Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะสั้น

หลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะสั้น

Published by zexionian, 2021-08-03 09:24:42

Description: หลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะสั้น

Search

Read the Text Version

ÊÃ»Ø à¹×éÍËÒ¡ÒÃͺÃÁ หลกั สตู รเวชศาสตรร์ าชทณั ฑร์ ะยะส้นั

คณะบรรณาธกิ าร ธนธติ กิ ร นุชเทยี น นางชุลีกร นางสาวเตอื นใจ คณะผู้จัดทำ� นางสาวเสาวนยี ์ จลุ วงค์ นางสาวจันจริ า ชนิ ศรี นางสาวจริยา ด�ำรงศักดิ์ นายธัชริทธ์ิ ใจผูก นางสาวภสั ราภรณ์ นาสา นางสาววนดิ า สังยาหยา นางสาวแสนสขุ เจรญิ กุล นางสาวพนิดา ทองหนูหน้ยุ นางสาวพรรณวรท ภเู วียง นางสาวชอ่ ผกา นามวงษา พิมพค์ รั้งท ี่ 2 จำ� นวนพมิ พ ์ 200 เล่ม พมิ พ์ที่ บริษัท เอส. บี. เค. การพมิ พ์ จำ� กดั (ส�ำนักงานใหญ่) 92/6 หมู่ 3 ต�ำบลบางพลใี หญ่ อ�ำเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ 10540 โทร. 0 2178 8794-5 , 0 2757 5053 แฟก๊ ซ์ 0 2178 8796 จดั พิมพแ์ ละเผยแพร่โดย สถาบนั เวชศาสตร์ปอ้ งกนั ศกึ ษา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข โทร 0 2590 3726, 3727 โทรสาร 0 2591 5730 https://ddc.moph.go.th/th/site/office/view/ipm

ค�ำนำ� เวชศาสตร์ราชทัณฑ์ เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีมีเนื้อหาเก่ียวข้องกับเวชศาสตร์ป้องกันท่ีว่าด้วยเรื่องการป้องกันโรค เป็นศาสตร์ที่ให้ความใส่ใจด้านสุขภาพท้ังในระดับบุคคล สังคมและระดับประชากร รวมท้ังส่งเสริมให้บุคคลมีสุขภาวะที่ด ี ซึ่งการแพทย์ด้านราชทัณฑ์ เป็นหลักการท�ำงานท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของผู้ต้องขังแต่ละรายตามความจ�ำเป็น มีความแตกต่างอย่างเป็นรูปธรรมหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการให้ความเสมอภาค หลักความเท่าเทียมหรือความยุติธรรม แก่ผู้ต้องขังทุกราย ซึ่งการปฏิบัติงานในเรือนจ�ำมีความเส่ียงทั้งในด้านโรค ภัยสุขภาพและความเส่ียงจากการถูกท�ำร้าย การพฒั นาองค์ความร้ใู ห้แกบ่ ุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ท่ีปฏบิ ัติงานเก่ียวข้องกับผ้ตู ้องขงั นัน้ จำ� เป็นอย่างยิ่ง ทจี่ ะตอ้ งมที กั ษะ และความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น โดยเฉพาะดา้ นการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค ทงั้ โรคตดิ ตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ อบุ ตั เิ หตุ และยาเสพตดิ เป็นตน้ คณะผจู้ ดั ทำ� หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ การจดั ทำ� หนงั สอื เวชศาสตรร์ าชทณั ฑร์ ะยะสน้ั ในครง้ั น้ี จะมปี ระโยชนแ์ กผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน ที่เก่ียวข้องกับผู้ต้องขังเป็นอย่างย่ิง นอกจากนี้ยังคาดหวังว่าจะเป็นคู่มือ องค์ความรู้ส�ำหรับการปฏิบัติงานในเรือนจ�ำ ให้มคี วามถูกตอ้ งและสอดคลอ้ งกบั บริบทของเรอื นจำ� คณะผจู้ ัดทำ� กนั ยายน 2563 ก

กติ ติกรรมประกาศ หนังสือเล่มนี้ส�ำเร็จลุล่วงได้ดีเป็นผลมาจากการได้รับความช่วยเหลือ การสนับสนุนทั้งทางตรงและทางอ้อม จากผอู้ ำ� นวยการสถาบนั เวชศาสตรป์ อ้ งกนั ศกึ ษา อาจารยว์ ทิ ยากร ตลอดจนผเู้ ชยี่ วชาญทกุ ทา่ น ทก่ี รณุ าสละเวลาอนั มคี า่ ในการ เปน็ ทปี่ รกึ ษา ชว่ ยเหลอื และใหค้ ำ� แนะนำ� ทำ� ใหส้ ามารถพฒั นาหนงั สอื เลม่ นข้ี นึ้ มาไดส้ ำ� เรจ็ คณะผจู้ ดั ทำ� จงึ ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสงู ขอขอบคณุ กรมควบคมุ โรคทีใ่ หก้ ารสนับสนุนในการจดั อบรมหลักสูตรในคร้ังน้ี ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาหนงั สอื น้ีข้ึน ขอบคุณบุคลากรของกรมราชทัณฑ์ที่ให้ความร่วมมือในการประสานงานและความอนุเคราะห์ในการจัดอบรม หลกั สตู ร และขอขอบคณุ บคุ ลากรของสถาบนั เวชศาสตรป์ อ้ งกนั ศกึ ษาทกุ ทา่ น ทร่ี ว่ มแรงรว่ มใจชว่ ยกนั สละเวลารวบรวมเนอ้ื หา และให้ความรว่ มมอื ในการจดั ท�ำหนงั สือเลม่ น้จี นสำ� เร็จลลุ ่วงด้วยดี สถาบนั เวชศาสตรป์ อ้ งกันศึกษา กรมควบคุมโรค ข

รายนามวทิ ยากร พล.อ.อ.สุบิน ชิวปรชี า กรมวังผูใ้ หญใ่ นพระองค์ 904 นายแพทยธ์ นรกั ษ์ ผลพิ ฒั น์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 5 นายวรี ะกิตติ์ หาญปริพรรณ ์ รองอธบิ ดีกรมราชทณั ฑ์ นายแพทย์ศุภมิตร ชณุ ห์สุทธิวฒั น์ ทป่ี รึกษากรมควบคุมโรค นางวชิ ชดุ า คงพร้อมสุข ผูต้ รวจราชการกรมราชทณั ฑ์ แพทยห์ ญิงวลยั รัตน ์ ไชยฟู ผูท้ รงคณุ วุฒิกรมควบคุมโรค นายแพทยธ์ าตรี สุนพงศรี ผูอ้ ำ� นวยการทณั ฑสถาน โรงพยาบาลราชทณั ฑ์ นายสญั ญา เตา่ หมิ ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ งานคดแี ละความรบั ผิดทางละเมดิ กรมราชทัณฑ์ นายสขุ สันต์ จติ ติมณี รองผอู้ �ำนวยการสถาบันปอ้ งกนั ควบคมุ โรคเขตเมอื ง นายแพทยพ์ รเพชร ปญั จปิยะกุล ผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นระบบบรหิ ารการสาธารณสขุ กองบรหิ ารการสาธารณสขุ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ นายแพทย์ทปั ปณ สัมปทณรักษ ์ นายแพทยเ์ ชี่ยวชาญ โรงพยาบาลวชริ ะภเู ก็ต นายสัตวแพทย์ธรี ศกั ดิ ์ ชกั นำ� นายสัตวแพทยช์ ำ� นาญการพเิ ศษ กองระบาดวทิ ยา นางสพุ ินดา ตีระรัตน์ สำ� นกั งานเลขานุการคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ กองโรคติดต่อท่วั ไป แพทย์หญงิ รวมทพิ ย์ สุภานนั ท ์ อายรุ แพทย์ ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ นายแพทย์ชาโล สาณศิลปิน นายแพทยช์ ำ� นาญการพเิ ศษ กองระบาดวิทยา นางสาวสริ ิประภา แกว้ ศรีนวล นักจติ วทิ ยาคลนิ กิ ช�ำนาญการ กรมราชทัณฑ์ ค

สารบัญ เร่อื ง หนา้ ค�ำนำ� ก กติ ตกิ รรมประกาศ ข รายนามวิทยากร ค สารบัญ ง 2 สว่ นท่ี 1 เวชศาสตรป์ ้องกัน 10 23 1. Concept of disease preventive and health promotion 28 2. พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 3. Principle of preventive medicine and Public health administration and intervention 4. Principle of Epidemiology and its application /Concept of public health surveillance ส่วนที่ 2 เวชศาสตร์ราชทัณฑ์ 40 43 1. หลักการป้องกนั ตนเองของบุคลากรทางการแพทยใ์ นเรอื นจ�ำ 45 2. หลักการปอ้ งกันตนเองของเจา้ หน้าที่ จากการถกู ทำ� รา้ ยโดยผูต้ ้องขงั 50 3. โรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ ที่พบบอ่ ยในเรือนจ�ำ และการดแู ลเบื้องต้น 61 4. โรคส�ำคัญทพ่ี บไดบ้ อ่ ยในเรือนจำ� การคดั กรองวินจิ ฉัยเบ้อื งตน้ /หลักการสอบสวนโรค 68 และการควบคมุ โรคในเรือนจำ� 77 5. การบรหิ ารจดั การกรณีการเกดิ โรคระบาดในเรอื นจ�ำ 83 6. การประเมินสขุ ภาพจิตและการใชย้ าเสพติดของผูต้ อ้ งขงั 7. สถานการณ์การเฝ้าระวังโรค และภยั สุขภาพในเรือนจ�ำ 8. การซ้อมแผนการเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคมุ โรคในเรอื นจ�ำ ส่วนที่ 3 บรบิ ทของกรมราชทัณฑ์ 90 114 1. พระราชบัญญัตริ าชทณั ฑ์ 122 2. นโยบาย หลกั การและเหตผุ ลของโครงการราชทณั ฑป์ นั สขุ : เวชศาสตร์ราชทณั ฑ ์ 135 3. บรบิ ทการทำ� งานในเรอื นจำ� และโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของราชทณั ฑท์ ่เี กย่ี วข้องกับสาธารณสขุ 4. การด�ำเนินงานตามโครงการราชทณั ฑป์ นั สขุ ทาํ ความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ง

สว่ นท่ี 1 เวชศาสตร์ป้องกัน สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกันศึกษา กรมควบคมุ โรค 1

Concept of disease prevention and health promotion นพ.ธนรกั ษ์ ผลพิ ฒั น์ ผตู้ รวจรำชกำรกระทรวงสำธำรณสุข เขตสขุ ภำพท่ี 5 ทฤษฎีทางระบาดวิทยาเช่ือว่าในสภาวะท่ีร่างกายของเรายังแข็งแรงดี จะมีการสัมผัสปัจจัยก่อโรคต่าง ๆ พอถึง จดุ ๆ หนง่ึ ในทางภาษาองั กฤษเรยี กวา่ Point of no return แปลวา่ ณ จดุ นโ้ี รคไดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ หลงั จากนจี้ ะเกดิ โรคแนน่ อน เมอ่ื ปจั จัยทกุ อย่างครบ ในทางระบาดวิทยากลา่ ววา่ จดุ นี้เปน็ จุดทีเ่ ปน็ ปจั จยั สาเหตุทง้ั หมดมเี พียงพอท่ีจะกอ่ ใหเ้ กิดโรค นั่นคือถา้ สมมตุ โิ รคใดโรคหนึง่ มีมากกวา่ 1 ปจั จัย เช่น โรคหลอดเลอื ดหัวใจ ม ี 3 ถึง 4 ปจั จัยในการกอ่ โรคในคน ๆ หน่ึง เมอ่ื ปจั จยั ทกุ อยา่ งเพยี งพอทท่ี า� ใหเ้ กดิ โรคแลว้ เรยี กไดว้ า่ เปน็ ผปู้ ว ยแลว้ เชน่ COVID-19 ในวนั ทเี่ ราตดิ โรคแลว้ จะไมแ่ สดง อาการในวนั นั้นเลย จะใช้เวลาประมาณ 5-7 วัน กว่าท่ีจะแสดงอาการ ถ้าเปน็ โรคติดตอ่ ตัง้ แต่ระยะเริม่ ปว ยไปจนถึงเร่ิม แสดงอาการ เราเรยี กว่า Incubation period แต่ถา้ เป็นโรคไม่ตดิ ต่อเราเรยี กว่า Latent period หลังจากเริ่มแสดง อาการซงึ่ ขน้ึ อยกู่ บั โรคและปจั จยั ของบคุ คล บางโรคกห็ ายไดเ้ อง บางโรคกน็ า� ไปสคู่ วามพกิ าร อาจรนุ แรงจนนา� ไปสกู่ ารเสยี ชีวติ เชน่ โรคพิษสนุ ขั บา้ ท่มี อี ัตราผูร้ อดชีวติ ท่วั โลกไม่ถงึ 10 คน การป้องกันควบคุมโรค สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ ระยะแรกคือป้องกันโรคก่อนเร่ิมปวย ท�าให้ร่างกาย แขง็ แรง เพอ่ื ไมใ่ หม้ กี ารสมั ผสั ปจั จยั กอ่ โรคจนถงึ จดุ ทเ่ี กดิ โรค ซงึ่ เรยี กวา่ Primary prevention แตถ่ า้ เรม่ิ มกี ารกอ่ ตวั ของ โรคกอ่ นแสดงอาการแลว้ เชน่ มีเซลล์มะเร็งเกิดขึ้นในรา่ งกายแล้ว เม่ือพยายามตรวจและปอ้ งกนั ใหไ้ ด้โดยเร็วจะเรียกวา่ Early diagnosis หรือ Early treatment เชน่ การตรวจแปปสเมยี ร์ (Pap Smear หรือ Pap Test) ทีต่ รวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลกู ในระยะนเี้ รยี กวา่ Secondary prevention แตถ่ า้ โรคเกดิ เตม็ ทแี่ ลว้ อาการแสดงชดั เจนแลว้ เราไปดา� เนนิ การ เพอ่ื ให้โรคบรรเทาลง ลดความพกิ ารและการเสียชีวติ ระยะน้เี รียกวา่ Tertiary prevention เมื่อมองภาพรวมแล้วจะพบวา่ เรือ่ ง Disease Prevention จะครอบคลมุ ไปยงั ก่อนเกิดโรคตลอดจนถงึ การรักษาพยาบาล รปู ที่ 1: แสดงระยะของการป้องกนั ควบคุมโรค การปรบั Social determinant of health หรอื ปจั จัยทางสังคมท่กี ่อใหเ้ กิดโรค ถ้าเราสามารถเปลย่ี นได้จะก่อให้ เกิดประโยชนต์ ่อสุขภาพของประชาชนสงู ทส่ี ุด (Health impact) เม่ือเทียบกับ intervention อนื่ ๆ 2 สรุปเน้ือหาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตรร์ าชทณั ฑร์ ะยะสน้ั

รปู ที่ 2: แสดง Health promotion การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การสง่ เสริมสØขÀาพ (Health promotion) คอื กระบวนการทส่ี รา้ งเสรมิ หรอื กระตนุ้ พลงั งานประชาชนเพอื่ ทจ่ี ะใหป้ ระชาชนมคี วามสามารถในการควบคมุ และ ปรบั ปรงุ สุขภาพของตนเองได ้ โดยกระบวนท่ีได้ดา� เนนิ การในปจั จบุ ันมีดังน้ี 1. การปรบั ระบบการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ เพอ่ื ทจ่ี ะมงุ่ เนน้ การปอ้ งกนั โรคดา้ นสขุ ภาพ มากกวา่ เนน้ การรกั ษาพยาบาล 2. การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาพทดี่ ี นโยบายสขุ ภาพด ี (Healthy public policy) ของรฐั เปน็ ตัวส�าคัญที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงสภาพแวดล้อม ควรเป็นนโยบายท่ีสร้างความปลอดภัยท่ีเน้น สขุ ภาพของประชาชนเปน็ หลัก 3. การพฒั นาทกั ษะส่วนบุคคล (Personal skills development) เป็นสง่ิ ทที่ �าได้ยาก ตวั อย่างเชน่ บุคคลทเ่ี ป็นโรค ไขมันในเลือดสูง ถ้าแพทย์ไมจ่ า่ ยยา บคุ คลนั้นจะมีความสามารถในการควบคุมไขมนั ในเลอื ดไดห้ รอื ไม ่ มีทักษะ ในการดแู ลตนเองโดยไมต่ อ้ งพงึ่ ยาไดห้ รอื ไม ่ อาจทา� ไดโ้ ดยการออกกา� ลงั กายเพอ่ื ใหร้ ะดบั ไขมนั ในเลอื ดลดลง ทง้ั น ้ี การออกก�าลังกายเป็นเวลา 30 นาทที ่ีดตี ่อหัวใจ ต้องเรมิ่ จบั เวลาเม่อื ออกก�าลังกายจนถึงขั้นทรี่ อ้ งเพลงออกมา ไม่ได้แลว้ การรบั ประทานผกั ควรทาน 5 ส่วนต่ออาหารท้งั หมดต่อวัน การท�าอาหารต้องไม่ใชน้ ้า� มนั เลยถงึ จะลด ไขมนั ในเลอื ดได ้ และตอ้ งลดเคม็ นอกจากนนั้ ในหนง่ึ วนั ควรรบั นา�้ ตาล ไมเ่ กนิ กวา่ ทก่ี า� หนด ในทางปฏบิ ตั กิ ารดแู ล สุขภาพเป็นไปได้ยาก เราควรน�าความรู้มาปรับพฤติกรรมที่ส่งผลดีต่อสุขภาพด้วย และต้องต้ังใจในการปฏิบัติ อยา่ งจริงจงั 4. ท�าใหช้ มุ ชน สังคมมกี ารปฏบิ ัตทิ ่ีเหมาะสม รูปที่ 3: แสดง CDC’s Public Health Institute Framework สถาบนั เวชศาสตรป์ ้องกนั ศกึ ษา กรมควบคุมโรค 3

Framework สา� หรบั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค จาก US CDC การทา� งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค มเี ร่อื งสา� คญั ที่ต้องทา� ทง้ั หมด 6 เรอ่ื ง 1. การสรา้ งตวั โครงสรา้ งพนื้ ฐานทางสขุ ภาพใหด้ ี ไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งสรา้ งระบบใหมท่ ง้ั หมด สามารถใชท้ รพั ยากรรว่ มกบั หนว่ ยงานอื่นได้ 2. ระบบการเฝ้าระวงั ข้อมูลสุขภาพทด่ี ี ถา้ ไม่มขี ้อมูลดา้ นสุขภาพของผูต้ อ้ งขงั เราจะไมส่ ามารถดแู ลผตู้ อ้ งขงั ใหม้ ี สุขภาพดีได้ อยากจะท�าเรื่องอะไรต้องมีตัววัดผลในเร่ืองนั้น เน่ืองจากอะไรก็ตามที่ถูกวัดจะถูกท�าให้ประสบ ความส�าเรจ็ ได้ จงึ ต้องสร้างตวั ขอ้ มลู และตวั ชีว้ ัดทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพให้ได้ 3. มีผลงานวิจยั ที่สนับสนุนตวั โปรแกรมทางดา้ นสาธารณสุข 4. การมีกา� ลงั คนทีม่ ที ักษะในการปฏบิ ตั ิงาน 5. การมีห้องปฏบิ ัตกิ ารท่พี รอ้ มรบั รองการปฏิบตั งิ าน 6. การมโี ปรแกรมทางดา้ นสาธารณสขุ ทดี่ ี ซ่ึงใช้วิทยาศาสตร์น�า และนา� ตัวโปรแกรมมาใชอ้ ย่างเหมาะสม รูปที่ 4: แสดง Critical Strategic Epidemiologic Information เรื่องของระบบข้อมูล มีการบันทึกต้ังแต่ข้อมูลพื้นฐาน เช่น ลักษณะของประชากร ประชากรที่เราให้การดูแล เปน็ ใครบ้าง มีจา� นวนผู้ชาย/ผู้หญงิ เท่าไหร ่ อายุเทา่ ไหร ่ คนกลมุ่ นี้มีภาวะเสย่ี งอะไรบ้าง เช่น มพี ฤตกิ รรมเส่ียงอยา่ งไร มีปัจจัยทางกายภาพทางอื่นท่ีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมส่วนบุคคลอะไรบ้างที่จะท�าให้ปวยเป็นโรค เราพบว่า การขาดสารอาหารวิตามินบี 1 ในผู้ต้องขังบ่อยข้ึน ซ่ึงเสียชีวิตจากหัวใจเป็นหลักที่จังหวัดบึงกาฬ ภาวะนี้พบบ่อยใน ลกู เรือประมงอีกดว้ ย มาตรการในการแก้ปัญหา ส่ิงส�าคัญท่ีต้องวัดเสมอส�าหรับมาตรการคือ การปฏิบัติตามมาตรการท่ีใช้ลงไป มีคน ปฏบิ ตั ติ ามเทา่ ไหร ่ และคณุ ภาพของมาตรการเปน็ อยา่ งไร การไปวดั ทผ่ี ลลทั ธอ์ ยา่ งเดยี วอาจทา� ใหช้ า้ เกนิ ไป ถา้ เราสามารถ มาดตู งั้ แต่ตน้ ทางเราก็จะสามารถออกแบบตวั โปรแกรมและมาตรการไดด้ ี 4 สรปุ เนอื้ หาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตรร์ าชทณั ฑ์ระยะส้นั

รูปที่ 5: แสดงระบบขอ้ มูลสารสนเทศ ระบบข้อมูลข่าวสารควรเป็นระบบท่ีใช้พลังงานมนุษย์น้อยที่สุด ทุกอย่างต้องเป็นระบบดิจิทัล เราสามารถท�า Automated data analytic ออกมาได ้ ชใี้ หเ้ ห็นสภาพปญั หาด้านสขุ ภาพในประชากรกลมุ่ เปา้ หมายได้เปน็ อย่างดี ใชใ้ น การอธบิ าย descriptive analytic วา่ เกดิ อะไรขน้ึ บา้ งไปจนถงึ การอธบิ ายวา่ เกดิ จากอะไรไปสกู่ ารคาดพยากรณใ์ นอนาคต วา่ จะเกดิ ขนึ้ อกี หรอื ไม ่ และในอนาคตสถานการณจ์ ะเปน็ อยา่ งไร แลว้ จงึ นา� ขอ้ มลู ทงั้ หมดไปตอบคา� ถามวา่ มาตรการอะไร ที่ดที ีส่ ุด นอกจากนเ้ี ทคโนโลยีในปจั จุบันท�าให้สามารถเกบ็ ขอ้ มูลได้เปน็ อย่างดี รูปที่ 6: แสดงกรอบแนวคดิ การพฒั นา Key infrastructure วิธีคิดในการออกแบบตัวระบบงาน ยึดหลกั 3 S ไดแ้ ก่ 1. Staff ก�าลังคน 2. Stuff เคร่อื งมือในการทา� งาน 3. System ระบบ ถา้ ออกแบบระบบดแี ตต่ ้น มีมาตรฐานการทา� งานอย่างชัดเจน การท�างานทกุ อยา่ งจะราบรืน่ และไมซ่ บั ซอ้ น สถาบันเวชศาสตรป์ ้องกันศึกษา กรมควบคมุ โรค 5

รปู ท่ี 7: แสดง Ecologic Model ในการคดิ ตวั มาตรการมหี ลายระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั บคุ คลไปจนถงึ ระดบั สงั คม ยกตวั อยา่ งเชน่ การรบั ประทานอาหาร สุขภาพดี ถ้าเรารับประทานอาหารกลางวันในที่ท�างานของเราและถ้าที่ท�างานไม่สนับสนุนอาหารที่เสริมสร้างสุขภาพดี โอกาสทเ่ี ราจะรบั ประทานอาหารสขุ ภาพดกี จ็ ะตา�่ ลงไป การออกมาตรการสามารถทา� ไดต้ งั้ แตร่ ะดบั บคุ คลไปจนถงึ สงั คม ในวงกวา้ ง เช่น การห้ามสูบบหุ รีใ่ นพ้ืนท่สี าธารณะก็เป็นมาตรการทางสงั คมทีก่ ระตุ้นใหค้ นลดการสูบบุหร ี่ เป็นตน้ ผลกระทบตอ กำรให้ ควำมรวมมอื ของ ประชำชน ค�ำปรึกษำ บคุ คล และสขุ ศกึ ษำ มำตรกำร ทำงคลินิค มำตรกำรที่มีผล ในกำรปอ้ งกนั โรคท่ียำวนำน กำรปรับเปลีย่ นบริบทเพือ่ ท�ำให้ทำงเลือก ทีด่ ีตอ สุขภำพเปน ทำงเลือกเบ้ืองต้น ปจจัยทำงสังคมและเศรษฐกจิ รปู ท่ี 8: แสดงการคิดมาตรการในการป้องกันควบคุมโรค การคดิ มาตรการในการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค มาตรการมตี งั้ แตก่ ารทไี่ ปปรบั ปจั จยั ทางสงั คมและเศรษฐกจิ ของประชากร เปา้ หมายถดั ไปคอื การปรบั เปลย่ี นบรบิ ทเพอ่ื ทา� ใหท้ างเลอื กทดี่ ตี อ่ สขุ ภาพเปน็ ทางเลอื กเบอ้ื งตน้ เวลาทค่ี นจะเลอื กอะไร สักอย่าง ทา� ให้คนควรเลอื กส่ิงทที่ �าใหส้ ขุ ภาพดีไว้ก่อนเลย เชน่ คนสบู บหุ รี่ตอนน้ ี ไมส่ บู บหุ รี่จะงา่ ยกวา่ เมอ่ื ต้องมาอยูใ่ นตึก ทหี่ า้ มสบู บหุ ร ี่ ในสว่ นมาตรการทม่ี ผี ลในการปอ้ งกนั โรคทย่ี าวนาน เชน่ ฉดี วคั ซนี เขม็ เดยี วปอ้ งกนั โรคได ้ 5 ป  ซง่ึ เปน็ มาตรการ ที่ช่วยป้องกันโรคในระยะยาวได้ มาตรการทางคลินิค เช่น มารับยาลดไขมัน กินยาควบคุมความดัน เป็นต้น การให ้ คา� ปรึกษาและให้สขุ ศึกษาเพ่อื ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมให้ดียิ่งขึน้ ซึ่งตวั บุคคลตอ้ งเปน็ คนลงมอื ท�าดว้ ยตนเองจงึ จะเกดิ ผล มาตรการปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจออกแรงน้อยท่ีสุดและได้ผลมากท่ีสุด ในสภาพของเรือนจ�าต้องปรับ สิ่งแวดลอ้ มในเรือนจ�าให้เอ้ือตอ่ การมสี ุขภาพดีมากทีส่ ดุ จะทา� ให้ผูต้ ้องขังมสี ุขภาพดี 6 สรุปเนือ้ หาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะสน้ั

รูปท่ี 9: แสดงงานวจิ ยั ในเรอื นจ�าทางเวชศาสตร์ราชทณั ฑ์ ทา� วิจยั เพ่ือไปพฒั นาโปรแกรม นโยบาย รปู ที่ 10: แสดง Health Security กรอบงานดา้ น Health Security ของ USA แบง่ เป็น 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. การปอ้ งกนั (Prevent) 2. การคน้ หาการตรวจจบั (Detect) 3. การตอบโต ้ (Respond) 4. การประสานงานและบรหิ ารจัดการ รูปที่ 11: แสดง Thailand JEE results สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 7

ภายใตก้ รอบงานด้าน Health Security มี 19 ประเด็น 48 ตัวชว้ี ัดทตี่ ้องด�าเนินการ เชน่ เรือ่ ง Legislation, Co-ordination, Prevention, Surveillance, Laboratory, Workforce, Public Health, Emergency, Management, Point of Entry เปน็ ต้น ตารางน้ีแสดงผลระดับสมรรถนะของประเทศไทยที่อยู่ในเกณฑ์ดีจาก 48 ตัวช้ีวัด ส่ิงน้ีท�าให้ประเทศไทย ไดค้ ะแนนเป็นอันดับ 6 ในเรือ่ งของระบบการปอ้ งกนั ควบคุมโรคระดบั โลก เรียงล�าดับตามสไี ดแ้ ก่ สีเขียวแก ่ > สีเหลือง > สสี ม้ > สีแดง รปู ที่ 12: แสดง Better prepare for better respond จากคะแนนของทั้งโลก ประเทศท่ไี ด้สีเหลืองมี 13 ประเทศ ได้แก่ สหรฐั อเมริกา แคนาดา อังกฤษ ฝร่ังเศส สวีเดน ฟนิ แลนด ์ ในเอเชยี ม ี 2 ประเทศ คอื เกาหลใี ต้และประเทศไทย รูปท่ี 13: แสดง Global Health Security Index ประเทศไทยอยอู่ นั ดบั 6 ของโลกได ้ 73.2 คะแนน โดยคะแนนการปอ้ งกนั อยทู่ ่ี 75.7 และคะแนนความเสย่ี ง (Risk) ได้น้อยทส่ี ุดคือ 56.4 คะแนน 8 สรุปเนอื้ หาการอบรมหลักสตู รเวชศาสตร์ราชทัณฑร์ ะยะสน้ั

รปู ท่ี 14: แสดง Global Health Security Index จากรปู คอื Risk environment โดย Political and security risks ไดค้ ะแนนต่�ากว่ามาตรฐานส่วนเรอ่ื งอื่น ๆ ไดค้ ะแนนค่อนขา้ งต�่าเมือ่ เทยี บกับสภาพแวดลอ้ มโดยรวม ในสถานการณ ์ COVID – 19 นี้ สา� หรบั โรคติดตอ่ อบุ ัตใิ หม่เราใช้เครอ่ื งมอื ท่เี รียกว่า Traditional public health หรอื สำธำรณสขุ แบบดงั้ เดมิ คอื การคน้ หาผปู้ ว ยใหไ้ ดโ้ ดยเรว็ ทส่ี ดุ ตอ้ งสรา้ งระบบการปอ้ งกนั ใหด้ ี เตรยี มตง้ั แตย่ งั ไมม่ โี รค จนเราไม่มีผู้ปวย ต้องค้นหาให้เร็ว เมื่อเจอผู้ปวยให้แยกพาไปรักษา และต้องดูแลเรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อ ในโรงพยาบาลให้ดี ท้ังน้ีให้ติดตามผู้สัมผัส เพ่ือแยกผู้สัมผัส พาไปกักตัว ถ้าท�าตามนี้อย่างละเอียดและระมัดระวัง โอกาสเกดิ โรดก็จะมนี อ้ ยลงไปดว้ ย ส�าหรับในเรือนจ�า สิ่งท่ีต้องท�าคือเตรียมสภาพแวดล้อมให้ดี เตรียมระบบงานให้เรียบร้อย เตรียมความพร้อมให ้ ดที สี่ ุด เมื่อมีผู้ตอ้ งขังใหมเ่ ข้ามาตอ้ งแยกกกั ตัวใหค้ รบ 14 วนั กอ่ นจึงจะเขา้ ไปอย่ใู นเรอื นจา� ได้ เม่อื เข้าไปแล้วต้องมรี ะบบ ตรวจจบั ผตู้ ดิ เชอ้ื ใหไ้ ดเ้ รว็ ทส่ี ดุ และถา้ มผี มู้ อี าการคลา้ ยไขห้ วดั ใหญต่ อ้ งรบี ทา� การตรวจ และแยกตวั ผสู้ มั ผสั กกั ตวั ผสู้ มั ผสั เพ่ือปอ้ งกันการแพร่เช้อื ต่อไปในพ้ืนทเี่ รือนจา� อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สถาบันเวชศาสตรป์ ้องกันศึกษา กรมควบคมุ โรค 9

พระราชบัÞÞัติโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 นำงสพุ นิ ดำ ตรี ะรตั น์ สำ� นักงำนเลขำนุกำรคณะกรรมกำรโรคติดตอ แหงชำติ กองโรคติดตอ ท่วั ไป พระราชบัญญัติโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 ได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเมอ่ื วันท ่ี 8 กนั ยายน 2558 มผี ลใช้บังคับ ต้ังแต่วนั ท ่ี 6 มนี าคม 2559 เจตนำรมณ์ของการประกาศใชพ้ ระราชบัญญตั ฉิ บบั น ี้ คือ โดยทพี่ ระราชบญั ญัตโิ รคติดต่อ พ.ศ. 2523 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว บทบัญญัติบางประการ ไมเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ปจจุบัน ซ่ึงมีกำร แพรกระจำยของโรคติดตอที่รุนแรงและกอให้เกิดโรคระบำดมำกผิดปกติกวำที่เคยเปนมำ ทั้งโรคติดต่อที่อุบัติใหม ่ และโรคตดิ ต่อท่อี บุ ตั ิซ้�า ประกอบกบั ประเทศไทยได้ใหก้ ารรบั รองและด�าเนนิ การตามขอ้ กา� หนดของกฎอนำมัยระหวำง ประเทศ พ.ศ. 2548 ในการน้ีจึงต้องพัฒนาและปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายที่เก่ียวกับการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั และขอ้ กา� หนดของกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศจงึ จา� เปน็ ตอ้ ง ตราพระราชบญั ญัติน้ี นโยบำย กำรเฝำ้ ระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดตอ 1. เรง รดั กำรกำ� จดั และกวำดลำ้ งโรคทเี่ ปน พนั ธะสญั ญำกบั นำนำชำต ิ และเปน็ โรคทปี่ ระเทศไทยสามารถควบคมุ ไดร้ ะดบั หน่ึงแลว้ - เรง่ รัดการกวาดล้างโรคโปลโิ อ - เร่งรดั การกา� จัดโรคมำลำเรยี โรคเรื้อน โรคเอดส์ โรคหดั โรคพษิ สุนัขบ้ำ และโรคเทำ้ ช้ำง 2. พฒั นำระบบการปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หม ่ โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายอยา่ งเตม็ ท ี่ เพอ่ื ลดโอกาสการระบาดของโรคตดิ ตอ่ อันตรายในประเทศไทยใหเ้ หลอื นอ้ ยที่สุด 3. ควบคมุ โรคตดิ ตอ ประจำ� ถิ่น (ได้แก่ ไข้เลอื ดออก ไขห้ วัดใหญ่ มือเทา้ ปาก โรคติดตอ่ จากสตั วส์ ่คู น โรคตดิ ต่อ ทางอาหารและน�้า โรคท่ีป้องกันได้ด้วยวัคซีน วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคท่ีเกิดจากจุลชีพดื้อยา และโรคติดเช้ือในโรงพยาบาล) ด้วยมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้โรคติดต่อประจ�าถ่ินส่งผลกระทบต่อ สขุ ภาวะของประชาชนให้นอ้ ยทสี่ ดุ 4. ลดกำรตตี รำหรือเลอื กปฏบิ ัตติ อ่ ผ้ปู วยโรคติดต่อ กลäกการดา� เนนิ งานตามพระราชบÞั Þตั ิโรคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 รูปที่ 1: แสดงกลไกการดา� เนินงานตามพระราชบญั ญัติโรคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 10 สรปุ เน้อื หาการอบรมหลักสตู รเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะส้นั

อา� นาจและหน้าท่ี กรมควบคมØ โรค กระทรวงสาธารณสขØ - อธิบดีกรมควบคุมโรค โดยค�าแนะนา� ของคณะกรรมการดา้ นวิชาการ มอี �านาจประกำศชอื่ อำกำรส�ำคญั และ สถำนท่ที ่มี ีโรคระบำด รวมทั้งประกาศยกเลิกเมอื่ สภาวการณข์ องโรคน้นั สงบลงหรอื กรณีมีเหตุอันสมควร - กรมควบคมุ โรค เปน็ สา� นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ คณะกรรมการดา้ นวชิ าการ และคณะอนกุ รรมการ (1) พจิ ารณาเสนอนโยบำย และวำงระบบในการเฝา้ ระวงั ป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อ (2) จดั ทำ� ระบบในกำรเฝ้ำระวงั โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคตดิ ตอ่ ท่ีต้องเฝา้ ระวัง และโรคระบาด (3) จัดท�ำแผนปฏิบัติกำรเฝ้าระวงั ปอ้ งกนั และควบคุมโรคติดตอ่ หรอื โรคระบาด (4) เปน ศนู ยข์ อ้ มลู กลำงในการประชาสมั พนั ธห์ รอื เผยแพรข่ อ้ มลู และขา่ วสารเกย่ี วกบั การเฝา้ ระวงั การปอ้ งกนั และการควบคุมสภาวการณ์ของโรคติดตอ่ และโรคระบาด (5) ประสำนงำนติดตำมประเมนิ ผลการด�าเนินการของคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัดและกรงุ เทพมหานคร คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ - ก�ำหนดนโยบำย วำงระบบ และแนวทำงปฏิบตั ิในการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน และควบคมุ โรคติดต่อ - ให้ความเหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิกำรฯ เสนอคณะรฐั มนตรีใหค้ วามเห็นชอบ - เสนอความเห็นตอ่ รัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ ประกำศและแนวทำงปฏบิ ตั ิ - ให้ค�ำปรึกษำ แนะน�ำและประสำนงำนแกหนวยงำนของรัฐและเอกชน เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคมุ โรคตดิ ต่อ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั (ไมน่ ้อยกว่า 18 คน) รปู ที่ 2: แสดงองค์ประกอบของคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกันศึกษา กรมควบคุมโรค 11

โครงสรา้ งและกลäกการดา� เนนิ งานระดับจงั หวดั รูปที่ 3: แสดงโครงสรา้ งและกลไกการดา� เนนิ งานระดับจังหวัด หน่วยป¯บิ ัติการควบคมØ โรคตดิ ต่อ รูปที่ 4: แสดงหนว่ ยปฏิบัตกิ ารควบคมุ โรคตดิ ต่อ นยิ ำมสำ� คัญ และขอ้ ควรรู้ในพระรำชบัญญัตโิ รคตดิ ตอ พ.ศ. 2558 ตำมมำตรำ 4 ประกอบดว้ ยดงั นี้ “โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย” หมายความวา่ โรคตดิ ตอ่ ทีม่ คี วามรุนแรงสงู และสามารถแพรไ่ ปสู่ผอู้ ื่นได้อยา่ งรวดเรว็ “โรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั ” หมายความวา่ โรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งมกี ารตดิ ตามตรวจสอบหรอื จดั เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งตอ่ เนอื่ ง “โรคระบาด” หมายความวา่ โรคติดต่อหรือโรคทยี่ ังไม่ทราบสาเหตขุ องการเกดิ โรคแนช่ ดั ซง่ึ อาจแพรไ่ ปสูผ่ ู้อื่นได้ อยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง หรอื มภี าวะของการเกิดโรคมากผดิ ปกติกว่าท่เี คยเปน็ มา “แยกกัก” หมายความว่า การแยกผสู้ ัมผสั โรคหรือพาหะไวต้ ่างหากจากผู้อื่นในที่เอกเทศ เพ่อื ปอ้ งกัน มิให้เชอ้ื โรค แพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยงั ผซู้ ึง่ อาจได้รับเชื้อโรคนนั้ ๆ ได ้ จนกว่าจะพน้ ระยะติดต่อของโรค 12 สรปุ เนื้อหาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตรร์ าชทณั ฑร์ ะยะส้นั

“กกั กนั ” หมายความว่า การควบคุมผู้สมั ผสั โรคหรอื พาหะใหอ้ ยู่ในท่เี อกเทศ เพื่อป้องกนั มใิ หเ้ ช้อื โรคแพร่โดยทาง ตรงหรอื ทางออ้ มไปยงั ผซู้ ง่ึ อาจไดร้ บั เชอื้ โรคนน้ั ๆ ได ้ จนกวา่ จะพน้ ระยะฟกั ตวั ของโรคหรอื จนกวา่ จะพน้ ความเปน็ พาหะ “คมุ ไวส้ ังเกต” หมายความวา่ การควบคุมดแู ลผู้สัมผัสโรคหรือพาหะโดยไมก่ ักกนั และอาจจะอนุญาตให้ผา่ นไปใน ท่ใี ด ๆ ก็ได้ โดยมีเงอ่ื นไขวา่ เม่อื ไปถึงท้องที่ใดท่ีกา� หนดไว้ ผนู้ ัน้ ตอ้ งแสดงตวั ตอ่ เจา้ พนักงานควบคมุ โรคตดิ ต่อประจา� ทอ้ งท ี่ นน้ั เพอื่ รบั การตรวจในทางการแพทย ์ เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ ชอื้ โรคแพรโ่ ดยทางตรงหรอื ทางออ้ มไปยงั ผซู้ งึ่ อาจไดร้ บั เชอ้ื โรคนน้ั ๆ ได้ ประเภทของโรคตำมพระรำชบัญญตั โิ รคตดิ ตอ พ.ศ. 2558 ดงั น้ี 1. โรคตดิ ตอท่ีต้องเฝ้ำระวัง จ�ำนวน 55 โรค (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง ช่ือและอาการส�าคญั ของโรคติดต่อ ทีต่ อ้ งเฝา้ ระวงั พ.ศ. 2562 มีผลใช้บงั คบั ตงั้ แตว่ ันท ่ี 28 มกราคม 2563) (1) กามโรคของตอ่ มและท่อน�า้ เหลือง (Lymphogranuloma Venereum หรือ Granuloma Inguinale) (2) การตดิ เช้ือในโรงพยาบาล (Healthcare-associated infection หรอื hospital acquired infection) (3) ไขก้ าฬหลังแอ่น (Meningococcal meningitis) (4) ไข้ดา� แดง (Scarlet fever) (5) ไข้เดง็ กี่ (Dengue Fever) (6) ไขป้ วดขอ้ ยงุ ลาย (Chikungunya fever) (7) ไข้มาลาเรีย (Malaria) (8) ไขไ้ มท่ ราบสาเหต ุ (Pyrexia of Unknown origin หรือ Fever of Unknown Origin) (9) ไข้สมองอักเสบชนิดญปี่ นุ (Japanese Encephalitis) (10) ไข้สมองอักเสบไมร่ ะบเุ ช้อื สาเหต ุ (Unspecified encephalitis) (11) ไขห้ วดั นก (Avian Influenza) (12) ไข้หวัดใหญ ่ (Influenza) (13) ไขห้ ดั (Measles) (14) ไขห้ ัดเยอรมัน (Rubella) (15) ไข้เอนเทอริค (Enteric fever) (16) ไข้เอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) (17) คอตีบ (Diphtheria) (18) คางทูม (Mumps) (19) ซฟิ ิลสิ (Syphilis) (20) บาดทะยกั (Tetanus) (21) โปลิโอ (Poliomyelitis) (22) แผลริมอ่อน (Chancroid) (23) พยาธทิ ริคิเนลลา (Trichinosis) (24) พยาธใิ บไม้ตบั (Liver fluke) (25) เมลิออยโดสสิ (Melioidosis) (26) เยือ่ ห้มุ สมองอักเสบจากพยาธ ิ (Eosinophilic meningitis) (27) เยอื่ ห้มุ สมองอกั เสบไม่ระบเุ ชอื้ สาเหต ุ (Unspecified meningitis) (28) เริมของอวัยวะสืบพนั ธ์ุและทวารหนกั (Anogenital Herpes) สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 13

(29) โรคตบั อกั เสบจากเช้อื ไวรสั ชนดิ เอ บี ซี ดี และ อี (Viral hepatitis A, B, C, D and E) (30) โรคตาแดงจากไวรัส (Viral conjunctivitis) (31) โรคตดิ เช้อื ไวรัสซกิ า (Zika virus disease) (32) โรคตดิ เช้ือสเตรป็ โตคอคคัสซอู ิส (Streptococcus suis infection) (33) โรคเทา้ ช้าง (Lymphatic Filariais) (34) โรคบรเู ซลโลสิส (Brucellosis) (35) โรคปอดอักเสบ (Pneumonia) (36) โรคพษิ สุนขั บา้ (Rabies) (37) โรคมือเทา้ ปาก (Hand Foot and Mouth disease) (38) โรคเรอ้ื น (Leprosy) (39) โรคลิซมาเนยี (Leishmaniasis) (40) โรคเลปโตสไปโรสสิ (Leptospirosis) (41) โรคสครบั ไทฟัส (Scrub typhus) (42) โรคสุกใส หรอื อสี กุ อใี ส (Varicella, Chickenpox) (43) โรคอัมพาตกลา้ มเนอ้ื ออ่ นปวกเปย กเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis: AFP) (44) โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลนั (Acute diarrhea) (45) การติดเช้ือเอชไอวีและโรคเอดส ์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome: AIDS) (46) โรคแอนแทรกซ์ (Anthrax) (47) วัณโรค (Tuberculosis) (48) ไวรัสตับอกั เสบไม่ระบุเชอื้ สาเหตุ (Hepatitis) (49) หนองใน (Gonorrhea) (50) หนองในเทยี ม (Non Gonococcal Urethritis: NGU) (51) หูดอวยั วะเพศและทวารหนกั (Condyloma Acuminata หรือ Venereal Warts) (52) อหวิ าตกโรค (Cholera) (53) อาการภายหลังไดร้ ับการสร้างเสรมิ ภมู ิคมุ้ กันโรค (Adverse Event Following immunization: AEFI) (54) อาหารเปน็ พษิ (Food poisoning) (55) ไอกรน (Pertussis) 2. โรคตดิ ตอ อนั ตรำย จ�ำนวน 14 โรค - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ช่ือและอาการสา� คัญของโรคตดิ ต่ออนั ตราย พ.ศ. 2559 มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ท ี่ 28 มกราคม 2563 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ชอ่ื และอาการสา� คัญของโรคติดตอ่ อนั ตราย (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2561 มผี ลใชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ ันที่ 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 - ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ช่อื และอาการสา� คัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 มีผลใชบ้ ังคับตงั้ แต่วนั ท ี่ 1 มีนาคม 2563) (1) กาฬโรค (Plague) (2) ไขท้ รพษิ (Smallpox) 14 สรุปเน้อื หาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตร์ราชทณั ฑ์ระยะสน้ั

(3) ไข้เหลอื ง (Yellow fever) (4) โรคทางเดินหายใจเฉยี บพลันรนุ แรง หรือโรคซารส์ (Severe Acute Respiratory Syndrome - SARS) (5) โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสอโี บลา (Ebola virus disease - EVD) (6) โรคทางเดนิ หายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome - MERS) (7) โรคติดเชื้อไวรัสมาร์บวรก์ (Marburg virus disease) (8) โรคตดิ เชื้อไวรสั เฮนดรา (Handra virus disease) (9) โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั นปิ าห์ (Nipah virus disease) (10) โรคไข้ลาสซา (Lassa fever) (11) ไขเ้ ลอื ดออกไครเมียนคองโก (Crimean - Congo hemorrhagic fever) (12) ไข้เวสต์ไนล ์ (West Nile Fever) (13) วณั โรคดอื้ ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (Extensively drug - resistant tuberculosis (XDR - TB)) (14) โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) กำรเฝ้ำระวังโรคติดตอ มำตรำ 31 เมอ่ื พบผทู้ เี่ ปน็ หรอื มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ เปน็ โรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายหรอื โรคระบาด หรอื เมอ่ื ได้มีการชันสตู รทางการแพทย์หรอื ทางการสตั วแพทยต์ รวจพบวา่ อาจมีเชือ้ อนั เป็นเหตขุ องโรคตดิ ตอ่ ดังกลา่ ว ผู้มหี น้ำท่ีแจ้ง : (1) กรณีพบในบ้าน : เจา้ บ้านหรือผู้ควบคมุ ดแู ลบ้าน หรือแพทยผ์ ้ทู า� การรักษาพยาบาล (2) กรณีพบในสถานพยาบาล : ผูร้ บั ผิดชอบในสถานพยาบาล (3) กรณเี มอ่ื ไดม้ กี ารชนั สตู รตรวจพบวา่ อาจมเี ชอ้ื อนั เปน็ เหตขุ องโรคตดิ ตอ่ ดงั กลา่ ว : ผทู้ า� การชนั สตู รหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบ ในสถานท่ีทไ่ี ดม้ ีการชนั สูตร (4) กรณพี บในสถานประกอบการหรือสถานท่อี ื่นใด : เจ้าของ หรือผูค้ วบคมุ ผรู้ ับแจง้ : เจ้ำพนักงำนควบคุมโรคติดตอ หลักเกณฑ ์ และวธิ กี ารแจง้ ใหเ้ ปน็ ไปตามทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศก�าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มำตรำ 32 เงือ่ นไข : เมือ่ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคติดตอ่ ได้รบั แจ้งตามมาตรา 31 วา่ มีเหตสุ งสัย มีขอ้ มลู หรือหลกั ฐาน วา่ มีโรคติดตอ่ อนั ตราย โรคติดตอ่ ท่ตี ้องเฝ้าระวงั หรอื โรคระบาด ผู้มีอำ� นำจหน้ำที่ : เจ้ำพนักงำนควบคุมโรคตดิ ตอ อำ� นำจหน้ำที่ : 1. แจง้ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี 2. รายงานขอ้ มูลน้ันใหก้ รมควบคมุ โรคทราบโดยเรว็ มำตรำ 33 กรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดเกิดขึ้น ในตำงประเทศ กรมควบคุมโรค : ประสานไปยังองค์การอนามัยโลกเพื่อขอข้อมูลเก่ียวกับโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง หรอื โรคระบาดทเ่ี กิดข้นึ ในตา่ งประเทศ สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กรมควบคุมโรค 15

กำรปอ้ งกันและควบคมุ โรคตดิ ตอ มำตรำ 34 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ เมื่อเกิด/มีเหตุสงสัยว่าได้เกิด โรคติดตออันตรำย/โรคระบำด ดา� เนินการเอง/ออกค�าสั่งเปน็ หนงั สอื ให้ผ้ใู ดดา� เนนิ การ 1. น�าผู้ท่ีเป็น/มีเหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย/ผู้สัมผัส/พาหะ มำรับกำรตรวจ/รักษำ/ชันสูตร/แยกกัก/ กักกัน/คุมไวส้ งั เกต จนกว่าจะพ้นระยะตดิ ตอ่ ของโรคหรอื สนิ้ สดุ เหตุอนั ควรสงสัย 2. ใหผ้ ู้ที่มีควำมเสี่ยงมารับการสร้างเสริมภมู ิคุม้ กันโรค 3. ใหน้ ำ� ศพ/ซำกสัตวไ์ ปรับการตรวจ/จดั การทางการแพทย์ 4. ให้เจ้ำของ/ผู้ครอบครอง/ผู้พักอำศัยในบ้าน โรงเรือน สถานท่ี หรือพาหนะ ก�ำจัดควำมติดโรคหรือท�ำลำย สงิ่ ใด ๆ ทม่ี เี ชื้อโรค หรือแก้ไขปรบั ปรงุ สุขำภิบำลให้ถกู สขุ ลกั ษณะ 5. ใหเ้ จำ้ ของ/ผคู้ รอบครอง/ผพู้ กั อำศยั ในบา้ น โรงเรอื น สถานท ่ี หรอื พาหนะ กำ� จดั สตั ว์ แมลง ตวั ออ นของแมลง 6. หา้ มผู้ใดกระทา� การ/ด�าเนินการซงึ่ อาจกอ่ ให้เกิดสภาวะไม่ถกู สขุ ลกั ษณะซึ่งอาจท�าให้โรคแพร่ออกไป 7. ห้ามผูใ้ ดเข้ำไปหรือออกจากทีเ่ อกเทศ 8. เข้ำไปในบำ้ น โรงเรือน สถำนท่ี หรือพำหนะท่มี ี/สงสัยวา่ มโี รคติดต่ออันตรายเกิดข้ึน เพือ่ เฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และควบคมุ มใิ ห้มีกำรแพรข องโรค ***กอ นดำ� เนนิ กำร/ออกคำ� สง่ั ใหด้ ำ� เนนิ กำรใด ๆ ตำม 1 - 8 เจำ้ พนกั งำนควบคมุ โรคตดิ ตอ ตอ้ งทำ� กำรสอบสวน โรคกอ น มำตรำ 35 ผ้วู า่ ราชการจังหวัด/กทม. โดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด/กทม. ***กรณีมีเหตุจ�าเปน็ เร่งด่วน 1. สัง่ ปิด “ไวเ้ ปนกำรชัว่ ครำว” ตลาด สถานท่ปี ระกอบ/จ�าหนา่ ยอาหาร สถานทผี่ ลติ /จ�าหนา่ ยเคร่อื งดม่ื โรงงาน สถานทชี่ มุ นมุ ชน โรงมหรสพ สถานศกึ ษา สถานท่อี ่นื ใด 2. สั่งห้ามผู้ทเ่ี ป็น/สงสัยวา่ เปน็ โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายเขา้ ไปใน สถานท่ชี มุ นุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษา สถานทอ่ี นื่ ใด 3. สง่ั ใหผ้ ู้ทเ่ี ปน็ /สงสยั ว่าเปน็ โรคติดต่ออนั ตราย หยดุ ประกอบอาชีพเป็นการช่ัวคราว มำตรำ 37 เพื่อการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคติดตอ่ ระหว่างประเทศ ในบริเวณชอ่ งทางเข้าออก ผมู้ ีหนำ้ ทร่ี ับผดิ ชอบชอ งทำงเขำ้ ออก : 1. จัดการสุขาภบิ าลส่ิงแวดลอ้ มใหถ้ กู สุขลักษณะ รวมท้ังกา� จัดสิ่งอนั อาจเป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 2. จัดการสุขาภิบาลเก่ียวกับอาหารและน�้าใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ 3. ก�าจดั ยงุ และพาหะน�าโรค 4. ปฏบิ ัตกิ ารตามวิธีการอื่นใดตามทคี่ ณะกรรมการโรคตดิ ต่อแหง่ ชาติประกาศก�าหนด 16 สรุปเน้ือหาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตรร์ าชทัณฑร์ ะยะส้นั

มำตรำ 38 เม่ือมีเหตอุ นั สมควร เจำ้ พนักงำนควบคมุ โรคตดิ ตอประจ�ำดำ นควบคมุ โรคตดิ ตอระหวำงประเทศ : 1. มีอ�านาจตรวจตรา ควบคมุ กา� กับดแู ลในพื้นที่นอกช่องทางเข้าออก 2. มอี า� นาจแจง้ ใหเ้ จา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ดา� เนนิ การกา� จดั ยงุ และพาหนะนา� โรคในบรเิ วณรศั ม ี 400 เมตร รอบชอ่ งทาง เขา้ ออก มำตรำ 39 เมื่อมีเหตุอันสมควรหรือมีเหตุสงสัยว่าพาหนะมาจากท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรที่ม ี โรคระบาด เจำ้ พนกั งำนควบคมุ โรคตดิ ตอประจำ� ดำนควบคมุ โรคติดตอ ระหวำงประเทศ : 1. ใหเ้ จ้าของ/ผู้ควบคุมพาหนะแจ้งก�ำหนดวนั เวลำ และสถำนทท่ี ่พี าหนะนั้น ๆ จะเขา้ มาถึงด่านฯ 2. ใหเ้ จา้ ของ/ผู้ควบคมุ พาหนะท่ีเข้ามาในราชอาณาจักรย่ืนเอกสารตอ่ จพต. ประจา� ดา่ นฯ 3. ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรซ่ึงยังไมได้รับกำรตรวจจาก จพต. ประจ�าดา่ นฯ หรอื นำ� พำหนะอื่นใดเข้ำเทยี บพำหนะนนั้ เวน้ แต่ได้รับอนญุ าต 4. เขา้ ไปในพาหนะและตรวจผเู้ ดนิ ทำง/สง่ิ ของ/สตั วท์ ม่ี ำกบั พำหนะ/ตรวจตราและควบคมุ ใหเ้ จา้ ของ/ผคู้ วบคมุ พาหนะแกไ้ ขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ถูกสขุ ลักษณะ/ก�าจดั ส่งิ อนั อาจเป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพในพาหนะ 5. ห้ามเจ้าของ/ผู้ควบคุมพาหนะน�ำผู้เดินทำงซึ่งไมได้รับกำรสร้ำงเสริมภูมิคุ้มกันโรคตำมที่รัฐมนตรีประกำศ ก�ำหนด โดยคา� แนะนา� ของคณะกรรมการโรคตดิ ต่อแหง่ ชาติเขา้ มาในราชอาณาจักร มำตรำ 40 เมื่อรัฐมนตรีโดยคา� แนะนา� ของคณะกรรมการด้านวิชาการ (มาตรา 8) ประกาศให้ทอ้ งท่ีหรือเมอื งท่าใด นอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรค จพต. ประจำ� ดำ นควบคมุ โรคตดิ ตอ ระหวำ งประเทศ มอี ำ� นำจ : ดา� เนนิ การเอง / ออกคา� สงั่ เปน็ หนงั สอื ใหเ้ จา้ ของ/ ผู้ควบคุมพาหนะดา� เนนิ การ 1. ก�าจัดความติดโรค เพอ่ื ป้องกันและควบคุมการแพร่ของโรค 2. จัดให้พาหนะจอดอยู่ ณ สถานที่ท่กี �าหนดให ้ จนกวา่ จะอนุญาตใหไ้ ปได้ 3. ให้ผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะน้ันรับการตรวจในทางแพทย์ ให้แยกกัก/กักกัน/คุมไว้สังเกต/รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกนั โรค ณ สถานทแี่ ละระยะเวลาทก่ี า� หนด 4. หา้ มผูใ้ ดเข้าไปในหรอื ออกจากพาหนะหรือท่ีเอกเทศ 5. หา้ มผใู้ ดน�าวตั ถ/ุ ส่ิงของ/เครอ่ื งใชท้ ีเ่ ปน็ หรอื มเี หตุสงสยั ว่าเป็นสงิ่ ติดโรคเขา้ ไปในหรือออกจากพาหนะ ***ยกเลิกได้เมอื่ สภำวกำรณ์ของโรคนั้นสงบลงหรอื กรณีมเี หตุอนั สมควร มำตรำ 41 เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคมุ พาหนะ 1. ต้องเป็นผอู้ อกค่าใชจ้ า่ ยในการขนส่งผู้เดินทางซ่ึงมากบั พาหนะนน้ั เพื่อแยกกัก กักกนั คมุ ไวส้ ังเกต หรอื รบั การ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตลอดท้ังออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรค ติดตอ่ ระหวา่ งประเทศตามมาตรา 40 และค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 2. การกา� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ จากการดา� เนนิ การตามขอ้ 1 ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไข ทร่ี ฐั มนตรี ประกาศกา� หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการโรคติดตอ่ แหง่ ชาติ สถาบนั เวชศาสตรป์ ้องกันศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 17

มำตรำ 42 ในกรณีท่ีพบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคระบาด หรือเป็น พาหะนา� โรค จพต. ประจ�ำดำนควบคุมโรคติดตอ ระหวำงประเทศมีอำ� นำจส่งั ให้บุคคลดังกลำว : ถูกแยกกกั / ถูกกักกัน / ถูกคมุ ไวส้ ังเกต / ไดร้ บั การสรา้ งเสริมภูมคิ ้มุ กันโรค “คำ ใชจ้ ำ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ จำกกำรดำ� เนนิ กำรของเจำ้ พนกั งำนควบคมุ โรคตดิ ตอ ประจำ� ดำ นฯ ใหผ้ เู้ ดนิ ทำงเปน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกำศก�ำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำรโรคติดตอ แหง ชำติ” มำตรำ 45 เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ มีอ�ำนำจ : (1) มหี นงั สอื เรยี กบคุ คลใด ๆ มาใหถ้ อ้ ยคา� หรอื แจง้ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ทา� คา� ชแี้ จงเปน็ หนงั สอื หรอื ให ้ สง่ เอกสารหรอื หลักฐานใดเพอื่ ตรวจสอบหรอื เพ่ือใช้ประกอบกำรพจิ ำรณำ (2) เขำ้ ไปในพำหนะ อำคำร หรอื สถำนทใ่ี ด ๆ ในเวลาระหวา่ งพระอาทติ ย์ข้นึ และพระอาทิตย์ตก หรือในเวลา ท�าการของอาคารหรือสถานที่น้ัน เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ และหากยัง ด�าเนินการไม่แล้วเสร็จในเวลาดังกล่าวให้สามารถด�าเนินการต่อไปได้จนกว่าจะแล้วเสร็จการด�าเนินการตาม (2) ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศกรมควบคมุ โรค เรอื่ ง หลกั เกณฑ ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการเขา้ ไปในพาหนะ อาคาร หรอื สถานทีใ่ ดของเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคติดต่อ พ.ศ. 2560 (มีผลใชบ้ ังคบั 28 ธันวาคม 2560) ในการปฏิบตั ิ หนา้ ท่ขี องเจ้าพนักงานควบคมุ โรคติดต่อตาม (2) ใหบ้ ุคคลท่เี กย่ี วขอ้ งอา� นวยความสะดวกตามสมควร 18 สรุปเนอื้ หาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตรร์ าชทัณฑร์ ะยะสน้ั

ประกาศกระทรวงสาธารณสขØ เรอ่ื ง หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารแจ้งãนกรณีที่มี โรคติดต่ออนั ตราย โรคติดต่อทีต่ ้องเ½้าระวงั หรือโรคระบาดเกิดขÖน้ พ.ศ. 2560 (มผี ลãช้บงั คบั วันท่ี 22 ธ.ค. 2560) รปู ที่ 5: แสดงการแจ้งกรณพี บผ้ปู วยหรือท่ีสงสัยโรคติดต่ออนั ตราย รูปที่ 6: แสดงกรณีทมี่ ีโรคระบาดเกดิ ข้นึ หรือมเี หตสุ งสยั วา่ เกดิ ขน้ึ และพบผู้ท่ีเป็นหรอื มีเหตอุ ันควรสงสยั วา่ เป็นโรคระบาด สถาบันเวชศาสตรป์ ้องกนั ศึกษา กรมควบคมุ โรค 19

รูปที่ 7: แสดงกรณีทีม่ ีโรคตดิ ต่อท่ีต้องเฝ้าระวงั เกิดขึน้ หรอื มเี หตสุ งสัยว่าเกิดขน้ึ และพบผู้ที่เปน็ หรอื มีเหตุอันควรสงสยั วา่ เป็นโรคตดิ ตอ่ ทต่ี ้องเฝ้าระวัง 1. กำรเฝำ้ ระวงั ป้องกันและควบคุมโรคตดิ ตอ สำ� คญั ในเรือนจำ� กรณพี บผู้ปวย/ผู้มีเหตอุ ันควรสงสยั ว่าเป็นโรคตดิ ต่อ - โรคติดตอ อันตรำย ตามพระราชบัญญตั ิโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 จ�านวน 14 โรค - โรคระบำด (โรคท่ียังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัด ซ่ึงอาจแพร่ไปสู่ผู้อ่ืนได้อย่างรวดเร็วและกว้าง ขวางหรอื มีภาวะของการเกิดโรคมากผดิ ปกติกวา่ ท่ีเคยเปน็ มา หรอื พบผ้ปู วยเปน็ กลุ่มกอ้ น) (1) แยก ผปู้ วย/ผมู้ เี หตอุ นั ควรสงสัย (2) แจง้ เจ้าพนักงานควบคมุ โรคติดตอ่ ในพื้นที ่ (หรือเจ้าพนกั งานควบคุมโรคติดตอ่ ส่วนกลาง) - โรคตดิ ตอ่ อันตราย ภายใน 3 ชัว่ โมง - โรคระบาด ภายใน 24 ชวั่ โมง (3) ดำ� เนินกำรรว มกับ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการควบคมุ โรคตดิ ต่อ (CDCU) เพ่อื ด�าเนินการสอบสวนและควบคมุ โรค 2. กำรเฝ้ำระวงั ปอ้ งกันและควบคุมโรคติดตอ สำ� คญั ในเรือนจำ� - คดั กรองและเฝา้ ระวงั ผปู้ ว ยโรคตดิ ต่อที่ต้องเฝ้าระวัง พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 จา� นวน 55 โรค หากตรวจพบผู้ปวย / ผู้มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็น ให้ด�าเนินการแจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อสังกัด สา� นักงานสาธารณสขุ จังหวัด / ส�านักอนามัยกรุงเทพฯ ภายใน 7 วัน - ปฏิบตั ิตามแนวทางมาตรการในการปอ้ งกันควบคุมโรคของกรมราชทณั ฑ์ / กรมควบคุมโรค 20 สรปุ เนื้อหาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตรร์ าชทณั ฑ์ระยะส้นั

ประกาศกระทรวงสาธารณสØข เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นäขãนการสอบสวนโรคติดตอ่ อนั ตราย หรือโรคระบาด พ.ศ. 2563 (มผี ลãชบ้ งั คบั วันท ่ี 23 เม.ย. 2563) สถาบนั เวชศาสตรป์ ้องกันศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 21

รูปที่ 8: แสดงการด�าเนนิ การสอบสวนโรคของเจ้าพนกั งานควบคมุ โรคตติ ตอ่ และ CDCU 22 สรุปเนอ้ื หาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตรร์ าชทัณฑร์ ะยะสน้ั

Principle of Preventive Medicine and Public Health Administration and Intervention นพ.ศุภมิตร ชณุ หส์ ุทธวิ ัฒน์ ทป่ี รึกษำกรมควบคมุ โรค คร้งั แรกทผี่ มไดย้ นิ คา� วา่ “เวชศาสตรร์ าชทณั ฑ”์ ทา� ใหผ้ มตอ้ งไปค้นหาดวู า่ คา� นี้ เปน็ คา� ท่ีเราตั้งกันข้นึ มาเพื่อเป็น ช่ือเรียกเฉพาะกิจหรือไม่ ปรากฏว่าไม่ใช่ แต่เวชศาสตร์ราชทัณฑ์เป็นศาสตร์ที่ได้มีการพัฒนามาพอสมควรเลยในโลกนี้ พวกเราเองหรือหลาย ๆ ท่านในกระทรวงสาธารณสุขอาจจะยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั ค�าน้ี หากเมือ่ ไดม้ าเรียนรู้แลว้ ท�าให้ทราบว่า ศาสตร์นี้เป็นศาสตร์ท่ีน่าสนใจและจะต้องพัฒนาต่อไปในระยะยาว ซ่ึงท�าให้ได้ข้อสรุปอย่างหน่ึงว่าในงานเวชศาสตร์ ราชทัณฑ์ท่ีมีการปฏิบัติอยู่ในประเทศไทย โดยใช้ชื่อน้ีหรือไม่ได้ใช้ช่ือน้ีก็ตาม มีสาระส�าคัญคือเป็นเวชศาสตร์ป้องกัน ในตัวอยแู่ ลว้ เวชศาสตร์ปอ้ งกนั (โดย American College of Preventive Medicine) เปน็ ศาสตรท์ ี่ให้ความเอาใจใส่ในเรื่อง สุขภาพตั้งแต่ระดับตัวบุคคล ชุมชนและประชากรโดยรวม โดยเนื้องานจะเกี่ยวกับการป้องกัน การส่งเสริมสุขภาวะ ทางสุขภาพใหม้ ีความเปน็ อยูท่ ่ีด ี ลดโรค ลดความพกิ าร และลดอตั ราการตายของประชาชน คณØ ลกั Éณะของเวชศาสตรป์ ้องกนั 1. ปอ้ งกันการปว ย การตาย (Saves lives) 2. ส่งเสริมสขุ ภาวะ (Maintains health & quality of life) 3. ประหยดั (Saves cost, being cost-effective) 4. สง่ เสริมความเทา่ เทยี ม (Promotes equity in access to health) 5. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของสังคม (Calls for community participation) ระดับของปัญหาตา่ ง ๆ ในผ้ตู อ้ งขงั ถ้าเทยี บกค็ งเสมอื นกบั ภูเขาน้า� แข็งทเี่ ราสามารถมองเหน็ ด้านบนอย่ ู 1 สว่ น และที่มองไม่เหน็ อีก 9 สว่ น รวมแลว้ เทา่ กับ 10 ส่วน โดยแบง่ ระดับ ดงั น้ี 1. พื้นฐาน (Primordial) 2. เบ้อื งตน้ /ปฐมภูม ิ (Primary) 3. เบ้ืองกลาง/ทุตยิ ภมู ิ (Secondary) 4. เบือ้ งปลาย/ตติยภมู ิ (Tertiary) รูปที่ 1 : แสดงใหเ้ ห็นถงึ ระดับของปญั หาต่าง ๆ ในผตู้ อ้ งขัง สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกนั ศึกษา กรมควบคมุ โรค 23

ระดับของการจดั การป˜Þหาãนผูต้ อ้ งขัง ระดบั การจดั การ & ปัญหาสุขภาพ ปัญหาความมน่ั คงทาง ปัญหาความมน่ั คงทาง การปอ้ งกนั ทางกายและจติ ครอบครวั และสงั คม อาชพี และรายได้ ตตยิ ภมู ิ ฟน ฟู (Tertiary) ฟนฟู ฟน ฟู ทุติยภูมิ บ�าบดั (Secondary) สงเคราะห์ ช่วยเหลือ ปฐมภมู ิ ปอ้ งกัน (Primary) ป้องกัน ป้องกนั พน้ื ฐาน ส่งเสรมิ สร้างระบบ (Primordial) ส่งเสริม สร้างระบบ สง่ เสรมิ สรา้ งระบบ ถา้ พดู ถงึ เรอื่ งปญั หาสขุ ภาพทางกายและจติ การปอ้ งกนั ในระดบั พนื้ ฐานยงั เปน็ การทา� งานดา้ นการสง่ เสรมิ และสรา้ ง ระบบ ระดบั ปฐมภมู เิ ปน็ การปอ้ งกนั กอ่ นเกดิ เหต ุ ระดบั ทตุ ยิ ภมู เิ ปน็ การบา� บดั รกั ษาเมอ่ื มกี ารปว ยเกดิ ขน้ึ มาแลว้ และตตยิ ภมู ิ เปน็ การฟน ฟเู มอื่ เกิดความพิการข้นึ มาแล้วให้สามารถดา� รงชีวติ อยู่หรอื กลบั คนื มาใช้ชวี ิตไดต้ ามปกต ิ ส่วนอีก 2 ดา้ น กค็ ิดวา่ มันคงจะเป็นแนวเดียวกันทั้งปัญหาความม่ันคงทางครอบครัวและสังคม และปัญหาความม่ันคงทางอาชีพและรายได ้ ในสว่ นของพน้ื ฐานและปฐมภมู กิ ค็ งเหมอื นกนั กบั ปญั หาสขุ ภาพทางกายทางจติ ซงึ่ กไ็ ดใ้ ชห้ ลกั การเดยี วกนั วา่ พน้ื ฐานควรสรา้ ง ระบบปฐมภมู จิ ะไปปอ้ งกนั ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ทตุ ยิ ภมู ิ คอื การสงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื ทงั้ ตวั ผตู้ อ้ งขงั และครอบครวั ของเขาเพราะ ผตู้ ้องขงั บางคนกเ็ ปน็ ก�าลังหลักของครอบครัว เขาคงจะยากล�าบากแล้วเพราะเป็นจงั หวะทไ่ี ม่สามารถประกอบอาชพี ได้ ซงึ่ ตอนนอ้ี าจจะมหี นว่ ยงานราชการสว่ นไหนทจ่ี ะดแู ลอย ู่ เชน่ อาจจะเปน็ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ หรอื ถ้าในแงส่ ขุ ภาพกจ็ ะเป็นกระทรวงสาธารณสุขดแู ล สุดท้ายจะเป็นการฟนฟู รูปที่ 2 : แสดงการจัดการปญั หาสุขภาพระดบั ต่าง ๆ 24 สรุปเนื้อหาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตร์ราชทณั ฑร์ ะยะสน้ั

การจดั การปญั หาสขุ ภาพในระดับตา่ ง ๆ ตอ้ งมมี าตรการการป้องกันพื้นฐานท่ีแตกต่างกนั โดยมาตรการที่กระทา� ตอ่ ปจั จยั พนื้ ฐานในสงั คมจะเปน็ มาตรการทท่ี า� กบั ประชากรโดยรวม เพราะฉะนนั้ วธิ กี ารจดั การจงึ จา� เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั การ เชิงระบบ ยกตวั อยา่ งเช่น เรอื่ งของกฎหมาย กฎระเบยี บ เป็นเรื่องของการปกครองของประเทศน่นั เอง และต้องใช้กลไก การบรหิ ารประเทศเขา้ มารว่ มดว้ ย การปอ้ งกนั ระดบั ทตุ ยิ ภมู เิ มอ่ื เกดิ โรคแลว้ เราตอ้ งจดั การกบั ผปู้ ว ยโดยการวนิ จิ ฉยั ใหเ้ รว็ และบา� บดั รกั ษาใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ เพอื่ ปอ้ งกนั ความพกิ ารหรอื ปอ้ งกนั การเสยี ชวี ติ แตเ่ มอื่ พกิ ารแลว้ กต็ อ้ งจดั การฟน ฟสู มรรถภาพ อย่างเร่งดว่ น นค่ี อื แนวคดิ โดยรวมของการใชเ้ วชศาสตร์ป้องกันในเชงิ การดูแลสุขภาพ รูปที่ 3 : แสดงการจดั การปัญหาสุขภาพระดบั ต่าง ๆ แต่ก็จะมี 2 ค�าที่เทียบเคียงกันอยู่ คือค�าว่า Curative Medicine ซ่ึงจะไปมุ่งเน้นในแนวทางการแก้ปัญหาของ อาการปว ยท่ไี ด้เกดิ ขึน้ มาแล้ว และค�าว่า Preventive Medicine จะเนน้ จากฐานขนึ้ มา คอื มองต้งั แต่ระดบั Primordial ระดบั Primary และอาจจะรวมถึงระดับ Secondary ในบางกรณ ี ยกตวั อยา่ งเช่น TB ในเรอื นจ�า ซึ่งเราไดใ้ ช้วธิ กี ารไปหา สาเหตุของการเกดิ โรคเพอ่ื กา� จดั แหลง่ โรคน่ันเอง รวมถึงวินิจฉยั รักษาในผู้ปวยให้หายจากโรค ซึ่งเม่อื ศึกษาจะพบว่าการ จดั การปญั หาดา้ นสขุ ภาพในระดบั ตา่ ง ๆ ของเรอื นจา� มอี ยใู่ นขอ้ กา� หนดมาตรฐานของเรอื นจา� 10 ดา้ นอยแู่ ลว้ ยกตวั อยา่ ง เช่น มาตรฐานท ี่ 9 ว่าด้วยเรื่องการใหบ้ รกิ ารผู้ต้องขัง (Services) ซ่งึ บอกว่าผตู้ ้องขังพึงจะได้รบั สิทธหิ รอื ประโยชนจ์ าก บริการของเรือนจา� ตามกฎหมาย ตามระเบียบ ตามนโยบาย โดยให้มีความแตกตา่ งจากภายนอกน้อยที่สดุ แตถ่ า้ มีความ แตกตา่ งใหเ้ กดิ ดลุ ยภาพความสมดลุ มากทส่ี ดุ มกี ารกลา่ วถงึ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ทง้ั สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ และเปน็ ธรรม ในมาตรฐานที่ 5 ตอ้ งมกี ารเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั โรค ควบคุมโรค อาจจะรวมถึงด้านการบา� บัดรกั ษาและฟน ฟูสมรรถภาพด้วย ซ่ึงมีข้อเสนอจากผู้เข้าร่วมอบรมว่า น่าจะต้องมีนักวิชาการสาธารณสุขมาขับเคล่ือนงานด้านป้องกันควบคุมโรค และ นักวิชาการสุขาภิบาล เพื่อมาดูแลด้านสุขาภิบาล สภาพแวดล้อมที่แออัด ซ่ึงเป็นปัจจัยพ้ืนฐานท่ีอาจก่อให้เกิดโรคได ้ โดยเฉพาะโรคตดิ ตอ่ เช่น ไข้หวัดใหญ่ หากมผี ู้ตอ้ งขงั ปว ย 1 ราย กส็ ามารถแพรเ่ ชอื้ ไปสูผ่ ตู้ ้องขงั รายอ่นื ได้งา่ ย นอกจากน ้ี ยงั มเี รอ่ื งของอาหารท่ีตอ้ งถกู ต้องตามหลกั โภชนาการ เร่ืองของการออกก�าลงั กาย ซึง่ ได้มกี ารก�าหนดไว้ชดั เจน ท้งั ในแง ่ ทต่ี อ้ งจดั ใหม้ อี ปุ กรณ ์ และใหโ้ อกาสสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การออกกา� ลงั กาย เรอื่ งเหลา่ นถ้ี อื วา่ เปน็ มาตรฐานทม่ี อี ยแู่ ลว้ เราตอ้ ง มาหาวิธกี ารยกระดับให้ดยี ิง่ ขน้ึ ต่อไป สถาบนั เวชศาสตรป์ ้องกันศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 25

ขอยกตวั อยำ งของกำรจัดกำรปญหำดำ้ นสุขภำพในระดบั ตำ ง ๆ ของเรอื นจ�ำ เชน 1. โรคเอดส์ (HIV/AIDS) กรมราชทณั ฑ ์ ให้เรือนจ�าและทัณฑสถาน ปรบั ปรุงร้านตดั ผมให้ถูกหลักสุขาภิบาล อปุ กรณเ์ คร่ืองใช้ต่าง ๆ ควร ทา� ความสะอาด ดงั น้ ี (หนังสือกรมราชทัณฑ์ ท่ ี มท. 0908/ว 30 ลงวันท ี่ 21 มีนาคม 2539) เครือ่ งมอื ประเภทโลหะ เช่น กรรไกรตดั ผม มีดโกน ปัตตะเลีย่ น ทกุ ครง้ั หลงั การใชต้ อ้ งทา� ความสะอาดเช็ด หรือแช ่ ด้วยเอทลิ แอลกอฮอล์ 70% แช่เคร่ืองมอื ประมาณ 10 นาที และเปลีย่ นแอลกอฮอล์ทุกวนั ใบมีดโกน ควรใชเ้ ป็นส่วนตวั แตถ่ า้ จา� เปน็ ตอ้ งใชร้ ว่ มกนั ใหท้ า� ความสะอาดกอ่ นใชก้ บั คนอน่ื เครอ่ื งใชป้ ระเภทพลาสตกิ เชน่ หว ี แปรง ควรลา้ งทา� ความ สะอาดทกุ วนั สถานทคี่ วรมกี ารทา� ความสะอาด เชด็ ถทู กุ วนั มกี ารจดั วางของใชใ้ หเ้ ปน็ ระเบยี บ ผทู้ า� หนา้ ทใ่ี หบ้ รกิ ารตดั ผม ควรมสี ขุ ภาพแข็งแรง ไม่เป็นโรคตดิ ตอ่ ควรไดร้ บั การตรวจสุขภาพจากแพทย์ก่อนเขา้ เปน็ ผ้ใู หบ้ ริการ และทกุ ๆ 6 เดอื น เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามมตคิ ณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคเอดสแ์ หง่ ชาต ิ กรมราชทณั ฑใ์ หเ้ รอื นจา� และทณั ฑสถาน ดา� เนนิ การดังน้ี (หนังสือกรมราชทณั ฑ ์ ท ่ี มท.0908/ว 111 ลงวันท่ ี 4 ธันวาคม 2534) 1) ใหโ้ รงพยาบาลกลางกรมราชทณั ฑ ์ สถานพยาบาลเรอื นจา� และทณั ฑสถาน จดั ใหค้ า� ปรกึ ษาแนะแนวทางการแพทย ์ และสังคม พรอ้ มดแู ลรักษาดูแลผู้ติดเช้ือ/ผปู้ วย 2) เรง่ กวดขันการลกั ลอบฉดี ยาเสพติดภายในเรอื นจา� อย่างสมา�่ เสมอ 3) เรง่ รณรงคก์ ารให้ความรู้ความเข้าใจ เก่ยี วกบั โรคเอดส์แกเ่ จา้ หนา้ ท่ี และผู้ตอ้ งขัง 4) ในกรณที มี่ ผี ตู้ อ้ งขงั หญงิ ทตี่ ดิ เชอ้ื ไวรสั เอดส ์ และมปี ระวตั อิ าชพี คา้ บรกิ ารทางเพศ กอ่ นพน้ โทษ 1 เดอื น ใหป้ ระสาน งานกับประชาสงเคราะห์จงั หวดั เพอื่ ปรบั เปลย่ี นอาชีพใหม่ตอ่ ไป 2. วัณโรค (Tuberculosis) ซง่ึ ตอนนี้เราให้ความสา� คญั กับ TB มาก ตดิ ตามค้นหาอยเู่ ป็นระยะ ๆ ซง่ึ ถ้ามาดูในด้านเวชศาสตร์ป้องกนั จะอย่ทู ี่ ระดบั ปฐมภูมแิ ละทุติยภูมิ 3. äข้หวัดãหÞ่ (Influenza) กรมราชทณั ฑ ์ ไดส้ ั่งการใหเ้ รอื นจ�าดา� เนนิ การอย่างเขม้ งวด ดังน้ี (ส.ค. 2559) 1) ให้ใสห่ นา้ กากอนามัยทุกราย 2) จดั แอลกอฮอลเ์ จลประจ�าจุดใหผ้ ู้ต้องขงั ใช้ โดยเฉพาะช่วงทต่ี ้องเฝา้ ระวังการระบาดอยา่ งต่อเนือ่ ง 3) จดั หาถุงแดงขยะติดเชื้อเพอ่ื ทิง้ หน้ากากอนามัย และสง่ เผาทา� ลายขยะท่โี รงพยาบาล 4) งดกจิ กรรมที่มีการสมั ผสั ใกลช้ ิด 5) ไม่ใหม้ ีการยา้ ยผตู้ อ้ งขงั ในชว่ งเฝา้ ระวงั 6) โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) วนั น ้ี (31 ม.ี ค.2563) อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ ์ เปดิ เผยวา่ ผบู้ ญั ชาการเรอื นจา� จงั หวดั นครนายกปว ยเปน็ โรคปอดอกั เสบ และตรวจพบว่าติดเชื้อไวรัส COVID-19 ก�าลังจะย้ายเข้ารับการรักษาในกรุงเทพมหานคร ก�าลังประสานงานไปยัง สสจ. นครนายก และสคร. เขต 4 เพอ่ื เขา้ ตรวจสอบผตู้ อ้ งขงั ในเรือนจ�า จ�านวน 988 คน เจา้ หน้าท ่ี 49 คน วา่ ติดเชื้อไวรสั โคโรนาหรือไม ่ ซ่ึงการทา� งานอย่างนเี้ ปน็ การด�าเนินงานปอ้ งกนั ระดบั ปฐมภมู ิ ป้องกันท่ีสาเหตุ และมีการปอ้ งกนั อ่นื ๆ เข้ามาร่วมด้วย เช่น งดเยี่ยมญาติ การท�าความสะอาดอาคารสถานที่ ที่ผ่านมาเราท�าได้ดีมาก เพราะมีกรณีโควิด-19 ในเรอื นจ�าน้อยมาก 26 สรุปเนื้อหาการอบรมหลักสตู รเวชศาสตรร์ าชทัณฑร์ ะยะสน้ั

การจัดการปัญหาสขุ ภาพ CD, NCD และสขุ ภาพจติ โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง รว่ มกบั กรมราชทณั ฑ ์ เพอ่ื พฒั นา อสม.ในกลมุ่ ผตู้ ้องขงั ให้เปน็ แกนนา� ดูแล คัดกรอง และสง่ เสริมสขุ ภาพ สร้างโอกาส เขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ อยา่ งทวั่ ถงึ เทา่ เทยี ม และเสมอภาคในเรอื นจา� ทว่ั ประเทศ นอกจากน ้ี กรมราชทณั ฑแ์ ละสปสช. ร่วมลงนามข้อตกลง รับรอง “สถานพยาบาลเรือนจ�ากลางบางขวาง” ว่าสามารถให้บริการสาธารณสุขตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ได้ นอกจากนี้ยังมีเรือนจ�าโคราชได้จับมือกับ รพ.เดอะโกลเดนเกท สรา้ งนวตั กรรมการบรกิ ารสขุ ภาพทจี่ า� เปน็ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั อยา่ งครบวงจร ครอบคลมุ ทง้ั การรกั ษา ปอ้ งกนั โรค และสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (23 ส.ค. 2560) การจัดการปัญหาสุขภาพ/ความมั่นคงทางอาชีพและรายได้ กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ สสส. พัฒนาข้อเสนอ เชงิ นโยบาย เรือ่ งการจดั ท�าฐานข้อมลู สุขภาวะของเจา้ หน้าที่และผู้ต้องขงั ในเรือนจา� การพฒั นาศักยภาพและรายได้ของ ผู้ตอ้ งขัง รวมถงึ การเตรยี มความพรอ้ มผพู้ น้ โทษกลบั คนื สู่สังคม ทศิ ทางการพั²นาเพ่อื ãห้เกดิ ความยัง่ ยนื 1) ครอบคุลมปัญหาใหห้ ลากหลายครบถว้ น 2) ครอบคลุมประชากรเปา้ หมายให้ครบถ้วน 3) เพ่ิมระดบั และรกั ษาคุณภาพตามมาตรฐานต่าง ๆ ทงั้ ระดบั ประเทศและระดับสากล 4) คงความสม�า่ เสมอ ต่อเนอื่ ง ย่งั ยืน 5) ปรบั แนวคิด (From Negativism to Positivism) เพอื่ ให้เกดิ การเขา้ ใจ เข้าถึง และพฒั นา สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนั ศึกษา กรมควบคมุ โรค 27

Principle of Epidemiology and its application / Concept of public health surveillance นสพ.ธีรศักด์ิ ชักน�ำ นำยสตั วแพทย์ช�ำนำญกำรพิเศษ กองระบำดวิทยำ หากจา� ลองเหตกุ ารณข์ ณะทเี่ จา้ หนา้ ทแี่ ดนพยาบาล หรอื หนว่ ยพยาบาลในเรอื นจา� พบผปู้ ว ยเขา้ มารกั ษาพยาบาล โดยมีอาการ ไข้ ไอ เจบ็ คอ มาวนั ละประมาณ 1 – 2 ราย เจ้าหน้าท่ีจะทราบได้อย่างไรว่าเกดิ การระบาดของโรคขน้ึ ในเรอื นจา� แลว้ หรอื ไม ่ ซง่ึ หากพบผตู้ อ้ งขงั เขา้ มารบั การรกั ษาในแดนพยาบาล 1 – 2 ราย ดว้ ยอาการไขใ้ นหนง่ึ สปั ดาหอ์ าจเปน็ เร่ืองปกติ แต่หากพบผู้ต้องขังมีอาการปวยคล้ายกัน และเข้ามารับการรักษาพร้อมกัน 5 - 10 ราย อาจมีการระบาด เกิดขึ้นได้ ซึ่งจ�านวนผู้ปวยที่มีอาการหรือกลุ่มอาการที่บ่งบอกถึงการระบาด ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การระบาดของแต่ละโรค โดยท่วั ไปหากพบผู้ปว ยมากกว่า 2 รายขึ้นไปมีอาการคล้ายกนั และมปี ระวตั ิเสีย่ งอยา่ งเดยี วกนั เช่น รบั ประทานอาหาร ร่วมกนั นอนพักอยูใ่ นแดนเดียวกนั ท�างานอยใู่ นแผนกเดียวกัน มักจะเปน็ สญั ญาณการเกดิ การระบาดในเรือนจ�า ทั้งนี้ ความผดิ ปกตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ จะทราบไดจ้ ากการตดิ ตาม เฝา้ ดสู ถานการณท์ ผ่ี ตู้ อ้ งขงั ทเ่ี ขา้ มารบั บรกิ ารในแดนพยาบาลหรอื หนว่ ย พยาบาลในเรือนจ�าอยา่ งตอ่ เนื่อง จากกำรเฝำ้ ระวงั ทำงระบำดวทิ ยำ (Epidemiology Surveillance) ซึ่งจะต่างจาก การสา� รวจ (Survey) ทอ่ี าจทา� ครงั้ เดยี ว การตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจะทา� ใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี ราบถงึ ความผดิ ปกต ิ เชน่ เหตกุ ารณ์ ท่ไี ม่เคยมมี าก่อนหรือพบวา่ มีผู้ปวยมากกวา่ ค่ากลาง ไดแ้ ก ่ ค่ามธั ยฐานหรอื คา่ เฉลี่ย เปน็ ต้น เมอื่ พบการระบาดเกิดขนึ้ จะนา� ไปสกู่ ระบวนการ กำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำ (Epidemiology Investigation) เพอื่ หาปัจจยั เส่ยี งของการเกิดโรค และส่วนสุดท้ายคือ กำรศึกษำทำงระบำดวิทยำ (Epidemiology Study) เป็นการศึกษาค้นหาเหตุปัจจัยเสี่ยง ในเชงิ ลึกตอ่ ไป ระบำดวิทยำ อธิบายถงึ การกระจาย ตามบคุ คล สถานท ี่ และเวลา จะท�าให้เราทราบวา่ เกิดขนึ้ กบั ใคร เกดิ ที่ไหน ช่วงเวลาใด และปัจจัยเส่ียง หากหาเหตุปัจจัยเส่ียงท่ีท�าให้เกิดโรคได้ จะสามารถควบคุมโรคได้ ความหมายของ การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เป็นการด�าเนินงานท่ีเป็นระบบต่อเน่ือง เพื่อติดตามสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ โดยการก�าหนดและรวบรวมข้อมูลส�าคัญทีเ่ กยี่ วขอ้ ง นา� เอาขอ้ มลู มาตรวจสอบความถกู ต้องเพ่อื ให้รู้ข้อจา� กดั วิเคราะห์ ความหมายและสงั เคราะหเ์ ปน็ ขอ้ ความรทู้ จ่ี ะนา� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ การดา� เนนิ งานทางสาธารณสขุ เชน่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค และภัยอนั ตรายอยา่ งรวดเร็วทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ การเฝา้ ระวังจึงไม่ใช่การจัดท�ารายงาน หรอื เกบ็ สถิติ การเฝ้าระวังเป็นองค์ประกอบท่ีส�าคัญของการด�าเนินงานทางสาธารณสุขในเรือนจ�าเพื่อน�าข้อค้นพบจากการ เฝ้าระวังไปใช้ประโยชนด์ ังต่อไปน้ี 1. เพอื่ ทราบแบบแผนและการเปล่ยี นแปลงของโรค 2. เพอ่ื ตรวจจับการระบาดในเรอื นจา� 3. เพื่อการพยากรณ์โรคทอี่ าจเกิดขนึ้ ในเรอื นจ�า 4. เพ่ือการวางแผน กา� กับติดตาม และประเมินผลการควบคมุ ปอ้ งกันโรค 28 สรปุ เนื้อหาการอบรมหลกั สตู รเวชศาสตร์ราชทณั ฑ์ระยะสน้ั

การเ½า้ ระวงั ทางระบาดวทิ ยา ในเรือนจ�าสามารถแบง่ ออกเป็น 1. กำรเฝ้ำระวังเชิงรับ (Passive Surveillance) เป็นการด�าเนินการเฝ้าระวังท่ีได้รับการแจ้งมาจากผู้ให้บริการ ในสถานบริการสาธารณสขุ เชน่ แดนพยาบาลในเรือนจา� ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ ์ หรือโรงพยาบาลที่เรือนจ�า สง่ ผปู้ ว ยไปรกั ษาหรอื สามารถตรวจจบั ไดจ้ ากขา่ วลอื เหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ กลมุ่ กอ้ น เมอ่ื พบผตู้ อ้ งขงั ปว ยดว้ ยโรคหรอื ปญั หาทอ่ี ยู่ ในขา่ ยการเฝา้ ระวงั ใหท้ า� บนั ทกึ รายการและรวบรวมสง่ ไปยงั สา� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สา� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรค และกรมควบคมุ โรค เพ่อื ตรวจสอบคุณภาพขอ้ มลู วเิ คราะหผ์ ลการเฝา้ ระวงั และรายงานอย่างสม�า่ เสมอ เพื่อใหท้ ราบ การเปลี่ยนแปลงของโรค การเฝ้าระวงั เชิงรับสามารถแบ่งออกได้เป็น 1.1 กำรเฝำ้ ระวงั ในกลมุ ผปู้ ว ย (Case-based Surveillance) หรอื บางครงั้ เรยี กวา่ การเฝา้ ระวงั ในสถานบรกิ าร สาธารณสขุ (Hospital-based Surveillance) เช่น ในกรณีทีม่ ผี ู้ต้องขงั มารกั ษาทีแ่ ดนพยาบาลดว้ ยโรคหรือกลมุ่ อาการ ตา่ ง ๆ และหากมผี ตู้ อ้ งขงั ทปี่ ว ยหนกั จา� เปน็ ตอ้ งสง่ ออกมารกั ษาตวั ภายนอกเรอื นจา� ไมว่ า่ จะเปน็ ตามโรงพยาบาลแมข่ า่ ย หรอื โรงพยาบาลอน่ื ๆ จะมกี ารรายงานเขา้ มาตามโปรแกรมกลางของโรงพยาบาล สง่ ตอ่ เขา้ มาทส่ี า� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั (สสจ.) ส�านักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) เขต และกองระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค เรยี กระบบรายงานน้วี ่า การเฝา้ ระวงั โรคทางระบาดวิทยา (รง. 506) ซึ่งปัจจุบันใชเ้ ป็นระบบออนไลน์ โรคในระบบรายงานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวทิ ยา (รง. 506) สามารถจ�าแนกเป็นกลุ่มโรคได้ดังตอ่ ไปน้ี 1. กลุ่มโรคตดิ ต่อระบบประสาทส่วนกลาง เชน่ โรคไข้สมองอักเสบ โรคกาฬหลงั แอ่น 2. กลุ่มโรคติดตอ่ ทน่ี �าโดยแมลง เช่น โรคไข้เลอื ดออก โรคสครับไทฟสั 3. กลมุ่ โรคติดต่อท่ีปอ้ งกนั ได้ดว้ ยวัคซีน เชน่ โรคหดั โรคอสี ุกอีใส โรคคอตีบ 4. กลุม่ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งสตั ว์และคน เช่น โรคทริคโิ นสิส โรคไข้หดู บั 5. กล่มุ โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคไขห้ วัดใหญ่ โรคปอดอกั เสบ 6. กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ ์ เชน่ โรคเอดส์ โรคซิฟิลิส 7. กลมุ่ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้�า เช่น โรคอาหารเป็นพษิ โรคอุจจาระรว่ งเฉยี บพลนั 8. กลมุ่ โรคติดต่อจากการสมั ผัส เชน่ โรคตาแดง โรคมอื เทา้ ปาก 1.2 กำรเฝ้ำระวงั เหตุกำรณ์ (Event-based Surveillance) เป็นการตรวจจับเหตุการณท์ ี่อาจก่อใหเ้ กิดความ เสยี่ งในการเกิดโรคในเรอื นจา� ซง่ึ อาจตรวจจบั ได้จากการพูดคุยกันในกลมุ่ ผูต้ ้องขัง การขอยารกั ษาในแดนพยาบาล เชน่ พบผูต้ อ้ งขังคยุ ถงึ อาการคันในร่มผา้ แตไ่ มไ่ ด้มารักษาในแดนพยาบาล ซ่งึ อาจเปน็ การระบาดของหดิ ในเรือนจ�าหรือผตู้ อ้ งขัง มาขอยาแกไ้ ขม้ ากผดิ ปกต ิ อาจบง่ บอกถงึ การเกดิ การระบาดของโรคตา่ ง ๆ ไดเ้ ชน่ กนั การเฝา้ ระวงั เหตกุ ารณน์ ี้ ไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งอาศยั การวนิ จิ ฉยั จากแพทยห์ รอื พยาบาล หากพบกลมุ่ อาการมากผดิ ปกต ิ เจา้ หนา้ ทใี่ นแดนพยาบาลสามารถรายงาน ไปยังเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นท่ีและผู้รับผิดชอบโดยตรง หน่วยตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) ในส�านกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด จะน�าข้อมลู สถานการณ์มากลั่นกรองและตรวจสอบ หากเปน็ เหตกุ ารณ์ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารสอบสวนควบคมุ โรค (Joint Investigation Team: JIT) จะดา� เนนิ การลงพน้ื ทเ่ี พอื่ สอบสวน หาสาเหตุตอ่ ไป 2. กำรเฝ้ำระวังเชิงรุก (Active Surveillance) เป็นการติดตามเก็บรวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังอย่างต่อเน่ือง โดยเจา้ หนา้ ทร่ี าชทณั ฑ ์ หรอื อาศยั อาสาสมคั รสาธารณสขุ เรอื นจา� (อสรจ.) เปน็ ผคู้ น้ หาผทู้ อี่ าจจะปว ย เมอื่ พบปญั หาการเกดิ โรค มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู และนา� ไปแกป้ ญั หาไดท้ นั ท ี วธิ กี ารนที้ า� ใหท้ ราบปญั หาเรว็ ควบคมุ คณุ ภาพขอ้ มลู ใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น ได ้ ใชไ้ ดด้ ใี นการเฝา้ ระวงั โรคทม่ี รี ะยะเวลาสน้ั พน้ื ทจ่ี า� กดั ในเรอื นจา� หรอื เปน็ โรคทเ่ี กดิ ขน้ึ นอ้ ยแตเ่ ปน็ โรคทเ่ี ปน็ ปญั หาสา� คญั ของประเทศ รวมถึงการเฝ้าระวงั โรคท่เี ปน็ ปัญหาใหมใ่ นเรอื นจา� สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา กรมควบคุมโรค 29

รูปแบบการเ½้าระวงั โรคãนเรือนจ�า 1. กำรเฝ้ำระวังเชงิ รับ เป็นระบบเฝ้าระวังท่มี กี ารรายงานเปน็ ปกติประจา� ตอ่ เน่อื ง เมื่อพบผู้ปว ยเขา้ มารับบริการ ในหน่วยพยาบาลในเรือนจ�า เช่น ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ ์ สถานพยาบาลเรอื นจ�า หรอื แดนพยาบาล รวมทงั้ การสง่ ผ้ตู ้องขงั ทีป่ ว ยไปรักษายงั โรงพยาบาลภายนอกเรอื นจ�า หรอื การรับขา่ วสารเหตุการณก์ ารเกดิ โรคในเรอื นจ�าหรือ ทณั ฑสถานตา่ ง ๆ (รูปท่ี 1 หนำ้ 32) กำรเฝำ้ ระวงั โรคเชงิ รับในเรอื นจ�ำ สำมำรถแบงไดเ้ ปน 2 ระบบ ไดแ้ ก่ 1.1 กำรเฝ้ำระวังทำงระบำดวทิ ยำ (รง.506) เปน็ การเฝ้าระวังโดยการกา� หนดให้เจา้ หนา้ ท่ีพยาบาลราชทณั ฑ์ หรอื พยาบาลเรอื นจา� ของหนว่ ยพยาบาลในเรอื นจา� ทา� การบนั ทกึ ข้อมลู ตามแบบรายงาน รง.506 เมื่อพบโรคหรอื ปญั หา ทอ่ี ยใู่ นขา่ ยการเฝา้ ระวงั โดยอาศยั นยิ ามการเฝา้ ระวงั จากคมู่ อื โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายและโรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั แลว้ รวบรวม สง่ ตอ่ ไปยงั หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบตามเครอื ขา่ ยระบบงานเฝา้ ระวงั ในกรณที สี่ ง่ ผตู้ อ้ งขงั ออกมารบั การรกั ษาในโรงพยาบาล นอกเรอื นจา� ให้โรงพยาบาลทที่ �าการรักษาเป็นผ้รู ายงาน หนว่ ยพยาบาลในเรอื นจา� ทข่ี น้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ สามารถรายงานโรคผา่ นระบบรายงาน 506 สามารถใชโ้ ปรแกรม 506 ของกองระบาดวทิ ยา หรือโปรแกรมอน่ื ๆ บนั ทึกขอ้ มลู เพื่อสง่ รายงานโรงพยาบาลต้นสังกัด เชน่ โปรแกรมระบบฐานขอ้ มลู สถานอี นามยั (JHCIS) โปรแกรมฮอสเอกซพ์ ี (HosXP) หรอื โปรแกรมฮอสพซี ยี ู (HosPCU) โดยสามารถส่งขอ้ มลู ออกมา จากการส�ารวจโปรแกรมท่ีใชร้ ายงานการเฝ้าระวงั ทางระบาดวทิ ยา (รง.506) พบว่าหนว่ ยพยาบาลเรอื นจา� หรอื ทณั ฑสถานแตล่ ะแหง่ จะใช้โปรแกรมท่แี ตกต่างกันไป ดงั น้ี โปรแกรม HosXP โปรแกรม JHCIS โปรแกรม EMR 1. เรอื นจา� กลางระยอง 1. เรอื นจ�ากลางสรุ าษฎร์ธานี 1. เรือนจา� กลางนครศรีธรรมราช 2. เรือนจ�ากลางเขาบิน 2. เรือนจา� กลางสงขลา 2. เรอื นจ�ากลางคลองเปรม 3. เรอื นจ�ากลางนครปฐม 3. เรอื นจา� กลางชลบุรี 3. ทัณฑสถานหญงิ กลาง 4. เรือนจ�ากลางพิษณุโลก 4. ทัณฑสถานหญิงสงขลา 4. ทณั ฑสถานหญิงธนบรุ ี 5. เรือนจ�ากลางสมุทรปราการ 5. ทัณฑสถานหญงิ ชลบรุ ี 5. ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ 6. เรอื นจา� จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 6. เรือนจ�ากลางนครพนม 6. ทณั ฑสถานหญงิ เชียงใหม่ 7. ทัณฑสถานหญิงพิษณโุ ลก 8. ทัณฑสถานหญงิ นครราชสีมา 9. ทัณฑสถานบ�าบัดพิเศษหญิง 10. เรอื นจ�ากลางคลองไผ่ 11. เรือนจ�ากลางนครราชสมี า 12. เรอื นจา� กลางเชยี งใหม่ 13. เรอื นจา� กลางบางขวาง 30 สรุปเนื้อหาการอบรมหลกั สูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑร์ ะยะสน้ั

หากเรอื นจา� หรอื ทณั ฑสถานไมม่ โี ปรแกรมตามขา้ งตน้ กองระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค มโี ปรแกรมใหใ้ ชอ้ า� นวย ความสะดวกโดยไมค่ ิดมลู คา่ เรียกวา่ โปรแกรม R506ก (รูปท่ี 2 หนำ้ 32) โดยสามารถใส่รหสั ของสถานบริการ และส่ง ขอ้ มลู ไปโรงพยาบาลตน้ สงั กดั เพอ่ื สง่ ไปยงั สา� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั การรายงานโรคอาศยั นยิ ำมกำรเฝำ้ ระวงั จำกคมู อื โรคตดิ ตอ อันตรำย และโรคตดิ ตอทีต่ อ้ งเฝ้ำระวงั ข - กรณีรกั ษาในหน่วยพยาบาลในเรือนจ�าทอ่ี ยขู่ ณะเรม่ิ ปวย ให้ระบุเปน็ ช่ือและทีอ่ ยู่ของเรอื นจ�าหรอื ทณั ฑสถาน ทผี่ ้ตู อ้ งขงั อยู ่ ในส่วนรหสั สถานพยาบาล ใหใ้ สร่ หัสของสถานบรกิ ารในเรอื นจา� ท่ขี ึน้ ทะเบียนไว้ (รูปที่ 3 หนำ้ 32) แล้วส่งขอ้ มูลไปโรงพยาบาลตน้ สงั กดั เพ่อื สง่ ไปยงั สา� นกั งานสาธารณสขุ จังหวัด - กรณรี กั ษาในโรงพยาบาลนอกเรอื นจา� ใหใ้ สท่ อี่ ยขู่ องผปู้ ว ยเปน็ ชอ่ื เรอื นจา� หรอื ทณั ฑสถานทผี่ ตู้ อ้ งขงั อย ู่ ในสว่ น รหัสสถานพยาบาล ใหใ้ สร่ หัสของโรงพยาบาลทที่ �าการรักษา 1.2 กำรเฝำ้ ระวังเหตกุ ำรณ์ การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในเรือนจ�า เป็นการเฝ้าสังเกตการเจ็บปวย ข่าวสาร ส่ิงผิดปกติที่ท�าให้เกิดการเจ็บปวย ในเรอื นจา� ทง้ั ผตู้ อ้ งขงั เจา้ หนา้ ทร่ี าชทณั ฑ ์ รวมถงึ ญาตผิ ตู้ อ้ งขงั ทมี่ าเยย่ี มผตู้ อ้ งขงั ทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งตอ่ สาธารณสขุ ข้อมูลการเกิดเหตุการณ์อาจมาจากเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ การพูดคุยกันของผู้ต้องขัง อาสาสมัครสาธารณสุขในเรือนจ�า ผตู้ ้องขงั ทีเ่ ขา้ มารับการรักษาหรือขอยาในแดนพยาบาล การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในเรือนจ�ามีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจจับการระบาดของโรค เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ในเรือนจ�า สามารถตอบโต้และรับมือกับเหตุการณ์ท่ีอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือการระบาดต่อมา เช่น การพบผู้ต้องขังปวย พร้อมกันหลายคนมีอาการแบบเดียวกันหรือการขอรับยาประเภทเดียวกันในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ผู้ต้องขังปวยด้วย อาการรนุ แรงผดิ ปกตเิ สยี ชวี ติ อยา่ งรวดเรว็ โดยไมท่ ราบสาเหต ุ ปว ยเปน็ โรคทไ่ี มร่ จู้ กั หรอื ไมเ่ คยพบในพน้ื ทม่ี ากอ่ น พบอาหาร และน�า้ ที่ไม่ปลอดภัย ญาตผิ ้ตู ้องขงั ทมี่ าเย่ยี มกลับไปปว ยพร้อมกันหลายคนหรอื ในระยะเวลาใกล้เคียงกนั เป็นตน้ การรายงานเมอ่ื พบเหตกุ ารณส์ ามารถรายงานไปทห่ี นว่ ยตระหนกั รสู้ ถานการณ ์ (Situation Awareness Team: SAT) ในส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อกล่ันกรองและตรวจสอบข้อมูลแล้วรายงานผ่าน ระบบแจ้งขำวกำรระบำด สำ� หรบั จงั หวดั ค หากเปน็ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารสอบสวนควบคมุ โรค (Joint Investigation Team: JIT) จะดา� เนินการลงพื้นท่ีเพอื่ สอบสวนหาสาเหตุตอ่ ไป ก โปรแกรม R506 สามารถดาวน์โหลดไดท้ ่ี http://www.boe.moph.go.th/getFile.php?fid=425 เขา้ ถงึ วันท ่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564 ข นิยามการเฝ้าระวังจากคู่มือโรคติดต่ออันตราย และโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง สามารถดาวน์โหลดได้ท ี่ http://aidsboe.moph.go.th/app/bookup/uploads/2020-03-091342395787.pdf เขา้ ถงึ วนั ท ี่ 25 กมุ ภาพนั ธ ์ 2564 ค ระบบแจง้ ขา่ วการระบาดสา� หรบั จงั หวดั เขา้ ถงึ ไดท้ ี่ https://e-reports.doe.moph.go.th/eventbase_prov/ user/login โดยลงชื่อผู้ใช ้ และรหสั ผ่าน เข้าถึง วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ ์ 2564 สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกันศกึ ษา กรมควบคุมโรค 31

รูปท่ี 1 แสดงแนวทางการเฝ้าระวังโรคและการคัดกรองผปู้ ว ยในเรอื นจา� (เชงิ รับ) รูปท่ี 2 แสดงโปรแกรม R506 ของกองระบาดวทิ ยา สา� หรบั รายงานโรคท่ีต้องเฝ้าระวงั รูปท่ี 3 แสดงทอ่ี ยขู่ ณะเริ่มปวย ใหร้ ะบเุ ปน็ ชอ่ื และทอ่ี ยูข่ องเรอื นจา� หรือทัณฑสถานท่ผี ้ตู ้องขังอยู ่ และรหัสสถานพยาบาลทท่ี �าการรกั ษา 32 สรุปเนอ้ื หาการอบรมหลักสตู รเวชศาสตรร์ าชทณั ฑ์ระยะส้นั

รายละเอยี ดเหตกุ ารณ์ ประกอบด้วย 1. ข้อมูลท่ัวไปของผู้ปวย เช่น เพศ อายุ โรคประจ�าตัว แดนท่ีพัก ลักษณะงาน หรือแผนกท่ีท�าในเรือนจ�า ประวัติการเยี่ยมของญาติ พฤติกรรมสุขภาพที่อาจส่งผลให้เกิดโรคหรือภัยสุขภาพ ประวัติการสัมผัสโรค สภาพทอี่ ยู่อาศยั หรอื สง่ิ แวดลอ้ มและประวตั กิ ารได้รบั วัคซนี เป็นต้น 2. ขอ้ มลู ด้านการเจบ็ ปวยและการไดร้ ับการรักษา เชน่ วันเร่มิ ปวย อาการแสดง สถานท่รี กั ษา วธิ ีการรักษา วนั ทไี่ ด้รบั การรักษา การตรวจวนิ ิจฉยั และผลทางหอ้ งปฏิบัติการท่เี กีย่ วขอ้ ง 3. สมมติฐานสาเหตขุ องการเกิดโรคและภัยสขุ ภาพ ปจั จยั เสี่ยง ปจั จยั เอือ้ และขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยาตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง 4. มาตรการปอ้ งกันควบคมุ โรคเบื้องตน้ ทไี่ ด้ด�าเนินการไปแล้วหรือที่จะดา� เนนิ การต่อไป การรายงานการเฝ้า ระวังเหตุการณ์เม่ือพบเหตุสงสัยว่าอาจจะเกิดการระบาด โดยให้หน่วยพยาบาลในเรือนจ�ารายงานผ่าน ระบบการรายงานเหตุการณ์โดยส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดและส�านักงานป้องกันควบคุมโรค รวมถึง หากมกี ารสอบสวนโรคตามระบบปกติ 2. กำรเฝ้ำระวงั โรคเชิงรกุ เป็นการเฝ้าระวังโดยเจา้ หน้าที่ราชทณั ฑ์ พยาบาลเรอื นจา� อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจา� โดยการสังเกต สอบถาม คดั กรอง ติดตามค้นหาโรคของผ้ตู อ้ งขงั อยา่ งใกลช้ ิด พยาบาลเรือนจา� ทา� หน้าท่รี วบรวมขอ้ มูล หรอื เมอ่ื พบโรคหรอื ปญั หาทที่ า� การเฝา้ ระวงั แลว้ ใหบ้ นั ทกึ วเิ คราะหข์ อ้ มลู หากพบความผดิ ปกต ิ ตอ้ งดา� เนนิ การหาปจั จยั เสี่ยงเพื่อควบคุมโรคและการปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของโรคหรอื แจง้ เหตุทเ่ี กิดขน้ึ กบั เครือข่ายทนั ท ี (รปู ท่ี 4) กรมราชทัณฑ์ส่งเสริมให้มีอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�าท่ีเป็นผู้ต้องขังสนับสนุนงานด้านสุขภาพในเรือนจ�า เนอื่ งจากอาสาสมคั รสาธารณสขุ เรอื นจา� อยใู่ กลช้ ดิ กบั ผตู้ อ้ งขงั มากกวา่ เจา้ หนา้ ทรี่ าชทณั ฑแ์ ละพยาบาลเรอื นจา� สามารถ ค้นหาผปู้ ว ย ตรวจสอบ ใหก้ ารชว่ ยเหลือแนะน�าตา่ ง ๆ แก่ผ้ตู ้องขงั ได้ตลอดเวลา ระบบการเฝ้าระวังโรคเชิงรุกในเรือนจ�า ให้เรือนจ�าและหน่วยพยาบาลในเรือนจ�าร่วมกับเครือข่ายโรงพยาบาล ภายนอกดา� เนนิ การจดั ระบบ โดยดา� เนินการคดั กรองโรคในกล่มุ ผตู้ อ้ งขงั แรกรบั และผตู้ อ้ งขังเกา่ รูปท่ี 4 แสดงแนวทางการเฝา้ ระวังโรคและการคัดกรองผปู้ ว ยในเรือนจา� (เชิงรุก) สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กรมควบคมุ โรค 33

2.1 กำรคัดกรองในกลุมผู้ต้องขังแรกรับ ให้เจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ พยาบาลเรือนจ�าหรืออาสาสมัครสาธารณสุข เรอื นจา� ดา� เนนิ การคดั กรองอาการไข ้ ไอ มนี า�้ มกู การออกผนื่ อาการของระบบทางเดนิ อาหาร เชน่ ถา่ ยเหลว และสอบถาม ประวตั โิ รคประจา� ตวั และประวัตโิ รคท่รี ักษาอยู่ในปจั จบุ นั กรณีมีอาการโรคระบบทางเดินหายใจ ให้มกี ารวนิ ิจฉยั และรายงานในระบบการคัดกรองในกลมุ่ ผตู้ ้องขังแรกรับ แลว้ แยกกักอยา่ งนอ้ ย 7 วัน หรอื จนกวา่ จะรกั ษาจนหายดี กรณมี โี รคผวิ หนงั หรอื ผนื่ ใหม้ กี ารวนิ จิ ฉยั แยกรกั ษาจนหาย กอ่ นนา� ตวั ผตู้ อ้ งขงั ไปปะปนกบั ผตู้ อ้ งขงั รายอนื่ กรณ ี โรคอ่นื ๆ ข้ึนอยูก่ ับลกั ษณะของโรคท่เี ปน็ เชน่ วัณโรค หรอื โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ หากพบอาการบริเวณผิวหนัง ใหร้ ักษา ตามแนวทางการดา� เนนิ งานของโรคนน้ั ๆ ในเรือนจา� 2.2 กำรคัดกรองในกลมุ ผู้ตอ้ งขงั เกำ ใหอ้ าสาสมัครสาธารณสุขเรอื นจา� อธิบายให้หัวหน้าหอ้ ง รองหัวหน้าหอ้ ง เสมียนห้องและเวรยามบนเรือนนอนทราบว่าได้รับมอบหมายจากพยาบาลเรือนจ�าและเจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ ให้คัดกรอง ผูต้ อ้ งขงั ทีม่ ีอาการสงสัยประจา� วันทุกห้อง กลุ่มอาการสงสยั ได้แก่ ไข้ ไอ มนี ้�ามูก การออกผืน่ ใจสั่น แขนขาอ่อนแรง เดนิ ไมไ่ หว อาเจียนและถา่ ยเหลว อาสาสมคั รสาธารณสขุ เรอื นจา� บนั ทกึ ในแบบรายงานประจา� วนั (รปู ท่ี 5) เพอ่ื รายงานตอ่ พยาบาลเรอื นจา� ในการ ตรวจวินิจฉัยและพิจารณาให้การรักษา แล้วบันทึกในระบบการคัดกรองในกลุ่มผู้ต้องขังเก่า ในแต่ละเดือนให้พยาบาล เรือนจ�า หรืออาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�า สรุปจ�านวนผู้ต้องขังท่ีปวยตามกลุ่มอาการของโรคในแบบสรุปผู้ปวย ในเรือนจ�าประจา� เดอื น (รูปท่ี 6) การอบรมอาสาสมัครสาธารณสขุ เรือนจา� ใหม้ ีความร ู้ ทกั ษะในการปฏบิ ัติงานคัดกรองสขุ ภาพ การเฝ้าระวังและ การป้องกันควบคุมโรคเบื้องต้น สามารถบูรณาการร่วมกับหลักสูตรกำรอบรมอำสำสมัครสำธำรณสุขเรือนจ�ำง ของ กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ ง การอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรอื นจา� ของกรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ สามารถดาวนโ์ หลดได้ท ่ี https:// hss.moph.go.th/fileupload_doc/2019-12-13-1-19-50331521.pdf เข้าถึงวนั ที ่ 25 กุมภาพันธ ์ 2564 รูปที่ 5 แสดงแบบคัดกรองผ้ปู ว ยในเรอื นจา� ประจ�าวัน 34 สรุปเนื้อหาการอบรมหลกั สูตรเวชศาสตร์ราชทณั ฑร์ ะยะส้นั

รปู ท่ี 6 แสดงแบบสรปุ ผปู้ วยในเรือนจ�าประจา� เดือน แบบรำยงำนประจ�ำวัน ให้ระบุวัน เดือน ป ที่ท�าการคัดกรอง เพ่ือจ�าแนกผู้ปวยตามเวลา และระบุหอนอน และแดนเพ่อื จ�าแนกผู้ปวยตามสถานท ่ี ในส่วนการจ�าแนกผ้ปู วยตามบคุ คล ให้ระบชุ ือ่ สกุล อายุ อาการ และการรักษา ของแต่ละบุคคล แบบสรุปผู้ปวยในเรือนจ�ำประจ�ำเดือน ให้ระบุจ�านวนผู้ต้องขังทั้งหมดและจ�านวนผู้ปวยท้ังหมดในแต่ละวัน เพื่อกลับไปค�านวณความชุก (prevalence)จ หรืออุบัติการณ์ (incidence)ฉ ของโรคได้ รวมท้ังจ�าแนกผู้ต้องขังตาม กลมุ่ อาการของโรคและการรักษา จ ความชุก (prevalence) เป็นการหาสัดส่วนระหว่าง จ�านวนผู้ปวยทุกราย ต่อจ�านวนประชากรท้ังหมด ณ ชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ คา� นวณไดโ้ ดย ความชกุ = จา� นวนผปู้ ว ยทงั้ หมด ทงั้ รายเกา่ และรายใหม ่ ÷ จา� นวนประชากรทง้ั หมด ณ ช่วงเวลานั้น ฉ อบุ ตั กิ ารณ ์ (incidence) เปน็ การวดั สดั สว่ นหรอื อตั ราของผปู้ ว ยรายใหมท่ เ่ี กดิ โรคภายในชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ ทพี่ ัฒนามาจากประชากรทม่ี คี วามเส่ยี งตอ่ การเกิดโรค (Population at risk) ค�านวณได ้ โดย อบุ ตั กิ ารณ ์ = จา� นวนผูป้ ว ยรายใหม่ในช่วงเวลาท่ีก�าหนด ÷ จา� นวนคนที่เสี่ยงต่อการเกดิ โรคท้งั หมด กลุ่มอาการของโรคทจี่ �าแนกไดต้ ามอาการตา่ ง ๆ ดังนี้ - กลมุ่ อาการทางเดินหายใจ ไดแ้ ก่ อาการไอ มีน�้ามกู - กลุ่มอาการทางเดินอาหาร ไดแ้ ก ่ อาการคลืน่ ไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว ทอ้ งรว่ ง - กลมุ่ อาการจากการสมั ผัสและผวิ หนัง ได้แก ่ อาการมผี ่ืนแดง ต่มุ - กลุม่ อาการกลา้ มเนอ้ื อ่อนแรง ไดแ้ ก ่ อาการแขนขาออ่ นแรง เดินไม่ไหว ส่วนอาการไข้และตัวร้อนจะบ่งบอกถึงการติดเชื้อต่าง ๆ ได้ และอาการใจสั่นอาจเกิดจากปัญหาโรคหัวใจ โรคไทรอยด ์ ยาหรอื สารบางชนดิ หรอื การมีไข ้ ติดเช้ือได้ สถาบนั เวชศาสตรป์ ้องกันศกึ ษา กรมควบคุมโรค 35

เกณฑก์ ารสอบสวนโรค กรณเี กดิ การระบาดของโรคãนเรือนจา� และบทบาทหนา้ ท่ขี องหนว่ ยงาน ãนระบบการเ½า้ ระวังและสอบสวนโรคãนเรือนจา� การเฝา้ ระวังและสอบสวนโรคทีส่ �าคญั ในเรอื นจ�า โดยใช้เกณฑก์ ารสอบสวนโรค ตามเกณฑ์การออกสอบสวนโรค ของทมี ปฏิบตั กิ ารสอบสวนโรค แต่ละระดบั ของหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง เพอ่ื การควบคมุ ปอ้ งกันการระบาดของโรคในเรอื นจ�า ไดท้ ันต่อสถานการณ ์ ดงั นี้ ตำรำงที่ 2 เกณฑก์ ารสอบสวนโรค กรณีเกิดการระบาดของโรคในเรอื นจา� เกณฑก์ ารสอบสวน โรค เรือนจํา โรงพยาบาล/ อาํ เภอ /สสจ. ใช้ตามเกณฑ์ฯ อจุ จำระรว ง/อำหำรเปน พิษ/บิด (Acute diarrhea/ Food - ผปู้ ว ย 5 รายขึ้นไปในแดนเดียวกัน - พบผ้ปู วยเปน็ กลมุ่ กอ้ นทเ่ี ห็นได้ poisoning/ Dysentery) ภายใน 2 วัน ชดั เจนในเวลา 2 วนั อำกำรทีเ่ ข้ำไดก้ ับโรคไทรอยด์ - กรณเี สยี ชวี ิตทุกราย - กรณีเสยี ชวี ิตทุกราย เปนพษิ เหน็บชำจำกกำรขำด วติ ำมนิ บ1ี (Hyperthyroidism/ - ผู้ปว ยมีอาการใจส่ัน หรือ ออ่ นแรง - พบโรคไทรอยด์เป็นพิษ ตง้ั แต ่ Beri Beri) 2 รายข้ึนไปในแดนเดยี วกัน 2 รายข้ึนไปในแดนเดยี วกัน อหวิ ำตกโรค (Cholera) และชว่ งเวลาใกล้เคียงกนั และชว่ งเวลาใกล้เคียงกนั กลมุ อำกำรตำเหลอื ง ตัวเหลอื ง - กรณีเสยี ชวี ติ ทกุ ราย ทส่ี งสัยเกดิ จำกอำหำรและน�ำ้ กลุม อำกำรคล้ำยไขห้ วดั ใหญ - ผู้ปว ยยืนยันทกุ ราย - (Influenza like Illness : ILI) - ผู้ปวย ตง้ั แต่ 2 รายขึ้นไป - ผูป้ วยยืนยันโรคไวรัสตับอกั เสบเอ วณั โรคปอด (Pulmonary ในแดนเดียวกนั ภายใน 1 เดอื น 2 ราย ข้ึนไปในช่วงเวลาเดยี วกัน Tuberculosis) - ผู้ปวยตั้งแต ่ 5 รายขึน้ ไป ภายใน - ผปู้ วย ILI เกิดข้ึนอยา่ งต่อเนือ่ ง ไขก้ ำฬหลังแอน 1 สปั ดาห ์ ในแดนเดยี วกัน ในช่วงเวลา 3 วนั ตดิ กนั (Meningococcemia หรอื - กรณเี สียชวี ิตทกุ ราย Meningococcal meningitis) ไข้ออกผ่นื (ผ่ืนนูนแดง หรือ - ผูป้ วยวัณโรครายใหม่ - ผูป้ ว ยวณั โรคดอ้ื ยา (MDR) ทุกราย ตุม น้�ำใส) - ผู้ปวยวัณโรคกลบั เปน็ ซ้า� ทกุ ราย - ผปู้ วยวณั โรค 2 รายขนึ้ ไป ในหอนอนเดียวกนั - ผู้ปวยสงสัยทกุ ราย - ผ้ปู วยสงสยั ทุกราย - ผ้ปู วยออกผืน่ 2 รายขึ้นไปใน - พจิ ารณาตามเกณฑป์ กต ิ ข้นึ กับโรค แดนเดยี วกัน ภายใน 1 สัปดาห์ 36 สรปุ เนอ้ื หาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑร์ ะยะส้นั

เกณฑ์การสอบสวน โรค เรือนจํา โรงพยาบาล/ อําเภอ /สสจ. ใช้ตามเกณฑ์ฯ ไอกรน (Pertussis) - ผ้ปู วยสงสัยทุกราย - ผปู้ ว ยสงสยั ทุกราย ตำแดง (Conjunctivitis) - พบผ้ปู ว ยยืนยนั เปน็ กลมุ่ กอ้ นต้งั แต่ หิด (Scabies) 2 รายขนึ้ ไป ภายใน 1 เดอื น - กรณีเสียชวี ติ ทุกราย - พบผปู้ วย 2 รายข้นึ ไปในแดนเดยี วกัน - สอบสวนและควบคุมโรคเมอื่ พบ - ผปู้ ว ยทกุ ราย บทบาทหนา้ ทข่ี องหน่วยงานãนระบบการเ½้าระวงั และสอบสวนโรคãนเรอื นจา� ผู้รับผิดชอบในการสอบสวนการระบาดในเรือนจ�า ได้แก่ พยาบาลในเรือนจ�า เจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ เจ้าหน้าท่ี โรงพยาบาลต้นสังกัด ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส�านักงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุมโรค ขึ้นอยู่กับระดับ การระบาดตามเกณฑ์ที่ก�าหนด - พยาบาลในเรือนจ�าและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ สอบสวนโรคเฉพาะรายได้ก่อนท่ีโรงพยาบาลหรือส�านักงาน สาธารณสุขจังหวัด จะลงดา� เนนิ การสอบสวนโรครวมถงึ การแยกกกั - ใช้เกณฑ์การสอบสวนตามเกณฑ์การออกสอบสวนโรคของทีมปฏิบัติการสอบสวนโรคของแต่ละระดับของ กองระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค บทบาทหน้าทีข่ องโรงพยาบาล ส�านกั งานสาธารณสØขจงั หวดั ส�านักงานป้องกันควบคมØ โรค และกองระบาดวทิ ยา โรงพยำบำล จัดระบบการเฝ้าระวังและสอบสวนโรค ร่วมกบั เรือนจ�าในพน้ื ท่ีด�าเนินการเฝา้ ระวงั ตามระบบที่มีอยู่ รวมทั้งตดิ ตามสถานการณ์ ส�ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด สนับสนุนเรือนจ�าและโรงพยาบาล ที่รับผิดชอบในการจัดระบบเฝ้าระวังและ สอบสวนโรค กา� กับตดิ ตามระบบเฝ้าระวังในเรอื นจ�า ส�ำนักงำนปอ้ งกันควบคมุ โรค กา� กับตดิ ตามระบบเฝ้าระวงั และสอบสวนโรคในเรือนจา� กองระบำดวิทยำ จัดท�าแนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรค ร่วมกับกรมราชทัณฑ์และก�ากับ ติดตามระบบ เฝ้าระวงั และสอบสวนโรคในเรือนจ�า เอกสำรอ้ำงอิง กองระบาดวทิ ยา. แนวทางการเฝา้ ระวงั คดั กรอง และสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพทสี่ า� คญั ในเรอื นจา� . นนทบรุ :ี กองระบาดวทิ ยา; 2563 สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กรมควบคุมโรค 37

38 สรุปเนอ้ื หาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑร์ ะยะสน้ั

สว่ นที่ 2 เวชศาสตร์ราชทัณฑ์ สถาบนั เวชศาสตร์ป้องกนั ศึกษา กรมควบคมุ โรค 39

หลักการปอ้ งกันตนเองของบØคลากรทางการแพทย์ãนเรือนจ�า นำงวชิ ชดุ ำ คงพรอ้ มสุข ผู้ตรวจรำชกำรกรมรำชทณั ฑ์ หลกั การป้องกันตนเองของบคุ ลากรทางการแพทยใ์ นเรือนจ�า ม ี 4 หัวข้อใหญ่ 1. การปอ้ งกนั การติดเชื้อขณะปฏิบัตงิ าน 2. การป้องกนั ความไมป่ ลอดภยั จากผูต้ ้องขงั ขณะปฏบิ ัติงาน 3. การป้องกนั ตนเองจากการถกู ฟ้องรอ้ ง ร้องเรยี น 4. การป้องกนั ตนเองไมใ่ หล้ �าบากยากจนเมื่อถงึ วยั เกษยี ณ ซึ่งหัวขอ้ เหลา่ นม้ี าจากประสบการณก์ ารท�างานในเรือนจา� อธบิ ายได้ดงั นี้ 1. การป้องกนั การติดเช้อื ขณะป¯บิ ัตงิ าน โรคติดเช้อื สามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภท - การตดิ เชื้อในระบบทางเดนิ หายใจ - การติดเชอื้ ในกระแสเลือด - การตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดินอาหาร - การติดเชอ้ื ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะและอวัยวะสบื พนั ธ์ุ - การตดิ เชอื้ ทผ่ี ิวหนงั ซ่ึงโรคติดเชื้อเหลา่ นจี้ ะพบในคนไข้ทม่ี าตรวจรักษากบั เราทุกวนั โดยทางเขา้ ของเชื้อโรคแบง่ ออกเป็นดงั นี้ - ทางปาก - ทางจมกู - ทางผิวหนัง - ทางเยอ่ื บตุ า - ทางอวยั วะสบื พนั ธแุ์ ละทวารหนกั ท้ังนีก้ ารปอ้ งกันการเกิดโรคตดิ เชอื้ จากการปฏบิ ัตงิ าน โดย 1. การปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรคเขา้ สรู่ า่ งกาย เชน่ การลา้ งมอื การใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ทเ่ี หมาะสมขณะปฏบิ ตั ิ การพยาบาล เชน่ medical mask , N95 , PPE ฯลฯ สิ่งหนง่ึ ทจี่ �าเป็น คอื อ่างลา้ งมอื ใหด้ วู ่ามีอ้างล้างมอื เพียง พอหรือไม ่ ตอ้ งมีการล้างมือกอ่ นและหลังการปฏิบตั ิงานทกุ ครง้ั 2. การลดการเกิดเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อม ในห้องปฏิบัติการต้องมีการดูแลท�าความสะอาด ไม่ว่าจะเป็นเตียง รถท�าแผล ถังขยะ รวมท้ังขยะติดเช้ือ ซ่ึงโรงพยาบาลแม่ข่ายจะรับขยะติดเช้ือไปก�าจัดตามระบบ เน้นสภาพ สงิ่ แวดล้อมทเี่ ราท�างานอยใู่ หส้ ะอาดปลอดภยั โรงพยาบาลมมี าตรฐานอยา่ งไร เราก็ต้องปฏิบตั ติ ามนั้น ทกุ เชา้ อาจฝก ให้อาสาสมคั รสาธารณสุขเรอื นจา� (อสรจ.) ท�าความสะอาดห้องปฏบิ ตั ิการ เพือ่ รักษาความสะอาดและ ลดการตดิ ต่อของโรค อสรจ. ไมม่ กี ารหมนุ เวียนระหวา่ งแดน คนท่ีอยแู่ ดนสถานพยาบาลจะมีความเชยี่ วชาญ ในการปฏิบัติงานมากกว่าแดนอื่น ให้ Infection control (IC) ในโรงพยาบาลมาช่วยดูระบบท่ีถูกต้องใน สถานพยาบาลในเรือนจา� 3. การป้องกันโดยการฉีดวัคซีน บุคลากรทางการแพทย์ในเรือนจ�าต้องฉีดวัคซีน กองบริการทางการแพทย ์ ไดป้ ระสานกรมควบคุมโรค เพื่อขอวคั ซนี ส�าหรับเจ้าหนา้ ทท่ี ปี่ ฏบิ ัติงานในเรือนจ�า 40 สรปุ เน้อื หาการอบรมหลักสตู รเวชศาสตร์ราชทณั ฑ์ระยะสน้ั

4. การดแู ลสุขภาพให้แข็งแรง เจ็บปวย อยา่ เพกิ เฉยใหร้ ีบรับการรกั ษา เน่ืองจากมบี คุ ลากรทางการแพทย์เคยเป็น Sepsis เพราะชะล่าใจ ฉะนนั้ ขอใหใ้ ส่ใจตรงสว่ นนี้ดว้ ย 5. การคน้ หาผูต้ อ้ งขงั ปว ยโรคติดตอ่ เพือ่ มารับการรกั ษา เช่น วัณโรคปอด ติดเชือ้ เอชไอว ี นโยบาย X-ray หรือการ คดั กรองแรกรบั จะเปน็ วธิ ที ดี่ ที ส่ี ดุ แตท่ งั้ นย้ี งั ไมไ่ ดม้ กี ารเรมิ่ ทา� ในหลายปท ผี่ า่ นมามกี ารคดั กรองดว้ ยแบบคดั กรอง การค้นหาคนไข้ท่ีปวยเพื่อรับการรักษา จะท�าให้ลดผู้ปวย ลดการแพร่เช้ือและลดการรับเช้ือของเจ้าหน้าท ่ี Success rate ของผตู้ อ้ งขงั ทีป่ ว ยเป็น TB มสี งู กว่าประชาชนทว่ั ไป เน่อื งจากอยู่ภายในเรือนจ�าไมม่ ีสิ่งล่อใจ ท�าใหก้ ารรักษาเปน็ ไปได้ดว้ ยดี นอกจากนี้โครงการ AIDS ท่ีได้ อสรจ. ทา� หน้าทชี่ กั ชวนใหผ้ ตู้ อ้ งขงั มาตรวจ HIV การจดั ระบบ อสรจ.ใหด้ จี งึ สา� คญั เพราะเปน็ กา� ลงั สา� คญั ทช่ี ว่ ยบคุ ลากรทางแพทยท์ า� งานคน้ หาผปู้ ว ย เนอื่ งจาก บุคลากรทางแพทย์ทีป่ ระจ�าในสถานพยาบาลในเรือนจ�ามีจ�านวนจา� กัด 6. การจดั ระบบงานป้องกันและควบคมุ โรคระบาดให้ดมี ปี ระสิทธภิ าพ ไดม้ ีแนวทางการจัดระบบงานป้องกันและ ควบคุมโรค เช่น ในช่วง COVID-19 ได้มีการใส่หน้ากากอนามัย มีการวัดไข้ มีการดูแล มีการซักประวัติ กรมราชทณั ฑไ์ ดผ้ ลติ หนา้ กากอนามยั แบบผา้ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั สวมใส ่ การดแู ลตรงนเี้ กดิ ผลพวงทา� ใหโ้ รคตดิ ตอ่ ระบบ ทางเดนิ หายใจ อสี กุ อใี ส หดั ไขห้ วดั ใหญ ่ ไดห้ มดไป บคุ ลากรทางแพทยจ์ งึ ทา� งานไดง้ า่ ยขน้ึ นอกจากนย้ี งั มสี ขุ าภบิ าล ทางอาหารและน้�า ท่ตี อ้ งคอยดแู ล เพือ่ ลดภาระการเกิดโรคระบาดในเรอื นจา� 7. การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผลกับผู้ปวย ผู้ต้องขังชอบขอยาปฏิชีวนะ ซึ่งถ้าเราไม่อธิบายให้เขาเข้าใจ และใหย้ าเขาไปโดยท่ีไม่มีความจ�าเปน็ จะส่งผลใหเ้ กดิ การดอ้ื ยา 2. การป้องกนั ความäม่ปลอดÀยั จากผูต้ อ้ งขงั ขณะป¯ิบตั งิ าน การวางตัวให้เหมาะสม นา่ เชอ่ื ถือ จะสรา้ งความเกรงใจไม่ต้องเรยี กผตู้ อ้ งขังว่า ‘‘พี’่ ’ ให้เรียกด้วยช่ือ เนื่องจากเรา ต้องวางตัวให้เหมาะสม เพอื่ ให้ผตู้ อ้ งขงั เกรงใจในกรณีถา้ เปน็ ผู้อาวโุ สอาจจะเรยี ก ลุง หรือ ป้า ได้ เพราะวัฒนธรรมไทยเรา ใชเ้ รยี กกบั ผสู้ งู อายแุ บบนไี้ ด ้ ระมดั ระวงั เรอื่ งความปลอดภยั ไวเ้ สมอ ทง้ั นย้ี งั ไมเ่ คยพบการทา� รา้ ยเจา้ หนา้ ทบ่ี คุ ลากรทางการ แพทย ์ เน่ืองจากเราเปน็ ผชู้ ่วยเหลอื เวลาปวยและเวลาเจ้าหน้าที่บคุ ลากรทางการแพทยไ์ ปไหนจะมีผู้คมุ ไปดว้ ย แต่กต็ อ้ ง ระมัดระวังความปลอดภัยของตนด้วย เวลาท�างานอย่าหันหลังให้ผู้ต้องขัง ควรระวังไม่เปิดโอกาส เวลาอยู่เวรกลางคืน โดยตามดคู นไข ้ จะตอ้ งให้มผี ้คู ุมตามไปด้วยเพ่ือดแู ลความปลอดภยั อย่าละเมดิ ศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ ไมค่ วรดูถกู ผู้ต้องขงั หรอื เหน็ เปน็ สงิ่ ขบขนั ใหค้ นอน่ื มาหวั เราะเยาะได ้ และไมค่ วรทา� การตรวจหรอื ทา� แผลคนไขแ้ บบ Expose ควรมเี จา้ หนา้ ที่ อื่น เชน่ ผู้คมุ หรือ อสรจ. อยู่ดว้ ย สภุ าพ อดทน อดกลนั้ อธิบายท�าความเข้าใจ ไมโ่ กหก เม่อื เจอผูต้ อ้ งขงั ที่มาตรวจแลว้ บอกอาการสะเปสะปะเราอาจหงุดหงิดได้ เพราะฉะนน้ั ควรสุภาพ อดทน เมื่อผู้ตอ้ งขังมาขอยา ถ้าไมจ่ ่ายยาให้ผูต้ อ้ งขัง ต้องอธบิ ายเหตุผลว่าไม่ใหเ้ พราะอะไร เขาจะไดเ้ ข้าใจและยอมรับ ต้องยอมเสียเวลาในการอธิบายให้เขาเขา้ ใจ อยา่ โกหก หรือหลอกวา่ ครัง้ หนา้ จะให้ยาเพื่อตัดความร�าคาญ เพราะจะเกิดสัมพนั ธภาพทไ่ี ม่ดี เกดิ ความไม่พอใจได้ 3. การป้องกันตนเองจากการ¶ูก¿อ้ งรอ้ ง ร้องเรียน การตรวจคดั กรองอยา่ งระมดั ระวงั บางครงั้ การทผ่ี ตู้ อ้ งขงั อธบิ ายอาการปว ยไมถ่ กู จดุ เรากต็ อ้ งตรวจ ใหร้ แู้ นช่ ดั เชน่ ผู้ต้องขงั บอกปวดทอ้ ง เราต้องกดทอ้ งเพ่อื ตรวจอยา่ งระมัดระวัง ไม่ให้พลาดในการตรวจ ไม่ควรรบี ตอ้ งยอมเสยี เวลาใน การตรวจอธิบาย ใหค้ �าแนะนา� เสมอ ถ้าไมแ่ นใ่ จใหน้ ัดติดตามอาการ การทา� งานในเรือนจา� เราจะรกั ษาอาการเบ้ืองตน้ ถ้าเจบ็ ปว ยเล็กนอ้ ยให้การรักษาเบ้ืองต้นเลย อนั ไหนที่เจบ็ ปว ยหนัก ใหพ้ บแพทย ์ หรือเจบ็ ปว ยฉุกเฉนิ ให้พบแพทยท์ ันที สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กรมควบคุมโรค 41

หรือ Refer ถา้ มอี าการปว ยเลก็ นอ้ ยท่ีให้ยาไปแล้ว แต่ยงั ไม่แนใ่ จ ควรนัดคนไขม้ าดูอาการซา้� พรงุ่ นี้ หรืออกี สองวันมาดู พยายามใส่ใจในเรื่องการนัดติดตามอาการ หรือจะฝาก อสรจ. ติดตามอาการให้ ควรมีบันทึกอาการเพื่อท่ีจะได้ส่ง มาตรวจตอนเช้าได้ ทัณฑสถานบา� บดั สงขลา ไดจ้ ัดระบบให้ อสรจ. ทา� งานในหอ้ งนอน พบว่าผ้ปู ว ยที่มารกั ษาที ่ OPD ลดลง และเคสฉุกเฉินที่ต้องส่งออกไปรักษากลางคืนก็ลดลง เน่ืองจาก อสรจ. จะดูเคสปวยให้ก่อน ระบบนี้จึงถือว่า มีประสิทธิภาพมาก การบนั ทกึ เวชระเบยี นใหค้ รอบคลุมเพอ่ื ความปลอดภยั เพราะว่าการไม่บนั ทกึ เวชระเบียน เมื่อเกดิ เหต ุ จะถอื วา่ ไมไ่ ดท้ า� ฉะนน้ั จงึ ตอ้ งบนั ทกึ ใหค้ รอบคลมุ เชน่ อาการปว ย ยาทร่ี กั ษา คา� แนะนา� การนดั ตดิ ตามอาการ ตอ้ งบนั ทกึ เพ่ือความปลอดภัย กำรท�ำงำนเปน ทีม การท�างานเปน็ ทีมเปน็ เรอ่ื งทส่ี า� คัญ มีเคสที่ต้องตดิ ตามอาการตอ้ งสง่ ตอ่ ให้คนทีอ่ ยู่เวรตอ่ ด้วย ตอ้ งติดตอ่ สอ่ื สารกนั มกี ารทบทวนการดแู ลผปู้ ว ยจากเหตกุ ารณส์ า� คญั และรว่ มกนั หาแนวทางแกป้ ญั หาตอ่ ไป เมอื่ มเี คสทพี่ ลาด จะใหม้ าคยุ กนั ว่าเกิดอะไรขึ้น โดยไม่โทษว่าเป็นความผิดของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นการร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา และเพื่อวาง มาตรการในการทา� งานร่วมกัน เมอ่ื มีเคสทเ่ี สยี ชีวติ ฉกุ เฉนิ ต้องมาคยุ กนั เพือ่ หารอื แนวทางปอ้ งกันตอ่ ไป ศกึ ษาหาความรู้ ใหร้ อบดา้ นโดยเฉพาะเรือ่ งตา่ ง ๆ ของกรมราชทณั ฑ ์ เมื่อกรมราชทณั ฑม์ ีนโยบายออกมา เราต้องคอยศกึ ษาไวอ้ ยู่เสมอ เปดิ โอกาสรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั สขุ ภาพ เพอื่ ใหม้ โี อกาสทา� ความเขา้ ใจกอ่ นเรอื่ งจะลกุ ลาม ใหม้ กี ลอ่ งไวร้ บั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น เกยี่ วกบั สุขภาพ ควรรบั ฟังและท�าความเขา้ ใจก่อน บางเรอ่ื งอาจจะเป็นเร่อื งทเ่ี ป็นประเดน็ ยงั ไม่กลายเปน็ ปญั หา ตอ้ งรบี ท�าความเข้าใจ ก่อนจะลกุ ลาม ใช ้ อสรจ. ช่วยเหลืองานพยาบาลในขอบเขตทีเ่ หมาะสม ไม่ควรให้ อสรจ. ทา� งานกา้ วลว่ ง วิชาชีพพยาบาล เช่น การให้น้�าเกลือ การฉีดยา การรักษา เพราะถ้าเกิดความผิดพลาดหรือมีเหตุอะไรข้ึนมา เรามี พยานแวดล้อมทงั้ เรือนจ�า ทั้งแดน ทีจ่ ะเป็นพยานใหว้ ่าบุคลากรทางการแพทยไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ คนรักษา แต่เป็น อสรจ. จะกลายเป็น เราให้ อสรจ. ทา� หนา้ ท่แี ทน 4. การป้องกันตนเองäมã่ หล้ า� บากยากจนเม่ือ¶งÖ วัยเกÉยี ณ วางแผนการเกษยี ณอายุราชการให้ป้องกันตนเองไม่ให้ลา� บากยากจนเมื่อถงึ วัยเกษียณ ตอ้ งมีการวางแผน ใชช้ วี ิต ดว้ ยความระมดั ระวงั ใหห้ มดหนหี้ มดสนิ้ กอ่ นวยั เกษยี ณ และตอ้ งระวงั ไมใ่ หผ้ ดิ วนิ ยั เรอื นจา� เมอ่ื อยกู่ บั ผตู้ อ้ งขงั หรอื ญาติ ผตู้ อ้ งขงั มกั มสี ง่ิ ลอ่ ใจเราใหท้ า� ผดิ ถา้ เราหลงผดิ ทา� ทจุ รติ เรามสี ทิ ธโิ์ ดนไลอ่ อกได ้ ทา� งานใหเ้ กดิ กศุ ลกบั ตวั เองเมอ่ื เกษยี ณ ไปแลว้ ให้นึกถึงสิง่ ทตี่ นเองท�าว่าเปน็ ส่งิ ด ี ๆ เม่ือคิดแบบน้ีแล้วจะมคี วามสุข 42 สรปุ เน้ือหาการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์ราชทัณฑ์ระยะสน้ั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook