหาวทิ ยาลยั (งบประมาณแผน่ ดนิ ) 21 22 22 22 25 6) พนกั งานมหาวทิ ยาลยั (งบประมาณเงนิ รายได้) 516 513 545 549 556 7) พนกั งานมหาวิทยาลัย (พ) / พนกั งานชั่วคราว 106 100 101 100 86 (งบประมาณเงินรายได)้ 217 259 237 228 249 รวม 965 995 994 984 991 ทีม่ า : กองบริหารงานบคุ คล มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ จากข้อมูลข้างตน้ พบว่าจานวนนักศกึ ษามีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเน่ือง เฉลี่ยลดลงรอ้ ยละ 8.27 ทาให้ต้องมีการบริหารจดั การท่ีดี ในด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การสร้างแรงจูงใจ กับคนทุกช่วงวัยในการเข้ามาศึกษาตลอดชีวิต และรูปแบบการจัดการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงจาก การดิสรปั ต์ทางเทคโนโลยี การเข้าถงึ การศกึ ษาได้ทกุ ทท่ี ุกเวลาตามความตอ้ งการของคนรุ่นใหม่ ควรมีการ ปรับการจัดการศึกษาให้กับคนทุกช่วงวัย ทั้งวัยทางาน ช่วงวัยเรียนและผู้สูงวัย ในระบบ non-degree และ degree งบประมาณแผ่นดินมีแนวโน้มลดลงไปพร้อม ๆ กับเงินรายได้ที่ลดลง ในขณะที่จานวน บคุ ลากรไมล่ ด จึงต้องวางแผนการจัดหารายไดเ้ พ่ิมและปรบั ปรงุ ระบบการบริหารทรัพยากรทุกสว่ นให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสดุ

6 1.3 ปัจจัยภายนอกท่เี ป็นความท้าทายต่อการพฒั นามหาวิทยาลัย ปัจจัยท่ีเป็นความท้าทายต่อการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาใน ภาพรวมเกิดจากสถานการณ์ที่มหาวิทยาลัยถูกดิสรปั ต์ด้วยเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงของโลกทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงด้านการจดั การศึกษาของโลกครั้งยง่ิ ใหญ่ ทาใหป้ ระเทศไทยจัดทายุทธศาสตร์ชาตแิ ละปฏิรูป ระบบการศึกษาในภาพรวมพร้อมท้ังขับเคลื่อนการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ (ปี 2561 – 2580) ตามแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา รวมทั้งนโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ด้านการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) เป็นปัจจัยท่ี นามากาหนดแนวคิด นโยบายการดาเนนิ งาน และการบรหิ ารมหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ ปจั จัยสาคัญ มีดังนี้ นโยบายของรฐั บาลและความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บท และแผนการปฏริ ปู ประเทศ จากการวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลและความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บท และแผนการปฏริ ปู ประเทศ พบว่า การดาเนนิ งานตามพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลัยจะมีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ในประเด็นดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ได้แก่ แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ทรัพยากรมนุษย์ และแผนงานบคุ ลากรภาครัฐ (ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์) 2. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ได้แก่ แผนงานยุทธศาสตร์ เสรมิ สรา้ งพลังทางสงั คม และแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ด้านศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ได้แก่ แผนงานพ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากร มนุษย์ 2. ด้านการพัฒนาการเรียนรู้ ได้แก่ แผนงานบุคลากรภาครัฐ (ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย)์ 3. ด้านพลังทางสงั คม ได้แก่ แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สรมิ สรา้ งพลังทางสงั คม 4. ด้านความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ได้แก่ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาค ทางการศกึ ษา แผนปฏริ ปู ประเทศ สอดคลอ้ งกับด้านการศึกษา โดยมีประเดน็ ปฏิรปู ดังน้ี ประเด็นที่ 1 การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติฉบบั ใหม่ และกฎหมายลาดับรอง ประเด็นที่ 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ และประเดน็ ที่ 5 การปฏิรปู กาจัดการสอนเพ่ือตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21

7 นโยบายปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา แนวทางการดาเนินงาน 1. วิสยั ทัศน์ 2580 ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่งั 1. จัดการศกึ ษาให้สาหรบั คนทกุ ช่วงวัยทงั้ ในระบบ ยงั่ ยืน เปน็ ประเทศที่พฒั นาแล้วดว้ ยการพฒั นาตาม และนอกระบบโดยการพฒั นาหลักสตู รเพ่อื ทักษะ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในประเด็น สมัยใหม่ท่ีพรอ้ มกับการทางานและพร้อมรับวิถีชีวิต การศกึ ษาในทุกแผนระยะทกุ 5 ปี กาหนดไว้ว่า ปกตใิ หม่ (New normal) ทง้ั หลกั สตู ร Re-skill, “คนไทยทกุ ชว่ งวัยมีคณุ ภาพเพม่ิ ขึน้ ” Up-skill และ New-skill และใชร้ ะบบสะสม หน่วยกติ (Credit Bank) 2. พฒั นาคณุ ภาพคนทุกชว่ งวยั โดยเนน้ แนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. กาหนดแผนปฏิรปู ดา้ นการศึกษาโดยมงุ่ เนน้ 1. พฒั นาเคร่ืองมอื และระบบบรู ณาการทางาน ผูเ้ รียนทุกกลมุ่ วัยไดร้ บั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพตาม 2. สนบั สนนุ นวตั กรรมการป้องกัน และการแก้ไข มาตรฐานสากล มที กั ษะทีจ่ าเปน็ ของโลกอนาคต ปัญหาเดก็ และเยาวชนออกจากระบบการศกึ ษา สามารถในการแกป้ ญั หา ปรับตวั สือ่ สาร และ ตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวัย ทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล มีวินยั มี 3. สนบั สนุนกลไกการดาเนนิ งานในระดับพน้ื ที่และ นิสัยใฝ่เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ และเป็น ต้นสังกดั พลเมืองทด่ี รี สู้ ิทธแิ ละหนา้ ที่ มีความรบั ผดิ ชอบ และ 4. ติดตามความคืบหนา้ และระดมการมสี ว่ นรว่ มของ มีจิตสาธารณะ โดยกิจกรรมสาคัญทคี่ วรเรง่ รัด (Big สงั คม Rock) 2.1 การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทาง การศกึ ษาตัง้ แต่ปฐมวยั 2.2 การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนสู่การ 1. ปรบั หลักสตู ร เรียนรู้ฐานสมรรถนะเพ่อื ตอบสนองการ 2. พัฒนาครใู หม้ ศี กั ยภาพในการออกแบบการเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 3. ปรับปรุงระบบการวัดผลและประเมินผล 4. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา 5. ประเมินผลการดาเนนิ งานและขยายผลตอ่ ไป 2.3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลติ และ 1. กลไกและระบบการผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ ศึกษาให้มีคณุ ภาพ ประสิทธภิ าพ มาตรฐาน 2. กลไกและระบบการพฒั นาครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาสายสามญั ศึกษาและสายอาชีวศกึ ษา ให้มีคณุ ภาพ ประสิทธิภาพและมคี วามกา้ วหน้าใน การประกอบอาชพี

8 นโยบายการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา แนวทางการดาเนินงาน 2.4 การจดั อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคแี ละระบบ 1. จัดทามาตรการสร้างแรงจูงใจใหผ้ ู้เรียนระดบั อน่ื ๆ ทีเ่ นน้ การฝกึ ปฏบิ ตั อิ ย่างเตม็ รูปแบบ นาไปสู่ มธั ยมศึกษาสนใจเรยี นสายวชิ าชีพ การจ้างงานและการสรา้ งงาน 2. พัฒนาระบบความรว่ มมือ ระบบบริหารจดั การ อาชีวศกึ ษาทวิภาคีเชงิ พนื้ ที่ และการคดั กรองสถาน ประกอบการท่ีมคี ณุ ภาพมาตรฐาน 3. สร้างความร่วมมอื กับผปู้ ระกอบการและสถาบนั อุดมศกึ ษาท่ีมีศักยภาพเฉพาะดา้ นและเน้นการฝกึ ปฏิบตั อิ ย่างเขม้ ข้น 4. ตดิ ตามความคบื หนา้ ในการดาเนินการ 2.5 การปฏริ ูปบทบาทการวจิ ัยและระบบ 1. สารวจและวเิ คราะห์สภาพสถานการณป์ จั จบุ นั ธรรมาภิบาลของสถาบนั อุดมศึกษาเพื่อสนับสนนุ และกาลังการผลติ ของสถาบนั อุดมศึกษา ประชมุ การพัฒนาประเทศไทยออกจากกบั ดักรายได้ อธกิ ารบดแี หง่ ประเทศไทย (ทปอ.) และหน่วยงานท่ี ปานกลางอยา่ งยงั่ ยนื เกี่ยวขอ้ ง 2. รว่ มกนั ยกร่างแผนการปฏิรปู ระบบการวิจัยใน สถาบนั อดุ มศึกษา 3. จัดทาแผนการปฏิรปู ระบบธรรมาภิบาลของ สถาบนั อุดมศึกษารวมถงึ หน่วยงานภายในของ สถาบนั อดุ มศึกษา 4. ตดิ ตามและประเมนิ ผล ทมี่ า : การบรรยาย “บทบาทของกระทรวง อว. ต่อการพลกิ โฉมมหาวิทยาลยั ” โดย ศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทฆี สกุล ประธานอนกุ รรมการพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลยั นโยบายพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลยั ของกระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม นโยบายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในเร่ืองการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศและสร้างกาลังคนตามความต้องการของประเทศโดยยึดหลัก 1) พัฒนา คุณภาพการเรียนการสอน 2) การพัฒนาและแสวงหาบุคลากร 3) ความเป็นนานาชาติ 4) การบริหาร งานวิจัยและนวัตกรรม และ 5) การสร้างแฟลตฟอร์มความร่วมมือในการปฏิรูประบบบริ หาร (Management Transformation) ท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ระบบบริหารบุคลากร ระบบบริหารการเงินและ งบประมาณ การแก้ไขข้อจากัดและหลักธรรมมาภิบาลสู่การพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยและ นวัตกรรมท่ีมีคุณภาพสูงและมีจุดเน้น ตามบทบาทของมหาวิทยาลัยแต่ละกลุ่ม ซึ่งกระทรวง อว. จัดให้ มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์อ่ยใู่ นกลุ่ม “มหาวทิ ยาลัยเพ่อื การพัฒนาชุมชนเชงิ พื้นท่ี”

9 นโยบายการพลิกโฉมระบบการอุดมศึกษาของไทย (Reinventing University System) 1. การสร้างเครือขา่ ยกับหน่วยงาน/เอกชน 1. การสง่ เสรมิ เทคโนโลยแี ละระบบแวดลอ้ ม 2. การรวมกลุ่มมหาวทิ ยาลัยเพอ่ื ขบั เคล่อื น 2. การพฒั นาหลักสูตรตามทศิ ทางกลุม่ เปา้ หมาย มหาวิทยาลยั 3. ระบบมหาวทิ ยาลยั พ่ีเลีย้ ง 3. จัดทาชุดองค์ความรู้ หลักสตู รออนไลน์ 4. การพฒั นาระบบนิเวศนวัตกรรมเพ่ือการ 4. การพฒั นาวธิ กี ารเรยี นรขู้ องนิสติ นักศกึ ษา สง่ เสริมการสรา้ งผูป้ ระกอบการ 5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1. ระบบการบรหิ ารและ 5. การสร้างแพลท 1. การพัฒนา 1. การพฒั นาทักษะอาจารย์ จัดการทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา ฟอรม์ ความ เพอื่ การเรยี นในศตวรรษที่ 21 2. การผลักดนั ศูนย์วจิ ัยใหส้ ู่ ร่วมมือ คณุ ภาพการเรยี น 2. จดั กจิ กรรมหลกั สูตรเพ่ือ ระดบั โลก การสอน ยกระดบั การพฒั นาทกั ษะของ 3. ระบบบริหารกลมุ่ วิจัย บัณฑิตและแรงงานในชมุ ชน ภายในมหาวิทยาลยั 4. การบรหิ าร 2. การพฒั นา 3. การจา้ งผู้เชย่ี วชาญการวิจัย 4. โครงการศูนย์การเรียนรู้ ระดับโลก ต่างๆ ส่งเสริมระบบนเิ วศการ งานวจิ ัยและ และแสวงหา 4. ทนุ บัณฑิตศกึ ษาและ เรียนการสอนและการวจิ ัย นกั วิจยั หลังปรญิ ญาเอก 5. การสร้างกลไกการพฒั นา นวตั กรรม บคุ ลากร 5. การสรา้ งระบบนเิ วศ 3. ความเปน็ ประกอบ การและนวัตกรรม งานวิจยั และนวตั กรรม 6. สร้าง/พฒั นาหลกั สตู รจัด นานาชาติ การศกึ ษาทเี่ รียนรูต้ ลอดชวี ิต 1. การจับคูท่ างธุรกิจระหวา่ งนักศึกษาผู้ประกอบการธุรกจิ ระดับโลก 2. การสรา้ งเครือข่ายกบั มหาวทิ ยาลัยชัน้ นาระดับโลก 3. ทุนการศกึ ษาในประเทศในกลุ่มทขี่ าดแคลน 4. การจัดประชมุ วิชาการและการสร้างเครือขา่ ยนกั วิจยั ระดบั โลก 5. สนับสนุนงบประมาณการเขา้ ร่วมเป็นสมาชกิ สานกั พิมพ/์ วารสาร การ ประชมุ ทางวิชาการระดบั นานาชาติ 6. ปรับปรุงและพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน/หลกั สูตร

10 สถานการณม์ หาวทิ ยาลัยถกู ดิสรปั ต์ทาใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงการจัดการศกึ ษาของโลก ปัจจุบันเทคโนโลยีเปลย่ี นแปลงกา้ วหน้าอยา่ งรวดเรว็ มผี ลกระทบต่อการจดั การศึกษาของโลกเป็น อย่างมาก การเขา้ ถึงเทคโนโลยีได้ง่ายและราคาถูก ทาให้คนรุ่นใหม่ศกึ ษาเรยี นรไู้ ด้ตามความต้องการทุกที่ ทุกเวลา ทาให้การจัดการศกึ ษาในมหาวิทยาลัยมีความตอ้ งการน้อยลง ประกอบกบั การให้ความสาคัญต่อ ใบปรญิ ญาลดลงของท้ังนกั ศึกษาและผู้ปกครอง ความรูเ้ ดมิ ๆ ในบางสาขาไม่ทนั สมัยทาให้ผู้สนใจท่ีจะเพิ่ม ทกั ษะเพื่อการทางานได้ทันทีสนใจเข้ามาเรียนในระบบมหาวิทยาลัยลดลง จาเป็นต้องสร้างทีมบริหารการ เปล่ียนแปลงในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับสถานการณ์มหาวิทยาลัยถูกดิสรัปต์ ต้องมีการบริหารงานแบบมี ประสิทธิภาพสูง คล่องตัว การใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพรองรับการจัดการศึกษาและ การบริหารจัดการ แนวทางการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย มีดังน้ี 1) การกาหนดคุณค่า ประโยชน์ของมหาวิทยาลัยท่ีมีต่อชุมชนและสังคม โดยได้กาหนดบทบาท เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น มีการพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองคนทุกช่วงวัยในระบบ และนอกระบบ พัฒนาหลักสูตรระยะสั้นเพื่อ Re-skill, Up-skill, New-skill และพัฒนาระบบสมสม หน่วยกิต (Credit Bank) บูรณาการพันธกิจและข้ามศาสตร์เพ่ือการพัฒนาในหลากหลายมิติ และสร้าง เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ของภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ศิษย์เก่า ศษิ ย์ปจั จบุ นั เพอื่ ออกแบบ และจัดการศึกษารว่ มกัน 2) กาหนดและพัฒนามหาวิทยาลัยดิจิทัล ได้แก่ พัฒนาระบบบริหารงานบนแพลตฟอร์ม เดยี วกัน พัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพ่อื ลดต้นทุนและเวลาการทางาน และส่งเสริม เชือ่ มโยงภาคี เครอื ข่าย 3) จัดทาแผนบริหารงบประมาณ บริหารจัดการทรัพย์สินเพื่อสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ เพื่อ วัดประสิทธิภาพการใช้งบประมาณ วิเคราะห์ต้นทุนท้ังระบบ และสร้างงานวิจัย นวัตกรรม องค์ความรู้ เพื่อพฒั นาเชงิ พาณชิ ย์ 4) จัดทายุทธศาสตร์การบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยแต่งตั้งทีมบริหารการเปล่ียนแปลง จัดระบบกลไกและจัดทาโครงการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างการเปล่ียนแปลงให้กับมหาวิทยาลัย ปรับโครงสร้างบริหารจัดการให้สอดคล้องเหมาะสม กาหนดภาระงานเพ่ือสร้างแรงจูงใจท้ังอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน และสรา้ งความตระหนกั รว่ มมอื กนั เปลีย่ นแปลงเพ่ือรองรับความท้าทายในอนาคต 5) จัดทายุทธศาสตร์การปรับปรุง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับการบริหารจัดการ บุคลากร งบประมาณให้ยืดหยุ่น คล่องตัวและเหมาะสมกับยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลง วัดประสิทธิภาพการ บรหิ ารจดั การ กากับ ติดตาม และดาเนินการบรหิ ารความเสี่ยง

11 1.4 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ท่เี ปน็ จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ จากสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของมหาวิทยาลัย เม่ือนามาวิเคราะห์ พบว่า มหาวิทยาลัยมีจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม ท่ีส่งผลกระทบต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย ดงั ต่อไปนี้ จุดแขง็ (S : Strength) 1. บุคลากรมีความเชี่ยวชาญท่ีหลากหลายโดยเฉพาะ มีประสบการณ์การทางานแบบบูรณาการ พนั ธกิจและศาสตรห์ ลายสาขาเพอ่ื การพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถิ่น 2. การผลิตบัณฑิตครูมีคุณภาพและเป็นอัตลักษณ์เป็นที่ยอมรับมาเป็นระยะเวลานาน ได้รับ ความไวว้ างใจจากผปู้ กครองอย่างต่อเนอ่ื ง 3. หลักสูตรได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของ ผใู้ ชบ้ ณั ฑิต ซ่ึงจดั การเรียนการสอนระบบสหกจิ เป็นท่ียอมรบั ระดับประเทศ 4. งานวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ สร้างนวัตกรรมและงานพันธกิจสัมพันธ์เพื่อใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาชุมชนท้องถิน่ เปน็ ทย่ี อมรับและไว้วางใจจากแหล่งทุน หน่วยงานจงั หวดั และชมุ ชน 5. มีงบประมาณสนับสนุนภารกิจตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นใน พน้ื ทีค่ วามรับผดิ ชอบจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ จงั หวดั แพร่ และจังหวัดนา่ น 6. มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรท้องถ่ินและประชาชนท่ีเข้มแข็ง ใหก้ ารสนับสนนุ และมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาการพฒั นาชุมชนทอ้ งถน่ิ 7. เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในจังหวัดอุตรดิตถ์และต้ังอยู่กลางเมือง มีพื้นที่กว้าง อาคาร สถานที่สะดวกต่อการประสานงานการใหบ้ รหิ ารแกห่ นว่ ยงาน องคก์ รและชมุ ชนในพืน้ ที่ 8. โครงสร้างของหน่วยงานภายในไม่ซับซ้อน ทาให้สามารถบูรณาการการทางานได้ทุกศาสตร์ ทุกคณะ เน้นการทางานเป็นทีมและยืดหยุ่น มีวัฒนธรรมองค์กรและทัศนคติที่ดีต่อการ ทางานเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินทชี่ ัดเจน 9. เปน็ มหาวทิ ยาลยั ที่มีอายุถงึ 84 ปี ทาให้เป็นทร่ี ู้จกั ของคนทัว่ ไปและศิษยเ์ ก่า จุดออ่ น (W : Weaknesses) 1. จานวนนักศกึ ษาท่ีลดลงอยา่ งต่อเนือ่ งจากปี 2561 – 2563 2. อัตราส่วนของอาจารย์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ : รองศาสตราจารย์ : ศาสตราจารย์ เป็น 312 : 87 : 10 : 0 ซึ่งไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสานักงานปลัดกระทรวงการ อุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สป.อว.) 3. ระบบฐานขอ้ มลู เพื่อการบริหารตามยทุ ธศาสตร์ งบประมาณบุคลากร หลักสูตร นักศกึ ษา และศิษย์เก่า การจัดการเรียนการสอน การวิจัยและงานพันธกิจสัมพันธ์ยังไม่สามารถ เช่อื มโยงที่จะนามาใช้วางแผนและการตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

12 4. การจัดการเรียนการสอนแบบอิงสมรรถนะและให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตปกติใหม่ (New normal) ยังไมค่ รอบคลมุ ทุกหลกั สตู ร 5. การวางแผนจัดหารายได้จากทรัพยากรบุคคลและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยยังไม่เป็น รปู ธรรมทชี่ ัดเจน 6. ระบบและกลไกการพัฒนา การพัฒนาศักยภาพ ความสามารถของบุคลากรตามความ ตอ้ งการ จดุ เดน่ ความเชยี่ วชาญในวชิ าชพี (Re-skill, Up-skill, New-skill) ไม่ชดั เจน 7. งบประมาณในภาพรวมไม่เพียงพอต่อการพัฒนาหอ้ งเรยี นใหเ้ ป็น Smart Classroom และ ใชใ้ นการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ให้สมบูรณเ์ ต็มที่ โอกาส (O : Opportunities) 1. การเปล่ียนแปลงและพัฒนาเทคโนโลยียุคดิจิทัลทาให้คนรุ่นใหม่ใช้เทคโนโลยีเข้าถึง การศึกษาได้ทุกที่ทุกเวลาตามความต้องการและราคาไม่แพง เป็นโอกาสที่มหาวิทยาลัย สามารถปรบั พฒั นาหลักสตู รและจดั การเรียนการสอนได้หลากหลายรปู แบบ 2. สถานการณ์โควิด-19 ทาให้เกิดวิถีชีวิตใหม่ (New normal) ทาให้บุคลากรปฏิบัติงาน รูปแบบใหม่ การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) และในสถานท่ีตั้ง (Onsite) ถกู พัฒนาไดอ้ ย่างรวดเร็วและเพ่ิมประสิทธภิ าพสงู ข้นึ 3. การท่ีจังหวัดอุตรดิตถ์เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยทาให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนาหลักสูตรตามความ ตอ้ งการของสังคมผูส้ ูงวัยได้อย่างหลากหลาย 4. พระบรมราโชบายจากในหลวงรัชกาลที่ 10 ทาให้เกิดพลังความร่วมมือของบุคลากร หน่วยงานระดบั กระทรวง จังหวัดและองคก์ รทอ้ งถ่ินในการจดั การศึกษาและพัฒนาท้องถ่นิ 5. ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) มีความชัดเจนเป็น ทิศทางให้มหาวิทยาลัยปฏิบัติภารกิจเพื่อการพัฒนาชุมชนเชิงพ้ืนท่ีตามนโยบายของ กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ไดช้ ัดเจนมากข้นึ 6. นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ท่ีกาหนดให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏอยู่ในกลุ่ม “มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาชุมชนเชิงพ้ืนที่” นโยบาย “พลิกโฉมมหาวิทยาลยั ” นโยบาย “การจัดการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต” ทาใหม้ หาวทิ ยาลัยเกิด ช่องทางการขอรับงบประมาณสนับสนุนการพฒั นามหาวิทยาลัยได้มากยิ่งขึน้ 7. เครือข่ายความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระดับชาติและนานาชาติพร้อมสร้างความ รว่ มมือดา้ นการจดั การศึกษา วจิ ัย พัฒนานวตั กรรมและหลักสูตร 8. เครือข่ายผู้ประกอบการ ศิษย์เก่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนในจังหวัด อุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน ที่ร่วมกันพัฒนาชุมชนในท้องถ่ินมายาวนานเป็น เครอื ขา่ ยท่ีเขม้ แขง็ เป็นต้นแบบและพร้อมรว่ มขยายผลไปในพื้นท่ีอนื่

13 ภัยคุกคาม (T : Threats) 1. แนวโน้มการได้รับงบประมาณแผ่นดินท่ีลดลงไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติภารกิจให้เกิด ประสทิ ธผิ ลอยา่ งเต็มท่ี 2. โครงสร้างของประชากรท่ีเปลี่ยนแปลงส่งผลทาให้การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย 3. สถานการณ์ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ทาให้ประเทศไทยและ ทั่วโลกมเี ศรษฐกิจที่ชะลอตวั อยา่ งต่อเน่ือง มคี นตกงานและว่างงานจานวนมาก ครอบครัว ทีอ่ ยู่ในจงั หวัดภูมิภาคไมส่ ามารถส่งบตุ รหลานเขา้ ศึกษาในระดบั ทส่ี งู ขึ้นได้ 4. มหาวิทยาลัยใหญ่และมีชื่อเสียงมีนโยบายรับนักศึกษาแบบไม่จากัด ส่งผลกระทบ ตอ่ จานวนนกั ศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ 5. ความสนใจของนักเรียน ผู้ปกครอง และผู้ประกอบการในหลักสูตรเดิม ๆ และการให้ ความสาคัญกับใบปริญญาลดลง เน้นความสาคัญต่อทักษะใหม่ ๆ ที่จบแล้วพร้อมทางานได้ ทันที 6. รูปแบบการศึกษารูปแบบการทางานเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีท่ีเข้ามา disruption มหาวิทยาลัย ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวด้านการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใน มหาวทิ ยาลยั โดยตรง 7. ความจาเป็นในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาการเรยี นการสอนรูปแบบใหม่แบบ ผสมผสาน (Online & Onsite) ท่ีต้องลงทุนสูง ทาให้ส่งผลกระทบต่องบประมาณใน ภารกิจดา้ นอืน่ ของมหาวิทยาลยั

14 1.5 นโยบายการบริหารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ของอธิการบดี (รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาวิณี สัตยาภรณ์) หลกั การบริหาร การบริหารองค์กรเป็นการบริหารจัดการเชิงระบบมีการจัดการปัจจัยนาเข้า ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยการผลิตแล้วประเมินผลผลิตจากการกาหนดตัวชี้วัด (KPI) ของทุกโครงการและกิจกรรม ใน สถานการณ์ปัจจุบันการจัดการศึกษาของโลกเปลี่ยนไปการเข้าถึงการศึกษาได้ง่ายและทันสมัยตาม เทคโนโลยีที่ปรับเปลยี่ น การบริหารจัดการองค์กรยุคใหม่จาเปน็ ต้องกาหนดเป้าหมาย (Objective) และ ประเมินผลลัพธ์ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ โดยกาหนดเป้าประสงค์หลักและเป้าประสงค์ยอ่ ย ให้ชัดเจนทั้งเชิง ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ ประเมินผลลพั ธ์ท่ีเกดิ ข้ึนกบั กลุ่มเปา้ หมายและการดาเนนิ งานตามบทบาทหน้าที่ ของมหาวิทยาลัย ซึ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ตาม นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม การบริหารมหาวิทยาลัยให้เกิด ประสิทธภิ าพจึงยดึ หลักการดังน้ี 1) ความมนั่ คง ย่ังยืนของมหาวิทยาลยั 2) คณุ ค่าและประโยชนข์ องมหาวิทยาลยั ที่มตี ่อชุมชนและสังคม 3) ผลิตบณั ฑติ คุณภาพสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาประเทศ 4) บรหิ ารงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี และขบั เคลอ่ื นสู่การใช้ประโยชน์ 5) พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้าง ภาคีเครือขา่ ย 6) การพัฒนาและแสวงหาบคุ ลากร 7) การบรหิ ารงบประมาณและงานคลังให้เกดิ ประสิทธภิ าพ 8) บริหารจดั การทรพั ยากรอย่างมคี ุณค่าและเพมิ่ มลู ค่า 9) สร้างผู้นายคุ ใหม่ 10) บริหารโครงการสาคญั ตามยุทธศาสตรแ์ ละตามบทบาทหน้าท่ขี องมหาวิทยาลัย นโยบายในการบรหิ าร การบริหารมหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ให้ประสบความสาเรจ็ บรรลุเปา้ หมายท่ีวางไว้จาเป็นตอ้ งมี กรอบแนวคดิ เพ่ือเปน็ แนวทางในการบรหิ ารงาน โดยจะดาเนินการตามนโยบาย ดังน้ี 1) นโยบายจากสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ 2) พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 -13 4) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) 5) นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ปี พ.ศ. 2563 – 2570 และแผนด้านวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม พ.ศ. 2563 – 2565

15 6) นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปี พ.ศ. 2564 – 2565 7) นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ปี พ.ศ. 2563 8) ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 9) แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของมหาวิทยาลัยราชภฏั (ทปอ.) 10) แผนพลิกโฉมสู่การเปน็ มหาวิทยาลยั เพ่อื พัฒนาชุมชนท้องถิน่ พ.ศ. 2566-2570 (Area-Based and Community Engagement University) โดยการศึกษาเอกสารข้างต้นนามาเชื่อมโยงให้เห็นแนวทางการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ อตุ รดติ ถ์ ดงั นี้ การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ การปฏิรปู การจดั การเรียนการ คัดกรองและพฒั นาผู้ประกอบวชิ าชพี สอนเพื่อตอบสนองการ ครูและอาจารย์ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 1 4 แผนยุทธศาสตรฯ์ 2 และแผนปฏบิ ตั ิราชการ การปฏริ ปู การศึกษาและ 3 การเรยี นรู้โดยการพลิกโฉม การปรับโครงสร้างของหนว่ ยงานในระบบ ด้วยระบบดจิ ทิ ัล การศึกษาเพอ่ื บรรลุเปา้ หมายในการ ปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอน

16 เปา้ หมายในการพฒั นามหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยจะดาเนินงานภายใต้ปรัชญาการเป็น “มหาวิทยาลัย เพอื่ การศึกษาและพฒั นาชุมชนทอ้ งถน่ิ ” มกี ารดาเนินงานในรูปแบบบรู ณาการพันธกิจการเรยี นการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ ทางานแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชนและภาควิชาการ นาประเด็นปญั หาและความต้องการของชมุ ชนท้องถ่ิน เป็นโจทยใ์ นการแกป้ ัญหาหรอื พัฒนารว่ มกับการใช้ องค์ความรู้ วิจยั สร้างนวตั กรรมและเทคโนโลยโี ดยใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญหลากหลายสาขา และสามารถ บูรณาการข้ามศาสตร์เพ่ือแก้ปัญหาท่ีซับซ้อนของชุมชนและสังคมได้ครอบคลุมทุกมิติ และเกิด ประสบการณ์การเรียนรู้รว่ มกัน ทาใหช้ ุมชนเขม้ แข็งและสามารถพฒั นาแบบพึ่งตนเองได้ในที่สดุ ทั้งนี้มหาวิทยาลัยได้กาหนด วิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยพันธกิจสัมพันธท์ ่ีมีคุณภาพ สร้างคุณค่า เพ่อื พฒั นาทอ้ งถนิ่ ” มยี ุทธศาสตรใ์ นการดาเนินงานเพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามวิสยั ทศั น์ดังตอ่ ไปน้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคล่ือนการดาเนินงานตามแผนแม่บท มีเป้าประสงค์หลักคือการดาเนินการ พัฒนาทอ้ งถิน่ ในด้านเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาพันธกิจหลักเพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นมหาวิทยาลัยพันธกิจสัมพันธ์ มี เป้าประสงค์หลักคือ การผลติ บัณฑิตและการยกระดบั คุณภาพการศึกษา การพัฒนาดา้ นหลกั สูตรและการ จัดการศึกษา ด้านการพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของประเทศ ด้านการพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการและ ศิลปวัฒนธรรม และโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีเป้าประสงค์หลักคือ การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการสูค่ วามเป็นเลิศ ดา้ นการพฒั นากายภาพ และดา้ นบคุ ลากร ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ มีเป้าประสงค์หลักคือ การสนั บ ส นุ น ก ารจัด ก ารศึ กษ าต ลอ ด ชีวิต แล ะการพั ฒ น าทั กษ ะเพื่ ออ น าค ตใน รูป แบ บ non-degree และ degree และเพิ่มทักษะด้านการประกอบอาชีพและการทางาน การพัฒนาคนและ สถาบันความรู้ชุมชนเชิงพ้ืนท่ี มุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูงตามความต้องการของ ทอ้ งถน่ิ

17 บทท่ี 2 แผนปฏบิ ตั ริ าชการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 2.1 ปรัชญา “มหาวทิ ยาลยั เพื่อการศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนท้องถิ่น” 2.2 วิสยั ทัศน์ “มหาวทิ ยาลยั พันธกจิ สัมพันธ์ทมี่ ีคุณภาพ สร้างคุณคา่ เพอื่ พัฒนาทอ้ งถน่ิ ” 2.3 อตั ลักษณ์ “บณั ฑิตนักคดิ นักจดั การ สร้างงานดว้ ยความรคู้ ู่คุณธรรม” 2.4 เอกลักษณ์ “มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์เป็นปัญญาของชมุ ชน (Wisdom of Community)” 2.5 คา่ นิยมองคก์ ร URU U: unity ความเปน็ หนง่ึ เดียว R: responsibility ความรับผดิ ชอบ U: Uniqueness ความเป็นเอกลกั ษณ์มหาวิทยาลยั พนั ธกจิ สัมพันธ์ 2.6 พนั ธกิจหลัก 1. ผลิตบัณฑิตดีทีม่ ีคุณภาพ มีทัศนคตทิ ่ีดีเป็นพลเมืองดีในสงั คมและมีสมรรถนะตามความตอ้ งการ ของผ้ใู ชบ้ ณั ฑิต 2. ผลติ และพัฒนาครูอย่างมีคุณภาพมาตรฐานของคุรุสภา 3. วิจัยและบรกิ ารวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพและได้ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ มุ่งเน้นการบูรณาการเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ในท้องถิ่นได้อย่างเป็น รปู ธรรม 4. พัฒนาท้องถ่ินและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมตามศักยภาพ สภาพปัญหาและความต้องการที่ แท้จรงิ ของชุมชน โดยนอ้ มนาแนวพระราชดารสิ กู่ ารปฏิบตั ิ 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ผนู้ าชมุ ชนใหม้ คี ณุ ภาพ และความสามารถในการบริหารงานเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนท้องถ่ิน 6. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการมหาวิทยาลัยดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าล พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลงเพอ่ื ให้ เกดิ การพฒั นาต่อเนอื่ ง

18 2.7 ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วดั ความสาเร็จ และกลยุทธท์ ี่รองรับ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ขับเคล่ือนการดาเนินงานตามแผนแม่บท (แผนแม่บทหมายถึงแผนตามยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560 - 2579 ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่งดาเนินการ รว่ มกนั ) เป้าประสงค์หลัก 1.1 การพัฒนาท้องถ่นิ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดล้อม และการศึกษา มีเป้าประสงคย์ อ่ ยและตัวชี้วัดดงั ต่อไปน้ี เปา้ ประสงคย์ ่อย ตัวชว้ี ัดและค่าเปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) บรู ณาการงานพนั ธกิจ 1) ทรพั ยากรพนื้ ถ่นิ (Local Resources) ได้รับการยกระดับ สัมพนั ธเ์ พื่อยกระดับ ห่ ว ง โ ซ่ คุ ณ ค่ า ใ ห ม่ ( New Value Chain) เ พ่ื อ ส ร้ า ง ขี ด เศรษฐกิจชมุ ชนตามบริบท ความสามารถในการแข่งขันด้วยองค์ความรูว้ ิชาการ 2 เร่อื ง และความต้องการของ ชุมชนและ 2) ผลการวิเคราะห์คุณค่าของสังคม (social Value) ท่ีใช้ในการ ภาคอุตสาหกรรม พฒั นาท้องถ่นิ รอ้ ยละ 60 3) ผปู้ ระกอบการท้องถน่ิ (Local Enterprise) ที่มี ขีดความสามารถในการประกอบการเพ่ือยกระดับเศรษฐกิจ ฐานรากของจังหวัด (ผู้ประกอบการและนักวิจัยท่ีมี ความสามารถในการพัฒนาโครงการร่วมกัน) 30 ราย 4) จานวนครัวเรือนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าไปให้ความรู้ และ ร่วมพัฒนา/แก้ไข เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ รวมท้ังสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 100 ครัวเรือน/ จงั หวัด (อตุ รดติ ถ/์ แพร่/น่าน) รวม 300 ครัวเรือน 5) รายได้ของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเพ่ิมข้ึน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 15 6) ครัวเรอื นที่เข้าร่วมโครงการท่สี ามารถยกระดบั รายได้ครวั เรือน พ้นเกณฑ์ ความยากจน (38,500 บาท : คน : ปี) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 7) จานวนรายวิชาในหลักสูตรท่ีมีการบูรณาการจัดการเรียนการ สอนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคน ในชมุ ชน ไมน่ อ้ ยกว่า 2 รายวชิ า

เป้าประสงค์ย่อย 19 ตวั ช้ีวัดและคา่ เป้าหมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 8) จานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับชุมชนฐานรากต่อจานวนนักศึกษาใน รายวิชาทเี่ ก่ยี วข้อง ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 10 9) ผลิตภัณฑ์ชุมชนในพ้ืนที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับ จานวน 5 ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ อ จั ง ห วั ด ( อุ ต ร ดิ ต ถ์ / แ พ ร่ / น่ า น ) รวม 15 ผลิตภัณฑ์ 10) จานวนองค์ความรู้ งานวิจัย นวัตกรรมของอาจารย์หรือ นักศึกษาท่ีดาเนินการร่วมกับชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถ่ิน 5 องค์ความรู้ต่อจังหวัด (อุตรดติ ถ์/แพร่/น่าน) รวม 15 องค์ความรู้ 11) จานวนอัตลักษณ์ของท้องถ่ินได้รับการอนุรักษ์และยกระดับ จานวน 1 อัตลักษณ์ต่อจังหวัด (อุตรดิตถ์/แพร่/น่าน) รวม 3 อัตลักษณ์ 12) จานวนนกั ศึกษาท่ีเขา้ ร่วมพัฒนาผลติ ภณั ฑล์ ะ 25 คน 13) จานวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการ สอนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถ่ิน จานวน 2 รายวิชา (ต่อผลติ ภัณฑ์) 14) จ า น ว น ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ ย ก ร ะ ดั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท้ อ ง ถิ่ น จงั หวัดละ 1 แหง่ 15) จานวนผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และมีขีดความสามารถที่เพ่ิมข้ึนจานวน 5 กลุ่ม ต่อจังหวัด (อุตรดิตถ์/แพร่/นา่ น) รวม 15 กลุม่ /ราย 16) ระบบการตลาดแบบออฟไลน์ และแบบออนไลน์ โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏดาเนินการเปิดพ้ืนท่ีระหว่างผู้ผลิตและ ผู้บริโภคสู่ตลาดออนไลน์ University as a Marketplace ตลาดภายในมหาวิทยาลัย ,ตลาดภายนอกมหาวิทยาลัยตลาด ออนไลน์ เชอ่ื มโยงกับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏทงั้ 38 แหง่

20 เป้าประสงคย์ ่อย ตวั ช้ีวัดและค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 17) สามารถยกระดับ ต่อยอด ผลผลิตไม้ผล และการแปรรูป 2) ยกระดับคณุ ภาพชีวิต ระบบสารสนเทศเพื่อการ ผลิตภัณฑ์ในพน้ื ทด่ี าเนนิ โครงการ ใหม้ มี าตรฐานที่สงู ขึ้น วางแผนพัฒนาคุณภาพ 18) สามารถเช่ือมโยงกลุ่ม Young Smart Farmer กับไม้ผลท่ี ชีวิต พฒั นาสังคมท้องถนิ่ ด้านศาสนาศลิ ปะและ ดาเนินโครงการในการยกระดับผลผลิตไม้ผลสู่เชิงพาณิชย์ วฒั นธรรม กฬี า เพม่ิ ข้ึนอยา่ งนอ้ ย 1 กลุ่ม Young Smart Farmer ตอ่ จงั หวัด การศึกษา สุขภาพและ ทรัพยากรมนุษย์ด้วย 19) ประเดน็ สาคัญทางสังคมและสงิ่ แวดล้อมได้รับการออกแบบ การบรู ณาการพันธกิจของ ทางวิชาการเพื่อแกไ้ ขปัญหา 5 ประเดน็ มหาวิทยาลัย และองคก์ รท้องถ่ินและ 20) ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 ระบบ ชุมชน 21) รูปธรรมการพฒั นาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) บูรณาการพันธกจิ สมั พันธ์ (SEP) ท่สี อดคล้องกบั เป้าหมายของการพัฒนาที่ย่งั ยนื (SDGs) เพื่อพัฒนาด้าน 30 เรื่อง ส่ิงแวดล้อมในชุมชน 22) เครอื ข่ายความร่วมมือของการทางานเชิงพนื้ ท่ี 5 เครือข่าย ท้องถ่นิ 23) ประเด็นสาคัญทางสังคมและส่ิงแวดล้อมได้รับการออกแบบ ทางวชิ าการเพอื่ แกไ้ ขปญั หา 3 ประเดน็ 24) รูปธรรมการพัฒนาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) ท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายของการพัฒนาที่ย่ังยืน (SGDs) 10 เร่อื ง 25) เครือข่ายความรว่ มมอื ของการทางานเชงิ พืน้ ท่ี 5 เครอื ขา่ ย

21 กลยุทธ์ 1.ดาเนินการยกระดับการพัฒนาท้องถ่ินของมหาวิทยาลัยด้วยการบูรณาการพันธกิจและบูรณา การศาสตร์ เพื่อสรา้ งองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และเทคโนโลยีในการพฒั นาชมุ ชนท้องถ่ินบนฐานงานพันธกิจ สัมพันธ์เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา ส่ิงแวดล้อม บนบริบทของ ชุมชนและท้องถ่ิน 2. กาหนดประเด็นสาคัญในการยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน โดยการพัฒนาด้วยความรู้ทางวิชาการบนหลักการพันธกิจสัมพันธ์ที่น้อมนาแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งเป็นรูปธรรม 3 . กาหนดประเด็นสาคัญด้านส่ิงแวดล้อมในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน โดยการพัฒนาด้วย ความรู้ทางวิชาการบนหลักการพันธกิจสัมพันธ์ ที่น้อมนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใ์ ช้อยา่ งเปน็ รูปธรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพฒั นาพันธกจิ หลักเพือ่ ขบั เคล่ือนสกู่ ารเปน็ มหาวทิ ยาลยั พนั ธกจิ สมั พนั ธ์ เปา้ ประสงค์หลัก 2.1 การผลติ บัณฑติ และการยกระดับคุณภาพการศึกษา มีเป้าประสงค์ย่อยและตัวช้ีวัดดงั ตอ่ ไปน้ี เป้าประสงค์ย่อย ตัวชี้วัดและค่าเปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1) ผลติ ครทู ีไ่ ดม้ าตรฐาน 1) รอ้ ยละของหลักสูตรผลิตครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา วชิ าชพี และมจี ติ วญิ ญาณ ร้อยละ 100 ความเปน็ ครู มีอัตลักษณ์ 2) ร้อยละนักศึกษาที่ได้รับใบประกอบวิชาชีพครู/สอบผ่าน และสมรรถนะเปน็ เลิศเปน็ มาตรฐานวชิ าชพี ครู ร้อยละ 100 ทต่ี อ้ งการผู้ใชบ้ ัณฑติ 3) จานวนโครงการร่วมผลิตครูระบบปิด (ครูคืนถ่ิน,ครูรักษ์ถิ่น) 1 โครงการ 4) จานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการผลิตครูในระบบปิด 50 คน 5) จานวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น 60 โรงเรียน บุคลากรการศึกษาใน โรงเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการสอนแบบ Active Learning ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของบคุ ลากรทางการศึกษา ท้ังหมด

22 เปา้ ประสงคย์ ่อย ตวั ชวี้ ัดและค่าเปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 6) มีชุดส่ือการสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่ใช้ในการสอน 2) ผลิตบัณฑติ ตามอตั ลกั ษณ์ “บัณฑติ นักคิด นักจดั การ และมีบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาในการใช้ชุด สร้างงานด้วยความรู้คู่ ส่ือการสอนไม่น้อยกว่า 60 คน และนักเรียนที่ได้รับการ คุณธรรม” เรียนรู้จากสือ่ สง่ เสรมิ คณุ ธรรมไม่น้อยกว่า 3,000 คน มีทกั ษะวิชาชพี และ 7) นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถอ่านออกเขียนได้เพ่ิมข้ึน สมรรถนะตรงตามความ ร้อยละ 85 ตอ้ งการผู้ใช้บณั ฑติ 8) ความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ รอ้ ยละ 85 9) โครงการแลว้ เสร็จตามระยะเวลาทกี่ าหนด รอ้ ยละ 80 10) จานวนบัณฑิตครูสามารถสอบบรรจุได้สูงกว่าค่าเฉล่ีย ระดบั ประเทศร้อยละ 20 11) จานวนบัณฑิตครใู นรอบ 1 ปี ทีผ่ ่านมามงี านทาร้อยละ 100 12) จานวนบัณฑิตครูผ่านเกณฑ์การสอบใบประกอบวิชาชีพครู ร้อยละ 100 13) นักศึกษาครูและบัณฑิตครูได้รับการยอมรับจากหน่วยฝึก ปฏิบัติการระหว่างเรียนและฝึกสอนค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ รวมสูงกวา่ 4.00 14) จานวนนักศึกษาช้ันปีที่ 3 และบัณฑิตครู (จบชั้นปีที่ 4) ผ่าน เกณฑก์ ารสอบใบประกอบวชิ าชพี ครูชนั้ ปที ่ี 3 ร้อยละ 80 บัณฑติ ครรู ้อยละ 100 15) จานวนนักศึกษาท่ีผ่านการจัดการศึกษารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) 300 คน 16) ร้อยละจานวนบัณฑิตที่ผ่านการอบรมมาตรฐานฝีมือแรงงาน แหง่ ชาติ (เฉพาะสาชาวชิ าท่มี ีการเปิดอบรม) ร้อยละ 80 17) นักศึกษาทกุ ช้นั ปีมสี มรรถนะตามเกณฑ์ที่กาหนดร้อยละ 80 18) จานวนนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ได้รับการพัฒนาทักษะ วศิ วกรสงั คม 200 คน 19) จานวนบุคลากรมหาวิทยาลัยที่ได้รับการพัฒนาทักษะการ เป็นทีป่ รึกษาวศิ วกรสังคม 50 คน

เปา้ ประสงค์ย่อย 23 ตัวชว้ี ัดและคา่ เปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 20) จานวนโครงการของมหาวิทยาลัยท่ีนักศึกษาและบุคลากร ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง แก้ปัญหาและ พัฒนาชมุ ชนในมติ ติ า่ ง ๆ ในพ้ืนที่ 1 โครงการ 21) จานวนองค์ความรู้หรือนวัตกรรมท่ีมหาวิทยาลัยนาไปใช้ ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองและ จัดการตนเองได้อยา่ งย่ังยืน 1 เร่ือง 22) นักศึกษามหาวทิ ยาลัยมีทกั ษะในการเป็นวิศวกรสังคม ได้แก่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ เชิงเหตุ - ผล ทักษะการส่ือสาร ทักษะการทางานร่วมกับผู้อ่ืนโดยปราศจากข้อขัดแย้ง และ ทกั ษะการสร้างนวตั กรรมเพื่อสงั คม 200 คน 23) ระดบั ความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการมากกวา่ 3.51 24) มีโครงการ/กิจกรรมท่ี ขจัดเหตุปัจจัยของปัญหาท่ีในด้าน การเกษตร ดา้ นสงั คม และดา้ นการทอ่ งเท่ียว เกดิ ขึน้ ในพื้นท่ี เกิดนวัตกรรม (นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมบริการ หรือ นวัตกรรมกระบวนการ) ร่วมกับชุมชนไม่น้อยกวา่ 1 เร่อื งต่อ โครงการ 25) นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน จริง มีความสามารถในการ ค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล สื่อสาร มีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะที่ จาเปน็ สาหรบั ศตวรรษที่ 21 ร้อยละ 80 26) นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ทักษะจาก ห้องเรยี นมาทางานในพืน้ ท่โี ดยใช้หลักการขบั เคลื่อนงานตาม หลักพันธกิจสัมพันธ์ คือ 1.การร่วมคิด ร่วมทาแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2. เกดิ ประโยชนร์ ว่ มกนั แก่ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่าย (Mutual benefits) 3. มีการใช้ความรู้และเกิดการการ เรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) 4.เกิดผลกระทบต่อสังคมท่ี ประเมนิ ได้ (Social Impact) อย่างเปน็ รปู ธรรม รอ้ ยละ 80

24 เปา้ ประสงคย์ ่อย ตัวชว้ี ัดและค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 3) พฒั นาศักยภาพครูและ 27) จานวนโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการ บุคลากรทางการศึกษาให้ ศกึ ษา 3 โครงการ มีความเปน็ มืออาชีพ 28) ร้อยละความสาเร็จของโครงการพัฒนาครูโรงเรียนตารวจ 4) สรา้ งนวตั กรรมเพื่อพัฒนา ตระเวนชายแดน ร้อยละ 100 คุณภาพการจัดการเรยี นรู้ 29) ร้อยละความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการ ร้อยละ 80 ในศตวรรษที่ 21 สู่ การศกึ ษา 4.0 ใน 30) จ า น ว น น วั ต ก ร ร ม ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ สภาวการณ์หลงั โควดิ -19 การจัดการเรียนรู้ 3 นวตั กรรม 5) พฒั นาระบบการจดั การ 31) รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรม ร้อยละ 70 เรียนรู้ ให้นกั ศึกษาชนั้ ปี สดุ ท้ายมีทักษะทางด้าน 32) นักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายสอบภาษาอังกฤษผ่าน ภาษาองั กฤษและดจิ ิทลั เกณฑ์การวัดผล CEFR (B1) รอ้ ยละ100 พรอ้ มต่อการประกอบ อาชีพในอนาคต 33) นักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายสอบทักษะดิจิทัลผ่าน เกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ร้อยละ100 34) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์สอบผ่านภาษาอังกฤษได้ ระดบั มาตรฐานตามเกณฑ์ CEFR ในระดบั B1 ร้อยละ100 35) นักศึกษาชน้ั ปีที่ 4 คณะครศุ าสตร์สาขาวิชาภาองั กฤษให้สอบ ผ่านภาษาอังกฤษได้ระดับมาตรฐานตามเกณฑ์ CEFR ใน ระดบั B2 รอ้ ยละ 100 36) นักศึกษาคณะครุศาสตร์สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสอน วิชาเฉพาะได้ ร้อยละ5

25 กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบการจัดการศึกษาสมัยใหม่ด้วยสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้การปฏิบัติงาน ในสถานศึกษา (School – Integrated Learning : SIL) และพัฒนาระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการผลิต และพัฒนาครูเพือ่ ผลิตครูท่ีมอี ัตลักษณ์ ได้มาตรฐานวิชาชพี และมสี มรรถนะเป็นเลิศ 2. ยกระดบั ศักยภาพและสมรรถนะการผลิตและพฒั นาครูมอื อาชีพดว้ ยระบบโค้ชช่ิง (Coaching) เมนเตอร์ริง่ (Mentoring) และ พแี อลซี (PLC) เพอ่ื ให้บณั ฑติ เป็นคนดมี ีความเช่ียวชาญในวิชาชีพ 3. ส่งเสริมสนับสนุนการทางานวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 ส่กู ารศึกษา 4.0 ในสภาวการณห์ ลงั โควิด-19 เปา้ ประสงค์หลัก 2.2 การพฒั นาด้านหลกั สูตรและการจดั การศกึ ษา ด้านการพัฒนากาลังคนเพือ่ รองรับความเปลยี่ นแปลงของประเทศ มเี ป้าประสงคย์ อ่ ยและตัวชีว้ ัดดังต่อไปนี้ เป้าประสงคย์ ่อย ตวั ชี้วัดและค่าเปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) มหี ลกั สูตรทส่ี ามารถผลิต 37) ร้อยละของหลักสูตรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประกัน บณั ฑติ ที่ตอบสนองกบั การ คณุ ภาพการศึกษา ร้อยละ 100 พฒั นากาลงั คนเพื่อรองรบั 38) ร้อยละหลักสูตรที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ความเปลีย่ นแปลงของ บู ร ณ า ก า ร กั บ ก า ร ท า ง า น ( Cooperative and Work ประเทศ Integrated Education: CWIE) ร้อยละ 50 39) พัฒนาหลักสูตรท่ีสามารถผลิตบัณฑิตให้มีทักษะที่พร้อมใน การปฏิบัติงาน (Employability) และนักศึกษามีสมรรถนะ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ ( Skills) ทัศนคติ (Attitudes) และค่านิยม (Values) และคุณลักษณะตรงตามความ ต้องการของ สถานประกอบการและตลาดแรงงาน รวมทั้งมี ศักยภาพท่ีพร้อมเป็นผู้ประกอบการ(Entrepreneurship) ร้อยละ 50 40) เกิดข้อตกลงความรว่ มมือในการออกแบบและหลักสูตรและ การผลิตบัณฑิตระหว่างหลักสูตรกับหน่วยงานภายนอก 10 แห่ง (หน่วยงานภายนอกหมายถึง ผู้ประกอบการภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และชุมชน)

26 เป้าประสงค์ย่อย ตัวชี้วัดและคา่ เป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2) ระบบการจดั การศึกษาที่ 41) รอ้ ยละของหลักสูตรท่ีใชร้ ูปแบบการจัดการศกึ ษาในศตวรรษ สอดคล้องกบั การพฒั นา ท่ี 21 ร้อยละ 20 กาลงั คนเพือ่ รองรับความ 42) ร้อยละนักศึกษาท่ีได้รับการพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษ เปลีย่ นแปลงของประเทศ และการจดั การศึกษาใน ท่ี 21 รอ้ ยละ 80 ศตวรรษที่ 21 43) สามารถยกระดับสมรรถนะหลักหรือสมรรถนะรองให้กับ 3) บัณฑติ ของมหาวทิ ยาลัยมี นกั ศกึ ษาตามความต้องการของตลาดแรงงาน 62 หลกั สตู ร คณุ ลักษณะทตี่ อบสนอง 44) ร้อยละของโครงการท่ีเสนอจะต้องมีการบูรณาการรายวิชา ต่อการพฒั นากาลังคนเพื่อ รองรับความเปล่ยี นแปลง ในหลักสูตรเพ่ือมุ่งเสริมสมรรถนะหลักหรือสมรรถนะรอง ของประเทศ ต า ม อั ต ลั ก ษ ณ์ ข อ ง แ ต่ ล ะ ส า ข า วิ ช า เ พื่ อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า มี คุณลักษณะของบณั ฑติ ในศตวรรษท่ี 21 รอ้ ยละ 100 45) ร้อยละบัณฑิตท่ีได้งานทาหรือเป็นผู้ประกอบการ ภายใน ระยะเวลา 1 ปี รอ้ ยละ 70 46) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อการทางานของ บณั ฑติ ร้อยละ 70 กลยุทธ์ 1. ยกระดับการพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดการศึกษาที่สามารถผลิตบัณฑิตท่ีมีอัตลักษณ์ องค์ความรู้ ทักษะ ท่ีตอบสนองต่อตลาดแรงงานและสามารถ Re-skill Up-skill และสร้าง New-skill ที่ ตอบสนองการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ของประชาชนในท้องถิน่ ได้ 2. ส่งเสริมพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทักษะในวิชาชีพท่ีสามารถบูรณาการข้าม ศาสตร์ รวมท้ังมีความเป็นพลเมืองที่มีเจตคติเหมาะสมในการดารงชีวิต โดยการปรับรูปแบบการจัดการ เรียนรู้และการพฒั นาทกั ษะร่วมกบั การพัฒนาเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหว่างสถาบนั

27 เป้าประสงค์หลัก 2.3 ด้านการพฒั นางานวิจยั เทคโนโลยีและนวตั กรรม มีเป้าประสงคย์ ่อยและตัวชี้วัดดงั ต่อไปนี้ เปา้ ประสงค์ย่อย ตัวชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) บคุ ลากรของมหาวิทยาลัย 47) ทุนวิจยั (Research Grant) ท่ีมอี ัตราสว่ นท่ีเพยี งพอ เป็นนกั วิจัย มอื อาชพี เหมาะสมกบั การทาวิจยั 60,000 บาทตอ่ คน สามารถพัฒนาผลงานวิจยั 48) เครอื ข่ายการวิจยั (Research Network) ท่ีมีการเช่ือมต่อ และนวัตกรรมที่เป็น ประโยชน์ใหเ้ ป็นที่ยอมรับ กระบวนการทางานทั้งเชิงพื้นทแี่ ละเชงิ ประเด็น ร้อยละ 80 ท้งั ในระดับชาตแิ ละ 49) ผลงานวจิ ยั ท่เี ผยแพร่ในวารสารวชิ าการ ในฐานขอ้ มูลที่ นานาชาติ ก.พ.อ. รับรอง รอ้ ยละ 30 50) รางวัลทางวิชาการจากผลงานวิจยั 10 รางวลั 2) พัฒนานกั วจิ ัยเชงิ พน้ื ทที่ งั้ 51) สดั สว่ นของนกั วจิ ยั เชงิ พ้นื ที่ ที่มีขีดความสามารถปฏิบัติงาน นกั วจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั วชิ าการรับใช้สงั คม (Socially Engaged Scholarship) และนักวิจัยชุมชน รอ้ ยละ 20 52) ตาแหน่งวิชาการรับใช้สงั คมของอาจารย์ทีเ่ พ่ิมขนึ้ 2 ตาแหน่ง 3) ผลงานวจิ ัยท่ตี อบสนอง 53) ผลงานวิจยั ทม่ี าจากการบูรณาการศาสตร์ ท่ีใชใ้ นการพฒั นา การพฒั นาท้องถิ่นใน ท้องถิ่น ในด้านเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และดา้ น ทุกดา้ น เชน่ ดา้ น การศกึ ษา ทีส่ อดคล้องกบั งานเชงิ ประเดน็ ของ อว.ส่วนหน้า เศรษฐกจิ สังคม 2 ผลงาน สง่ิ แวดลอ้ ม และ การศกึ ษา 54) ผลการวเิ คราะหค์ ุณค่าทางสงั คม (Social Value)ที่ใช้ในการ พฒั นาท้องถิน่ รอ้ ยละ 50 4) ผลงานวิจยั และนวตั กรรม 55) ทรพั ยากรพ้นื ถน่ิ (Local Resources) ได้รบั การยกระดับ เพื่อสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ห่วงโซค่ ณุ ค่าใหม่ (New Value Chain) เพ่อื สร้างขดี ผลติ ภณั ฑ์ชุมชนและ ความสามารถในการแข่งขันด้วยองคค์ วามรูว้ ชิ าการ ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของ 2 รายการ ประชาชนท้องถิ่นใหด้ ี ยงิ่ ข้ึน

28 เปา้ ประสงค์ย่อย ตัวช้วี ัดและคา่ เป้าหมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 56) จานวนผปู้ ระกอบการท้องถน่ิ (Local Enterprise) ทีม่ ขี ดี 5) งานวิจยั หรือนวัตกรรมท่ี ได้รับการจดทะเบียน ความสามารถในการประกอบการเพื่อยกระดับเศรษฐกจิ ฐาน ทรัพย์สินทางปัญญาและ รากของจังหวดั 5ราย เกดิ ประโยชน์ตอ่ การ 57) จุดจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ชุมชนภายในมหาวทิ ยาลยั เพ่ือการ พฒั นาในอนาคต แลกเปลีย่ น จาหน่าย และสร้างการเรียนรู้ 1 จดุ 58) จานวนงานวจิ ยั เชิงพาณิชย์เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของ ชุมชน ภาคธรุ กิจและอุตสาหกรรม 10 ผลงาน 59) จานวนผลงานวจิ ัยหรือนวตั กรรมที่ไดร้ บั การจดทะเบียน ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา 5 ผลงาน 60) จานวนอาจารยแ์ ละนักวจิ ยั ที่ย่นื ขอการจดทะเบียนทรัพยส์ ิน ทางปัญญา 5 ราย กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาทักษะบุคลากรของมหาวิทยาลัยสู่การเป็นนักวิจัยมืออาชีพ และยกระดับระบบบริหาร จดั การผลงานวิจยั และนวัตกรรมสู่การใชป้ ระโยชน์ในระดับชาติและนานาชาตทิ งั้ ระบบ 2. ออกแบบการเพ่ิมขีดความสามารถของนักวิจัยเชิงพ้ืนท่ีโดยพัฒนาภายใต้ 4 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรนักจัดการข้อมูลเชิงพ้ืนที่ 2)นักวิจัยเชิงพื้นท่ี 3) นักบริหารจัดการงานวิจัยเชิงพื้นท่ี และ 4)ที่ ปรกึ ษาวชิ าการเชิงพน้ื ท่ี 3. กาหนดประเด็นการพัฒนาพื้นที่ โดยใช้องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ในการพัฒนา กลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้วยงานพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการศึกษา 4. การพฒั นากลไกการจัดการประกอบการ ทั้งในเรอื่ งของระบบสารสนเทศ การพัฒนาทรพั ยากร พ้ืนท่ีถน่ิ การพฒั นาผูป้ ระกอบการและเพิม่ ช่องทางการตลาดเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพชีวิตประชาชน 5. พฒั นาระบบกลไกในการส่งเสริมและสนับสนุนการจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยเชื่อม ขอ้ มูลของมหาวิทยาลัย (URU Digital University) เพอ่ื ใช้ในการวางแผนการยกระดับงาน

29 เปา้ ประสงค์หลัก 2.4 การบริการวชิ าการ ศิลปวัฒนธรรม และโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ มเี ป้าประสงคย์ อ่ ยและตัวชว้ี ัดดังต่อไปน้ี เปา้ ประสงคย์ ่อย ตัวช้วี ัดและคา่ เป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) ประชาชนในท้องถนิ่ มี 61) ประเด็นสาคัญของสังคมตามแผนยุทธศาสตร์ของ อว.ส่วน ความร้ทู างวชิ าการที่ หน้า และแผนพัฒนาอื่น ๆ ได้รับการออกแบบทางวิชาการ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อแกไ้ ขปญั หา 5 ประเดน็ กับการใชช้ ีวติ 62) จานวนผู้ประกอบการท้องถ่ิน (Local Enterprise) ท่ีมีขีด ความสามารถในการประกอบการเพื่อยกระดับเศรษฐกิจ ฐานรากของจงั หวดั 3 ราย 2) พัฒนาระบบกลไก 63) ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยและ แก้ปญั หาที่จะเปน็ พั น ธ กิ จ สั ม พั น ธ์ ( Research Management) ที่ มี อปุ สรรคต่อการพฒั นา ประสิทธภิ าพ ร้อยละ 80 และไดร้ ับการสนบั สนุน ส่งเสรมิ ในการพัฒนา 64) มีกลไกการใช้วัฒนธรรมมาสร้างเครือข่ายเพ่ือการเรียนรู้ใน ท้องถ่นิ 1 ระบบ 3) วฒั นธรรมท้องถน่ิ (อตุ รดติ ถ-์ แพร่-นา่ น) อนั 65) จานวนวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีถูกยกระดับเพ่ือการเรียนรู้และ เปน็ เอกลักษณ์ของภูมิภาค สร้างมลู คา่ เพม่ิ ผ่านศนู ยก์ ารเรยี นรู้ในรูปแบบตา่ งๆ 3 เร่อื ง และชาตไิ ด้รบั การ ยกระดับเพอ่ื การเรยี นรู้ และสร้างมลู ค่าเพ่ิม 4) ฐานขอ้ มลู ดา้ นวัฒนธรรม 66) มีระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางวัฒนธรรมออนไลน์ ท้องถ่นิ ภาคเหนอื ในพ้นื ทีอ่ ุตรดติ ถ์-แพร่-นา่ น 1 ระบบ (อตุ รดิตถ์ แพร่ นา่ น)เพ่ือ การศึกษาของประชาชน 67) จานวนโครงการที่มีการบูรณาการงานด้านวัฒนธรรมกับมิติ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและด้านอื่น ๆ 1 โครงการ 5) การบูรณาการงานด้าน วฒั นธรรมกบั มิตดิ า้ นการ ท่องเท่ยี วในพืน้ ท่ีที่ เกีย่ วขอ้ ง

30 เป้าประสงค์ย่อย ตวั ชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 6) การอนรุ ักษ์ 68) จานวนหลักสูตรระยะสั้นทางด้านศิลปวัฒนธรรมเพื่อบริการ ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่นิ วิชาการและร่วมจัดการเรียนการสอน (Non-degree) ชว่ ยยกระดบั การเรียนรู้ ร่วมกับศูนย์การศึกษาตลอดชีวิต ( Long Life Learning ) ตลอดชีวิต และศูนยว์ ทิ ยบริการ จ.แพร่ 3 หลกั สตู ร กลยุทธ์ ส่งเสริมกิจกรรมการยกระดับและสร้างงานพันธกิจสัมพันธ์ด้านวัฒนธรรมให้กับท้องถิ่นบนฐาน ความเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละความหลากหลายทางวฒั นธรรมแบบบูรณการ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาการบรหิ ารจัดการสอู่ งคก์ รท่ีมีสมรรถนะสูง เปา้ ประสงค์หลัก 3.1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการสู่ความเป็นเลศิ ดา้ นการพัฒนากายภาพ และ ด้านบุคลากร มีเปา้ ประสงคย์ ่อยและตัวชว้ี ัดดงั ต่อไปน้ี เปา้ ประสงคย์ ่อย ตวั ช้วี ัดและค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) บุคลากร นักศึกษาและ 1) ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากร และนักศึกษาที่มีต่อ ประชาชนมีสุขภาวะและ ระบบสาธารณปู โภคพนื้ ฐานของมหาวทิ ยาลัย รอ้ ยละ 80 สิง่ แวดล้อมทีด่ ี 2) เพ่ิมการใช้พลังงานทดแทน เพ่ือลดการใช้พลังงานไฟฟ้าและ ลดการใช้เช้ือเพลิง ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดการ ปล่อยของเสียออกสู่แวดล้อม (น้าเสีย ขยะ) ลดการใช้และ ส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรน้า ร้อยละ 5 3) สดั ส่วน พ้ืนท่ีสเี ขียวเพอื่ พกั ผอ่ นและเรียนรู้ของนกั ศึกษาและ บคุ ลากรเพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ 5 4) การพัฒนาและบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเพื่อผลักดันสู่การ เ ป็ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย สี เ ขี ย ว ( Green University) โ ด ย UI Greenmetric World ร้อยละ 10University Ranking (2021) ซ่งึ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมินไว้ 6 ดา้ น คะแนน เต็ม 10,000 คะแนน ด้วยการเพิ่มร้อยละของคะแนน ตามเกณฑท์ กุ ปี ร้อยละ 10

31 เป้าประสงคย์ ่อย ตัวชว้ี ัดและค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2) ปรบั โครงสรา้ งและภาระ 5) ร้อยละของหน่วยงานมีการจัดทาคู่มือลักษณะงาน หน้าที่ งานของบคุ ลากรให้ รับผิดชอบ ขอบเขตงาน (job Description) อย่างชัดเจน สอดคลอ้ งกับเกณฑ์ ร้อยละ 60 มาตรฐานของ 6) ร้อยละของหน่วยงานที่มีการจัดทาระบบ/กลไก ในการ สถาบันอุดมศึกษา พัฒนางานและมแี นวปฏบิ ตั ิทีด่ ใี นการปฏิบัติงาน รอ้ ยละ 60 7) พัฒนาความเชื่อมโยงระบบและกลไกการทางานของ 3) มหาวทิ ยาลยั อยูเ่ ยน็ เป็น บคุ ลากรระหว่างหนว่ ยงาน รอ้ ยละ 60 สุข บรหิ ารจดั การดว้ ย 8) บุคลากรของมหาวิทยาลัยมีความก้าวหน้าในอาชีพไม่น้อย ระบบธรรมาภิบาล\" กวา่ ร้อยละ 3 ตอ่ ปี 9) บุคลากรของมหาวิทยาลัยได้รับการ Upskill และ Reskill 4) มีระบบการบรหิ ารจัดการ เพื่อปรับเปลี่ยนการทางานและพัฒนาทักษะพนักงานเพ่ือให้ งบประมาณที่มี เกิดความรู้ ความสามารถท่ีเท่าทันกบั อนาคต ร้อยละ 60 ประสทิ ธภิ าพ 10) จานวนอาจารย์ที่ผ่านการอบรม การจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการกับการทางาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) รอ้ ยละ 60 11) ร้อยละอาจารย์และครูโรงเรียนสาธิตท่ีมีสมรรถนะในการจัด การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 รอ้ ยละ 60 12) สามารถพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้รับการพัฒนาให้ มที ักษะการสอนท่ีสอดคล้อง กบั การจัดการเรียนการสอนใน ศตวรรษท่ี 21 13) มหาวิทยาลัยได้คะแนนการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) รอ้ ยละ 85 14) มกี ารวิเคราะห์ความคุ้มค่า ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลใน การใชจ้ ่ายงบประมาณ 1 ครั้ง

32 เป้าประสงคย์ ่อย ตัวชว้ี ัดและคา่ เปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 15) ปรับปรุงระบบการบริหารความเส่ียงและการควบคุมภายใน 5) ข้อบังคับ ระเบียบของ มหาวทิ ยาลยั ที่ทนั ต่อการ 1 เรือ่ ง เปลีย่ นแปลง 16) จานวนข้อบังคับ ระเบียบ ของมหาวิทยาลัยที่ทันต่อการ 6) เพมิ่ ชอ่ งทางการจดั หา เปล่ียนแปลง 1 ครัง้ รายได้ของมหาวิทยาลัย 17) ช่องทางการจัดหารายได้ของมหาวิทยาลยั 3 ช่องทาง 7) พัฒนาระบบงานสนิ ทรพั ย์ ของมหาวิทยาลยั ให้ 18) เครือข่ายในการบริการวิชาการท่ีสร้างรายได้ให้กับ ประสทิ ธิภาพ โปร่งใส มหาวทิ ยาลยั 1 เครอื ขา่ ย และตรวจสอบได้ 19) รายได้ท่ีเพ่ิมขึ้นจากช่องทางการจัดหารายได้ของ 8) มรี ะบบสารสนเทศของ มหาวิทยาลัย 3.5 ลา้ นบาท มหาวิทยาลยั ทปี่ ลอดภัย และเชอื่ ถือได้ 20) มีระบบฐานข้อมูลงานสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัยที่เป็น ปจั จบุ นั 1 ระบบ 9) กาหนดพ้นื ท่ีความ รับผดิ ชอบในการพฒั นา 21) ความพงึ พอใจของผู้ใช้งานระบบฐานข้อมลู งานสินทรพั ย์ของ ท้องถิน่ มหาวิทยาลยั ร้อยละ 80 10) จดั ทาระบบฐานข้อมูล 22) พัฒนาระบบสารสนเทศเสริมจากระบบ Growfa MIS เพ่ือใช้ สารสนเทศร่วมกับ ตดิ ตามงานดา้ นงบประมาณ 1 ครั้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏและ เครอื ข่าย 23) ข้อมูลรายงานสารสนเทศทางการเงินของมหาวิทยาลัยมี ความเชือ่ ถือได้ 1 รายงาน 24) มีข้อมูลสารสนเทศในด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีทันสมัย 1 ระบบ 25) ระบบและกลไกการออกแบบเพ่ือการพัฒนาพ้ืนที่ของ มหาวิทยาลยั 1 ระบบ 26) ระบบสารสนเทศ URU Digital University และระบบ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อการวางแผนพัฒนาและการ ตัดสนิ ใจ 1 ระบบ

33 เป้าประสงค์ย่อย ตวั ชว้ี ัดและคา่ เป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 11) สร้างเครอื ข่าย ประชารฐั 27) จานวนนวัตกรรมจากโครงการวิศวกรสังคมท่ีถูกนาไปใช้ใน ในการทางานตามพันธกิจ การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น 5 เร่ือง 28) จานวนเครือข่ายความร่วมมือการจัดการศึกษาและงานวิจัย กั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย ป ร ะ ช า รั ฐ 1 เครอื ข่าย 29) จานวนเครือข่าย ประชารัฐในการทางานตามพันธกิจ 5 เครือขา่ ย กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาระบบกลไกการบรหิ ารจดั การงานท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ มและอนรุ ักษ์พลังงานเพ่ือก้าว สกู่ ารเปน็ มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว (Green University) ในอนาคต 2. ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและเสริมสร้างสุขภาวะท่ีดีให้แก่ บุคลากร นักศกึ ษา และประชาชน 3. พฒั นาระบบกลไกของมหาวิทยาลยั ในการปรับโครงสร้างขององคก์ รเพ่ือสร้างความสมดุลและ เสรมิ สรา้ งศักยภาพในการพัฒนางานให้มปี ระสทิ ธิภาพสูงขนึ้ 4. ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรภายใต้หลักธรรมาภิบาลของหน่วยงานภายใน ทกุ ๆ ระดับ 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณเพ่ือเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากร การจัดทาแผน การกากับติดตาม และการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรท่ีมีสู่การใช้งบประมาณได้อย่าง ค้มุ คา่ 6. พัฒนาและสร้างเครือข่ายสาหรับการจัดหารายได้จากฐานงานพันธกิจสัมพันธ์ของ มหาวิทยาลัยเพือ่ ส่งเสรมิ และยกระดบั การจัดหารายไดใ้ ห้มีประสิทธิภาพ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบกลไกในการบริหารจัดการการทางานแบบบูรณาการเครอื ข่ายเพื่อ ทางานตามพันธกิจและแลกเปลย่ี นทรพั ยากรทางการศึกษาร่วมกัน 8.พฒั นาระบบและกลไกการบริหารจัดการงานสนิ ทรพั ย์ของมหาวทิ ยาลัยใหเ้ กิดประสิทธิภาพ 9. พัฒนาระบบฐานข้อมูลงานสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัยให้สะดวกต่อการใช้งาน การเก็บรักษา และการคน้ หาขอ้ มูล 10. พฒั นางานสินทรพั ยข์ องมหาวิทยาลยั ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 11. พฒั นาผู้รบั ผดิ ชอบงานด้านสินทรัพยข์ องมหาวิทยาลัย 12. พฒั นาระบบฐานข้อมลู ทางการเงินของมหาวทิ ยาลัยเพื่อใชใ้ นการบรหิ ารและตัดสินใจ

34 13. พัฒนาบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ัติงานด้านบญั ชแี ละการเงนิ ของมหาวิทยาลยั 14. ส่งเสริมและสนับสนุนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนให้มีความเช่ียวชาญในศาสตร์ และสามารถนามาปฏิบตั ิงานแบบบูรณาการในรูปแบบพันธกจิ สัมพันธ์เพ่ือสนบั สนุนการพัฒนาคนในพ้ืนที่ ให้มีความรู้ ทกั ษะ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ ของตนเองได้ 15. พั ฒ น า ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ท า ง า น บู ร ณ า ก า ร ร่ ว ม กั บ เ ค รื อ ข่ า ย 16. พฒั นาระบบรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัย ยทุ ธศาตรท์ ่ี 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลศิ เปา้ ประสงคห์ ลัก 4.1 สนบั สนุน การจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตและการพัฒนาทกั ษะเพ่ืออนาคตใน รูปแบบ non-degree และ degree และเพิม่ ทกั ษะดา้ นการประกอบอาชีพและการทางาน การ พฒั นาคนและสถาบนั ความรู้ชมุ ชนเชงิ พ้นื ท่ี มงุ่ เนน้ การสร้างและพัฒนาบุคลากรท่ีมที ักษะสูงตาม ความตอ้ งการของท้องถิน่ มเี ปา้ ประสงคย์ อ่ ยและตัวช้ีวัดดงั ต่อไปนี้ เปา้ ประสงค์ย่อย ตวั ชว้ี ัดและคา่ เป้าหมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1) การจัดการเรียนรูแ้ ละการพฒั นา 1) จานวนรายวชิ าหรอื หลกั สตู รทตี่ อบสนองการจดั ทกั ษะการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ การศึกษาตลอดชวี ิตในรูปแบบ non-degree และ/ หรอื degree ท่ีสามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ รปู แบบตา่ งๆ 5 วิชา/หลกั สตู ร 2) จานวนรายวิชาท่ีมกี ารพฒั นาการเรียนการสอนใน รูปแบบ Hybrid Leaning ทผ่ี สมผสานระหวา่ ง การ เรียนออนไลน์ผา่ นระบบเครือข่าย (Online Learning) และการเรียนในห้องเรียนแบบด้งั เดมิ (Traditional Classroom) 20 รายวชิ า 3) รอ้ ยละของบุคลากรท่ีไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะทาง ดิจิตอล (Digital Skill) ที่จาเป็นตอ่ การทางาน ร้อยละ 50 4) จานวนผูใ้ ชบ้ ริการ สารสนเทศในรูปแบบ Digital Library 500 คน 5) จานวนประชาชนในทอ้ งถน่ิ มีความรู้เพื่อพัฒนาชีวิต และอาชีพ 200 คน

35 เป้าประสงคย์ ่อย ตวั ช้วี ัดและคา่ เปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 6) เกดิ การเรยี นการสอนในรปู แบบ Hybrid Leaning ท่ี 2) การผลิตบัณฑิตทีม่ วี ชิ าชพี ตอบสนองสุขภาวะของคน ผสมผสานระหวา่ ง การเรยี นออนไลน์ผา่ นระบบ เครอื ข่าย (Online Learning) และการเรียนใน 3) การสรา้ งการเรียนรแู้ ละพฒั นา ห้องเรียนแบบดั้งเดิม (Traditional Classroom) 20 เศรษฐกิจภายใตแ้ นวคิด (BCG หลักสูตร Model) 7) บคุ ลากรมที ักษะทางดจิ ติ อล (Digital Skill) ทีจ่ าเปน็ ตอ่ การทางาน ร้อยละ 70 8) จานวนหลักสตู รในรปู แบบ non-degree และdegree 2 หลักสูตร 9) จานวนหลักสูตรทเ่ี ขา้ ่สรู่ ะบบคลงั หน่วยกิต 5 หลกั สตู ร 10) จานวนศูนย์การเรียนรทู้ ต่ี อบสนองสขุ ภาวะของคน 1 ศูนย์ 11) จานวนฐานการเรยี นร้แู ละชุดขอ้ มลู ทส่ี อดคล้องกบั แนวคดิ (BCG Model) 5 ฐาน 12) จานวนผ้เู ขา้ รว่ มเรียนรใู้ นฐาน (BCG Model) 2,050 คน กลยุทธ์ 1. พฒั นาระบบดิจิทัลแพลทฟอร์มประยุกต์ใช้กับพันธกจิ ของมหาวิทยาลยั อย่างเตม็ รูปแบบ เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล (Digital & Innovation University) สอดคล้องกับ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยแี ละการจดั การศกึ ษาแบบวถิ ีใหม่ (New normal) 2. พัฒนาและยกระดับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (พื้นที่ทุ่งกะโล่) เพื่อเป็นศูนย์ ปฏิบัติการด้านการฝึกอบรม วิจัย สาธิต ทดลอง เพ่ือพัฒนากาลังคนด้านธุรกิจเกษตรสมัยใหม่แบบครบ วงจร บนเปา้ หมาย การพฒั นาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 3. การพัฒนาระบบกลไกการจัดต้ังคณะใหม่หลักสูตรใหม่ ตลอดจนผลิตบัณฑิตตอบโจทย์ ชุมชนและพัฒนาครูสู่ความเปน็ เลศิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 4. การขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยพันธกิจสัมพันธ์สู่ความเป็นต้นแบบสถาบันอุดม ศึกษาเพื่อ การพัฒนาชุมชนเชิงพืน้ ที่ 5. พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาของคน ทุกชว่ งวัย

36 2.8 ผังแสดงความเชือ่ มโยงระหวา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศ ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัด และทิศท ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ ง ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ ง ศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ความสามารถในการแขง่ ขัน ยทุ ธศาสตร์ การจัดการศกึ ษาเพ่อื การผลติ และพัฒนากาลังคน การ การพฒั นาศักยภาพคน แผนการศกึ ษา ความมั่นคงของสังคม วิจยั และนวตั กรรมเพอื่ สรา้ งขีด ทุกช่วงวยั และการสรา้ งสงั คม ความสามารถในการแข่งขนั ของ แหง่ ชาติ และประเทศชาติ แห่งการเรียนรู้ ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนา การผลิตและ การยกระดบั การพฒั นา เสริมสรา้ ง มรภ. ระยะ ท้องถิ่น พัฒนาครู คณุ ภาพ ระบบบริหาร บา้ นเมอื งให้นา่ การศึกษา จดั การ อยู่ สรา้ งชุมชน 20 ปี และครอบครวั เข้มแขง็ เพอ่ื ใหม้ ีคณุ ภาพ ชีวติ ทดี่ ี ทศิ ทาง ขับเคลอ่ื นตามแผนแมบ่ ท การพฒั นาพนั ธกจิ หลักเพอ่ื การขบั เคลือ่ น ยทุ ธศาสตร์ราชภัฏเพอื่ การ ขับเคลื่อนสู่การเปน็ ของอธกิ ารบดี พัฒนาท้องถ่นิ มหาวิทยาลยั พันธกจิ สัมพนั ธ์

ศาสตรแ์ ผนการศึกษาแหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ทางการขับเคลื่อนของอธกิ ารบดี ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาส ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการปรบั สมดลุ และ และความเสมอภาคทางสงั คม พัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั การสร้างโอกาสและความ การจัดการศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสรมิ การพัฒนา ประสิทธภิ าพ เสมอภาคและความ เท่าเทียม คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกบั ของระบบบริหารจัด ทางการศึกษา สงิ่ แวดล้อม การศึกษา 36 พฒั นาทุนทาง พฒั นาเกษตรกรรม ผลติ ภณั ฑ์ อนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟู เพม่ิ ศักยภาพ วัฒนธรรม ภูมิ OTOP SMEs วิสาหกจิ ชุมชน บริหารจัดการ ปัญญาทอ้ งถนิ่ และ อุตสาหกรรม ใหม้ คี ณุ ภาพ ทรพั ยากรธรรมชาติ การค้า การ ทรัพยากรธรรมชาติ ปลอดภยั ไดม้ าตรฐาน มี และสิ่งแวดลอ้ ม เพอ่ื สง่ เสรมิ และ มลู คา่ เพม่ิ และมกี ารบริหาร แหล่งนา้ และสง่ เสรมิ ลงทุน ยุทธศาสตร์ สนบั สนนุ การ จัดการด้านการตลาดสมยั ใหม่ การใชพ้ ลงั งานทเี่ ปน็ ท่องเทีย่ วอย่าง มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม Logistic และ จังหวัด ความสมั พันธ์ ยง่ั ยนื กบั ประเทศ อุตรดิตถ์ เพอื่ นบ้าน การพัฒนาการบริหารจัดการสู่ พลกิ โฉมมหาวทิ ยาลยั สู่ความ องค์กรท่ีมสี มรรถนะสูง เปน็ เลศิ

37 วสิ ัยทัศน์ 2.9 ผังแสดงความเชือ่ มโยงของวสิ ยทุ ธศาสตร์ “มหาวทิ ยาลยั พนั ธกิจสัม เป้าประสงค์ ขับเคลอ่ื นตามแผนแมบ่ ท การพัฒนาพนั ธกิจหลักเพอ่ื ข มหาวิทยาราชภฏั เพ่ือการพัฒนา มหาวิทยาลยั พนั ธก - ประสทิ ธผิ ล ตามยทุ ธศาสตร์ ทอ้ งถ่นิ - คุณภาพ การบริการ ท้องถิ่นได้รบั การพฒั นาใน ผลิตบัณฑติ และการยกระดับคณุ - ประสิทธภิ าพ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม พฒั นาดา้ นหลกั สตู รและการจัด การปฏิบตั กิ าร ส่งิ แวดล้อม และ พฒั นากาลงั คนเพื่อรองรบั ควา การศึกษา ประเทศ ดา้ นการพฒั นางานวิจ นวตั กรรม ด้านการบริกา ศลิ ปวัฒนธรรม และโครงกา พระราชดาร - การพฒั นา พฒั นาระบบบริหารจดั การสคู่ วา องค์กร

สัยทัศน์ ยทุ ธศาสตร์ และเป้าประสงค์ มพันธ์ท่มี ีคณุ ภาพ สรา้ งคุณคา่ เพื่อพัฒนาท้องถน่ิ ” ขบั เคลอ่ื นสกู่ ารเป็น การพัฒนาการบรหิ ารจดั การสู่ พลกิ โฉมมหาวิทยาลยั สูค่ วามเปน็ เลิศ กิจสมั พันธ์ องคก์ รทม่ี ีสมรรถนะสงู ณภาพการศึกษา การ สนับสนุนการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตและการ ดการศึกษา ด้านการ พัฒนาทักษะเพ่ืออนาคตในรูปแบบ non-degree ามเปลี่ยนแปลงของ และ degree และเพิม่ ทักษะด้านการประกอบ จัย เทคโนโลยแี ละ อาชพี และการทางาน การพฒั นาคนและสถาบัน ารวชิ าการและ ความรูช้ มุ ชนเชงิ พ้นื ที่ มุ่งเน้นการสรา้ งและพัฒนา ารอนั เนอ่ื งมาจาก บคุ ลากรทมี่ ีทักษะสูงตามความต้องการของท้องถิน่ ริ ามเปน็ เลศิ ดา้ นการพฒั นากายภาพ และด้านบุคลากร

38 2.10 เปา้ ประสงค์ ตัวชี้วดั เป้าหมาย และผ้รู บั ผดิ ชอบดาเนนิ งานต

ย กลยุทธ์ โครงการ งบประมาณ ตามแผนปฏิบตั ริ าชการ

39 แผนปฏิบตั ิราชการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ กลยทุ ธ์ / โครงการ / งบปร วสิ ัยทัศน์ “มหาวิทยาลยั พนั ธกิจสมั พนั ธท์ ี่มีคุณภาพ สร้างคุณค่าเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น” พันธกจิ 1. ผลติ บณั ฑิตดที ่ีมคี ุณภาพ มที ศั นคติที่ดีเปน็ พลเมืองดีในสงั คมและมีสมรรถนะตามค 2. ผลติ และพฒั นาครอู ย่างมคี ุณภาพมาตรฐานของครุ ุสภา 3. วจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี สรา้ งองคค์ วามร้แู ละนวัตกรรมท่ีมคี ุณ ประโยชนใ์ นทอ้ งถน่ิ ได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม 4. พฒั นาท้องถ่ินและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมตามศักยภาพ สภาพปัญหาและความต 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมอื กับทุกภาคสว่ นเพือ่ พัฒนาทอ้ งถ่ินและเสริมสร้างความเข ประโยชนต์ ่อชมุ ชนท้องถน่ิ 6. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การมหาวิทยาลัยดว้ ยหลักธรรมาภิบาล พรอ้ มรบั การเปลี่ยน ตวั ชวี้ ดั ความสาเรจ็ ของแผนปฏบิ ตั ริ าชการ 1) เกดิ การพัฒนาท้องถิ่นในด้านเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดล้อม และการศึกษา ตามเป้าห 2) กระบวนการผลติ บัณฑิตและการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา เป็นไปตามเป้าหมายที่ก 3) มผี ลงานวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม และบริการวชิ าการ ตามเป้าหมายทีก่ 4) มผี ลงานทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม และดาเนนิ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ต 5) มหาวทิ ยาลยั มีระบบบรหิ ารจดั การสคู่ วามเปน็ เลิศ ด้านการพัฒนากายภาพ และด้า

ฏอตุ รดิตถ์ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ระมาณ / ผรู้ ับผดิ ชอบ ความต้องการของผ้ใู ช้บณั ฑิต ณภาพและได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรบั มงุ่ เน้นการบรู ณาการเพอื่ นาไปใช้ ต้องการทแี่ ทจ้ ริงของชมุ ชน โดยน้อมนาแนวพระราชดาริสกู่ ารปฏิบัติ ข้มแข็งของผนู้ าชุมชนให้มีคุณภาพ และความสามารถในการบริหารงานเพ่ือ นแปลงเพ่ือให้เกิดการพฒั นาต่อเน่ือง หมายทก่ี าหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัย กาหนดไวใ้ นแผนยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั กาหนดไว้ในแผนยทุ ธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั ตามเป้าหมายที่กาหนดไวใ้ นแผนยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย านบุคลากร ตามเปา้ หมายที่กาหนดไวใ้ นแผนยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั

40 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคล่ือนการดาเนินงานตามแผนแม่บท (แผนแม่บทหมายถึงแผนตาม มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 38 แห่งดาเนนิ การรว่ มกัน) เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ัดและค่าเปา้ หมาย กลยทุ การพฒั นาท้องถนิ่ ในดา้ น เศรษฐกิจ สงั คม ตวั ชวี้ ดั ตามงบพันธกิจสมั พันธ์ (A) กาหนดประเดน็ ส สง่ิ แวดลอ้ ม และการศกึ ษา 1.จานวนครวั เรือนท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าไป ยกระดบั คณุ ภาพช ใหค้ วามรู้ และรว่ มพัฒนา/แก้ไข เพื่อพฒั นา ประชาชนในจังหว คุณภาพชวี ติ และยกระดบั รายได้ รวมท้ังสรา้ ง แพร่ และน่าน โด คณุ ลกั ษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 100 ครวั เรือน/ ด้วยความรทู้ างวชิ จังหวัด (อตุ รดิตถ/์ แพร่/น่าน) รวม 300 หลกั การพนั ธกจิ ส ครวั เรือน นาแนวคิดปรชั ญา 2.รายได้ของครวั เรือนกล่มุ เป้าหมายทีเ่ ข้ารว่ ม เศรษฐกิจพอ โครงการเพิ่มข้ึน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 เพยี งมาประยกุ ต์ใ 3.ครัวเรือนทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการทสี่ ามารถยกระดับ รปู ธรรม รายไดค้ รัวเรอื นพ้นเกณฑ์ ความยากจน (38,500 บาท : คน : ปี) ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 4.จานวนรายวิชาในหลักสูตรทีม่ กี ารบูรณาการ จดั การเรยี นการสอนเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และยกระดับรายได้ให้กบั คนในชุมชน ไมน่ อ้ ยกว่า 2 รายวิชา 5.จานวนนกั ศึกษาท่ีเข้ารว่ มโครงการพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตและยกระดบั รายได้ให้กบั ชุมชนฐาน รากตอ่ จานวนนักศกึ ษาในรายวิชาที่เก่ยี วข้อง ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 10